Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียนเล่ม1

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียนเล่ม1

Description: ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียนเล่ม1

Search

Read the Text Version

สื่อการเรียนรู้แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ( Self – Learning Package ) แบบหน่วยการเรียน ( Instructional Module ) เล่ม 1 วชิ างานระบบฉีดเชื้อเพลงิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชื่องานตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ด้วยมัลติมเิ ตอร์ จดั ทาโดย กลุ่มปลูกต้นกล้าอาชีพ

เริ่มต้น ศึกษาและทาแบบฝึ กหัด เรียนซ่อมเสริม ผ่านเกณฑ์ 80 % ศึกษาบทเรียนต่อไป ไม่ผ่านเกณฑ์

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน ช่ือวชิ า : งานระบบฉีดเชื้อเพลงิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช่ืองาน : งานตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ด้วยมัลตมิ เิ ตอร์ เม่ือศึกษาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียนนีแ้ ล้ว ท่านจะสามารถ………… 1. บอกช่ือเคร่ืองมือท่ใี ช้ตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ได้ถูกต้อง 2. อธิบายวธิ ีใช้เครื่องมือตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ได้ถูกต้อง

ใบเนื้อหา ( Information Sheet ) ช่ือวชิ า : งานระบบฉีดเชื้อเพลงิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชื่องาน : งานตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ด้วยมัลตมิ ิเตอร์ 1. ชื่อเครื่องมืออุปกรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ 1.1 มัลติมเิ ตอร์แบบเขม็ ชี้ 1.2 สายไฟสาหรับต่อวงจร

1.3 แบตเตอร่ี ( Battery ) 1.4 ผ้าเช็ดมือสะอาด 1.5 กระบะใส่เคร่ืองมืออุปกรณ์ใช้ตรวจสอบรีเลย์

2. วธิ ีใช้เครื่องมือตรวจสอบรีเลย์ควบคุมป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ 2.1 มลั ติมิเตอร์ ( Multimeter ) เป็ นเคร่ืองมือวดั ทางไฟฟ้าใช้วดั ค่าอุปกรณ์ทางไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของอุปกรณ์น้ัน ๆ มัลตมิ เิ ตอร์ทวั่ ไปเป็ นเครื่องมือ วดั ทรี่ วมเอาโอห์มมเิ ตอร์โวลต์มิเตอร์และแอมมเิ ตอร์ไว้ในตวั เดยี วกนั เพ่ือใช้วดั ค่าความต้านทาน วดั ค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง ( DCV ) และแรงดนั ไฟฟ้า กระแสสลบั ( ACV ) และวดั กระแสไฟฟ้าในวงจร ( DCA ) เป็ นต้น การแสดงผลของมัลตมิ เิ ตอร์แบ่งออกเป็ น 2 แบบคือ มลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็ม

( Analog Multimeter ) กบั มลั ตมิ เิ ตอร์แบบตัวเลข ( Digital Multimeter ) เพ่ือให้เหมาะสมกบั การทดลองเรื่องน้ัน ๆ ซ่ึงมัลตมิ ิเตอร์แต่ละเคร่ืองจะมี รายละเอยี ดปลกี ย่อยและข้อควรระมัดระวงั ในการใช้งานแตกต่างกนั ไป 2.1.1 มัลตมิ เิ ตอร์แบบเข็มชี้หรือแบบอนาลอ็ ก มลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็มชี้หรือแบบอนาลอ็ ก ( Analog Multimeter ) ในการวดั ค่าจะแสดงผลโดยการเคล่ือนท่ขี องเข็มชี้ และอ่านค่าจากเขม็ ชี้ทตี่ รงกบั สเกล บนปัทม์

2.1.1.1 ส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์แบบเขม็ ชี้ 1) เขม็ ชี้ (Pointer) มเิ ตอร์ เขม็ ชี้มเิ ตอร์ เข็มชี้ (Pointer) มเิ ตอร์ เป็ นส่วนทเ่ี คล่ือนท่ีไปบนสเกลท่ีหน้าปัทม์เพ่ือชี้ ตาแหน่งของค่าทว่ี ดั ได้ 2) สกรูปรับศูนย์ ( Zero Adjust ) สกรูปรับศูนย์ สกรูปรับศูนย์ ( Zero Adjust ) เป็ นสกรูทใี่ ช้สาหรับปรับเขม็ ชี้ของมเิ ตอร์ให้ ชี้ตรงตาแหน่งศูนย์ในกรณที เ่ี ขม็ ชี้ไม่ตรงศูนย์ แต่โดยปกตเิ ขม็ ชี้จะถูกปรับต้ัง มาจากโรงงานผู้ผลติ เรียบร้อยแล้ว

3) สเกล ( Scale ) สเกล สเกล ( Scale ) เป็ นส่วนทใ่ี ช้สาหรับอ่านค่าปริมาณทางไฟฟ้าทวี่ ดั ได้ ซ่ึงจะ มหี ลายสเกลเน่ืองจาก มลั ตมิ เิ ตอร์ถูกออกแบบมาให้วดั ปริมาณทางไฟฟ้าได้ หลายอย่าง 4) สวติ ช์เลือกย่านวดั ( Rang Selector Switch ) สวทิ ช์เลือกย่านวดั สวติ ช์เลือกย่านวดั ( Rang Selector Switch ) เป็ นสวติ ช์ที่ใช้สาหรับเลือก ว่าจะทาการวดั ปริมาณทางไฟฟ้าชนิดใด โดยสวติ ช์เลือกย่านการวดั จะทา หน้าทต่ี ่อวงจรให้กบั การวดั ชนิดน้ันๆ

5) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวบวก ( + ) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวบวก ( + ) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวบวก ( Positive Terminal ) ใช้สาหรับเสียบสายวดั ของ มเิ ตอร์ทเ่ี ป็ นข้วั บวก โดยปกตินิยมใช้สายมิเตอร์สีแดง 6) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวลบ ( - ) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวลบ ( - ) ช่องเสียบสายวดั ข้ัวลบ ( Negative Terminal ) ใช้สาหรับเสียบสายวดั ของ มิเตอร์ทีเ่ ป็ นข้วั ลบ โดยปกตนิ ิยมใช้สายมิเตอร์สีดา

7) ย่านวดั ( Rang ) ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ( DCV ) ย่านวดั ความต่างศักย์ ไฟฟ้ากระแสตรง ย่านวดั ( Rang ) เป็ นตัวกาหนดขดี จากดั สูงสุดของการวดั แต่ละชนิดว่าจะ สามารถวดั ค่าได้สูงสุดเท่าใดในการวดั ค่าจะใช้ควบคู่กบั สวติ ช์เลือกย่านวดั และห้ามทาการวดั ปริมาณทางไฟฟ้าทสี่ ูงกว่าขดี จากดั สูงสุดแต่ละย่านวดั ย่านการวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ( DCV ) คือ 0 – 0.1 V, 0 – 0.5 V, 0 – 2.5 V, 0 – 10 V, 0 – 50 V, 0 – 250 V, 0 – 1000 V

8) ย่านวดั ( Rang ) กระแสไฟฟ้ากระแสตรง ( DCA ) ย่านวดั กระแสไฟฟ้า กระแสตรง ย่านการวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง ( DCA ) คือ 0 - 50µA, 0 – 2.5Am, 0 – 25 mA, 0 – 25 A 9) ย่านวดั ( Rang ) ความต้านทานไฟฟ้า ( Ω ) ย่านวดั ความต้านทาน ไฟฟ้า ย่านการวดั ความต้านทานไฟฟ้า ( Ω ) คือ x 1Ω, x 10 Ω, x 100 Ω, x 1kΩ, 10kΩ

10) ย่านวดั ( Rang ) ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั ( ACV ) ย่านวดั ความต่างศักย์ ไฟฟ้ากระแสสลบั ย่านการวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั ( ACV ) คือ 0 – 10V, 0 – 50V, 0 – 250V, 0 – 1000V 11) ป่ ุมปรับศูนย์โอห์ม ( Zero Ohm Adjust ) ป่ มุ ปรับศูนย์โอห์ม

ป่ ุมปรับศูนย์โอห์ม ( Zero Ohm Adjust ) เป็ นป่ ุมปรับให้เขม็ ชี้ของมัลติ มเิ ตอร์ชี้ค่าท่ีศูนย์โอห์มเมื่อจะทาการวดั ความต้านทาน การปรับศูนย์โอห์ม จะต้องกระทาทุกคร้ังทเี่ ปลย่ี นย่านการวดั ของความต้านทาน 2.1.1.2 การวดั ค่าความต้านทานไฟฟ้าด้วยมลั ติมิเตอร์ มีวธิ ีการปฏิบตั ิ ดงั นี้ สวทิ ช์เลือกย่านวดั 1) หมุนสวทิ ช์เลือกย่านวดั ไปทต่ี าแหน่ง Ω โดยเลือกย่านวดั ทเี่ หมาะสม ( 1, 10, 1k, 10k, ) สายลบ สายบวก

2) เสียบสายบวกที่ข้วั ต่อสายบวก (P,+) และเสียบสายลบท่ขี ้วั ต่อสาย ลบ (N,-Com) 3) ทาการปรับต้งั ศูนย์โอห์ม ( Zero Ohm Adjust ) โดยการนาสายเสียบ ข้วั บวก (P,+) และสายเสียบข้วั ลบ (N,- Com) มาแตะกนั แล้วดูทเ่ี ขม็ ชี้ให้ชี้ค่า 0Ω 4) ถ้าไม่ตรงให้หมุนปรับทปี่ ่ ุมปรับต้งั ศูนย์โอห์ม

5) นาปลายสายข้วั บวก และข้วั ลบ ไปวดั โดยต่อปลายสายท้งั สองเส้น ขนานกบั จุดทตี่ ้องการวดั 2.1.2 มัลติมิเตอร์แบบตวั เลขหรือแบบดจิ ิตอล ( Digital Multimeter ) มัลตมิ ิเตอร์แบบตวั เลขหรือแบบดจิ ิตอล ( Digital Multimeter ) การ แสดงผลการวดั ค่าจะแสดงเป็ นตวั เลขดจิ ิตอล มคี วามสะดวกในการอ่านค่าแต่ จะมรี าคาทีแ่ พงกว่า ส่วนการใช้งานจะคล้ายกบั มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ ชี้ค่า ข้อควรระวงั การใช้มลั ตมิ เิ ตอร์จะต้องเลือกใช้ให้ถูกประเภทของการวดั แต่ละค่าการ ตรวจสอบ 1. การเลือกย่านวดั มลั ตมิ เิ ตอร์ต้องดูสัญลกั ษณ์ให้ถูกต้อง 2. เขม็ ชี้ค่าต้องอยู่ในสภาพดไี ม่บดิ งอและตรงศูนย์

3. มัลตมิ ิเตอร์แบบตัวเลข จะต้องมไี ฟจากแบตเตอรี่ทเี่ พยี งพอ เหตุทท่ี าให้มลั ตมิ เิ ตอร์เสียหาย ใช้งานโดยต้ังสเกลผดิ และได้รับการกระเทือนอย่างแรง 2.2 สายไฟสาหรับต่อวงจรแบบมีปากคบี 2 ด้าน สายไฟสาหรับต่อวงจรแบบมีปากคบี 2 ด้าน ใช้สาหรับต่อไฟฟ้า เข้ากบั อปุ กรณ์ทจ่ี ะทาการตรวจสอบว่าอปุ กรณ์น้ันทางานได้ตามปกตหิ รือไม่ เช่น รีเลย์ควบคุม ป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ

2.3 แบตเตอรี่ ( Battery ) แบตเตอร่ีเป็ นอุปกรณ์เคมีไฟฟ้าทีอ่ อกแบบสาหรับเกบ็ และจ่ายกระแสไฟ ให้กบั ระบบสตาร์ต ระบบจุดระเบิด ระบบไฟแสงสว่าง และอุปกรณ์ไฟฟ้า อ่ืน ๆ ของรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ แบตเตอร่ีจะเกบ็ กระแสไฟไว้รูปของ พลงั งานเคมี และจ่ายกระแสไฟออกมาให้แก่ระบบไฟฟ้าแต่ละระบบหรือ อปุ กรณ์ทตี่ ้องการใช้ไฟฟ้า เมื่อแบตเตอรี่สูญเสียพลงั งานเคมไี ปในการใช้งาน อลั เทอร์เนเตอร์จะประจุหรือเรียกว่าชาร์จแบตเตอรี่ ให้แบตเตอร่ีเกบ็ เอาไว้ใน รูปของพลงั งานเคมดี งั น้ัน แบตเตอร่ีจงึ มีไฟเต็มตลอด

2.3.1 โครงสร้างและส่วนประกอบของแบตเตอร่ี แบตเตอร่ีของรถยนต์ประกอบด้วยนา้ กรดกามะถนั ( Sulfuric Acid Electrolyte ) แผ่นธาตุบวกและแผ่นธาตุลบ ( Positive and Negative Electrodes ) แผ่นธาตุทามาจาก ผงตะกวั่ บริสุทธ์ิ อดั แน่นในแผ่นตะแกรง ตะกวั่ แบตเตอร่ีแบบนีจ้ งึ เรียกว่า แบตเตอรี่ตะกว่ั (Lead Battery) ภายใน แบตเตอรี่แยกออกเป็ นช่องหลาย ๆ ช่อง (โดยท่ัวไปแบตเตอร่ีของรถยนต์จะมี 6 ช่อง) ในแต่ละช่องเรียกว่า เซลล์ (Cell) แต่ละเซลล์ มชี ุดแผ่นธาตุแช่อยู่ใน นา้ กรดกามะถนั อย่างเจือจาง

2.3.1.1 ข้วั แบตเตอรี่ ข้วั ลบ ( - ) ข้วั บวก ( + ) แบตเตอร่ีประกอบไปด้วยข้วั (+) และข้วั ( - ) ซ่ึงข้วั ของแบตเตอร่ีน้ันทามา จากตะกวั่ แท่งน้ันจะยาวประมาณ 2 – 3 ซม. ( สูงกว่าตวั แบตเตอรี่เลก็ น้อย ) ข้วั บวก (+) จะมีขนาดใหญ่กว่าข้วั ลบ ( - ) และบางบริษัทจะทาให้ข้วั บวก (+) มีสีแดง และข้วั ลบ ( - ) จะมีสีดา 2.3.1.2 เปลือกแบตเตอร่ี ( Battery Case ) เปลือกพลาสติก เปลือกนอกซ่ึงทาด้วยพลาสติกหรือยางแขง็ เปลือกพลาสตกิ ซ่ึงแบตเตอร่ี รถยนต์ส่วนมากจะใช้แบบเปลือกพลาสตกิ ซึ่งมีท้งั สีขาว และสีดา

2.3.1.3 ฝาปิ ดเซลล์ ฝาปิ ดเซลล์ ฝาปิ ดเซลล์ ( Battery Cell Plug ) หรือฝาปิ ดช่องเตมิ นา้ กรด ฝานีจ้ ะมรี ู ระบายก๊าซไฮโดรเจนทเ่ี กดิ จากปฏกิ ริ ิยาทางเคมภี ายในแบตเตอร่ีให้สามารถ ระบายออกไปได้ ถ้าไม่มีฝาระบายนี้ เมื่อเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีก๊าซไฮโดรเจนจะไม่ สามารถระบายออกไปได้ ทาให้เกดิ แรงดนั ดนั จนแบตเตอร่ีเกดิ ระเบดิ ขนึ้ ได้

2.3.1.4 แผ่นธาตุ ชุดของแผ่นธาตุบวก และแผ่นธาตุลบวางเรียงสลบั กนั และก้นั ไว้ด้วยแผ่น ก้นั และแผ่นไฟเบอร์กลาส (Separator and Fiberglass Mat) เมื่อเอาแผ่นธาตุ แผ่นก้นั และแผ่นไฟเบอร์กลาสรวมเข้าด้วยกนั จะเรียกว่าเซลล์แบตเตอรี่ (Battery Elements) แผ่นก้นั (ชนวนก้นั แผ่นธาตุ)ทาหน้าทไี่ ม่ให้แผ่นธาตุข้วั (+) และแผ่นธาตุข้วั (-) สัมผสั กนั ซึ่งเป็ นสาเหตุ ทที่ าให้แบตเตอรี่ช็อต

2.3.1.5 นา้ กรดแบตเตอร่ี ( Electrolyte ) ระดบั ตา่ สุด ระดบั ที่กาหนด นา้ กรดแบตเตอร่ี คือ สารละลายของกรดกามะถันเจือจางกบั นา้ กลน่ั นา้ กรดแบตเตอรี่จะมคี ่าความถ่วงจาเพาะทอ่ี ณุ หภูมทิ วั่ ไปประมาณ 1.260 หรือ 1.280 นา้ กรดหรือนา้ ยาอเิ ลก็ โตรไลต์ (Electrolyte) นา้ กรดในแบตเตอรี่ รถยนต์เป็ นนา้ กรดกามะถันเจือจาง คือจะมกี รดกามะถัน (H2SO4) ประมาณ 38 เปอร์เซ็นต์ ความถ่วงจาเพาะของนา้ กรด 1.260 - 1.280 ทอี่ ณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส นา้ กรดในแบตเตอรี่เป็ นตวั ทที่ าให้แผ่นธาตุลบเกดิ ปฏิกริ ิยาทาง เคมี จนเกดิ กระแสไฟฟ้าและแรงเคลื่อนไฟฟ้าขนึ้ มาได้กรณรี ะดบั นา้ กรดลดลง ให้เติมด้วยนา้ กลนั่ สาหรับเติมแบตเตอรี่จนถึงระดบั กาหนด

2.4 ผ้าเช็ดมือ งานช่างยนต์ความสะอาดเป็ นส่ิงสาคญั อย่างยง่ิ เพราะส่ิงสกปรกจะทาให้ ชิ้นส่วนต่างๆ เม่ือเคร่ืองยนต์ทางานเกดิ การชารุดสึกหรอ ในการประกอบ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์เข้าในตาแหน่งเดมิ จะต้องมีการล้างทาความสะอาดใช้ ลมเป่ าส่ิงสกปรกและผ้าเช็ดให้สะอาด นอกจากนีเ้ ม่ือจะต้องใช้ผ้าเช็ดมือทา ความสะอาดเคร่ื องมือในขณะประกอบชิ้นส่ วนและทาความสะอาดเครื่ องมือ หลงั จากเลกิ ใช้งานแล้ว ผ้าเช็ดมือจึงเป็ นส่ิงท่ีสาคญั อย่างยง่ิ สาหรับงานช่าง ยนต์

2.5 กระบะใส่เคร่ืองมืออุปกรณ์ ในการเบิกเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ในการซ่อมและปรับปรุงสภาพ เครื่องยนต์ กระบะใช้ใส่เครื่องมืออปุ กรณ์เพ่ือความเป็ นระเบียบขณะเดยี วกนั เมื่อปฏบิ ัตเิ สร็จแล้วกจ็ ะนาเครื่องมืออุปกรณ์ใส่ในกระบะส่งคืนเจ้าหน้าที่ นอกจากนีก้ ระบะยงั ใช้สาหรับใส่นา้ มันล้าง เพ่ือทาความสะอาดชิ้นส่วนของ เครื่องยนต์เพ่ือการตรวจสอบและการประกอบเข้าตาแหน่งเดมิ ให้สะอาด เป็ น การสะดวกทใี่ ช้ปฏิบัตงิ าน กระบะเม่ือเลกิ ใช้งานแล้วต้องทาความสะอาด ควรใช้ลมเป่ าและผ้าเช็ดให้ แห้งไม่ควรเคาะกระบะกบั พืน้ เพ่ือทาให้นา้ มนั ทต่ี ดิ อยู่หรือสิ่งสกปรกออกให้ หมดเพราะจะทาให้ขอบกระบะชารุดเสียหาย