Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน 14.1

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน 14.1

Description: ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน 14.1

Search

Read the Text Version

ส่ือการเรียนรู้แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ( Self – Learning Package ) แบบหน่วยการเรียน ( Instructional Module ) เล่ม 14.1 วชิ างานซ่อมเคร่ืองยนต์ดเี ซล ช่ืองานตรวจสอบระยะช่องว่างโรเตอร์ปั๊ม นา้ มันเครื่องและลนิ้ กนั กลบั , หัวฉีดนา้ มนั เคร่ือง จัดทาโดย กลุ่มปลูกต้นกล้าอาชีพ

เริ่มต้น ศึกษาและทาแบบฝึ กหัด เรียนซ่อมเสริม ผ่านเกณฑ์ 80 % ศึกษาบทเรียนต่อไป ไม่ผ่านเกณฑ์

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน ❄เมื่อท่านศึกษาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน ชื่องานตรวจสอบระยะช่องว่างโรเตอร์ปั๊มนา้ มันเคร่ืองและลนิ้ กนั กลบั , หัวฉีดนา้ มันเคร่ืองนีแ้ ล้ว ท่านจะสามารถ......... 1. บอกหน้าทข่ี องนา้ มนั หล่อล่ืนได้ถูกต้อง 2. บอกคุณสมบัตคิ วามหนืดของนา้ มนั หล่อลื่นได้ถูกต้อง 3. บอกคุณสมบตั ขิ องนา้ มนั หล่อลื่นเคร่ืองยนต์ได้ถูกต้อง 4. บอกชนิดและการทางานของป๊ัมนา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 5. บอกวธิ ีใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบระยะช่องว่าง โรเตอร์ปั๊มนา้ มันเคร่ืองได้ถูกต้อง 6. บอกสถานทเี่ กบ็ เคร่ืองมืออปุ กรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบป๊ัม นา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 7. บอกวธิ ีเบกิ เคร่ืองมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบปั๊มนา้ มนั เคร่ือง ได้ถูกต้อง 8. บอกข้อควรระวงั ในการเตรียมเคร่ืองมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ ตรวจสอบป๊ัมนา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 9. อธิบายวธิ ีตรวจสอบลนิ้ ระบายของป๊ัมนา้ มนั เครื่องได้ถูกต้อง

10. บอกข้อควรระวงั ในการตรวจสอบลนิ้ ระบายของป๊ัม นา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 11. บอกวธิ ีบนั ทึกผลการตรวจสอบลนิ้ ระบายของป๊ัม นา้ มนั เคร่ืองลงในตารางใบงานได้ถูกต้อง 12. บอกข้อควรระวงั ในการบันทึกผลการตรวจสอบลนิ้ ระบาย ลงในตารางได้ถูกต้อง 13. อธิบายวธิ ีตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของปั๊ม นา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 14. บอกข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของ ป๊ัมนา้ มนั เครื่องได้ถูกต้อง 15. บอกวธิ ีบนั ทกึ ผลการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของปั๊ม นา้ มนั เครื่องลงในตารางใบงานได้ถูกต้อง 16. บอกข้อควรระวงั ในการบนั ทึกผลการตรวจสอบระยะห่าง เสื้อโรเตอร์ลงในตารางได้ถูกต้อง 17. อธิบายวธิ ีตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 18. บอกข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ ของปั๊มนา้ มนั เครื่องได้ถูกต้อง

19. บอกวธิ ีบนั ทึกผลการตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ลง ในตารางใบงานได้ถูกต้อง 20. บอกข้อควรระวงั ในการบนั ทึกผลการตรวจสอบระยะห่าง ด้านข้างโรเตอร์ได้ถูกต้อง 21. อธิบายวธิ ีตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 22. บอกข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ ของปั๊มนา้ มนั เคร่ืองได้ถูกต้อง 23. บอกวธิ ีบนั ทกึ ผลการตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ลงใน ตารางใบงานได้ถูกต้อง 24. บอกข้อควรระวงั ในการบันทกึ ผลการ ตรวจสอบระยะห่าง ปลายโรเตอร์ได้ถูกต้อง

ใบเนื้อหา ( Information Sheet ) ชื่อวชิ า : งานซ่อมเคร่ืองยนต์ดเี ซล รหัสวชิ า 20101 – 2002 ชื่องาน : งานตรวจสอบระยะช่องว่างโรเตอร์ป๊ัมนา้ มันเครื่องและ ลนิ้ กนั กลบั , หัวฉีดนา้ มนั เครื่อง 1. หน้าที่ของนา้ มนั หล่อล่ืน จากการทเี่ ครื่องยนต์ทางานทอี่ ุณหภูมิ สูงมแี รงเสียดทานและแรงดนั เกดิ ขนึ้ ในการทางานของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เคร่ืองยนต์ ระบบหล่อลื่นนับว่า เป็ นหัวใจสาคญั ต่อการทางานของ เครื่องยนต์ การให้การหล่อล่ืนชิ้นส่วน ต่าง ๆ การเลือกใช้นา้ มนั หล่อล่ืนให้ ถูกต้องกบั เครื่องยนต์และการ บารุงรักษาตามระยะเวลา จะช่วยยืด อายุการใช้ งานของชิ้นส่ วนให้ ยาวนาน ขนึ้ เนื่องจากความเสียดทานของ เครื่องยนต์เกดิ จากการเคล่ือนทีก่ ลบั ไป กลบั มาของลูกสูบภายใน

กระบอกสูบ การหมุนของเพลาข้อเหวย่ี งและเพลาลูกเบยี้ วใน แบริง และการเคลื่อนทขี่ องชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเคร่ืองยนต์สิ่ง เหล่านีก้ ่อให้เกดิ การสึกหรอและความร้อนขนึ้ ในเคร่ืองยนต์ ความ เสียดทานทเี่ กดิ จากการสัมผสั ระหว่างโลหะกบั โลหะตามจุดต่าง ๆ ของเคร่ืองยนต์สามารถลดน้อยลงได้ด้วยการหล่อล่ืนหรือที่เรียก กนั ว่านา้ มันเครื่อง ระบบหล่อล่ืนทาหน้าที่จ่ายนา้ มนั เคร่ืองหล่อลื่น ชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์เร่ิมจากทปี่ ๊ัมนา้ มนั หล่อลื่น ( Oil pump ) ดูดนา้ มนั จากตะแกรงกรอง เข้ามาอดั จนมแี รงดนั และ ส่งผ่านรูนา้ มนั ทเ่ี พลาข้อเหวย่ี งไปหล่อลื่นแบริง เพลาข้อเหวย่ี ง แบริงก้านสูบและสลกั ลูกสูบนา้ มนั หล่อล่ืนทม่ี แี รงดนั อกี ส่วนหน่ึง ถูกจ่ายส่งไปหล่อล่ืนเพลาลูกเบีย้ วและกลไกลนิ้ ในเคร่ืองยนต์ดเี ซล ทสี่ มรรถนะสูงบางเคร่ืองมนี า้ มนั บางส่วนถูกฉีดผ่านหัวฉีด นา้ มนั เครื่องเข้าหล่อล่ืนลูกสูบและผนังกระบอกสูบ ก้านสูบของ เครื่องยนต์ ผู้ผลติ เคร่ืองยนต์หลายรายออกแบบโดยใช้นา้ มนั เคร่ือง ไปหล่อเยน็ ลูกสูบไม่ว่าจะโดยการผ่านนา้ มนั ไปในร่องในส่วนบน ของลูกสูบ หรือโดยฉีดนา้ มนั เข้าด้านล่างของส่วนบนของลูกสูบ ในระบบทวั่ ไปนา้ มนั เคร่ืองถูกฉีดขนึ้ ข้างบนใต้ลูกสูบผ่านทาง หัวฉีดที่ก้นของกระบอกสูบ นา้ มนั จะเข้าไปในช่องทางพเิ ศษที่

ด้านล่างของลูกสูบ หมุนเวยี นใต้ส่วนบนของลูกสูบและระบาย ออกผ่านช่องทางอกี ทางหน่ึงบนอกี ด้านหนึ่งของลูกสูบเม่ือมกี าร ซ่อมเคร่ืองยนต์หัวฉีดนา้ มนั เครื่องและลนิ้ กนั กลบั จะต้องถูก ตรวจสอบสภาพว่าลนิ้ กนั กลบั สปริงและวาล์วเคล่ือนตัวติดขัด หรือไม่ตรวจดูว่าหัวฉีดนา้ มนั เคร่ืองมสี ภาพเดมิ หรือไม่ คือไม่บิด งอ อุดตนั นา้ มนั หล่อลื่นเครื่องยนต์ดเี ซลไม่ได้หล่อลื่นชิ้นส่วนที่ เคล่ือนทเ่ี พยี งอย่างเดยี ว แต่จะทาหน้าทีเ่ ฉพาะจานวนหน่ึงคือ 1. ทาให้เกดิ ฟิ ล์มระหว่างชิ้นส่วนท่เี คลื่อนที่เพ่ือป้องกนั การ สัมผสั ระหว่างโลหะต่อโลหะซึ่งเป็ นผลให้การสึกหรอเกดิ ขนึ้ น้อย ทสี่ ุด กาลงั ทสี่ ูญเสียเนื่องจากความเสียดทานน้อยที่สุด และเสียง เคร่ืองยนต์จะอยู่ในระดบั ต่า 2. พาความร้อนออกจากชิ้นส่วนท่รี ้อน โดยจะทาหน้าทเี่ ป็ น สารหล่อเยน็ 3. ทาให้เกดิ ซีลระหว่างแหวนลูกสูบและผนังกระบอกสูบ 4. ทาหน้าที่เป็ นสารทาความสะอาด 5. ทาหน้าทใี่ นการต้านทานการกดั กร่อนของผวิ ที่ขดั มัน ของเครื่องยนต์จากผลที่เกดิ จากการเผาไหม้ซ่ึงเป็ นกรดที่เข้าไปใน อ่างนา้ มนั เครื่องโดยผ่านแหวนลกู สูบ

ชิ้นส่วนเคร่ืองยนต์ที่เคล่ือนทดี่ ้วยการ A แบริ่ง ขนึ้ – ลง และชิ้นส่วนท่ีเคลื่อนท่ดี ้วย การหมุนต้องการการหล่อลื่นเช่น เพลา ลูกเบยี้ วและเพลาข้อเหวย่ี งทมี่ ี นา้ มนั เคร่ือง เจอร์นัล ความสาคญั มากแกนเพลาลูกเบีย้ วจะ นั่งอยู่บนแบริง แกนเพลาทน่ี ่ังอยู่บน แบริงเรียกว่า ( Journal ) ดูรูป A แบริ่ง ในขณะทเ่ี คร่ืองยนต์ไม่หมุน เจอร์นัล จะสัมผสั กบั แบริงโดยตรงนา้ มันเคร่ือง ยงั ไม่ถูกดูดขนึ้ มาหล่อลื่นแบริงทาให้ นา้ มนั เครื่อง เจอร์นัล ทาให้แบริงแห้ง แต่เม่ือเริ่มสตาร์ทเคร่ืองยนต์ เจอร์นัลเร่ิมหมุนนา้ มนั เครื่องถูกดูด ส่งเข้ามาหล่อล่ืนแบริงทาให้เกดิ ฟิ ล์มบางๆ ดูรูป B หลงั จากเคร่ืองยนต์เพมิ่ จานวนรอบ C แบริ่ง มากขนึ้ นา้ มันหล่อล่ืนภายใต้ความดนั ของปั๊มนา้ มนั เครื่องจะถูกส่งเข้าแบริง มากขนึ้ ฟิ ล์มนา้ มันจะเร่ิมหนาขนึ้ นา้ มนั เครื่อง เจอร์นัล เจอร์นัลจะลอยตัว และหมุนอยู่บน

ฟิ ล์มนา้ มนั ซ่ึงฟอร์มตวั เป็ นลกั ษณะคล้ายลมิ่ ซึ่งเรียกว่าลม่ิ ความ ดนั ดงั แสดงในรูป C 2. ความหนืดของนา้ มันหล่อลื่น ความหนืดเป็ นคุณสมบัตขิ องเหลวซ่ึงแสดงถงึ ความสามารถ ในการไหลภายใต้อุณหภูมแิ ละความดนั ต่างๆ เช่นในฤดูหนาว อุณหภูมเิ ครื่องยนต์จะตา่ นา้ มนั หล่อล่ืนจะมคี วามหนืดสูงและยาก ต่อการสตาร์ทและสิ้นเปลืองพลงั งานของแบตเตอร่ี หลงั เครื่องยนต์ทางานไปแล้วเคร่ืองยนต์จะร้อนขนึ้ ความ หนืดของนา้ มนั จะน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในฤดูร้อน ความ หนืดจะลดลงอย่างมากเพราะความร้อนของเครื่องยนต์สูง ดงั น้ัน จะต้องเลือกใช้นา้ มนั หล่อล่ืนให้เหมาะสมกบั ฤดูกาล ปัจจุบันได้มกี ารปรับปรุงคุณภาพนา้ มนั หล่อล่ืนให้สูงขนึ้ โดยการใส่สารเตมิ แต่ง ( additive ) ซึ่งช่วยให้ความหนืดของ นา้ มนั หล่อลื่น เปลยี่ นแปลงไม่มากต่อการเปลยี่ นแปลงอุณหภูมิ นา้ มนั หล่อลื่นประเภทนีส้ ามารถใช้ได้ทุกฤดูกาลไม่ว่าจะเป็ นฤดู ร้อนหรือฤดูหนาว นา้ มนั หล่อล่ืนนีเ้ รียกว่านา้ มนั เกรดรวม ( multigrade )

3. คุณสมบตั ขิ องนา้ มนั หล่อล่ืนเคร่ืองยนต์ นา้ มนั หล่อล่ืนประกอบขนึ้ ด้วยนา้ มันหล่อลื่นพืน้ ฐาน ( base oil ) และการเตมิ สารเพม่ิ คุณภาพ ( Additives ) ทาให้ นา้ มนั หล่อล่ืนมคี ุณสมบัตเิ หมาะสมจะใช้กบั เคร่ืองยนต์ ช่วยเพม่ิ คุณภาพนา้ มนั พืน้ ฐาน ให้สูงขนึ้ ตามความต้องการ นา้ มนั หล่อลื่นพืน้ ฐานทามาจากนา้ มันธรรมชาติ สาหรับ การหล่อลื่นเครื่องยนต์เพราะมรี าคาไม่แพง นา้ มันพืน้ ฐานนีเ้ กดิ จากการกลนั่ นา้ มันดบิ ชนิดต่างๆ ซึ่งโดยท่วั ไปมี 3 แบบคือ 1. นา้ มันดบิ ฐานพาราฟิ น 2. นา้ มนั ดบิ ฐานแนฟทีน 3. นา้ มนั ดบิ ฐานผสมระหว่างพาราฟิ นกบั แนฟทีน นา้ มนั หล่อลื่นพืน้ ฐานเป็ นเพยี งคร่ึงเดยี วของนา้ มนั หล่อล่ืน เพราะ จะต้องนามาเตมิ สารเตมิ แต่ง ( additive ) เพ่ือเพมิ่ คุณภาพให้ เพยี งพอต่อสภาพการทางานของเคร่ืองยนต์ เขยี นเป็ นสมการได้ว่า นา้ มันหล่อล่ืน = นา้ มนั พืน้ ฐาน + สารเติมแต่ง ฉะน้ันนา้ มนั หล่อลื่นทม่ี คี ุณถาพจะต้องมีสารเติมแต่ง ประเภทต่างๆ ดงั นี้

1. สารชะล้าง / สารกระจายสิ่งสกปรก ( Dispersant ) ทา หน้าทช่ี ะล้างส่ิงสกปรกและกระจายส่ิงสกปรกให้ลอยตวั อยู่ใน นา้ มนั หล่อล่ืนในลกั ษณะอนุภาคสีดา สารกระจายสิ่งสกปรกทา หน้าทปี่ ้องกนั ไม่ให้อนุภาคเกาะกนั เป็ นก้อน และรวมตวั กนั เป็ น โคลน โดยรักษาให้อนุภาคแขวนลอยในนา้ มนั หล่อล่ืน แล้วอนุภาค เหล่านีจ้ ะค่อยๆ ถูกกรองออกจากนา้ มนั โดยเคร่ืองกรองนา้ มนั หรือ ถูกระบายออกจากเครื่องยนต์เม่ือเปลย่ี นนา้ มนั 2. สารป้องกนั ปฏกิ ริ ิยากบั ออกซิเจน( Oxidation inhibitor ) เมื่อนา้ มนั พืน้ ฐานถูกทาให้ร้อนและปั่นป่ วนในทมี่ อี ากาศ นา้ มนั ก็ จะรวมตวั กบั ออกซิเจนซึ่งเรียกว่า การออกซิเดชันของนา้ มันทาให้ เกดิ สารขนึ้ 3 ชนิดคือ ยางเหนียวซ่ึงทาให้ชิ้นส่วนตดิ และหรือถูก เคลือบด้วยวานิชและช่องทางนา้ มนั อดุ ตนั กรดซ่ึงตดิ กบั ผวิ แบริ่ง และโคลนซึ่งไปทาให้นา้ มันข้นขนึ้ สภาวะทีเ่ หมาะกบั การเกดิ ออกซิเดชันของนา้ มนั กค็ ือ สภาวะในห้องเพลาข้อเหวย่ี งในขณะท่ี เครื่องยนต์ทางานและเพ่ือท่จี ะลดแนวโน้มดงั กล่าว จึงมีการใส่สาร เพมิ่ คุณภาพทเี่ รียกว่าสารป้องกนั ออกซิเดชันเข้าไปใน นา้ มันหล่อล่ืน

3. สารป้องกนั การกดั กร่อน ( Corrosion inhibitor ) สาร เพมิ่ คุณภาพทเ่ี ป็ นด่างทเ่ี รียกว่า สารป้องกนั การกดั กร่อน ถูกใส่ เข้าในนา้ มนั เครื่องเพ่ือทาให้กรดท่ีเกดิ จากการออกซิเดชันของ นา้ มันหรือการเผาไหม้ให้เป็ นกลางในระหว่างการเผาไหม้ ซัลเฟอร์หรือกามะถันในนา้ มนั เชื้อเพลงิ จะรวมกบั ออกซิเจนเกดิ เป็ นออกไซด์ของซัลเฟอร์ ซ่ึงซัลเฟอร์ไทรออกไซด์ที่เกดิ ขนึ้ มานี้ จะรวมตวั กบั ไอนา้ ที่เกดิ ขึน้ มานีจ้ ะรวมตัวกบั ไอนา้ ที่เกดิ ขึน้ ใน ระหว่างการเผาไหม้กลายไปเป็ นกรดซัลฟิ วริกหรือกรดกามะถันใน ขณะทสี่ ารประกอบของซัลเฟอร์อื่นรวมกบั ไอนา้ ทาให้เกดิ กรดที่ กดั กร่อนน้อย ซึ่งกรดเหล่านีโ้ ดยธรรมชาตแิ ล้วจะกดั กร่อนผวิ โลหะทข่ี ดั มนั สูง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ถ้าผ่านแหวนลูกสูบและ ควบแน่นบนผวิ โลหะทเ่ี ยน็ ในห้องเพลาข้อเหวย่ี ง เม่ือกรดเหล่านี้ ได้เข้าไปในอ่างนา้ มนั กรดกจ็ ะกดั กร่อนผวิ เคลื่อนทขี่ องเครื่องยนต์ ไม่ว่าจะทางานหรือไม่ 4. สารเพมิ่ ค่าดชั นีความหนืด ( Viscosity index improver ) อตั ราการเปลย่ี นแปลงของความหนืดกบั อณุ หภูมถิ ูกเรียกว่า ดชั นี ความหนืดของนา้ มนั ถ้าดชั นีความหนืดสูงการเปลย่ี นแปลงความ หนืดของนา้ มนั ต่อองศาของอณุ หภูมทิ เ่ี ปลย่ี นกจ็ ะตา่ ดงั น้ันนา้ มนั

ทม่ี คี ่าดชั นีความหนืดสูงกส็ ามารถรักษาความหนืดไว้ค่อนข้างคงที่ ตลอดช่วงอณุ หภูมทิ กี่ ว้างเพื่อทจี่ ะปรับปรุงคุณสมบตั ทิ ต่ี ้องการ ของนา้ มันหล่อลื่นนี้ จงึ มกี ารเตมิ สารเพม่ิ ค่าดชั นีความหนืดใน นา้ มนั 5. สารลดจุดไหลเท ( Pour point depressant ) ทอ่ี ณุ หภูมิ ต่ามาก นา้ มันอาจจะข้นและจะไม่ ไหลในทสี่ ุด เมื่อเกดิ สภาวะ ดงั กล่าวขนึ้ กจ็ ะไม่สามารถสตาร์ตเคร่ืองยนต์ได้โดยไม่ให้ความ ร้อนแก่นา้ มันในอ่างนา้ มันก่อนจนกระท้งั กลายเป็ นของไหลเพยี ง พอทจ่ี ะยอมให้เคร่ืองยนต์หมุนและให้มกี ารหล่อล่ืนอย่างเพยี งพอ เพื่อทจ่ี ะลดอณุ หภูมซิ ึ่งนา้ มนั จะยงั คงมคี ุณสมบตั เิ ป็ นของไหลลง จะต้ องใส่ สารลดจุดไหลเท 6. สารป้องกนั การสึกหรอ ( Anti – wear ) ชิ้นส่วน เครื่องยนต์ได้รับความดนั ของการสัมผสั สูงมากในขณะการทางาน ของเคร่ืองยนต์ ความดนั จากการสัมผสั ทส่ี ูงโดยทว่ั ไปจะรวมกบั การขดั ถู ซ่ึงการรวมนีจ้ ะทาให้ฟิ ล์มของนา้ มนั แตกออกได้ง่าย เป็ นผลให้มีการสัมผสั ของโลหะกบั โลหะโดยตรง ดงั น้ันเพื่อ ป้องกนั ความเสียหายจึงมีการเตมิ สารป้องกนั การสึกหรอเข้าไปใน นา้ มนั เครื่อง สารเพม่ิ คุณภาพนีจ้ ะทาปฏกิ ริ ิยาทางเคมกี บั ผวิ โลหะ

เกดิ เป็ นฟิ ล์มบางมากทล่ี ่ืนและแขง็ แรงเป็ นพเิ ศษซึ่งฟิ ล์มเหล่านีจ้ ะ ป้องกนั การสัมผสั ของโลหะกบั โลหะในระหว่างการเคลื่อนทเ่ี ม่ือ ฟิ ล์มของนา้ มันหล่อล่ืนแตกออก 7. สารป้องกนั การเกดิ ฟอง ( Anti – foam ) จากการทางาน ของเพลาข้อเหวยี่ งทห่ี มุนตหี รือสาดกระเดน็ ร่วมกบั สารเพมิ่ คุณภาพบางตวั อาจทาให้นา้ มนั เครื่องเป็ นฟอง และฟองของ นา้ มันเคร่ืองแผ่ขยายอาจเป็ นผลให้มกี ารสูญเสียของนา้ มนั จากช่อง ระบายช่องเตมิ และอาจจะท่วมล้นไปยงั ระบบระบายแก๊สในห้อง เพลาข้อเหวย่ี งเข้าสู่ห้องเผาไหม้ ซ่ึงมีผลต่อประสิทธิภาพของการ เผาไหม้ ด้วยเหตุนีจ้ งึ มสี ารเพม่ิ คุณภาพเตมิ เข้าไปเพื่อป้องกนั การ เกดิ ฟอง 4. ชนิดของป๊ัมนา้ มันเครื่อง ปั๊มนา้ มนั หล่อล่ืนทาหน้าทด่ี ูดและอดั นา้ มนั หล่อล่ืนให้ แรงดนั ซ่ึงแรงดนั จะไม่มากหรือน้อยเกนิ ไปต้องอยู่ในค่าทก่ี าหนด เพ่ือจ่ายนา้ มันหล่อลื่นเข้าระบบอย่างพอเพยี งและให้นา้ มันทา หน้าทห่ี ล่อล่ืนระบายความร้อนและสิ่งสกปรกอย่างมีประสิทธิภาพ ปั๊มนา้ มนั หล่อลื่นได้รับกาลงั ขบั มาจากเพลาลกู เบยี้ วหรือเพลาข้อ เหวย่ี ง และเพลาขับป๊ัมท่ีออกแบบเป็ นพเิ ศษ

ปั๊มนา้ มันหล่อล่ืนท่ีใช้กบั เคร่ืองยนต์มี 2 แบบคือ 4.1 ป๊ัมนา้ มนั แบบเฟื อง ( Gear Pump ) มี 2 แบบคือ 4.1.1 ป๊ัมนา้ มนั แบบเฟื องภายใน ( Internal Gear Pump ) ป๊ัมนา้ มันหล่อล่ืนแบบเฟื องภายใน ประกอบด้วยเฟื องขบั เฟื องตาม และ เรือนป๊ัม รูนา้ มนั เข้าออกทเี่ รือน ป๊ัมจะถูกออกแบบให้เยือ้ งศูนย์เฟื องขบั ได้รับกาลงั ขบั จากเพลาข้อเหวย่ี งและ เฟื องท้งั สองจะถูกขบั ให้หมุนไป ด้วยกนั โดยมีเฟื องขับเป็ นเฟื อง ภายนอกและเฟื องตามเป็ นเฟื องภายในเม่ือเฟื องท้งั สองหมุนมาท่ี ตาแหน่งรูนา้ มนั เข้า ซึ่งตาแหน่งนีเ้ ฟื องขบั และเฟื องตามมรี ะยะ ช่องว่างมากจงึ ดูดเอานา้ มนั เข้ามา เมื่อหมุนต่อไประยะช่องว่างกจ็ ะ แคบลงทาให้นา้ มนั มแี รงดนั สูงขนึ้ เมื่อเฟื องหมุนมาทตี่ าแหน่งรู นา้ มนั ออกทเ่ี รือนป๊ัมนา้ มนั ทม่ี แี รงดนั สูงกถ็ ูกจ่ายออกไปหล่อลื่น ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์และแรงดนั นา้ มนั นีจ้ ะถูกควบคุม โดยลนิ้ ลดกาลงั ดนั

4.1.2 ป๊ัมนา้ มนั แบบเฟื องภายนอก (External Gear Pump) ป๊ัมนา้ มนั แบบเฟื องภายนอกมชี ิ้นส่วน ทป่ี ระกอบด้วยเฟื องขับ เฟื องตาม เรือนป๊ัม รูนา้ มนั เข้า รูนา้ มนั ออก เฟื องขบั จะถูกขบั ด้วยแกนปั๊ม ซ่ึงได้รับ กาลงั ขบั จากเฟื องตวั หนอนบนเพลาลูก เบยี้ ว เฟื องขบั และเฟื องตามถูกขบั ให้ หมุนไปด้วยกนั ในทศิ ทางทส่ี วนทางกนั ตลอดเวลาทเี่ ครื่องยนต์ทางาน เฟื องขับและเฟื องตามท่ีช่องว่าง ของฟันเฟื องท้งั สอง จะดูดกวาดนา้ มนั เข้ามาในห้องบรรจุ และ นา้ มนั ทฟี่ ันเฟื องขบั มาอดั เข้ากนั ทาให้ห้องบรรจุทอี่ ยู่ระหว่าง ฟันเฟื องท้งั สองในเรือนปั๊มเลก็ ลงนา้ มันจึงมแี รงดันสูงขนึ้ และถูก จ่ายออกผ่านไปทางท่อนา้ มันออกเพื่อไปหล่อล่ืนชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองยนต์

4.2 ป๊ัมนา้ มันแบบโรเตอร์หรือป๊ัมแบบโทรชอยด์ (Rotor Trochoid Pump) ปั๊มแบบโรเตอร์ทางานคล้ายกบั ป๊ัมนา้ มันแบบเฟื องภายใน ประกอบด้วยเรือนป๊ัมโรเตอร์ตัวใน โรเตอร์ตัวนอก โรเตอร์ตวั ในจะสวม อยู่ในโรเตอร์ตวั นอกและสวมอยู่ใน เรือนป๊ัมสาหรับโรเตอร์ตัวในจะเป็ นตัว ขบั โดยมเี พลาขบั ปั๊มซึ่งต่อมาจากเฟื องตวั หนอนบนเพลาลูกเบีย้ ว ขณะทเี่ คร่ืองยนต์ทางานโรเตอร์ตวั ในและโรเตอร์ตวั นอกหมุนมา ตรงกบั รูนา้ มนั เข้าตรงระหว่างปลายโรเตอร์จะแคบลงนา้ มนั กถ็ ูก อดั ตัวให้มแี รงดัน สูงจะถูกจ่ายผ่านออกไปหล่อลื่น ชิ้นส่ วนเครื่ องยนต์เนื่องจากป๊ัม นา้ มันหล่อล่ืนได้รับกาลงั ขับมาจาก ชิม เครื่องยนต์ เมื่อเคร่ืองยนต์มรี อบต่า แรงดนั นา้ มนั จะต่า และเม่ือความเร็ว นำ้ มันระบำยทงิ้ ลง รอบของเครื่องยนต์สูงขนึ้ ทาให้ อ่ำงนำ้ มันเคร่ือง

แรงดนั นา้ มนั สูงขนึ้ ด้วยซ่ึงปกตแิ รงดนั ของนา้ มนั จะต้องอยู่ในค่าท่ี กาหนดเพราะถ้าแรงดนั นา้ มนั เครื่องสูงเกนิ ไปเป็ นสาเหตุของการ ร่ัวไหลและเกดิ การสูญเสียกาลงั ของเครื่องยนต์ เพ่ือป้องกนั ไม่ให้ เกดิ สาเหตุดงั กล่าวจงึ ต้องมลี นิ้ ควบคุมแรงดนั นา้ มนั หล่อล่ืน ( Oil pressure regulator ) ซึ่งมหี ลกั การดงั นี้ ชุดควบคุมแรงดนั ถูกออกแบบให้อยู่ในส่วนของเรือนปั๊มโดย มชี ่องนา้ มันต่อเชื่อมกบั ทางส่งนา้ มนั จากป๊ัมออกไปใช้งาน กระบอกทต่ี ดิ ต้งั ลนิ้ ควบคุมจะมชี ่องนา้ มนั เลก็ ๆ อยู่หนึ่งช่องซ่ึง ถูกปิ ดด้วยลนิ้ โดยมสี ปริงเป็ นตวั ควบคุม ขณะเครื่องยนต์รอบตา่ นา้ มันหล่อลื่นมีกาลงั ดนั ต่าไม่สามารถดนั ลิน้ ระบายให้เปิ ดนา้ มนั ภายใต้แรงดนั จากป๊ัมจงึ ถูกจ่ายไปใช้งาน เม่ือเครื่องยนต์มคี วามเร็วรอบสูงขนึ้ นา้ มนั หล่อล่ืนจากป๊ัม จะมแี รงดนั สูงจนเอาชนะแรงดนั ของสปริงทดี่ นั ลนิ้ ระบายยุบตวั ทาให้ลนิ้ ระบายเคลื่อนตวั เปิ ดช่องนา้ มันทาให้นา้ มันไหลกลบั ลง อ่างนา้ มันเคร่ือง ทาให้นา้ มนั หล่อลื่นจากป๊ัมมแี รงดนั ลดลงอยู่ใน ระดบั ทเ่ี หมาะสมกบั การใช้งานและเมื่อเคร่ืองยนต์รอบต่าลง นา้ มันหล่อลื่นจากป๊ัมมแี รงดนั ลดลงด้วยทาให้สปริงดนั ลนิ้ ระบาย แรงดนั มกี าลงั ดนั มากกว่าจงึ ดนั ให้ลนิ้ ระบายแรงดนั เคลื่อนตัวปิ ด

ช่องระบายนา้ มนั หล่อล่ืน จงึ ทาให้แรงดนั นา้ มันเคร่ืองภายใต้ แรงดนั ของป๊ัมถูกจ่ายไปใช้งานอคี ร้ังหนึ่ง ในระหว่างการซ่อมใหญ่ปั๊มนา้ มนั ชุดควบคุมแรงดนั จะต้องตรวจสอบความยาวอสิ ระของสปริง และถ้ามขี ้อกาหนดให้ ตรวจสอบความยาวเม่ือถูกกดด้วยแล้วตรวจลนิ้ ระบายและเสื้อลนิ้ ดูการสึกหรอและ / หรือรอยขูดขดี ให้เปลยี่ นชิ้นส่วนทมี่ รี อยของ การสึกหรอความเสียหาย เมื่อประกอบลนิ้ ระบายให้แน่ใจว่าลนิ้ ระบายสามารถเคล่ือนท่ไี ด้อย่างอสิ ระในเสื้อ ถ้าการเคลื่อนทขี่ อง ลนิ้ ระบายตดิ ขดั อาจเป็ นผลให้ความดนั ของระบบหล่อล่ืนสูงเกนิ และอาจทาให้เกดิ ความเสียหายแก่ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ เช่น กรองนา้ มนั เคร่ือง และเครื่องหล่อเยน็ นา้ มันได้ 5. วธิ ีใช้เครื่องมืออุปกรณ์ตรวจสอบระยะช่องว่างโรเตอร์ป๊ัม นา้ มนั เครื่องและลนิ้ กนั กลบั , หัวฉีดนา้ มนั เคร่ือง 5.1 วธิ ีใช้งานฉาก ( Try Square ) หรือฉากเส้นผม แบบคมมดี เป็ นเคร่ืองมือใช้ตรวจสอบการได้ฉาก ของงานต่างๆ ท่มี ีขนาดเลก็ มี ส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ใบฉากและ ด้ามฉาก โดยท้งั 2 ส่วนยดึ ตดิ กนั เป็ น

มุม 90o ทาจากเหลก็ กล้าเจยี ระไนผวิ เรียบทุกด้าน ขาด้านส้ันต้งั ฉากกบั ขาด้านยาว การใช้ฉากเหลก็ เพื่อตรวจสอบมุม 90o ของ ชิ้นงานเป็ นการตรวจสอบโดยนาฉากเหลก็ ไปแนบในจุดที่ ตรวจสอบ การบารุงรักษา ฉากมดี งั นี้ 1. วางฉากลงบนโต๊ะปฏบิ ัตงิ านเบาๆ อย่างระมดั ระวงั เม่ือ นาไปใช้งานแต่ละคร้ัง 2. ไม่นาฉากไปใช้งานลกั ษณะอื่นทนี่ อกเหนือจากการวดั ฉากไม่ ใช้ด้ามฉากเคาะหรือตอกแทนค้อน 3. ทาความสะอาดฉากให้ปราศจากฝ่ นุ ก่อนเช็ดด้วยนา้ มนั เคร่ือง เพื่อกนั สนิม 4. ระมัดระวงั อย่าให้ฉากตกลงพืน้ เพราะจะทาให้ฉาก คลาดเคล่ือนจากความเท่ียงตรง 5. เกบ็ ฉากไว้ไม่วางทับซ้อนกบั เครื่องมือชนิดอ่ืนซ่ึงจะมผี ลเสีย ต่อฉากจะบดิ งอได้

5.2 วธิ ีใช้งานฟิ ลเลอร์เกจ ฟิ ลเลอร์เกจ เป็ นเหลก็ แข็งแบนเรียบ ผ่านการชุบแขง็ ฟิ ลเลอร์เกจแผ่นหน่ึง จะมีความหนาขนาดหน่ึงและทาเป็ น ชุดๆ ชุดหนึ่งมหี ลายแผ่นรวมกนั ไว้ด้วย สลกั ในด้ามมีลกั ษณะเรียวและปลายมน เพ่ือสะดวกแก่การเข้าไปวดั ความหนา ของฟิ ลเลอร์เกจทุกแผ่นจะมีตวั เลข กากบั ไว้ขนาดต่างๆ ของฟิ ลเลอร์เกจที่ บอกขนาดเป็ นนิว้ ปกตจิ ะมีความหนา ต้งั แต่ 0.0015 - 0.025 นิว้ ส่วนความ หนาทเี่ ป็ นมลิ ลเิ มตรจะมีความหนา ต้งั แต่ 0.02 - 1 มม. การตรวจสอบชิ้นงานด้วยฟิ ลเลอร์เกจ เป็ นการวดั ระยะช่องว่าง ระหว่างผวิ งานหรือผวิ งานทีป่ ระกอบกนั ให้ได้ระยะช่องว่างตามที่ กาหนดโดยการสอดแผ่นเกจเข้าไปวดั เมื่อสอดเข้าไปแล้วขยบั แผ่น เกจไป – มา ถ้าระยะทวี่ ดั เท่ากบั ความหนาของแผ่นเกจสามารถ สอดและดงึ ออกได้ด้วยความฝื ดทเ่ี หมาะสม

ข้อควรระวงั การใช้ฟิ ลเลอร์เกจ อย่าออกแรงดันให้แผ่นเกจ เข้าไปในระหว่างผวิ งานท่ีมคี ่าระยะช่องว่างเลก็ กว่าความหนาของ ฟิ ลเลอร์เกจเพราะอาจทาให้แผ่นเกจเสียหายได้ 5.3 วธิ ีใช้งานประแจหกเหลย่ี มหรือประแจแอล ( Hexagon Wrench ) ประแจหกเหลย่ี มหรือประแจแอลใช้ สาหรับสลกั เกลยี วท่ีทาเป็ นหัวกลม ส่วนกลางทาเป็ นรูหกเหลย่ี มซึ่งใช้ สาหรับงานทเ่ี ป็ นพเิ ศษ เช่น สลกั เกลยี ว ปรับชิ้นงาน (set-screw) สลกั เกลยี วยึด เพลา ฯลฯ ประแจแอลจะผลติ จาก เหลก็ กล้าตขี นึ้ รูปหกเหลย่ี มและชุบแขง็ ทาเป็ นรูป L ขนาดปลายท้งั สองด้าน เท่ากนั และขนาดมาตรฐานเท่ากบั รูที่ หัวสลกั สัมพนั ธ์กบั แรงบิดทท่ี าต่อเกลยี วดงั น้ัน ข้อท่ตี ้องระวงั ใน การใช้ประแจแอลคือ ความพอดขี องแรงที่ใช้ในการ ขนั – คลาย เกลยี วต้องไม่ทาให้เกลยี วเสียหายด้วย

ข้อควรระวงั ในการใช้ประแจแอลคือ ความพอดขี องแรงทีใ่ ช้ใน การขนั ซึ่งอาจทาให้เกลยี วเสียหายและหรือวสั ดุทถ่ี ูกขนั เกดิ ความ เสียหายได้ ข้อท่คี วรระวงั อกี อย่างในการขันหรือการคลายแป้น เกลยี วหรือสลกั เกลยี วกค็ ือไม่ควรกดนา้ หนักมากเกนิ ไปในตอน แรก ควรจะค่อยๆ ออกแรงกด 5.4 วธิ ีใช้งานไขควงปากแบน ( Screw diver ) ใช้สาหรับขนั สกรูทดี่ ้ามมฉี นวนหุ้มเพ่ือ ความปลอดภยั ของผู้ใช้งานโดยขนาด และรูปร่างของไขควงจะถูกออกแบบ ตามลกั ษณะการใช้งานไขควง ประกอบด้วย 3 ส่วนได้แก่ 1. ด้ามไขควง ( Handle ) 2. ก้านไขควง ( Blade of Ferule ) 3. ปากไขควง ( Tip ) ด้ามไขควงถูกออกแบบให้มรี ูปร่างทส่ี ามารถจบั ได้อย่างถนัดมือ การบดิ ไขควง ไป – มา สามารถทาได้โดยใช้แรงได้มากสุดโดย ส่วนใหญ่แล้วด้ามของไขควงจะทาจากวสั ดุทเ่ี ป็ นฉนวนไฟฟ้า เช่น ไม้, พลาสตกิ หรืออาจทาจากโลหะบางชนิดตามลกั ษณะการใช้

งานปากไขควงทาจากเหลก็ กล้าช้ันดี ทาเป็ นทรงกลมหรือสี่เหลย่ี ม จตั ุรัสกไ็ ด้โดยเหลก็ กล้าเหล่านีจ้ ะถูกนามาตขี นึ้ รูปให้ลาดแบนและ ชุบแขง็ ด้วยความร้อน ในส่วนทไี่ ม่ได้ตขี นึ้ รูป กจ็ ะกลายเป็ นก้าน ไขควง ก้านไขควงมีท้งั ก้านกลมและก้านเหลยี่ ม ไขควงก้านกลมจะใช้ สาหรับงานเบา ส่วนไขควงท่ีเป็ นก้านเหลย่ี มจะใช้สาหรับงานหนัก เพราะก้านท่ีเป็ นเหลยี่ มจะสามารถใช้ประแจหรือคมี จบั เพ่ือเพม่ิ แรงบดิ ของงาน ไขควงปากแบนใช้กบั สกรูมรี ่องทห่ี ัวเป็ นเส้นตรง การใช้งานให้สังเกต ความหนาและความกว้างของปากไขควง เลือกใช้ให้พอดกี บั ร่องหัวสกรู ไม่ใช้ไขควงทมี่ ปี ากเลก็ หรือใหญ่ เกนิ ไป จะทาให้หัวสกรูชารุด ไขควงทใ่ี ช้งานโดยทว่ั ไปมี 2 ประเภทคือ 1. ไขควงปากแบน คือไขควงทม่ี ี ลกั ษณะปากแบนเป็ นเส้นตรงลาด เอยี งไปยงั สุดของปลายไขควงใช้ไข สกรูทเี่ ป็ นร่องเส้นเดยี ว

2. ไขควงปากแฉก คือไขควงท่ีมี ลกั ษณะปากเป็ นส่ีแฉกใช้ไขสกรูทมี่ ี ร่องของสกรูเป็ นส่ีแฉกเวลาจะบดิ จะต้องใช้แรงกดทด่ี ้ามมาก กว่าไข ควงปากแบน เพ่ือไม่ให้เหลยี่ มที่ปาก ของไขควงหลุดออกจากร่องก่อนใช้ งานไขควงควรตรวจสภาพไขควงให้ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานทุกคร้ัง คือ ปากไขควงจะต้องเรียบไม่มีรอยบิด เพราะไขควงทชี่ ารุด เม่ือถูกนาไปใช้งานปากไขควงจะไม่สามารถ สัมผสั กบั ร่องของหัวสกรูเตม็ ทเ่ี มื่อใช้งานอาจเกดิ ลื่นหลุดจากหัว สกรูและทาให้เกดิ อนั ตรายต่อผู้ใช้งาน วธิ ีใช้และบารุงรักษาไขควง มดี งั นี้ 1. ไม่ใช้ไขควงแทนสกดั หรือค้อน 2. ไม่ใช้ไขควงที่เปื้ อนนา้ มันเพราะอาจเกดิ อนั ตราย 3. เลือกใช้งานทม่ี ลี กั ษณะปากตรงกบั ชนิดของหัวสกรู 4. เม่ือเลกิ ใช้งานทาความสะอาดและเกบ็ เข้าทีใ่ ห้เรียบร้อย

5.5 วธิ ีใช้งานประแจวดั แรงบดิ ( Torque Wrench ) ประแจวดั แรงบดิ หรือ ประแจปอนด์ใช้วดั แรงบิดในการ ขนั สลกั เกลยี ว แป้นเกลยี วและสกรูหัวเหลย่ี มชนิดต่าง ๆ ประแจ วดั แรงบดิ จะช่วยให้การทางานมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ คือทาให้ สามารถขนั เกลยี วเพ่ือตดิ ต้งั ชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยแรงบิด ตามท่ีกาหนดไว้ ทาให้ชิ้นส่วนน้ันตดิ ต้งั อย่างถาวรทส่ี ุด ในขณะที่ สลกั เกลยี วหรือแป้นเกลยี วกร็ ับแรงกด – แรงดงึ ได้เต็มท่ีโดยไม่ เป็ นอนั ตรายต่อตัวเกลยี ว การใช้ประแจวดั แรงบิดเป็ นการหาค่า ของแรงทกี่ ระทาในการขนั เกลยี ว คูณด้วยระยะทางจากเส้นผ่าน ศูนย์กลางของสลกั เกลยี วมาถงึ มือทอ่ี อกแรงดงึ ด้ามประแจ ค่าทไี่ ด้ จะแสดงบนหน้าปัทม์ หรือเขม็ ชี้ที่ติดต้งั บนประแจ น้ันสามารถ อ่านค่าได้ทนั ที อ่านค่าเป็ น \" ฟุต – ปอนด์ \" หรือ \" กโิ ลกรัม – เมตร \" หรือ \" กโิ ลกรัม – เซนตเิ มตร \" เครื่องมือวดั แรงบิด สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ

ประเภทท่ี 1 Indicating Torque Tool เป็ นเคร่ืองมือท่ีบ่งชี้โดยจะแสดงผล แบบสเกลทางกลแบบเขม็ ชี้หรือเป็ น แบบตวั เลขดจิ ิทัล ประเภทท่ี 2 Setting Torque Tool ประเภทนีจ้ ะต้องต้งั แรงบดิ ตามที่ต้อง การก่อนเม่ือออกแรงกระทาต่อเกลยี ว ถึงขดี ท่กี าหนดจะมสี ัญญาณเสียงหรือ อื่นๆ แสดงออกมาว่าถงึ ขีดทต่ี ้องการใช้ แรงกระทาต่อเกลยี วแล้ว หัวขับประแจกระบอกของประแจวดั แรงบดิ จะเป็ นหัวขบั ชนิดส่ีเหลยี่ มจตั ุรัสสาหรับตดิ กบั ตวั ประแจ กระบอกทัว่ ไป หัวขบั นีจ้ ะทามา 2 ขนาดคือ 1/4 นิว้ และ 1/2 นิว้ ( 6 และ 12 มม. ) เน่ืองจาก ประแจปอนด์เป็ นเครื่องมือท่ีต้องวดั แรงบดิ ท่ีกระทาต่อเกลยี ว ดงั น้ันเกลยี วของสลกั เกลยี วและแป้น เกลยี วจะต้องสะอาดและไม่มีสิ่งแทรกซ้อน อื่นทจี่ ะทาให้การวดั

แรงผดิ ปกติ เช่น การสั่นไหว เกลยี วเป็ นสนิม เกลยี วตาย เกลยี ว เยนิ ฯลฯ ซึ่งเป็ นผลให้ต้องใช้แรงเกนิ กว่าทก่ี าหนดซ่ึงอาจทาให้ เกลยี วชารุดได้ ปัจจุบันความก้าวหน้าในวชิ าโลหะวทิ ยาเป็ นไป อย่างรวดเร็ว ทาให้การพฒั นาการผลติ สลกั เกลยี วและแป้นเกลยี ว อย่างมากมาย ดงั น้ันการทางานในปัจจุบันจงึ จาเป็ นต้องใช้ประแจ วดั แรงบดิ มากขนึ้ เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทางาน แรงที่ใช้ใน การขนั เกลยี ว หน้าทข่ี องผู้ปฏิบัตงิ านจะต้องศึกษาตารางกาหนด แรงขนั เกลยี ว ซึ่งบริษทั ผู้ผลติ เครื่องยนต์ได้กาหนดไว้ในคู่มือซ่อม การใช้ประแจวดั แรงบิดมดี งั นี้ 1. ต้องรู้ค่ากาหนดการขนั โดยดูจากคู่มือซ่อม 2. ใช้ประแจให้มีขนาด แรงขันเหมาะสมกบั งาน ไม่ใช้ประแจวดั แรงบดิ ด้วยการต่อด้าม 3. การขันดงึ เข้าหาตนเองเพ่ือความปลอดภยั ใช้แรงขนั ท่ีสม่าเสมอ อย่ากระชากจะชารุด 4. ประแจวดั แรงบดิ ทห่ี ัวประแจเป็ นแบบกร๊อกแกร๊กหลงั ใช้งาน ควรหยอดนา้ มันหล่อล่ืนทใี่ ส 5. ประแจวดั แรงบิดเป็ นเคร่ืองมือวดั แยกเกบ็ ไว้ในกล่องที่ แขง็ แรง ไม่ปะปนกบั เคร่ืองมืออื่น

5.6 วธิ ีใช้งานประแจกระบอก (Socket Wrench) ประแจกระบอก ใช้ครอบบนหัวแป้น เกลยี วหรือหัวสลกั เกลยี ว ปากประแจมี ลกั ษณะภายในคล้ายประแจแหวน ประแจกระบอกส่วนบนจะทาเป็ น รูสี่เหลยี่ มไว้ แล้วใช้ด้ามต่อหรือด้าม ขนั แบบต่างๆ ท่ีมปี ลายทาเป็ นสี่เหลย่ี ม เพ่ือสวมลงไปประกอบการใช้งาน ในรู สี่เหลย่ี มของตวั ประแจจะเซาะร่องรูป คร่ึงวงกลมไว้ระหว่างกลางของ ความ ลกึ ของรูไว้ท้งั ส่ีด้านเพ่ือเป็ นทล่ี อ็ กให้ตวั ประแจตดิ กบั ด้าม โดยท่ี ด้ามกจ็ ะฝังลูกปื นกลม มสี ปริงดนั ให้ยื่นพ้นผวิ เรียบของข้อต่อ สี่เหลย่ี ม ประแจกระบอกใช้ขันหรือคลายแป้นเกลยี วและสลกั เกลยี วได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือไม่ทาให้หัวแป้นเกลยี วหรือหัว สลกั เกลยี วเยนิ หรือชารุด เพราะปากประแจมลี กั ษณะภายในคล้าย ประแจแหวนสามารถจบั ได้ทุกเหลยี่ ม ประแจกระบอกส้ันจะใช้ ครอบบนหัวแป้นเกลยี วหรือหัวสลกั เกลยี วที่ย่ืนพ้นผวิ งานไม่ลกึ มากนักเพ่ือกวดเข้าหรือคลายออก ประแจกระบอกมีประโยชน์ใช้

งานได้ดที ส่ี ุดและใช้กนั มากกว่าประแจชนิดอื่นๆ เพราะใช้งานได้ คล่องไม่ลื่นไถลหลุดง่าย 5.7 วธิ ีใช้งานด้ามต่อ ( Extension ) ด้ามต่อใช้สาหรับต่อกบั ประแจกระบอก และด้ามขนั เล่ือนหรือด้ามขันเหวยี่ ง เพ่ือขนั สลกั เกลยี วหรือแป้นเกลยี วทอี่ ยู่ ลกึ โดยทปี่ ระแจอื่นๆ ไม่สามารถใช้งาน ได้ด้ามต่อมีท้งั แบบยาวและแบบส้ันจงึ ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกบั งานทที่ าไม่ ควรใช้ด้ามต่อแทนค้อนหรือเหลก็ ตอก จะทาให้ชารุดเสียหาย 5.8 วธิ ีใช้งานด้ามขนั เหวย่ี ง (Thickened handle) ใช้สาหรับคลายแป้นเกลยี วหรือสลกั เกลยี วที่ต้องการแรงขันมาก ด้ามทยี่ าว จะเหมือนกบั ต่อคาน ให้ยาวทาให้ขนั หรือคลายออกได้ง่ายขนึ้ ด้ามขนั จะ แกว่งเป็ นส่วนโค้งของวงกลม ทาให้ สามารถเลือกมุมทถี่ นัดในการขนั และคลายได้ตามความต้องการ

5.9 วธิ ีใช้งานมดี ขูด เมื่อมกี ารซ่อมและปรับปรุงสภาพ เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนต่างๆ ของ เครื่องยนต์จะถูกถอดออกมาเพื่อ ตรวจสอบ หาข้อขัดข้องเพ่ือนาไป แก้ไขปรับปรุงให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ งาน ในการตรวจสอบชิ้นส่วนจะต้องมีการทาความสะอาดเพ่ือ นาเอาคราบเขม่า คราบปะเกน็ เก่าและสิ่งสกปรกทตี่ ดิ อยู่ออกก่อน เพราะคราบปะเกน็ น้ันตดิ แน่น ต้องใช้มดี ขูดทาความสะอาดการใช้ มดี ขูดต้องระมดั ระวงั ไม่ทาให้ผวิ งานน้ันเป็ นรอยขูดขดี 5.10 วธิ ีใช้งานผ้าเช็ดมือ การปฏบิ ตั ิงานต้องกระทาอย่างมี ประสิทธิภาพและถูกต้องตามหลกั การ ท้ังนีก้ เ็ พ่ือให้ผลงานน้ันออกมาดมี ี คุณภาพ มอี ายุการใช้งานยืนยาว การ ปฏิบตั งิ านความสะอาดเป็ นสิ่งสาคญั อย่างยง่ิ เพราะการประกอบชิ้นส่วนที่ เคลื่อนไหวเข้าในตาแหน่งเดมิ ถ้ามีสิ่ง

สกปรกหลงเหลืออยู่จะทาให้ชิ้นส่วนเกดิ การเสียดสีบด บี้ กบั ส่ิง สกปรกเกดิ การสึกหรอเร็วกว่าปกตแิ ละอาจชารุดเสียหายโดยทนั ที กไ็ ด้ฉะน้ันต้องระมดั ระวงั ในเรื่องความสะอาด ก่อนประกอบต้อง ไม่ลืมว่าชิ้นส่วนทม่ี กี ารเคลื่อนไหวด้วยการหมุนหรือเคล่ือนที่ ขนึ้ – ลง ต้องใช้นา้ มนั หล่อล่ืนทส่ี ะอาดมคี ุณภาพคุณภาพชโลม ชิ้นส่ วนก่อนประกอบเสมอ 5.11 วธิ ีใช้งานกระบะใส่เคร่ืองมืออปุ กรณ์ กระบะใช้ใส่เครื่องมืออปุ กรณ์ในการ ปฏิบัตงิ านและใช้สาหรับใส่นา้ มันเพื่อ ล้างชิ้นส่วนต่างๆ ให้สะอาด กระบะต้อง มขี อบทสี่ ูงพอสมควรท้งั นีก้ เ็ พื่อไม่ให้ นา้ มนั ทใ่ี ช้ทาความสะอาดน้ันกระเดน็ ลงพืน้ โต๊ะทใ่ี ช้ปฏบิ ตั งิ านการทาความสะอาดกระบะควรใช้ลมเป่ า และผ้าเช็ดให้แห้งไม่ควรเคาะกระบะกบั พืน้ เพราะจะทาให้ขอบ กระบะบุบเสียรูปทรง

5.12 วธิ ีใช้งานสายลมและปื นเป่ าลม สายลมและปื นเป่ าลมใช้เป่ าส่ิงสกปรก ทาความสะอาดชิ้นส่ วนของเครื่ องยนต์ ข้อควรระวงั ห้ามนาปื นเป่ าลมทาความ สะอาดส่ิงทต่ี ดิ อยู่บนเสื้อผ้าหรือบริเวณ ศีรษะอาจเกดิ อนั ตรายได้ 5.13 วธิ ีใช้งานแปรงขนอ่อน ใช้ ล้างทาความสะอาดชิ้นส่ วนของ เคร่ืองยนต์ ใช้ทาความสะอาดส่ิง สกปรกและคราบนา้ มัน การทาความ สะอาดแปรงหลงั การใช้งาน ใช้มือบีบ ขนแปรงให้สะเดด็ นา้ มันแล้วใช้ผ้าแห้งเช็ดขนแปรง 5.14 วธิ ีใช้งานคู่มือการซ่อม ในคู่มือการซ่อมเม่ือเปิ ดหน้าแรกจะพบ วธิ ีการใช้คู่มือประกอบด้วย คานา, คู่มือ การซ่อมเครื่องยนต์ ( สารบญั ) ซึ่งได้ ระบุ ช่ือหมวด และหัวข้อหลกั ไว้ท่ี ด้านบนของทุก ๆ หน้า ซึ่งหัวข้อเร่ือง

ได้ถูกระบุไว้ในหน้าแรกของแต่ละหมวดเพื่อนาไปสู่หัวข้อที่ ต้องการซ่อม เช่น บทนา บน , กลไกเครื่องยนต์ กย , ระบบ เชื้อเพลงิ ชพ , ระบบหล่อเยน็ ลย , ระบบหล่อลื่น ลล, ระบบ สตาร์ท สต , ระบบไฟชาร์จ ฟช ,ค่ากาหนดการบริการ ก, ค่า กาหนดแรงขนั โบลท์มาตรฐาน ข, เครื่องมือพเิ ศษและวสั ดุพเิ ศษ สาหรับบริการ ค, นักเรียนต้องการจะซ่อมหัวข้อหลกั ใดให้ นักเรียนเปิ ดดูทด่ี ้านบนหน้ากจ็ ะพบวธิ ีการซ่อมและค่ากาหนด 6. สถานทเ่ี กบ็ เครื่องมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบระยะช่องว่างโร เตอร์ปั๊มนา้ มนั เคร่ืองและลนิ้ กนั กลบั , หัวฉีดนา้ มันเครื่อง เครื่องมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบเกบ็ ไว้ในห้องเครื่องมือการนา เคร่ืองมือไปใช้งานมขี ้นั ตอนดังต่อไปนี้ 6.1 นาใบเบกิ เคร่ืองมือให้กบั ผู้จ่ายเครื่องมือ ผู้เกบ็ เคร่ืองมือจ่าย เคร่ืองมือให้กบั นักเรียน 6.2 ผู้เกบ็ รักษาเคร่ืองมือจะเกบ็ ใบเบกิ เครื่องมือไว้จนกว่าจะนา เครื่ องมือมาส่ งคืน

7. วธิ ีเบิกเคร่ืองมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบ การเขียนใบเบิกเคร่ืองมือเป็ นการสร้าง จิตสานึกให้ช่วยกนั รักษาเคร่ืองมือไม่ให้ สูญหายและมวี นิ ัยในการทางาน รับผดิ ชอบร่วมกนั การนาเคร่ืองมือไป ใช้งานจะต้องเขยี นใบเบกิ เคร่ืองมือ ให้กบั เจ้าหน้าทผ่ี ู้ควบคุมดงั นี้ 7.1 เขยี นช่ือ นามสกลุ ช้ันปี กลุ่ม รหัส แผนกวชิ า เขียนวนั ท่ี เดือน พ.ศ. 7.2 เขยี นรายการเคร่ืองมือ จานวนทเ่ี บิก ลงช่ือผู้เบิกและ ลงช่ือ อาจารย์ผ้สู อน 8. ข้อควรระวงั ในการเตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบ 8.1 ฉากและฟิ ลเลอร์เกจ ไม่นาไปวางรวมกบั เครื่องมือมีคมเช่น เล่ือย ตะไบ 8.2 ระวงั ฉากตกพืน้ จะชารุดเสียหายและไม่นาเคร่ืองมืออุปกรณ์ อ่ืนๆ วางทบั บนฟิ ลเลอร์เกจ

9. วธิ ีตรวจสอบลนิ้ ระบายของปั๊มนา้ มันเครื่อง 9.1 วางตัวเสื้อสายพานไทม์ม่ิงลงบน ท่อนไม้ให้เขม็ ชี้จงั หวะจุดระเบิด สูงกว่าพืน้ เพ่ือป้องกนั การชารุด เขม็ ชี้จงั หวะจุดระเบิด เสียหาย 9.2 ใช้ประแจหกเหลย่ี มขนาด 12 มม. ถอดปลก๊ั ปะเกน็ สปริง และลนิ้ ระบายออก 9.3 ใช้แปรงขนอ่อนและนา้ มันล้าง ทา ความสะอาดสปริง และลนิ้ ระบาย ให้สะอาด 9.4 ใช้นา้ มันเคร่ืองทสี่ ะอาดและมี คุณภาพเคลือบทล่ี นิ้ ระบาย

9.5 นาลนิ้ ระบายใส่ในเบ้าลนิ้ และ ตรวจสอบว่ามันสามารถตกลงไป ในเบ้าลนิ้ โดยนา้ หนักของตัวมัน เองด้วยความน่ิมนวล หรือการตก ลงไปในเบ้าลนิ้ ติดขันให้นาอาการท่ตี รวจสอบไปบันทึกลงในตาราง ใบงานในช่องที่ 1 10. ข้อควรระวงั ในการตรวจสอบลนิ้ ระบายของปั๊มนา้ มันเคร่ือง ระวงั อย่าให้เขม็ ชี้จงั หวะจุดระเบดิ ชารุด 11. วธิ ีบนั ทึกผลการตรวจสอบลนิ้ ระบายของปั๊มนา้ มันเคร่ืองลงใน ตารางใบงาน จุดทต่ี รวจวดั การตกลงไปใน ประเมนิ ผลและวนิ ิจฉัยผลการ เบ้าลนิ้ ได้ ค่าทวี่ ดั ได้ ตรวจสอบกบั คู่มือการซ่อม คล่องตวั หรือ ( ช่อง 2 ) เปลย่ี นปั๊ม ติดขดั (ช่อง 1) ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ นา้ มนั เคร่ือง ลนิ้ ระบาย ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างเสื้อโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างปลายโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ให้นาผลการตรวจสอบลนิ้ ระบายมาบันทึกลงในตารางใบงานใน ช่อง 1 “ การตกลงไปในเบ้าลนิ้ ได้คล่องตัวหรือตดิ ขดั ”

12. ข้อควรระวงั ในการบนั ทึกผลการตรวจสอบลนิ้ ระบายลงใน ตารางใบงาน เช็ดมือให้สะอาดก่อนท่ีจะบนั ทกึ ผลการตรวจสอบลงในใบงาน เพราะถ้าใบงานเปื้ อนสกปรกจะทาให้ข้อมูลทบ่ี นั ทกึ เสียหาย 13. วธิ ีตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของป๊ัมนา้ มนั เครื่อง 13.1 ใช้ไขควงปากแฉก ถอดสกรู 8 ตัว ออก 13.2 ใช้ฟิ ลเลอร์เกจวดั ช่องว่างระหว่าง โรเตอร์ตวั ตามและตวั เรือน แล้ว จดบนั ทกึ ค่าท่วี ดั ได้ลงในตาราง ใบงานช่องที่ 2 14. ข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มนั เครื่อง การตรวจสอบระยะห่างควรกระทาหลายๆ จุดเพ่ือความถูกต้อง

15. วธิ ีบันทึกผลการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ของปั๊ม นา้ มันเครื่องลงในตารางใบงาน การตกลงไปใน ประเมนิ ผลและวนิ ิจฉัยผลการ จุดทตี่ รวจวดั เบ้าลนิ้ ได้คล่องตวั ค่าทว่ี ดั ได้ ตรวจสอบกบั คู่มือการซ่อม หรือตดิ ขัด ( ช่อง 2 ) เปลย่ี นป๊ัม (ช่อง 1) ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ นา้ มนั เคร่ือง ลนิ้ ระบาย ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างเสื้อโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างปลายโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ให้นาผลการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโรเตอร์ป๊ัมนา้ มนั เคร่ืองทว่ี ดั ได้ บนั ทกึ ในตารางใบงาน “ ค่าทวี่ ดั ได้ ” ( ช่อง 2 ) 16. ข้อควรระวงั ในการบนั ทกึ ผลการตรวจสอบระยะห่างเสื้อโร เตอร์ลงในตารางใบงาน เช็ดมือให้สะอาดก่อนท่จี ะบันทกึ ผลการตรวจสอบลงในใบงาน 17. วธิ ีตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ของปั๊มนา้ มนั เครื่อง ใช้ฟิ ลเลอร์เกจ วดั ช่องว่างระหว่าง ด้านข้างของโรเตอร์กบั ฉาก แล้วจด บันทกึ ค่าทวี่ ดั ได้ลงในตารางใบงาน

18. ข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มนั เครื่อง การตรวจสอบระยะห่างควรตรวจสอบหลายๆ คร้ังและหลายๆ จุดเพ่ือความแม่นยา 19. วธิ ีบนั ทกึ ผลการตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มันเคร่ืองลงในตารางใบงาน จุดทต่ี รวจวดั การตกลงไปใน ประเมนิ ผลและวนิ ิจฉัยผลการ เบ้าลนิ้ ได้คล่องตวั ค่าทว่ี ดั ได้ ตรวจสอบกบั คู่มือการซ่อม หรือตดิ ขดั ( ช่อง 2 ) เปลยี่ นป๊ัม (ช่อง 1) ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ นา้ มนั เคร่ือง ลนิ้ ระบาย ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างเสื้อโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… ระยะห่างปลายโรเตอร์ ………………. ……มม. ……… ……… ………… นาผลการตรวจสอบระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ปั๊มนา้ มนั เคร่ืองมา บนั ทึกในตารางใบงาน “ ค่าท่วี ดั ได้ ” ( ช่อง 2 ) 20. ข้อควรระวงั ในการบนั ทึกผลการตรวจสอบระยะห่างด้านข้าง โรเตอร์ลงในตารางใบงาน เช็ดมือให้สะอาดก่อนที่จะบนั ทึกผลการตรวจสอบลงในใบงาน เพราะถ้าใบงานเปื้ อนสกปรกจะทาให้ข้อมูลทบี่ นั ทกึ เสียหาย

21. วธิ ีตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ของป๊ัมนา้ มันเครื่อง ตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ โดย ใช้ฟิ ลเลอร์เกจวดั ระยะช่องว่างระหว่าง โรเตอร์ตัวขบั และโรเตอร์ตัวตาม 22. ข้อควรระวงั ในการตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มันเครื่อง ตรวจสอบระยะห่างควรตรวจสอบหลายๆ คร้ังและหลายๆ จุด เพื่อความแม่นยาในการวดั 23. วธิ ีบันทึกผลการตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ของป๊ัม นา้ มันเคร่ืองลงในตารางใบงาน จุดทต่ี รวจวดั การตกลงไปใน ประเมนิ ผลและวนิ ิจฉัยผลการ เบ้าลนิ้ ได้ ค่าทว่ี ดั ได้ ตรวจสอบกบั คู่มือการซ่อม คล่องตวั หรือ (ช่อง 2) เปลยี่ นปั๊ม ตดิ ขดั (ช่อง 1) ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ นา้ มนั เครื่อง ลนิ้ ระบาย ……………… ……มม. …… ……… ………… ระยะห่างเสื้อโรเตอร์ ……………… ……มม. …… ……… ………… ระยะห่างด้านข้างโรเตอร์ ……………… ……มม. …… ……… ………… ระยะห่างปลายโรเตอร์ ……………… ……มม. …… ……… …………

นาผลการตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ของปั๊มนา้ มนั เครื่องท่ี วดั ได้บนั ทึกในตารางใบงาน “ ค่าทวี่ ดั ได้ ” ( ช่อง 2 ) 24. ข้อควรระวงั บนั ทกึ ผลการ ตรวจสอบระยะห่างปลายโรเตอร์ 24.1 เช็ดมือให้สะอาดก่อนทจ่ี ะบนั ทกึ ผลการตรวจสอบลงใน ใบงานเพราะถ้าใบงานเปื้ อนสกปรกจะทาให้ข้อมูลท่ี บนั ทกึ เสียหาย 24.2 นักเรียนแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบยี บของโรงงาน และ ไม่ใส่เครื่องประดบั ทีม่ ีค่าในเวลาปฏบิ ตั ิงาน เช่น สร้อย แหวนทองคา นาฬิกา เพราะจะชารุดเสียหายและอาจเกดิ อนั ตรายได้