Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-27 08:55:39

Description: การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 การดาเนินการวจิ ัย การศึกษาวิจัยตามโครงการการศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีวิธีดาเนินการวิจัยโดยใช้คาถามแบบมีโครงสร้าง การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง เพ่ือรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง ดว้ ยวิธกี ารสัมภาษณข์ อ้ มูลรว่ มกบั กลุ่มเปา้ หมาย โดยมกี ระบวนการดาเนินการศกึ ษาวจิ ัย ดงั นี้ 1. การดาเนนิ การวจิ ัย 2. ขอบเขตการวิจยั และกลมุ่ ตัวอย่าง 3. เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย 4. การเก็บรวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมูล 5. วธิ ีการดาเนินการวิจยั 6. ระยะเวลาทาการวิจยั 7. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจยั สูก่ ลมุ่ เปา้ หมาย 1. การดาเนนิ การวิจัย 1) แบบแผนการวิจยั โครงการการศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซ่ึงมีวิธีดาเนินการวิจัยโดยใช้ คาถามแบบมีโครงสร้าง การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง เพ่ือรวบรวมข้อมูลจาก กลุ่มเป้าหมายและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ข้อมูลร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย เป็นการค้นคว้าหาความรู้ ความจริงเก่ียวกับกระบวนการ/รูปแบบ/วิธีการในการดาเนินการแก้ไขปัญหาการขอทาน รวมถึงการพัฒนา กระบวนการ/แนวทางในการป้องกันปัญหาขอทานไม่ให้เกิดขึ้นอีกในสังคมไทย ประเด็นการวิจัยใช้ทั้งวิธี การศึกษาจากข้อมูลเอกสาร การสัมภาษณ์ข้อมูล การสนทนากลุ่มย่อย และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลกระบวนการดาเนนิ งานที่ครบถ้วน 2) สถานทีท่ าการทดลอง/เกบ็ ขอ้ มลู สถานท่ีเก็บข้อมูล คือ กลุ่มประชากรในเขตพื้นท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยมีผูใ้ หข้ ้อมูลเปน็ กลุ่มบุคลากรในพ้ืนที่ ทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน ประกอบดว้ ย - กลมุ่ ผู้นา/ผูบ้ รหิ ารองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตูม จงั หวดั สรุ นิ ทร์ - กลุม่ องค์กร/หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย สานักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ นิคมสร้างตนเองปราสาท ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ บ้านพักเด็ก และครอบครัวจังหวดั สุรนิ ทร์ - กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย หมู่ท่ี 1 บ้านกระโพ หมู่ที่ 5 บ้าน อาคุณ หมูท่ ่ี 6 บ้านตระมงู หมู่ 19 บา้ นด่าน และหมู่ 20 บ้านชะมวง - กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน (ผู้สมัครใจในการให้สัมภาษณ์ข้อมูล โดยไมป่ ระสงค์ออกนาม) 42

หมายเหตุ : เน่ืองการเปิดเผยข้อมูลเป็นการถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ใกล้ชิด หรือกลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน ท่ีมีความสมัครใจและอาสาท่ีจะให้ข้อมูลแต่ขออนุญาตสงวนนาม หรือการใช้ นามสมมุติในการเผยแพร่ขอ้ มูล ซ่ึงอนั ส่งผลกระทบต่อสภาพจติ ใจ ทศั นคติ วิถีชีวติ และอื่นๆ ในสงั คม 3) การคัดเลือกพ้นื ท่วี จิ ัย คัดเลือกพ้ืนท่ีจากสถิติจานวนผู้เข้ามาขอทานในเขตกรุงเทพมหานครมากที่สุด ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 (สสว.5) ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด ชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ โดยใช้ข้อมูลสถิติการจัดระเบียบขอทานของศูนย์ปฏิบัติการ และแก้ไขปัญหาการขอทานและคนไร้ที่พึ่ง กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ถึง เดือนกรกฎาคม 2558 โดยพ้ืนที่ที่มีสถิตสูงสุด ในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของ สสว.5 ไดแ้ ก่ ตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตมู จงั หวดั สรุ นิ ทร์ 2. ขอบเขตการวิจยั และกลุ่มตวั อยา่ ง 1) ขอบเขตของข้อมูลที่ศึกษา ประกอบด้วย บริบทพื้นท่ีดาเนินการศึกษา กระบวนการ/ รูปแบบ/วิธีการดาเนินงานในพื้นที่ บทบาทการดาเนินงานและการสนับสนุนของเครือข่าย กระบวนการ/ แนวทางในการแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปัญหาขอทานในพ้ืนที่ เปน็ ต้น 2) ขอบเขตเนื้อหาของการวิจัย ได้แก่ การศึกษาสาเหตุปัจจัยของปัญหาและสถานการณ์ ความรุนแรงของปัญหา รวมถึงกระบวนการแก้ไขและป้องกัน เพื่อยับยั้งหรือช่วยลดปัญหาขอทาน ตลอดจน การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม เพ่ือไม่ให้กลับเข้าสู่กระบวนการขอทานหรือเป็นคนขอทาน อกี ตามพระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559 3) ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบล กระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มองค์กร/หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และ กลุม่ เสยี่ ง/กลุ่มบคุ คลผเู้ คยเขา้ ไปขอทาน 3. เครอ่ื งมอื วิจยั ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย ผู้วจิ ยั จะใช้แบบสมั ภาษณ์ข้อมลู เป็นเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั โดยใชป้ ระเด็นคาถามปลายเปิด (Open Questionnaire) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีวิธีการในดาเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ (Interview) ผู้วิจัยจะใช้กระบวนการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) กับกลุ่มเป้าหมาย หรือผู้ให้ข้อมูล ในลักษณะท่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อกัน (Face To Face Interaction) ในการจัดเก็บข้อมูลผู้วิจัยได้กาหนด โครงสร้างและคาถามที่จะใช้ในการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นขั้นตอน ทั้งน้ีการสัมภาษณ์อาจใช้วิธีการ สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล หรือการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) ก็ได้ ซึ่งเน้นการสนทนาแบบธรรมชาติ (Naturalistic Inquiry) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Nonparticipative Obsevation) เป็นการสังเกต ท่ีผู้วิจัยไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน ท้ังน้ีข้อมูลที่ได้จากกลุ่มเป้าหมายตามแบบ สัมภาษณ์ข้อมูลฉบับน้ี จะใช้เพ่ือการศึกษาวจิ ัยเท่านน้ั การตอบคาถามตามแบบสัมภาษณ์จะไม่มีผลกระทบต่อ กลุ่มเป้าหมายแต่อย่างใด แตจ่ ะเปน็ ประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัยดังกลา่ ว นอกจากนี้การต้ังประเด็นคาถามให้ครบองค์ประกอบ ก็ถือได้ว่ามีส่วนสาคัญในการวางแผน และกาหนดแบบสัมภาษณ์ข้อมูลเป็นอย่างมาก ซ่ึงจากการศึกษาตาราของ ไมเคิล แพตต้ัน (Micheal Quinn Patton) พบว่าการตง้ั ประเด็นคาถามควรประกอบดว้ ย 6 ประเภท ได้แก่ 1) ถามประสบการณ์ทเ่ี กย่ี วกับเร่ืองทีท่ าวจิ ัย (Experience And Behaviour) 2) ถามความคดิ เห็นว่าเขาใหค้ ุณค่าเรอ่ื งที่ทาวิจยั อย่างไร (Oponion And Value) 43

3) ถามความร้สู กึ ทม่ี ตี ่อเรอ่ื งท่ีทาวิจัย (Feeling) 4) ถามความรู้ที่มีอย่หู รอื ทเี่ กย่ี วข้องกับเรอ่ื งทท่ี าวจิ ัย (Knowledge) 5) ถามเหตกุ ารณ์ที่เคยพบเจอมาเก่ียวกบั เร่ืองที่ทาวจิ ัย (Sensory) 6) ถามเกย่ี วกบั ประวตั ิ Demongraphic ของผถู้ กู สมั ภาษณ์ (background) แนวคาถามแบบสัมภาษณ์ข้อมูลท่ีออกแบบและพัฒนา โดย สานักงานส่งเสริมและสนับสนุน วิชาการ 5 รว่ มกับ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ แบง่ ออกเปน็ 4 ส่วน ดังน้ี สว่ นที่ 1 ประวัติสว่ นตัว ประวตั กิ ารทางานท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การแกไ้ ขและป้องกันปัญหาขอทานในพ้นื ท่ี เช่น 1.1 ชื่อ นามสกุล 1.2 เพศ/อาย/ุ ภูมลิ าเนา 1.3 ตาแหนง่ /บทบาท/หน้าท่รี บั ผิดชอบ 1.4 ประสบการณ์ทางานทผ่ี ่านมา ส่วนท่ี 2 คาถามปลายเปิดเกี่ยวกับบริบทและสภาพความรุนแรงของปัญหาในพ้ืนท่ี มุมมองทัศนคติของ หนว่ ยงาน องค์กร ประชาชน และชุมชนทีม่ ตี ่อการขอทาน เช่น 2.1 บรบิ ทชมุ ชนและสภาพความรุนแรงของปัญหาขอทานในพืน้ ท่ี 2.2 คาวา่ “ขอทาน” ในความคิดของคณุ คอื อะไร 2.3 บุคคลทีม่ ีพฤตกิ รรมหรือลักษณะใดท่ีคุณคิดว่าเป็นคนขอทาน 2.4 ความรูค้ วามเข้าใจในความแตกตา่ งระหวา่ ง คนขอทาน กบั ผู้แสดงความสามารถ 2.5 ความรู้ความเข้าใจดา้ นกฎหมาย บทลงโทษ สาหรบั การขอทานหรือการแสวงหาผลประโยชน์ 2.6 การตระหนักถึงความรุนแรงและความสาคัญของปัญหาท่ีเกิดขึ้นของกลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหาร กล่มุ องคก์ ร/หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และกล่มุ ประชาชนในชมุ ชน 2.7 กระบวนการแก้ไขและป้องกนั ปัญหาขอทานจากอดตี ถึงปัจจุบัน 2.8 หน่วยงานท่มี ีบทบาทในการชว่ ยเหลอื คมุ้ ครองและพฒั นาศักยภาพ 2.9 ผลกระทบจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน (ก่อน-หลัง) การดาเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน ในพืน้ ท่ี 2.10 การยอมรบั /ปฏเิ สธ ตอ่ คนในชุมชนที่มีเข้าไปเปน็ คนขอทาน 2.11 มุมมองทัศนคติของประชาชนในชุมชน ตลอดจนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องที่เข้ามามีส่วนร่วมต่อ กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะกลมุ่ เส่ยี ง กลมุ่ บคุ คลผเู้ ขา้ ไปขอทาน หรือกลมุ่ ผู้เคยขอทาน หมายเหตุ : ส่วนท่ี 2 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหาร ส่วนตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 2) กลุ่มองค์กร/หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และ 3) กลุ่มประชาชน ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ส่วนที่ 3 คาถามปลายเปิดเก่ียวกับกระบวนการดาเนินงาน รูปแบบวิธีการ การบูรณาการ การมีส่วนร่วมของ หน่วยงาน องค์กร มลู นธิ ิ และอน่ื ๆ ด้านแกไ้ ขและปอ้ งกันปญั หาขอทานในพ้นื ที่ เชน่ 3.1 บทบาทหน้าท่ีและกระบวนการดาเนินงานของหน่วยงานในพื้นที่ หรือการมีส่วนร่วมของ หนว่ ยงาน องคก์ ร มูลนิธิ ทงั้ ภาครฐั /เอกชนทีเ่ ก่ยี วข้องกับการแกไ้ ขและป้องกนั ปัญหาขอทานในพื้นที่ 3.2 กระบวนการช่วยเหลือคุ้มครอง พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการส่งเสริม สนับสนนุ ในดา้ นต่างๆ ของหน่วยงาน องคก์ ร มูลนิธิ ทัง้ ภาครฐั /เอกชนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เพือ่ แก้ไขและป้องกันปัญหา ขอทานในพ้นื ที่ 44

3.3 กระบวนการทางานทัง้ เชงิ รกุ และเชิงรับ เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพื้นที่ให้ลดลงหรือ หมดไป ตลอดจนหนว่ ยงานหนนุ เสรมิ ทง้ั ภาครัฐ/เอกชนทใี่ หก้ ารสนบั สนุน 3.4 รูปแบบวิธีการในการแก้ไข การพัฒนา การปรับปรุง การป้องกัน การติดตาม การประเมินผล การรวบรวมสถิติ และอ่นื ๆ เพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาซ้าซาก (โครงการ/กิจกรรม) 3.5 ผลที่ไดจ้ ากการดาเนินการแกไ้ ขและป้องกันปญั หาขอทานในพ้นื ท่ี 3.6 ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินงาน/แนวทางการพัฒนาและแกไ้ ขปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ หมายเหตุ : ส่วนท่ี 3 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหาร สว่ นตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 2) กลุ่มองค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 3) กลุ่มประชาชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งจะเน้นหนักไปท่ีการเปิดโอกาสให้ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วม (โครงการ/ กิจกรรม) เพื่อลดความเส่ียงและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนการสร้างคุณค่า ความตระหนัก และ ภูมคิ ุม้ กันทางสงั คมแกค่ นในชมุ ชน ส่วนที่ 4 คาถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาต่อยอด หรือการนาไปปรับใช้ ในพ้นื ทอ่ี ่นื ๆ เพ่ือแก้ไขและป้องกันปญั หาทางสงั คมอน่ื ๆ แกก่ ล่มุ เป้าหมาย เช่น สว่ นท่ี 4 (ตอนที่ 1) 4.1 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ท่ีเกี่ยวข้องกับการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในอนาคต หรือการ ชว่ ยเหลือและพฒั นาศกั ยภาพแก่กลมุ่ เป้าหมาย 4.2 การพฒั นาต่อยอดกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมในพ้ืนท่ี ตามสถานการณ์ปัญหา ทางสงั คมต่างๆ ทอ่ี าจเกิดขึน้ เพ่ือเปน็ การเตรยี มพรอ้ มและสร้างภูมิคมุ้ ทางสังคมใหแ้ กช่ มุ ชน 4.3 แนวทางการพัฒนาต่อยอดรูปแบบกระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาทางสังคมอื่นๆ ในพ้ืนที่ หรือการส่งเสริมให้พ้ืนท่อี ื่นๆ นาไปประยกุ ต์ใชต้ ามความเหมาะสม 4.4 ข้อเสนอแนะเชงิ พน้ื ท่/ี เชิงนโยบาย ส่วนที่ 4 (ตอนท่ี 2) 4.1 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง กลุ่มบุคคลผู้เข้าไปขอทาน หรือ กลุ่มผูเ้ คยขอทานท่มี ตี อ่ การชว่ ยเหลือและการพัฒนาศักยภาพ หมายเหตุ : ส่วนที่ 4 ตอนที่ 1 จะดาเนินการสมั ภาษณ์ : 1) กลมุ่ ผูน้ าชุมชน/ผ้บู รหิ ารองค์การ บริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 2) กลุ่มองค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 3) กลุ่ม ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และในส่วนที่ 4 ตอนที่ 2 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มเส่ียง/บุคคลผู้เข้าไป ขอทาน 4. การเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Source) การรวบรวมข้อมูลจากสื่อออนไลน์ เอกสาร และ งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง เพ่ือเป็นองค์ความรู้ในการกาหนดกรอบแนวคิดและแนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2) ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสัมภาษณ์ และ การสนทนากลุ่มย่อย 3) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูล (Content Analysis) ท่ี พรรณนารายละเอียด ตีความ มุ่งหาความหมาย และคาอธิบาย 4) เอกสาร (Document) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหรือหลักฐานท่ีเป็นข้อมูล เชิงประจักษ์ต่างๆ ท่ีเคยมีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว ถือได้ว่าเป็นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เช่น 45

เอกสารรายงานการประชมุ เอกสารรายงานผลการดาเนินงานของโครงการ ตัวเลขสถิติด่างๆ ท่ีหน่วยราชการ จดั เกบ็ ไว้ หลักฐานท่เี ป็นรูปธรรมตา่ งๆ เปน็ ตน้ 5. วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ัย 1) กาหนดกรอบแนวคิดโครงการ วางแผนการดาเนินงาน ศึกษาข้อมูลกระบวนการ ดาเนนิ งาน การแก้ไขและปอ้ งกันปญั หา แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2) ประสานงานและสร้างความเขา้ ใจกบั คณะทางานเก่ียวกบั การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 3) วิเคราะหเ์ อกสารข้อมูลทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั งานวิจัย และกฎหมายเก่ยี วกับคนขอทาน 4) ออกแบบและจดั ทาเครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจยั (เชงิ คณุ ภาพ) 5) จัดประชุมผู้ประสานหลัก/หน่วยงานท้องถิ่นในพ้ืนที่ศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความเข้าใจ ในการดาเนินงานและการจัดเก็บข้อมูล 6) ลงพื้นทเี่ พ่อื เกบ็ ข้อมูลเชงิ คุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เพื่อรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย และผทู้ ่ีเก่ยี วข้อง 7) ลงพื้นที่เก็บข้อมูลโดยการโดยการสัมภาษณ์ หรือการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) ในพืน้ ท่ี เพือ่ รวบรวมขอ้ มลู จากกล่มุ เป้าหมายและผ้ทู เ่ี กีย่ วข้อง 8) สรุปผลการจัดเก็บขอ้ มูล/วิเคราะหข์ อ้ มูล 9) จดั เวทวี พิ ากษ์คืนข้อมูลในพื้นท่ี (เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ) 10) จดั ทารปู เล่มสรปุ ผลการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์/เผยแพร่ 6. ระยะเวลาทาการวิจัย ระยะเวลาการดาเนินการวิจยั 1 ปี ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2560 - เดอื นกนั ยายน 2561 7. แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวิจัยส่กู ลุ่มเป้าหมาย วิธกี ารถ่ายทอดเทคโนโลยี กลมุ่ เป้าหมาย ระยะเวลา สถานที่ - การ ป ระ ชุ มแ ผ นงา น 1. การเผยแพร่ผลงานโดยการ - ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย ใ น พ้ื น ที่ - เมื่อสิ้นสุดโครงการ โครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง - สรุปผลการดาเนินงาน ประชมุ ร่วมกบั ผู้ปฏิบัติต่างๆ รบั ผิดชอบของ สสว.5 ใ น รู ป แ บ บ ว า ร ส า ร ห รื อ เอกสารส่อื สิ่งพิมพ์ - หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งในระดับ - จังหวดั - ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ - เจ้าหน้าท่ีสานักงานส่งเสริม และสนบั สนนุ วชิ าการ 1-12 2. การจัดทารายงานสรุปสาหรับ - ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงาน - เมื่อส้ินสดุ โครงการ ผู้บริหาร เพ่ือใช้เป็นแนวทางใน การดาเนินงานของหน่วยงาน 3. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทาง - ภาคเี ครอื ข่ายการพัฒนา - เมื่อส้ินสุดโครงการ สือ่ อเิ ล็กทรอนิกสต์ า่ งๆ 46

บทท่ี 4 ผลการศึกษา โครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาการ เข้าไปขอทานของพ้ืนท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และเพ่ือให้ได้รูปแบบกระบวนการในการ แก้ไขและปอู งกันปญั หาขอทานของกลุม่ เปาู หมายในพ้นื ที่ และขยายผลไปยังพื้นท่ีอื่น เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพอื่ ศึกษารปู แบบกระบวนการหรือวธิ กี ารในการดาเนินงาน ดา้ นการแกไ้ ขและปอู งกันปัญหาการเข้ามาขอทาน ของคนในพื้นท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือการสนทนากลุ่ม และการ สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยมีกลุ่มเปูาหมาย ประกอบด้วย กลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารตาบลกระโพ กลุ่มองค์กร/หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไป ขอทาน ซึง่ จากการลงพ้ืนทสี่ ัมภาษณแ์ ละเก็บขอ้ มลู ตามแบบสัมภาษณ์ข้อมูลการวิจัย สามารถรวบรวมข้อมูลท่ี มีประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย และกระบวนการดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพ้ืนที่ ดงั ต่อไปน้ี 1. บริบทพน้ื ท่ี 2. สภาพปัญหาและสถานการณป์ ัจจบุ ัน 3. ผลการศึกษา สว่ นที่ 1 ประวตั ิการทางานทีเ่ กยี่ วข้องกับการแกไ้ ขและปูองกนั ปญั หาขอทานในพ้นื ที่ ส่วนท่ี 2 บริบทและสภาพความรนุ แรงของปัญหาในพน้ื ที่ มมุ มองทศั นคติของหนว่ ยงาน องคก์ ร ประชาชน และชุมชนทม่ี ีต่อการขอทาน ส่วนที่ 3 กระบวนการดาเนนิ งาน รปู แบบวิธกี าร การบรู ณาการ การมีส่วนร่วมของ หนว่ ยงาน องค์กร มลู นธิ ิ และอน่ื ๆ ดา้ นแก้ไขและปอู งกนั ปัญหาขอทานในพ้นื ที่ ส่วนที่ 4 ข้อคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด หรือการนาไปปรบั ใชใ้ น พน้ื ที่อน่ื ๆ เพ่ือแก้ไขและปูองกนั ปญั หาทางสังคมอ่นื ๆ แก่กลุ่มเปูาหมาย 1. บริบทพืน้ ที่ ตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตมู จังหวัดสุรินทร์ มีพื้นท่ีประมาณ 108 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจาก อาเภอท่าตูม เป็นระยะทาง 35 กิโลเมตร มีจานวนประชากรรวมท้ังส้ิน 15,637 คน เป็นเพศชาย 7,851 คน เพศหญิง 7,786 คน มีจานวนครัวเรือนท้ังสิ้น 3,645 ครัวเรือน สภาพการคมนาคมที่ใช้สัญจรติดต่อระหว่าง หมู่บ้านกบั ตาบลส่วนใหญเ่ ป็นถนนลูกรัง สลับถนนลาดยางในบางหมู่บ้าน สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของตาบลกระ โพ มีลักษณะเป็นที่ลุ่มและที่ดอนสลับกันไป สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย เขตพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตปุา สงวนแห่งชาติปาุ ภูดินและปุาดงสายทอ สภาพภูมอิ ากาศ ตาบลกระโพมักมีอากาศ ร้อนจัดในฤดูร้อน หนาวจัด ในฤดูหนาว อากาศแห้งแล้ง และฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล มีปริมาณน้าฝนอยู่ในเกณฑ์ต่า มีสภาพอากาศท่ี แปรปรวนไม่แน่นอนตามฤดูกาล ตาบลกระโพตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มี อาณาเขตตดิ ตอ่ กบั ตาบลและพืน้ ท่ตี ิดตอ่ กับตาบลตา่ งๆ ดังนี้ 47

ทิศเหนอื ตดิ กับ ตาบลไพรขลา และตาบลนาหนองไผ่ อาเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ ติดกบั ตาบลเมอื งลีง ตาบลชุมแสง อาเภอจอมพระ จังหวัดสรุ ินทร์ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั ตาบลบะ อาเภอทา่ ตมู จงั หวดั สุรนิ ทร์ ทิศตะวันตก ติดกับ ตาบลทุง่ วัง และตาบลกระสงั อาเภอสตึก จงั หวดั บุรรี ัมย์ สภาพทางการเมอื งการปกครอง ตาบลกระโพ มกี ารแบ่งออกเป็น 20 หมบู่ า้ น ดังนี้ หมู่ ช่อื หมบู่ า้ น ผู้นาชุมชน จานวนประชากร (คน) จานวน ชาย หญิง รวม ครวั เรือน 1 กระโพ นายสุดใจ อินทร์ทอง 719 672 1,391 2 กระเจา นายประเสริฐ หอมหวล 329 355 684 395 3 หนองอีดา นายบญุ ช่วย ทองจนั ทร์ 428 399 827 147 4 บอน นายปัญญา สืบเทพ 507 534 1,041 195 5 อาคุณ นางหมิง สสี นั งาม 658 630 1,288 245 6 ตระมูง นายสุธีร์ สนโสก 608 635 1,243 272 7 จนิ ดา นายสงวน อินทรส์ าราญ 327 333 660 273 8 ตาทติ ย์ นายอาพร ทองภู 361 388 749 171 9 ตากลาง นายประกิต กลางพัฒนา 462 441 903 172 10 โนนโพ นายทา สขุ แสวง 354 344 698 216 11 ศาลา นายจรสั ศาลางาม 304 301 605 148 12 หนองบึง นายจาเรญิ ใหญ่ สนโสก 225 201 426 137 13 ตากลาง นางณัฐสดุ า จงใจงาม 217 215 432 94 14 หนองบวั นายธวัชชยั ศาลางาม 368 369 737 120 15 ภดู นิ นายชชั รินทร์ อินทรส์ าราญ 428 457 885 157 16 บุรี นายเทงิ อินทร์สาราญ 318 293 611 218 17 โคกกงุ นายกิตตกิ านต์ บญุ ครอง 255 263 518 136 18 หินเหลก็ ไฟ นายสุด สุขทวี 460 455 915 119 19 ด่าน นายบญุ เพ็ง วงศ์นาค 164 157 321 209 20 ชะมวง นายบญุ นาค มะลงิ าม 359 344 703 73 รวม 7,851 7,786 15,637 148 3,645 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2560 สภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คม ตาบลกระโพ มีผสู้ ูงอายุที่ได้รับเบ้ียยังชีพฯ จานวน 1,855 คน ผู้พิการท่ีได้รับเบ้ียยังชีพฯ จานวน 441 คน และผู้ติดเชื้อท่ีได้รับเบ้ียยังชีพฯ จานวน 17 คน ทั้งนี้ ประชากร ตาบลกระโพ สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สามารถแบง่ ได้ ดงั นี้ อาชพี เกษตรกรรม ประมาณ 10,038 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.8 % อาชพี รับจา้ ง ประมาณ 2,315 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15 % อาชพี รับราชการ ประมาณ 310 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.1 % อาชีพคา้ ขาย ประมาณ 302 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2 % 48

อาชพี อืน่ ๆ และกาลงั ศกึ ษา ประมาณ 2,672 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.1 % สภาพทางสังคม ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ด้านศาสนาและวัฒนธรรม มีสานักสงฆ์ จานวน 10 แห่ง มีวัด จานวน 4 แห่ง ประกอบด้วย วัดโพธิ์ทอง (บ้านกระโพ) วัดรัตนมงคล (บ้านตระมงู ) วดั แจ้งสวา่ ง (บ้านตากลาง) และวดั โพธ์ศิ รี (บา้ นบอน) สาหรับด้านการศึกษา มีสถาบันการศึกษา จานวน 22 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง และโรงเรียน ประถมศึกษา 13 แห่ง ดงั น้ี ลาดบั ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ จานวนนกั เรียน (คน) เตรียมอนุบาล อนุบาล รวม 1 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านบัว 54 - 54 2 ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านกระโพ 69 - 69 3 ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นหนองอีดา 48 - 48 4 ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบอน 47 - 47 5 ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นตระมงู 57 - 57 6 ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กวัดแจ้งสวา่ งตากลาง 40 - 40 7 ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นโนนโพ 43 - 43 8 ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านอาคณุ 56 - 56 ลาดับ โรงเรยี นมัธยมศึกษา จานวนนกั เรียน (คน) ม.1–ม.3 ม.4-ม.6 รวม 1 โรงเรยี นช้างบุญวิทยา (บา้ นตากลาง) 142 92 234 ลาดบั โรงเรียนประถมศึกษา จานวนนกั เรยี น (คน) กอ่ นประถม ป.1-ป.6 รวม 1 โรงเรยี นบา้ นกระโพ (กระโพราษฎร์วิทยา) 58 160 218 2 โรงเรยี นบ้านตระมงู 58 188 246 3 โรงเรียนบา้ นบอน 18 67 85 4 โรงเรียนบา้ นอาคณุ 34 73 107 5 โรงเรยี นบ้านโคกกุง 16 34 50 6 โรงเรียนบ้านศาลา 11 51 62 7 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา 32 93 125 8 โรงเรยี นบ้านภูดิน 11 55 66 9 โรงเรยี นบ้านหนองบึง 11 45 56 10 โรงเรียนบา้ นโนนโพ 35 94 129 11 โรงเรยี นบ้านตาทิตย์ 22 64 86 12 โรงเรียนบา้ นบัว 24 50 74 13 โรงเรียนบา้ นตากลาง 24 85 109 รวมจานวนท้ังสนิ้ 2,295 คน หมายเหตุ : ข้อมลู ณ วันท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2560 49

สภาพทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีแหล่งน้า ทางธรรมชาตจิ านวน 2 สาย คือ ลาน้าชี แมน่ า้ มูล นอกจากนยี้ ังมีแหล่งน้าและหนองนา้ ตามธรรมชาติในชุมชน จานวน 20 แห่ง ตลอดจนแหล่งน้าท่ีสร้างขึ้นในชุมชน ประกอบด้วย ฝาย 212 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 19 แห่ง และสถานีสูบน้าด้วยไฟฟูา 2 แห่ง ซ่ึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในตาบลกระโพโดยส่วนใหญ่จะเป็นพื้นท่ี ปุาสงวน ได้แก่ ปุาสงวนแห่งชาติดงสายทอ และปุาสงวนแห่งชาติดงภูดิน โดยมีพื้นท่ีปุาร่วมกันมากกว่า 19,000 ไร่ 2. สภาพปัญหาและสถานการณป์ จั จบุ ัน ในอดีตชุมชนตาบลกระโพ เป็นถ่ินทุรกันดารห่างไกลจากตัวอาเภอท่าตูม การเดินทาง คอ่ นขา้ งยากลาบาก ชาวบ้านอาศัยอยู่รวมกันเป็นคุ้มบ้าน โดยมีอาชีพทากินกินหาเล้ียงปากท้อง คือ การทาไร่ ทานา นอกจากนี้ยังมีการเล้ียงช้างและฝึกไว้เพื่อใช้งาน จากคาบอกเล่าชุมชนตาบลกระโพเม่ือก่อนน้ัน แต่ละครัวเรือนที่พอจะมีฐานะจะมีช้างอย่างน้อย 1-2 เชือก ซึ่งจะเลี้ยงเอาไว้เพ่ือใช้งานในครัวเรือน อาทิ การเกษตร การลากจงู สง่ิ ของ เป็นต้น และเม่อื ส้นิ ฤดูเก็บเกยี่ วผลผลติ ทางการเกษตร ชาวบา้ นจะหาของปุาเพ่ือ นามาขาย หารายได้เสริม หรือบางคร้ังก็จะผลิตสินค้าพ้ืนถิ่น เช่น ผ้าไหม เครื่องจักรสาน ผลิตภัณฑ์จากช้าง และงาช้าง โดยจะนาไปขายให้แก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติตามแหล่งท่องเที่ ยวต่างๆ ในจังหวัดใหญ่ๆ ไมว่ า่ จะเป็น กรุงเทพมหานคร เชยี งใหม่ อดุ รธานี หรอื เมืองท่องเที่ยว เช่น ภเู ก็ต พัทยา ต่อมาเม่ือสินค้าเหล่าน้ีเร่ิมล้นตลาดและขายออกได้ยาก ชาวบ้านบางส่วนท่ีอยู่ในกลุ่มชาย วัยทางาน หรือวัยรุ่นบางส่วนที่หวังจะหารายได้ให้ได้ดังเดิม จึงเช่ายืมช้างจากชาวบ้านในหมู่บ้าน หรือนาช้าง ทตี่ นเล้ียงไวภ้ ายในครัวเรือนเข้าเมอื งเพ่อื มาเรร่ อ่ นขอทาน โดยการใหน้ ักทอ่ งเที่ยวจ่ายเงินเพื่อซ้ืออาหารทาบุญ เลี้ยงช้าง (กล้วย อ้อย แตงกวา หญ้า) ในราคาสูงกวา่ ทว่ั ไป บางรายก็เชญิ ชวนให้นกั ท่องเท่ียวลอดท้องช้าง เพ่ือ เป็นการสะเดาะเคราะห์ แก้เคล็ด เสริมสิริมงคล ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน จนบางคร้ังช้างอาจเหน็ด เหน่ือยและมีสภาพวะเครียดจากการเร่ร่อนเดินทางไปอยู่ในท่ีท่ีมีการจราจรพลุกพล่าน หรือมีเสียงดังรบกวน จนเกนิ ไป แตกต่างจากวิถีชีวิตในปุาและชุมชนที่ช้างเคยอาศัยอยู่ ทาให้ช้างอาจคลุมคล่ังและทาร้ายควาญช้าง หรือนักท่องเท่ียว บางรายนาช้างออกเดินทางเร่ร่อนตามท้องถนนในยามค่าคืน ทาให้เกิดอุบัติเหตุรถเฉี่ยวชน และสร้างความเสียหายเกิดข้ึน ท่ีผ่านมาภาครัฐได้เพิ่มมาตรการและบทลงโทษท่ีเข้มงวดกับการนาช้างออกมา เร่ร่อนขอทาน รวมถึงการจับกุมอย่างจริงจัง ตลอดจนสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยวและประชาชนท่ัวไป ว่าการสนับสนุนช้างและควาญช้างท่ีออกมาเร่ร่อนขอทานน้ันเป็นเรื่องท่ีไม่ถูกต้อง ทาให้ชาวบ้านบางส่วน ที่กระทาการดังกล่าว ลดละเลิกการนาช้างออกมาเร่ร่อนขอทานในเขตเมือง หรือสถานบันเทิงยามค่าคืนไป แต่ก็ยังมีบางรายท่ียังคงต้องการหารายได้ท่ีเป็นกอบเป็นกาจากการเร่ร่อนขอทานอยู่บ้าง เน่ืองจากเป็นงาน ท่ีง่ายไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไร แถมยังได้รายได้ดีกว่าการรับจ้าง หรือการทาไร่ทานา จึงมีการปรับเปลี่ยน วิธีการโดยการนาความน่าสงสาร ความอ่อนแอ ความเจ็บปุวย ออกมาล่อหลอกให้ผู้คนที่ผ่านไปมาเวทนา สงสารและหยิบย่ืนทรัพย์สิน หรือเงินให้ อาทิ การแต่งกายให้ดูโทรมๆ เส้ือผ้าเก่าๆ ขาดๆ การทาให้ร่างกาย ดูสกปรกเปรอะเปื้อน การแกล้งแสดงตนว่าเจ็บปุวย หรืออ่อนแอ ตลอดจนการนาบุตร หรือเด็กอ่อนมาเร่ร่อน ขอทานด้วย เพื่อสร้างความเห็นใจจากผู้ที่ผ่านไปมา เป็นต้น ซ่ึงได้ปรับเปลี่ยนจากกลุ่มชายวัยทางาน หรือ วัยรนุ่ มาเปน็ กลุ่มผู้สูงอายุ สตรี (แม่ลูกอ่อน) เด็กและเยาวชน ท้ังน้ีในกลุ่มเด็กและเยาวชนน้ันจะเข้าไปเร่ร่อน ขอทาน โดยใชว้ ธิ กี ารสวมเครื่องแบบนักเรยี นทอ่ี าจจะดูเกา่ ๆ ไปยน่ื เปุาแคน เล่นดนตรี ร้องเพลง หรือถือกล่อง รับบรจิ าค ตามสถานที่ตา่ งๆ ทีม่ ีผู้คนผ่านไปมา เป็นตน้ 50

ปัจจุบันกลมุ่ ผู้สงู อายุ สตรี เด็กและเยาวชน ท่ีกระทาการเร่รอ่ นขอทานดังกล่าว ได้ลดน้อยลง ไปตามกาลเวลา จากการท่ีภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้นาพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ ต่างๆ ออกมาปรับใช้และลงโทษอย่างจริงจัง ทาให้การเร่ร่อนขอทานของกลุ่มคนบางราย ลดน้อยลงไป อย่างเห็นได้ชัด ตลอดจนการสร้างความเข้าใจและปลูกจิตสานึก ค่านิยมที่ดีงาม ผ่านโครงการ/กิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ท้ังด้านอาชีพและรายได้ ด้านการเรียนการศึกษา ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค รวมไปถึงด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชนและชาวบ้าน หลังการว่างเว้นจาก ฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมให้ชาวบ้านมีความเข้มแข็ง สร้างคุณค่า และศักดิ์ศรี ในตนเองถงึ การเป็นประชาชนที่ดี การมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม อันเป็นรากฐานตามแบบอย่างที่ดีงามแก่ชุมชน และสงั คมสบื ไป จากสถานการณ์และสภาพปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น การแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน ของพื้นที่ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ จะไม่อาจสาเร็จลุล่วง บรรเทาเบาบาง และย่ังยืนไปได้ หากขาดหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ตลอดจนองค์กร มูลนิธิอ่ืนๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ แก้ไขและปูองกันปัญหาดังกล่าว อันเป็นสภาพปัญหาท่ีต้องอาศัยระยะเวลาและความมุ่งมั่นในการพัฒนา ปรบั เปลี่ยน และแกไ้ ข ผา่ นกระบวนการ รปู แบบ วธิ กี ารตา่ งๆ เพอ่ื ใหช้ าวบ้านในชุมชนตาบลกระโพอยู่ร่วมกัน ในสังคมได้อย่างปกติสุข มีคุณค่าและมีศักด์ิศรีอย่างเท่าเทียม ตลอดจนเป็นสร้างภาพลักษณ์ มุมมอง ทัศนคติ ทั้งภายในและภายนอกชุมชน ใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสมตอ่ ไป 3. ผลการศึกษา จากการลงพ้ืนที่ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เพื่อดาเนินการสัมภาษณ์ หรอื สนทนากลุม่ เพ่อื เก็บขอ้ มลู ตามแบบสมั ภาษณ์โครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยข้อมูลท่ีได้จากกลุ่มเปูาหมายตามแบบสัมภาษณ์ จะนามาใช้เพ่ือการวิเคราะห์ตามกระบวนการศึกษาวิจัยเท่านั้น โดยผู้วิจัยขออนุญาตสงวนช่ือ-นามสกุล และ ขอ้ มูลส่วนตัวของกลุ่มเปูาหมายผู้ให้ข้อมูล ซึ่งการตอบข้อคาถามจากการสัมภาษณ์ดังกล่าว จะไม่มีผลกระทบ ต่อกลุ่มเปูาหมายแต่อย่างใด แต่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัยและพ้ืนที่ที่สนใจ ทั้งนี้แบบสัมภาษณ์ ข้อมูลการวิจัยโครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตมู จังหวัดสรุ นิ ทร์ ได้แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น ดงั ต่อไปนี้ สว่ นที่ 1 ประวตั ิการทางานทเ่ี กี่ยวข้องกบั การแกไ้ ขและปอู งกันปญั หาขอทานในพ้ืนที่ ส่วนท่ี 2 บริบทและสภาพความรุนแรงของปัญหาในพ้ืนท่ี มุมมองทัศนคติของหน่วยงาน องค์กร ประชาชน และชุมชนท่มี ีต่อการขอทาน สว่ นท่ี 3 กระบวนการดาเนินงาน รปู แบบวิธีการ การบรู ณาการ การมสี ว่ นรว่ มของหน่วยงาน องคก์ ร มลู นิธิ และอ่นื ๆ ด้านแกไ้ ขและปอู งกนั ปญั หาขอทานในพื้นที่ ส่วนท่ี 4 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาต่อยอด หรือการนาไปปรับใช้ในพ้ืนที่ อ่ืนๆ เพ่อื แกไ้ ขและปูองกนั ปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ แก่กลมุ่ เปูาหมาย ท้งั นจ้ี ากการลงพ้นื ที่จัดเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการสัมภาษณ์ (Interview) ตามแบบสัมภาษณ์ ข้อมูล ซึ่งใช้ประเด็นคาถามปลายเปิด (Open Questionnaire) ในการสนทนา และจากการสังเกตแบบไม่มี ส่วนรว่ ม (Nonparticipative Obsevation) สามารถวเิ คราะห์รวบรวมและสรุปรายละเอียดได้ ดงั นี้ 51

สว่ นที่ 1 ประวัติการทางานทีเ่ ก่ียวข้องกับการแกไ้ ขและป้องกันปญั หาขอทานในพืน้ ท่ี กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 กลุ่มผู้นาชุมชน หรือแก่นาชุมชนในเขตพ้ืนท่ีตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ที่ได้มีส่วนร่วมในการดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน โดยมีประวัติ การทางานด้านสังคมและได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้นาชุมชนมาตั้งปี 2548 เป็นต้นมา โดยท่ีผ่านมาได้ให้การ สนับสนุนส่งเสริมโครงการเพื่อการพัฒนาพ้ืนท่ีและชุมชนในด้านต่างๆ ของหน่วยงานทั้งภาครัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวง ทบวง กรม ที่เข้ามา ให้ความรู้ สนับสนุนด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพ อนามยั ด้านการเรยี นการศกึ ษา ด้านสาธารณปู โภคและสิ่งก่อสร้าง ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจและรายได้ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กร มูลนิธิต่างๆ ท่ีเข้ามาหนุนเสริมให้ชาวบ้านในพ้ืนท่ี มีความกินดีอยู่ดี เกิดการสร้างงานสร้างรายได้ ปลูกฝังจิตสานึกและค่านิยม เพ่ือแก้ไขและปูองกันปัญหา ขอทานในพื้นที่ รวมไปถึงปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากกระแสโลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าทาง วัตถุนิยมที่เปล่ียนแปลงไป ท่ีคอยล่อใจให้ชาวบ้านเกิดค่านิยมท่ีผิดๆ โดยให้ความสาคัญกับวัตถุและเงินทอง มากกว่าศีลธรรมและความถูกต้องซ่ึงที่ผ่านมามีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่สามารถขจัดปัดเปุาปัญหาของ กลุ่มคนขอทานในชุมชน ที่เข้าไปหารายได้ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได้สาเร็จ ผ่านโครงการ/ กิจกรรมทีด่ าเนินการในพื้นที่ และการพัฒนาความจาเป็นพื้นฐานในชุมชน โดยใช้กระบวนการด้านการจัดการ ตนเองอย่างมีส่วนร่วม ผสานความช่วยเหลือจากหน่วยงานหนุนเสริมต่างๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน พรอ้ มทั้งมงุ่ เนน้ การแก้ไขและปูองกนั ปญั หาท่ีตรงจุดตามกล่มุ เปูาหมาย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 2 กลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ นาโดยข้าราชการหน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ี ที่ได้ดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหา ขอทานในพ้นื ท่ตี าบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มาต่อเน่ืองโดยตลอดทั้งด้านนโยบายและการปฏิบัติ ซึง่ โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ที่ดาเนินการน้ัน จะมีกลุ่มเปูาหมายเป็นสตรี เด็กและเยาวชน รวมไปถึงครอบครัว ในชุมชนตาบลกระโพ ซึ่งเป็นกลุ่มเส่ียงต่อการเข้าไปเร่ร่อนขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน เพ่ือให้ชาวบ้านในชุมชนมีรายได้และ มอี าชีพทีม่ ่นั คง อกี ท้ังยังสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ และปลกู ฝงั ค่านิยมทดี่ ี ผา่ นโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินการใน ชุมชน โดยกว่า 10 ปีที่ผ่านมาในการทางาน มีท้ังประชาชนท่ีเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ทาให้การดาเนินงานใน พื้นท่ีค่อนข้างยากลาบากในช่วงต้น แต่ก็ได้รับการช่วยเหลือและแรงสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐท้ังภายใน และภายนอกชุมชน รวมไปถึงองค์กร มูลนิธิต่างๆ ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันให้เกิดการยอมรับและ การเปดิ ใจตอ่ การดาเนนิ งานด้านการแก้ไขและปอู งกันปญั หาขอทานในพื้นท่ี ซ่ึงปัจจุบันยังมีโครงการ/กิจกรรม ท่ีดาเนินการอยู่อย่างต่อเน่ือง เพื่อเป็นการปูองกันและเฝูาระวังไม่ให้กลุ่มเสี่ยงหันกลับไปเป็นขอทานอีก สาหรับกลุ่มเสี่ยงท่ียังมีค่านิยมท่ีคิดว่า “การขอทานนั้นไม่ผิดต่อกฎหมาย ไม่ได้ทาให้ใครเดือดร้อน แถมยังมี รายได้ท่ดี ี หาเงนิ ไดง้ ่ายๆ ไมต่ ้องลงทุนลงแรงอะไร” นั้น ทางหน่วยงาน อปท. ในพ้ืนท่ี ก็ได้เฝูาระวังและชักจูง ประชาชนท่ีเข้าข่ายกลุ่มเสี่ยงมาเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม เพ่ือเป็นการละลายพฤติกรรมและปลูกฝังแนวคิด สร้างค่านิยมในการดารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของ “ความพออยู่พอกินและ พอเพียง ไม่เอาเงินเป็นท่ีตั้ง ไม่มุ่งหาเงินสร้างรายได้ โดยไม่คานึงถึงศีลธรรมและความถูกต้อง ที่สาคัญ คือ มีสติและความยังยัง้ ช่ังใจ ไม่ใหเ้ งนิ มาล่อตาลอ่ ใจ ทาให้ต้องตกเป็นทาสหรือยอมทาทุกอย่าง แม้กระท้ังขอทาน เพื่อเงิน” ซ่ึงจากแนวคิดดังกล่าวทาให้ได้ทราบว่า ผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 มีความมุ่งม่ันท่ีจะแก้ไขและปูองกัน ปัญหาขอทานในพ้ืนที่ และมีความตั้งใจท่ีจะพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และสังคมอย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จาก ความอดทนต่อการดาเนินงานท่ีค่อนข้างยากลาบากในช่วงต้น การดาเนินโครงการ/กิจกรรมอย่างต่อเน่ือง รว่ มกบั กลมุ่ เปูาหมาย การเขา้ ถงึ และเข้าใจกลมุ่ เปาู หมายจนได้รับการยอมรับและการเปิดใจ เปน็ ต้น 52

กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 3 กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยทุกครั้งท่ีมีการดาเนิน โครงการ/กิจกรรม ชาวบ้านในพื้นท่ีจะได้รับการเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มท่ี โดยในช่วงแรกๆ ของการพัฒนารูปแบบ กระบวนการ และแนวทางในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน ตลอดจนปัญหา ทางสังคมตา่ งๆ ในพนื้ ทนี่ ้นั องค์การบริหารสว่ นตาบลกระโพ ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนจากกรมพัฒนา สังคมละสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มูลนิธิกระจกเงา สถาบันการศึกษาในชุมชน และองค์กร (CSR) ที่เข้ามา มีส่วนช่วยในการผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาในพื้นที่อย่างจริงจัง เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ ทัศนคติ ค่านิยม แกช่ าวบา้ นบางสว่ นที่ยังคงเขา้ ไปดารงชีพด้วยการขอทานตามท้องถนน สถานที่ต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล หลังจากว่างเว้นจากการรับจ้าง หรือทาไร่ทานาในพื้นที่ โดยมีภาคีเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วม ในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาจากทุกภาคส่วน จะดาเนินงานร่วมกันโดยเร่ิมจากการร่วมกันวิเคราะห์ สภาพปัญหาและค้นหาแนวทางแก้ไขร่วมกันกับชาวบ้านและกลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มผู้ที่เคยเข้าไปขอทาน ซึ่งโครงการ/กิจกรรมท่ีกลุ่มเปูาหมายเคยเข้าร่วมจะแบ่งเป็นกิจกรรมทางอารยธรรมและศาสนา กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมอาชีพและรายได้ กิจกรรมประเพณีวัฒนธรรม และกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อันมีเปูาหมายที่จะชักจูงให้ชาวบ้านท่ีสนใจ ตลอดจนกลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มผู้ที่ เคยเขา้ ไปขอทาน ไดม้ ีส่วนร่วมเพ่ือละลายพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม และดึงความสนใจให้อยู่ในพ้ืนท่ีและรักถ่ิน ฐานบ้านเกิดมากข้ึน โดยอาศัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพ่ึงพาตนเองได้ มาปรับใช้ให้ สอดคลอ้ งกับกลมุ่ เปาู หมาย อาทิ ผู้สูงอายุ สตรี เด็กและเยาวชน เปน็ ต้น กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นาโดยหน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องด้านสังคม อาทิ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ นิคมสร้างตนเอง ปราสาท ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้องด้านการศึกษาในพ้ืนที่ ได้ใหข้ อ้ มูลถึงรูปแบบวธิ ีการและกระบวนการดา้ นการแกไ้ ขและปอู งกันปญั หาขอทานของตาบลกระโพโดยการ เน้นการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน เน้นการจัดลาดับ ความสาคัญจาเป็นเรง่ ดว่ นของปญั หา รวมถงึ ร่วมกนั กาหนดแนวทางการพัฒนา การวางแผน ตลอดจนรูปแบบ ดา้ นการแก้ไขและปูองกันปัญหาในชุมชนร่วมกัน ท่ีผ่านมาโครงการ/กิจกรรมด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหา ขอทาน ไดแ้ ก่ กิจกรรมให้ความรู้สร้างความเขา้ ใจด้าน พ.ร.บ. และกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับครอบครัวและชุมชน กิจกรรมกีฬาฟุตบอลเยาวชน กิจกรรมดนตรีพ้ืนบ้าน กิจกรรมศิลปะและการแสดง กิจกรรมประเพณีพื้นบ้าน กิจกรรมส่งเสริมอาชีพและรายได้ และกิจกรรมพัฒนาท้องถ่ินเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียว เป็นต้น ซ่ึงโครงการ/ กิจกรรมเหล่าน้ีจะดาเนินการตามกลุ่มเปูาหมายในชุมชนและกลุ่มเส่ียง หรือกลุ่มผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน โดยเริ่มต้นที่การสร้างความรู้ความเข้าใจและการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ กล่มุ เปูาหมายเปดิ ใจยอมรบั และเขา้ ร่วมโครงการ/กิจกรรมอยา่ งมีส่วนร่วม ส่วนที่ 2 บริบทและสภาพความรุนแรงของปัญหาในพ้ืนท่ี มุมมองทัศนคติของหน่วยงาน องค์กร ประชาชน และชมุ ชนท่ีมีตอ่ การขอทาน กล่มุ ผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 3 กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความคิดเห็น เกี่ยวกับ “ขอทาน” และลักษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออกว่าเป็นขอทานตามความคิดว่า “ขอทาน คือ ผู้ที่ดารง ชีพด้วยการขอรับเงิน หรือทรัพย์สินจากการบริจาคของผู้อ่ืน และการร้องขอเงินจากผู้อื่น โดยไม่พยายาม พัฒนาศกั ยภาพ หรอื ใช้ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มท่ี และเมื่อได้รับการบริจาคมาแล้ว ก็ไม่ได้นา 53

สิ่งที่ได้รับไปน้ันพัฒนาในด้านใดๆ เลยท้ังตนเองและสังคม” ทั้งนี้การขอทานไม่ใช่การกระทาที่ดี หรือถูกต้อง นัก แต่บางครั้งคนขอทานก็อาจมีเหตุผล ท่ีแตกต่างกันออกไป หรืออาจจะเป็นผู้ที่ด้อยโอกาสทางสังคมท่ีชีวิต ไม่มีทางเลือกมากนักในการประกอบ สัมมาอาชีพ เพื่อหาเล้ียงตนเองและครอบครัว ทาให้จาเป็นต้องยึดการ ขอทานเป็นอาชีพ เป็นต้น โดยบุคคลท่ีมีพฤติกรรมหรือลักษณะท่ีคิดว่าเป็นขอทาน แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ จานวน 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกเป็นคนท่ีไม่ได้ทาอะไรเลย แต่มานั่งร้องขอเงินบริเวณที่มีคนพลุกพล่าน ตามสถานที่สาธารณะต่างๆ คนเดินขอเงินค่ารถกลับบ้านโดยอ้างว่ากระเป๋าสตางค์หาย คนที่น่ังขอรับบริจาค โดยอ้างว่าตนเองปุวยเป็นโรคร้ายแรง สตรีท่ีนาเด็กอ่อนมาอุ้มและนั่งขอเงินบริจาคตามตลาดนัด เป็นต้น แต่ถ้าเป็นกลุ่มที่สองจะเป็นคนที่มีความสามารถและใช้ความสามารถเพื่อแลกเงินบริจาค เช่น คนเล่นกีต้าร์ เปิดหมวกขอเงินบนทางเท้า คนตาบอดเดินร้องเพลงแลกเศษเงิน หรือเด็กใส่ชุดนักเรียนยืนเปุาแคนขอรับ บริจาคเงนิ คนเชดิ สิงโตเดนิ รับบริจาคตามร้านค้าบ้านเรือน เป็นต้น ส่วนกลุ่มที่สามเป็นกลุ่มเด็กใส่ชุดนักเรียน ถือกล่องรับบริจาคเงินทุนการศึกษา หรือนักศึกษาถือกล่องเดินรับบริจาคหารายได้สมทบทุนค่ายอาสาฯ ซ่ึงในสองกลุ่มสุดท้ายตามที่ได้ยกตัวอย่างมานี้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจะต้องดูท่ีพฤติกรรมและเจตนาของผู้ที่กระทา การขอทาน หรือขอรับบริจาคด้วยว่าจริงเท็จแค่ไหน และได้มีการขออนุญาตในพื้นท่ีถูกต้องหรือไม่ ไม่ว่าจะ เปน็ ในเรื่องของการแสดงความสามารถ หรอื การขอรบั เรย่ี ไรและการบรจิ าค กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ให้ความหมายของ “ขอทาน” ว่า “ขอทานเป็นบุคคลที่ดารงชีวิตอยู่ได้โดยขอรับบริจาคเศษเงินจากผู้ที่สัญจรไปมา และสาหรับ ผ้มู ีบัตรแสดงความสามารถนน้ั ไมใ่ ชข่ อทาน ซง่ึ ขอทานมักพบตามสถานที่ท่ีมีคนสัญจรไปมาพลุกพล่าน สถานที่ สาธารณะต่างๆ รวมถึงสถานที่ท่องเท่ียว ลักษณะทั่วไปขอทานมักจะแต่ตัวโทรมๆ เส้ือผ้าเก่า ๆ หรือขาดว่ิน แลดนู า่ สงสาร โดยมขี ันหรืออปุ กรณ์ เพ่ือเรียกขอรับเงินบริจาค ขอทานบางคนก็มีความพิการไม่สามารถทามา หากนิ อยา่ งอนื่ ได้ ซ่งึ สมควรได้รับการชว่ ยเหลือและพัฒนาศักยภาพให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้” แต่ถ้าหาก จะให้นิยามความหมายของ “ขอทาน” ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ในมาตรา 13 หา้ มบคุ คลใดทาการขอทาน โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ การกระทาอย่างหนง่ึ อยา่ งใดดังต่อไปนี้ ใหถ้ ือว่าเป็นการขอทาน (1) การขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อื่นเพื่อเล้ียงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการขอด้วยวาจา ข้อความ หรือการแสดงกิริยาอาการใด (2) การกระทาดว้ ยวิธกี ารใดใหผ้ ู้อืน่ เกิดความสงสารและสง่ มอบเงนิ หรือทรพั ย์สนิ ให้ การแสดงความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นดนตรีหรือการแสดงอ่ืนใด เพ่ือให้ได้มาซึ่งเงิน หรือทรัพย์สินจากผู้ชม หรือผู้ฟัง การขอเงิน หรือทรพั ยส์ ินกันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมการเรีย่ ไร ไมถ่ ือว่าเป็นการขอทานตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ โดยการแยกความแตกต่างระหว่าง “คนขอทาน” กับ “ผู้แสดงความสามารถ” ตาม พระราชบัญญตั ิควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ในมาตรา 14 ได้ระบรุ ายละเอยี ดไว้ ดังน้ี มาตรา 14 ผู้ใดประสงค์จะเป็นผู้แสดงความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นดนตรี หรือการ แสดงอ่ืนใด ตามมาตรา 13 วรรคสาม (การแสดงความสามารถ ไม่วา่ จะเป็นการเล่นดนตรี หรือการแสดงอ่ืนใด เพื่อให้ไดม้ าซึง่ เงิน หรือทรัพย์สินจากผู้ชม หรือผู้ฟัง การขอเงิน หรือทรัพย์สินกันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคมุ การเรี่ยไร ไม่ถือว่าเป็นการขอทานตามพระราชบัญญัติน้ี) ให้ผู้น้ันแจ้งเพ่ือเป็น ผู้แสดงความสามารถตามระเบยี บที่คณะกรรมการกาหนด และเมื่อจะแสดงความสามารถในพ้ืนที่ใด ให้แจ้งต่อ เจ้าพนักงานท้องถ่ินในเขตพ้ืนที่น้ัน เม่ือเจ้าพนักงานท้องถิ่นในเขตพ้ืนท่ีได้รับแจ้งแล้ว ให้ออกใบรับแจ้งไว้เป็น หลักฐาน ท้ังน้ี ให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินในเขตพื้นท่ีประกาศเป็นการทั่วไป เพื่อกาหนดเขตพ้ืนท่ี หรือสถานท่ีใด 54

อันเป็นท่ีสาธารณะ วันเวลา การใช้อุปกรณ์ หรือสิ่งอื่นใด ให้ใช้ในการแสดงความสามารถ ผู้ใดกระทาการ ฝุาฝืนตามวรรคหนึ่ง พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นในเขตพื้นที่ มีอานาจส่ังให้ผู้น้ันหยุดหรือเลิก กระทาการดงั กล่าวได้ ซ่ึงจากการสัมภาษณ์ข้อมูลผู้ให้ข้อมูลตามกลุ่มเปูาหมายของงานวิจัย ลาดับท่ี 1-4 สามารถ แยกแยะและอธบิ ายความแตกตา่ งระหว่าง “คนขอทาน” กับ “ผู้แสดงความสามารถ” ได้ในเบื้องต้น หลังจาก ที่ได้รับความรู้และจากการศึกษาข้อมูลจากพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 หรือจากการ เข้าร่วมการฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานในหน้าที่ของหน่วยงาน เป็นต้น โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 1 และ 2 กลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้แสดง ความคดิ เห็นเพ่ิมเติมวา่ “จากการได้รบั ความรดู้ า้ นกฎหมายตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ทาให้ สามารถแยกแยะและดาเนินการกับกลุ่มคนท่ีกระทาการขอทานได้ชัดเจนมากข้ึน และจากการที่ภาครัฐ นาโดยหน่วยงาน พม. ได้ดาเนินการจัดให้มีบัตรแสดงตนว่าเป็นผู้แสดงความสามารถน้ัน ก็ถือเป็นเร่ืองที่ดี ทจ่ี ะช่วยแบง่ กลุม่ ผ้แู สดงความสามารถออกจากกลุ่มขอทานอาชีพ อันเป็นการสร้างคุณค่าให้กับตนเองแก่ผู้ที่มี ความสามารถ และต้องการใช้ความสามารถนั้น เพื่อแสดงออกและหารายได้อย่างถูกต้อง ท่ีสาคัญคือไม่ผิดต่อ ข้อกฎหมาย” ซ่ึงถือเป็นการแก้ไขปัญหาขอทานในระยะยาวได้ในระดับหนึ่ง เน่ืองจากการที่หน่วยงาน พม. ได้เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้แสดงความสารถมาข้ึนทะเบียนและออกบัตรผู้แสดงความสามารถนั้น จะช่วยให้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หรือทีมสหวิชาชีพที่ดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาคนเร่ร่อน ไร้ท่ีพึ่ง และ ขอทาน สามารถปฏิบัติหน้าที่โดยการตรวจสอบ คัดกรอง วินจิ ฉัย ประสานส่งต่อ และดาเนินการตามกฎหมาย หรือใช้บทลงโทษได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสมตามกระบวนการช่วยเหลือ คุ้มครอง เยี่ยวยา และการ พัฒนาศกั ยภาพตามความต้องการอยา่ งเหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสามารถให้นิยามความหมายของ “ขอทาน” ได้ในระดับเบ้ืองต้น ทถี่ ูกตอ้ ง โดยสามารถยกตัวอย่างและแบ่งแยกข้อแตกต่างระหว่าง “คนขอทาน” กับ “ผู้แสดงความสามารถ” ได้ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 สาหรับความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย บทลงโทษ สาหรับการขอทาน หรอื การแสวงหาผลประโยชน์ สาหรบั กลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มูล ลาดับที่ 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในการควบคุมดูแลและดาเนินการตามข้ันตอน กระบวนการ และ บทลงโทษ ได้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนา พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 มาบังคับใช้กับ กลุ่มผู้กระทาการขอทานตามกรณีต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึน และบทลงโทษสาหรับผู้แสวงหาผลประโยชน์จาก คนขอทาน ดงั นี้ 1) ผู้ท่ีกระทาการขอทานท่ีมีลักษณะพฤติกรรม โดยการขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อ่ืน ด้วยการทาให้ผู้อ่ืนเกิดความสงสาร และส่งมอบเงินหรือทรัพย์สินให้เพ่ือเล้ียงชีวิต ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดๆ ต้อง ระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ 1 เดือน หรือปรับไมเ่ กิน 10,000 บาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรับ 2) กรณีท่ีถูกจับหรือควบคุมตัวได้ ถ้าผู้กระทาการขอทานได้ยอมเข้ารับการคุ้มครองและ พัฒนาคุณภาพชีวิตแล้ว ต่อมาผู้กระทาการขอทานไม่ยอมรับการคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต และ หนีออกไปโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน10,000 บาท หรือท้ังจา ทง้ั ปรับ 3) กรณีที่มีผู้ให้การช่วยเหลือ หรือสนับสนุนให้ผู้อื่นกระทาการขอทาน ต้องระวางโทษจาคุก ไมเ่ กนิ 2 ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ 20,000 บาท หรอื ทัง้ จาทั้งปรบั 55

4) กรณีท่ีมีการกระทาความผิดโดยใช้กาลังประทุษร้าย ขู่เข็ญ หรือใช้อาวุธ บังคับให้ผู้อ่ืน กระทาการขอทานน้นั ผู้กระทาความผดิ จะตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ 4 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 40,000 บาท หรือ ท้งั จาทงั้ ปรับ 5) กรณีที่มีผู้แสวงหาประโยชน์จากผู้กระทาการขอทาน ไม่ว่าจะเป็นการใช้ การจ้างวาน การสนับสนนุ หรอื การยุยงส่งเสรมิ ด้วยวิธีการตา่ งๆ ให้ผู้อ่นื กระทาการขอทานนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรอื ปรับไม่เกนิ 30,000 บาท หรอื ทงั้ จาท้งั ปรับ 6) ถ้าหากมีการแสวงหาประโยชน์จากผู้กระทาการขอทาน ดังต่อไปน้ี ผู้กระทาความผิด ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ 5 ปี หรือปรับไมเ่ กนิ 50,000 บาท หรือทัง้ จาทงั้ ปรบั คอื - การร่วมกนั กระทาผดิ กับบุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป - การกระทาตอ่ สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้เจ็บปวุ ย คนวิกลจรติ คนพิการ/ทุพพลภาพ - การกระทาโดยชักนาคนตา่ งด้าวให้มากระทาการขอทานในประเทศไทย - การกระทาโดยผู้ปกครอง หรือผูด้ ูแลทไ่ี มใ่ ช่บุพการีของผู้กระทาการขอทาน - การกระทาโดยพนักงานเจ้าหน้าท่ี ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน แก่ผ้กู ระทาการขอทาน จากการให้ข้อมูลของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 1-4 สามารถสรุปได้ว่าความรู้ความเข้าใจ ด้านกฎหมาย บทลงโทษ สาหรับการขอทาน หรือผู้แสวงหาผลประโยชน์จากการขอทาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดบั ท่ี 1 และ 2 กล่มุ ผ้นู าชุมชน/ผบู้ ริหารองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และ กล่มุ ผใู้ ห้ขอ้ มลู ลาดบั ท่ี 3 กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมน้ัน มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องชัดเจนพอสมควร โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลดังกล่าว สามารถศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและสังคม เช่น ห้องสมุดประชาชน อินเตอร์เน็ตประชารัฐ หรือจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่ ชาวบ้านในชุมชน หรือจากการเข้าร่วมการประชุมอบรมต่างๆ ที่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสได้เข้าร่วม ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับคนขอทานและผู้แสดงความสามารถ รวมไปถึงกฎหมายและบทลงโทษ ที่มีต่อผู้กระทาการขอทานและผู้แสวงหาผลประโยชน์จากการขอทาน สาหรับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 4 นั้น เป็นกลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่มีอานาจหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงในการ ควบคุมดูแลและดาเนินการตามกระบวนการข้ันตอน ตั้งแต่รับแจ้งเหตุ หรือลงพ้ืนท่ีสารวจกลุ่มเปูาหมาย คดั กรอง สืบประวัติทะเบียนราษฎร์ วินิจฉัยโรค/อาการ ประสานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการนาเข้าสู่ กระบวนการพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมาย หรือบทลงโทษตามพระราชบัญญัติควบคุมการ ขอทาน พ.ศ. 2559 นอกจากนี้การตระหนักถึงความรุนแรงและความสาคัญของปัญหาขอทานที่เกิดข้ึนของกลุ่ม ผู้ใหข้ ้อมลู ลาดับท่ี 1-4 ซ่ึงประกอบด้วย กลมุ่ ผนู้ าชมุ ชน กล่มุ ผู้บรหิ ารองคก์ ร กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม กลุ่มองค์กรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามลาดับน้ัน ต่างก็ได้ให้ความสาคัญกับปัญหาดังกล่าว ซ่ึงมองว่า เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของชุมชนและสังคม โดยมีความมุ่งหวังท่ีจะดาเนินการลดจานวนคนขอทาน ในชุมชนที่เข้าไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้น้อยลงหรือให้หมดไปจากชุมชนและสังคมไทย ในท่ีสุด ตลอดจนชาวบ้านในชุมชนก็ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ เอกชน องค์กร และมูลนิธิต่างๆ ทเี่ ข้ามามีสว่ นรว่ มในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นท่ี เน่ืองจากในช่วง 5 ปีท่ีผ่านมาสถิติการจับกุม การช่วยเหลือคุ้มครอง และข่าวสารจากสื่อต่างๆ ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มผู้กระทาการขอทานท่ีมีทั้งกลุ่มคนพาช้าง เร่ร่อน กลุ่มคนชรา กลุ่มสตรี (แม่ลูกอ่อน) กลุ่มเด็กและเยาวชน ที่เข้ามากระทาการขอทานในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่มีแหล่งที่อยู่อาศัยตามเอกสารทะเบียนราษฎร์ในเขตพื้นท่ี 56

ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งจากการรายงานข้อมูลข่าวสารของสื่อต่างๆ ที่เกิดข้ึน ทาให้ หน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้หันมาให้ความสนใจและตระหนักถึงความสาคัญของ ปัญหาขอทานท่ีเกิดข้ึน และพัฒนาแนวทางในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานอย่างเหมาะสมตรงจุด ตรงตามความต้องการของชุมชนและกลุ่มเปูาหมาย เพื่อขจัดปัญหาขอทานท่ีเกิดจากกลุ่มคนเพียงบางส่วนใน ชุนชมท่ีมีทัศนคติ ค่านิยม และวิถีชีวิตในการหารายได้เล้ียงชีพหลังจากการว่างงานในช่วงฤดูแล้ง เพ่ือเข้าไป ขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีกระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานจากอดีต จนถึงปัจจุบัน ผ่านการบรูณาการจากทุกภาคส่วนที่ร่วมแรงร่วมใจกันระดมความคิด และร่วมค้นหาแนวทาง รูปแบบวิธีการในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ี อีกท้ังการลองผิดลองถูกด้วยการนาของผู้นา ชุมชน/ผู้บริหารองค์กร หน่วยงานภาครัฐในพ้ืนที่ทั้งระดับตาบล อาเภอ และจังหวัด เพื่อดาเนินการสร้าง องค์ความรู้ ทัศนคติ และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการขอทาน ด้วยการปลูกฝังค่านิยม การสร้างจิตสานึก การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม การให้ความรู้ด้านกฎหมายและบทลงโทษ “โดยใช้ระยะเวลามากกว่า 10 ปี ในการค่อยปรับเปล่ียนวิถีชีวิตของกลุ่มเปูาหมายในชุมชน หลังจากช่วงฤดูแล้ง หรือหลังจากการเก็บเก่ียว พืชผลไร่นา โดยใช้กลวิธีต่างๆ มากมายในรูปแบบโครงการ/กิจกรรม เพื่อช่วยกล่อมเกลา ชักจูง สร้างความ เข้าใจ ปลูกฝังค่านิยม และศีลธรรมอันดีงามต่อกลุ่มเส่ียงและชาวบ้านในชุมชน ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของเงินตรา จนตอ้ งยอมแลกมาด้วยการขอทานผ้อู ่นื กิน” ซึ่งหลังจากที่ได้ใช้กลวิธี “น้าซึมบ่อทราย” โดยการซึมซับปลูกฝัง ความคิดใหม่ๆ ผ่านการเรียนรู้ แล้วค่อยๆ ปรับเปลี่ยนแนวคิด ค่านิยม และทัศนคติแก่กลุ่มเสี่ยงและชาวบ้าน ในชุมชน ทาให้ในปัจจุบันตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สามารถแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน ให้ลดลงไปได้พอสมควร โดยคาดหวังวา่ ขอทานจะหมดไปจากชมุ ชนและสังคมไทยได้อย่างยงั่ ยนื สาหรับหน่วยงานท่ีมีบทบาทในการช่วยเหลือคุ้มครองและพัฒนาศักยภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดบั ท่ี 1 และ 2 กลมุ่ ผู้นาชมุ ชน/ผบู้ ริหารองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ได้ให้ข้อมูลและอธิบายถึงกระบวนการ ดาเนินงานด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานของตาบลกระโพ ผ่านการร่วมแรงร่วมใจจากภาคี ทุกภาคส่วนที่มีความมุ่งม่ันในการขจัดปัญหาขอทานให้หมดไปจากชุมชนและสังคมไทย โดยมีหน่วยงาน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน องค์กรและมูลนิธิ ท่ีมีส่วนร่วมในการบูรณาการเพ่ือแก้ไขและปูองกัน ปญั หาร่วมกัน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลกระโพ (กระทรวง มท.) 2) สานักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั สรุ ินทร์ (กระทรวง พม.) 3) โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลกระโพ (กระทรวง สธ.) 4) กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ (กระทรวง มท.) 5) กรมการปกครอง (กระทรวง มท.) 6) กรมการพฒั นาชุมชน (พช.) 7) นคิ มสร้างตนเองปราสาท จงั หวดั สรุ ินทร์ (กรม พส.) 8) ศูนยค์ ุม้ ครองคนไร้ท่ีพงึ่ จงั หวัดสุรนิ ทร์ (กรม พส.) 9) องค์การบริหารสว่ นจงั หวัดสรุ ินทร์ (อบจ. สุรนิ ทร์) 10) สถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน (พอช.) 11) สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกโรงเรยี น จงั หวดั สรุ นิ ทร์ (กศน.) 12) การทอ่ งเทยี่ วแห่งประเทศไทย สานักงานสรุ นิ ทร์ (ททท.) 57

13) สถานตี ารวจภธู รกระโพ จงั หวดั สุรนิ ทร์ 14) ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทพี่ ่งึ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ (กรม พส.) 15) มูลนิธกิ ระจกเงา 16) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) 17) องค์กรธุรกจิ เพื่อสงั คม (CSR) 18) อาสาสมคั ร และจิตอาสาในชุมชน (อสม. อพม. อผส. อพปร.) 19) โรงเรียนบ้านอาคุณ, โรงเรียนบ้านตาทติ ย์ (สพฐ. เขต 2 จังหวดั สุรินทร)์ 20) โครงการชลประทานสุรินทร์ กรมชลประทาน (ชตล. เขต 4) 21) กานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน ผู้นาชมุ ชน และภาคีเครือขา่ ยด้านสังคม และอื่นๆ นอกจากหน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ และภาคีเครือข่ายด้านสังคม ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการ ช่วยกันแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ตาบลกระโพแล้ว ยังมีเครือข่ายภาครัฐ และภาคประชาสังคม ทีเ่ ข้ามามีส่วนชว่ ยในดา้ นการพัฒนาศกั ยภาพ ตลอดจนคณุ ภาพชวี ติ โดยเน้นให้ชาวบ้านในชุมชนเกิดการสร้าง รายได้ และไม่เกิดการว่างงานในช่วงฤดูแล้ง หรือหลังจากการเก็บเก่ียวพืชผลทางการเกษตร รวมไปถึงการ พัฒนาทรัพยากรท้ังแหล่งน้า แหล่งท่องเท่ียว และวิถีชีวิตอันเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนในอดีต ให้กลับมาเป็น ทสี่ นใจของเหล่านกั ทอ่ งเท่ียวทง้ั ชาวไทยและชาวต่างชาติ อาทิ วถิ คี นกับชา้ ง การละเล่นพ้ืนบ้าน ศิลปะกันตรึม เป็นต้น เพื่อเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น พัฒนาความเข้มแข็งขององค์กรธุรกิจชุมชน และเพ่ิมการจ้าง งานในพน้ื ที่ ทาให้ชาวบ้านและกลุ่มเส่ียงมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ให้มากขึ้น เพ่ือลดอัตรา เสี่ยงของกลุ่มคนที่จะเข้าไปขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้มีจานวนลงได้ จากการสร้างงาน สร้างค่าคุณ และพัฒนาศักยภาพให้กับชุมชนท้ังภายในและภายนอก อาทิ ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านการ จ้างงานและรายได้ ด้านประเพณีวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค และด้านส่ิงแวดล้อม เพื่อโน้มน้าวให้ชาวบ้าน และกลุ่มเสี่ยงไม่จาเป็นต้องพลัดถิ่นฐาน โดยการอพยพเพ่ือไปหางานทาในช่วงฤดูแล้ง หรือเพื่อเข้าไปขอทาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอีกต่อไป โดยองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐในพ้ืนท่ี ได้ดาเนินการร่วมกับผู้นาชุมชนและประชาชนในพ้ืนท่ีในการร่วม ระดมความคิดเห็นและวิเคราะห์สถานการณ์ในชุมชน เพ่ือการแก้ไขและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชน ในพื้นที่ โดยการประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น ซ่ึงสามารถสรุปสถานการณ์การพัฒนาตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค (SWOT Analysis) ได้ดงั นี้ 58

จดุ แขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) 1. ดา้ นเศรษฐกจิ และการทอ่ งเทย่ี ว 1. ด้านการเกษตร 1.1 มสี ถานทท่ี อ่ งเทีย่ วภายในตาบล เช่น ศูนย์คชศึกษา 1.1 ดนิ ขาดความอดุ มสมบรู ณ์ สวนสัตว์ ศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง สสุ านช้าง 1.2 เกษตรขาดการรวมกล่มุ 1.2 มีผลผลิตทางด้านการเกษตร เช่น ข้าวหอมมะลิ 1.3 ไม่มกี ารปลูกพชื หมุนเวยี นหลังฤดูเกบ็ เกยี่ ว อินทรีย์ 1.4 ขาดแหลง่ น้าเพ่ือการเกษตร 1.3 มีกลุ่มอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ เช่น กลุ่มผลิต 2. ดา้ นเศรษฐกิจและการท่องเท่ยี ว ตะขอชา้ ง กล่มุ ผลิตสินค้าพ้ืนเมอื ง 2.1 ขาดการส่งเสรมิ ด้านการลงทุนทั้งภาครัฐ 2. ด้านการคมนาคม และเอกชน 2.1 การคมนาคมสะดวกเชอ่ื มโยงทุกหมูบ่ า้ น 2.2 ขาดการบริหารจัดการดา้ นการท่องเทีย่ ว 2.2 มรี ถโดยสารประจาทาง 3. ประชากร 2.3 อยูใ่ กล้กับสนามบินอาเภอสตกึ 3.1 ประชากรในวยั แรงงานขาดฝีมอื ที่ตรงตาม 3. ด้านการบรกิ ารสงั คม ความตอ้ งการของตลาด 3.1 มโี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล 3 แห่ง 3.2 มกี ารอพยพแรงงานในฤดเู ก็บเกี่ยว 3.2 มีการจดั ต้ังกลมุ่ อสม. อพม. อผส. 3.3 ประชาชนมรี ายได้น้อย ในทกุ หม่บู ้าน 3.4 ประชากรในวยั แรงงานมกี ารศกึ ษาต่า 3.3 มีศนู ย์การแพทย์เฉพาะทางตาบลกระโพ 4. ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 4. ด้านการรกั ษาความสงบเรยี บร้อย 4.1 ประชาชนขาดจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์ 4.1 มสี ถานนีตารวจภธู ร จานวน 1 แหง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ 4.2 มอี าสาสมคั รพลงั แผ่นดนิ /จิตอาสา 4.2 การตดั ไม้ทาลายปุา ในทกุ หม่บู ้าน 5. ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 5.2 มีแหล่งนา้ เชน่ แม่น้าชี แม่นา้ มูล 5.3 มีปุาชมุ ชนบา้ นหินเหล็กไฟ 5.4 มีปุาสงวนแหง่ ชาตดิ งสายทอ และปุาสงวน แหง่ ชาตดิ งภดู นิ โอกาส (Opportunities) อุปสรรค/ขอ้ จากดั (Threats) 1. จังหวัดสรุ นิ ทร์ได้กาหนดใหห้ ม่บู ้านชา้ งบา้ นตากลาง เป็น 1. ดา้ นการเกษตร ประสบปัญหาภัยแลง้ และ แหล่งท่องเท่ียวได้รับการส่งเสริมการท่องเที่ยวจาก นา้ ทว่ มทกุ ปี สานกั งานการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย 2. ดา้ นเศรษฐกิจและการทอ่ งเที่ยว หน่วยงาน 2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ จัดโครงการ “คช ภายนอกมคี วามต้องการผลประโยชนข์ องตน มากกวา่ การพัฒนาชมุ ชน อาณาจักร” โดยส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ ล้ยี งช้างมีรายไดป้ ระจาเพื่อ 3. ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม ไมม่ ีการสืบทอดภมู ปิ ญั ญา แกไ้ ขปญั หาช้างเรร่ อ่ น ทอ้ งถิ่นวัฒนธรรมดัง้ เดมิ ของชาวตาบลกระโพ 3. อบต.กระโพ ห่างจากสนามบินอาเภอสตึก จังหวัด บุรีรัมย์ 30 กโิ ลเมตร (การเดินทางสะดวก) 4. การส่งเสริมการท่องเที่ยวการกีฬาของจังหวัดบุรีรัมย์ เชือ่ มโยงแหล่งท่องเที่ยวหมบู่ า้ นช้าง สาหรับผลกระทบจากสถานการณ์ที่เกิดข้ึนทั้งก่อนและหลังต่อการดาเนินการแก้ไขและ ปอู งกนั ปัญหาขอทานในพน้ื ที่ตาบลกระโพ กลุ่มผใู้ หข้ ้อมลู ลาดับท่ี 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การ บริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้ให้ข้อมูลว่า การดาเนินงานในช่วงระยะแรกๆ ค่อย ขา้ งขลุกขลัก เนื่องจากชาวบ้าน กลุม่ ผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน และกล่มุ เสยี่ ง ไม่ค่อยให้ความร่วมมือให้การเข้าร่วม โครงการ/กิจกรรมเทา่ ท่ีควร อาจเป็นเพราะว่ายังมีทัศนคติมุมมองที่ว่าการขอทานไม่ใช่เร่ืองผิด ทั้งต่อศีลธรรม 59

และกฎหมาย ด้วยความคิดท่ีว่าผู้ท่ีให้บริจาคทานก็ให้ด้วยความเต็มใจ และบริสุทธิ์ใจที่จะมอบให้ ที่สาคัญ ในอดีตกย็ งั ไมม่ ีกฎหมายใดทจี่ ะเอาผิด หรือลงโทษกลุ่มคนขอทานได้อย่างเด็ดขาดและจริงจัง จึงเป็นจุดอ่อนที่ เปรยี บเสมือนช่องโหว่ทางกฎหมายและช่องว่างสงั คม ให้กลุ่มคนเหล่าน้ียังคงเข้าไปหาเล้ียงชีพด้วยการขอทาน อย่เู รื่อยมา ต่อมาทางหน่วยงานภาครัฐและผู้นาชุมชนในพ้ืนที่ นาโดยองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ กานัน ผใู้ หญบ่ ้าน ขา้ ราชการครซู ึง่ เป็นคนในพื้นที่ อาสาสมัครด้านสังคมแต่ละหมู่บ้าน ได้ร่วมกันประชุมวางแผนการ ดาเนินงานในเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานดังกล่าว ผ่านกลวิธีเข้าถึง เข้าใจ พัฒนา โดยมุ่งเน้นไปยังกลุ่มเปูาหมาย กลุ่มเสี่ยง และชาวบ้านในพ้ืนท่ี เพื่อสร้างความเข้าใจและปรับทัศนคติเป็น รายบคุ คล หรอื รายครัวเรือน ทม่ี พี ฤติกรรมเดนิ ทางเข้าไปเปน็ ขอทานในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล ตัวอย่างเช่น กรณีที่มีคนในชุมชนเข้าไปกระทาการขอทาน ซึ่งถูกจับกุมหรือควบคุมตัวได้ โดยพนักงานเจ้าหน้าท่ี และถูกดาเนินการตามระเบียบ ข้ันตอนกระบวนการ และบทลงโทษ หรือถูกส่งกลับ ภูมิลาเนา เม่ือทางหน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ีและผู้นาชุมชนได้รับแจ้งข้อมูล ก็จะนัดหมายเพ่ือร่วมกันลงพื้นที่ สร้างความเข้าใจด้วยการอธิบายให้ผู้กระทาการขอทาน ได้ทราบถึงพฤติกรรมของตนที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ชี้แจงถงึ ระเบยี บกฎหมาย รวมถึงบทลงโทษของการกระทาการขอทานตามพระราชบัญญัติการควบคุมขอทาน พ.ศ. 2559 ตลอดจนแนะนาให้คาปรึกษาพูดคุยถึงปัญหาและความต้องการที่แท้จริง เพื่อร่วมกันหาแนวทาง ในการช่วยเหลอื แก้ไข พร้อมกับชักจงู โน้มน้าวให้บคุ คลผู้นน้ั เขา้ ร่วมโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในชุมชน อันเป็น การละลายพฤติกรรม ซ่ึงช่วยใหบ้ ุคคลผ้นู น้ั สามารถปรบั ตวั ปรบั วถิ ชี ีวิต ปรับแนวคิด และพร้อมจะกลับมาเป็น บุคคลที่ประพฤติดีปฏิบัติชอบของชุมชนอีกครั้ง นอกจากนี้ยังมีกลวิธีในการสร้างความเชื่อม่ันเพ่ือค้นหา ความชอบส่วนตัว งานอดิเรก สิ่งท่ีสนใจ ความถนัด หรือความสามารถพิเศษ โดยจะนาส่ิงเหล่าน้ีมาส่งเสริม ผลักดันให้เกิดเป็นโครงการ/กิจกรรมท่ีช่วยต่อยอดด้านการพัฒนาศักยภาพ การสร้างคุณค่า และการปลูกฝัง ค่านิยมที่ดีต่อชาวบ้านในชุมชน ทั้งน้ีเพ่ือเป็นการให้โอกาสให้แก่ผู้ท่ีเคยเข้าไปกระทาการขอทาน ในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล พร้อมกับการลงพ้ืนท่ีติดตามควบคุมดูแลพฤติกรรมอย่างใกล้ชิดทุกๆ เดือน จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน อาสาสมัคร รวมถึงชาวบ้านในชุมชนที่ร่วมใจกันสอดส่องและเฝูาระวัง ไม่ให้บคุ คลผ้นู ัน้ หนั กลบั ไปกระทาการขอทานอีก หลังจากที่ทุกภาคส่วนให้ความร่วมแรงร่วมใจกันในพื้นที่ ก็สามารถทาให้กลุ่มผู้เคยเข้าไป ขอทาน กลุ่มเสี่ยง และชาวบ้านในชุมชนมีความเข้าใจ และตระหนักผลเสียต่อชุมชนท่ีจะตามมาภายหลัง และเล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาขอทานท่ีเกิดข้ึนจากกลุ่มคนเพียงบางรายในชุมชน ที่ทาให้ตาบลกระโพ ถูกมองว่าเป็นหมู่บ้านขอทาน อันเป็นการทาลายภาพลักษณ์และทาลายช่ือเสียงของตาบลกระโพ ในปัจจุบันชาวบ้านในชุมชนก็ได้ร่วมกันสอดส่องดูแลและเฝูาระวังกลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มผู้ที่เคยเข้าไปขอทาน อีกทั้งยังให้ความร่วมมือแก่หน่วยงานในพ้ืนที่ ผู้นาชุมชน และองค์กรอ่ืนๆ ที่เข้ามาดาเนินโครงการ/กิจกรรม ต่างๆ เพื่อการพัฒนาชุมชน ตลอดจนศักยภาพของบุคลาการในชุมชน อันจะเป็นแรงขับเคล่ือนให้ชุมชน ท้องถิ่นและสังคมต่อไปในอนาคต ท้ังนี้สาหรับกลุ่มผู้เคยเข้าไปขอทานนั้น การได้รับยอมรับหรือว่าการปฏิเสธ ถือว่าเป็นเรื่องท่ีค่อนข้างละเอียดอ่อนต่อสภาพจิตใจของกลุ่มเปูาหมายมาก เนื่องจากบางรายในช่วงฤดูแล้ง หรือหลังจาการรับจ้างเก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตรก็จะเกิดการว่างงาน ไม่มีรายได้เล้ียงชีพอีกท้ังยังต้อง 60

รับภาระต่างๆ มากมาย บางรายเป็นเด็กเยาวชนท่ีจาต้องอาศัยอยู่กับตายายที่สูงอายุ แก่เฒ่าทางานไม่ไหว ไมม่ เี งนิ เพียงพอเปน็ ใช้จ่ายใหแ้ ก่ลกู หลาน จงึ เป็นสาเหตุทาให้เดก็ เยาวชนขาดแคลนทนุ การศึกษา จาต้องหันเห วิถีชีวิตของตนในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ หรือช่วงปิดเทอม เดินทางเข้าไปในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล เพ่ือเป็นขอทานโดยอาศัยชุดนักเรียนในการหารายได้ด้วยการเปุาแคนบ้าง สีซอบ้าง ดีดพิณบ้าง และขอรับบริจาคเงินเพ่ือเป็นทุนการศึกษาบ้าง แต่สาหรับบางรายท่ีมีพฤติกรรมการกระทาดังกล่าวบ่อยครั้ง เข้าก็เร่ิมติดใจ เนื่องจากรายได้ดี หาเงินได้ง่ายๆ ไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไรมากนัก ดังนั้นช่วงวันหยุด หรือช่วง ปดิ เทอม เด็กเยาวชนบางรายกย็ ังคงมีความคิดทีจ่ ะเข้าไปกระทาการขอทานดว้ ยวิธีการดังกล่าวอยู่บ้าง แต่ด้วย การแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและการปูองกันเฝูาระวังอย่างต่อเนื่องของหน่วยงาน ผู้นาชุมชน จิตอาสา และ ชาวบ้านในชมุ ชนก็สามารถช่วยลดจานวนของกลุ่มผู้เคยเข้าไปขอทานลงได้พอสมควร แต่หากการแก้ไขปัญหา ในลกั ษณะดังกลา่ ว จาเปน็ ตอ้ งอาศัยระยะเวลาท่ีค่อนข้างยาวนานและความต่อเน่ืองจริงจัง เน่ืองจากการที่จะ ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม และวิถีชีวิตของใครคนใดคนหนึ่งได้น้ัน จาเป็นต้องใช้ระยะเวลาท่ีพอสมควร อีกท้ังกลวิธีในการเข้าถึงจิตใจและความต้องการท่ีแท้จริงของแต่ละบุคคลก็มีความแตกต่างกัน จึงต้องเลือก กระบวนการและแนวทางท่ีเหมาะสมกับแต่ละบุคคล ทั้งนี้เพ่ือการแก้ปัญหาที่ตรงจุดและสามารถมองเห็นการ พัฒนาท่เี ปลย่ี นแปลงไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ เหตผุ ลทสี่ าคญั อย่างหน่ึงคือกาลเวลาที่เปล่ียนแปลงไป ทาให้เด็กเยาวชนท่ีเคยเข้าไปขอทาน ได้เติบโตข้ึน มีความรู้สึกนึกคิดและจิตสานึกท่ีได้รับการปลูกฝังและพัฒนาข้ึน จากการกลวิธี “เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา” ท่ีนามาปรับใช้แก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ ทาให้กลุ่มเปูาหมายเหล่าน้ันไม่กลับไปเป็น ขอทานอีก และด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมก็ทาให้เด็กและเยาวชนในชุมชน หันมาศึกษาหา ความร้แู ละให้ความสนใจกับระบบส่ือสาร หรืออนิ เตอร์เนต็ มากกวา่ ซึ่งกม็ สี ว่ นชว่ ยให้จานวนกลุ่มผู้ท่ีเคยเข้าไป ขอทาน และกลุ่มเสี่ยงในชุมชนท่ีเป็นเด็กและเยาวชนลดลง เหตุผลอีกประการหนึ่งคือการนาโครงการ/ กจิ กรรมทสี่ ร้างสรรคส์ งั คมมาปรับใช้เพ่ือการพัฒนาศักยภาพในชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม อาทิ ด้านกีฬาและ นันทนาการ (ฟุตบอล, ฟุตซอล) ท่ีเป็นกิจกรรมที่เด็กและเยาวชนในชุมชนชื่นชอบ ซึ่งถือเป็นการรวมกลุ่มให้ เด็กและเยาวชน ตลอดจนผู้ท่ีสนใจได้มีกิจกรรมกีฬาร่วมกันในชุมชน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัย แก่เดก็ และเยาวชนใหม้ คี วามสมบรู ณ์แข็งแรง ด้านศลิ ปะการแสดงและดนตรีพื้นบ้าน (วงกันตรึม, ราแกรนมอ, วงโปงลาง) อันเป็นกิจกรรมท่ีชาวบ้านในชุมชนสามารถเข้าร่วมได้ทุกเพศทุกวัย ช่วยพัฒนาทักษะท้ังทาง ด้านอารมณ์และจิตใจแก่ผู้สูงอายุ อีกทั้งยังเป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชาวตาบลกระโพ ด้านการสาธารณูปโภคและการจัดการทรัพยากรน้า ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญของการทาการเกษตรเพื่อประกอบอาชีพ หลักของชาวบ้านในชุมชน ให้สามารถทาไร่ทานาได้ตลอดท้ังปี ส่งผลต่อการมีรายได้ที่เพ่ิมขึ้น มีการจ้างงาน ที่ต่อเน่ือง เกิดสภาพคล่องทางเศรษฐกิจแก่ครัวเรือนในชุมชน อีกท้ังยังได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานและ องค์กรภายนอก ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้ด้านการเกษตรและแหล่งสนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพ ในชุมชน ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม ได้มีการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีสนับสนุนการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวและธุรกิจชุมชนเพ่ือรองรับนักท่องเท่ียว (ศูนย์คชสาร, หมู่บ้านช้าง, โฮมสเตย์, ร้านค้าชุมชน) ใหเ้ กดิ ข้นึ ในชุมชนและท้องถ่ิน เพื่อให้เกิดการจ้างงานสร้างรายได้ท่ีหมุนเวียนในชุมชนเพ่ิมมากขึ้น รวมถึงการ 61

พัฒนาศักยภาพ ของคนกับช้าง (การแสดงช้าง) เด็กและเยาวชน (มัคคุเทศก์) ให้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้เข้ามาท่องเท่ียวและศึกษาวัฒนธรรมระหว่างคนกับช้างได้เพ่ิม มากขึ้น นอกจากนี้ชาวบ้านในชุมชนยังสามารถสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ จากการผลิตและจัดทาของที่ระลึก เพ่อื จาหนา่ ยให้แกน่ ักท่องเทย่ี วได้อีกด้วย ทั้งนี้มุมมองของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่เข้ามามีส่วนร่วมต่อกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะกลุ่ม บุคคลผู้เคยเข้าไปขอทานและกล่มุ เสี่ยง กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้ให้ ข้อมูลว่า “ขอทานเกิดจากความบกพร่องของโครงสร้างด้านการพัฒนาประเทศ ที่ทาให้คนจานวนหน่ึงถูกกีด กันออกจากทรัพยากร ทาให้สูญเสียท่ีดินทากิน หรืออาจจะเกิดจากกรเปลี่ยนแปลงจนทาให้เกิดความเหลื่อม ล้าทางสังคม และการท่ีคนส่วนใหญ่คิดว่าขอทานเป็นความบกพร่องของปัจเจก ทาให้หลงลืมและมองข้าม ปัญหาเชิงโครงสร้าง ปัญหาของการกระจายรายได้ ปัญหาความเหลื่อมล้าของการแย่งชิง ทรัพยากร” ดังน้ัน กลุ่มคนขอทานบางรายท่ีอาจเกิดจากความบกพร่องของปัจเจกบุคคล การไม่มีความสามารถในการดารงชีพ หรือเกิดจากความแตกแยกในครอบครัวที่ไม่สามารถดูแลกันได้ ด้วยสถานการณ์ท่ีบีบบังคับอาจทาให้มีความ จาเป็นตอ้ งเป็นขอทาน จากมมุ มองดงั กลา่ วทาใหท้ ราบวา่ “ขอทาน” เป็นผลผลิตของแนวคิด ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนผลพวงจากการพัฒนาท่ีแตกต่างกัน ทัศนคติแนวความคิดท่ีแตกต่างกัน การใช้ชีวิตการปรับตัวและ การเอาตัวรอดท่ีแตกต่างกัน และเป็นผลผลิตของยุคสมัยท่ีแตกต่างกัน จากแนวคิดการพัฒนากระแสหลัก ทางเศรษฐกจิ และสังคม ทม่ี องว่า “ขอทานเปน็ ผลผลติ ของการขาดความรู้และความสามารถ หรือความข้ีเกียจ และความเคยชิน รวมถึงไม่ยอมที่จะพัฒนาตนเองเพื่อลบล้างทัศนคติค่านิยมที่ผิดๆ ตลอดจนการไม่ยอมรับ ต่อการปรับตัวเข้าสู่ระบบของสังคม” ดังนั้นคนท่ีไม่มีความรู้ ไร้ซ่ึงความสามารถ จึงมักหาทางออกให้กับชีวิต และเลย้ี งปากท้องด้วยการขอทาน อีกทั้งสังคมยังมีมุมมองท่ีเช่ือว่าคนขอทาน คนเร่ร่อนไร้บ้าน กลุ่มคนเหล่าน้ี เกิดจากความบกพรอ่ งของปัจเจก ดว้ ยมุมมองแบบนีข้ อทานจึงกลายเป็นกลุ่มคนท่ีขี้เกียจ หรืออาจเป็นไปได้ว่า จานวนคนยากจนที่เพ่ิมมากข้ึน หรือการท่ียังมีคนยากจนอยู่มากในสังคมไทยน้ัน เกิดจากการพัฒนาบนความ เหล่ือมล้า อันเป็นปัญหาท่ีเกิดจากการพัฒนาประเทศท้ังในด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรม โดยเฉพาะด้านความมั่นคงของมนุษย์ ทาให้ประชาชนประสบกับความยากจนจากการกระจาย รายได้ที่ไม่เป็นธรรม ทาให้คนจานวนหน่ึงถูกกีดกันออกจากทรัพยากร และถูกผลักให้เข้าสู่วังวนของการเป็น ขอทาน เป็นต้น จากข้อมูลท้ังหมดข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่าการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานของ ตาบลกระโพน้ัน นอกจากจะต้องใช้ระยะเวลาท่ียาวนานกว่า 10 ปีแล้ว การที่ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน จากหน่วยงาน องค์กร และผู้นาชุมชนที่มีความสานึกรักบ้านเกิด มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาถิ่นฐานของตนเอง ให้กลับมามีภาพลักษณ์ท่ีเหมาะสมต่อสายตาประชาชนภายนอก ตลอดจนชาวบ้านในชุมชนได้มีชีวิต ความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึนน้ัน จาเป็นต้องอาศัยความอดทนและการปรับตัวให้ทันต่อสถานการณ์ทางสังคม ทเี่ ปลยี่ นแปลงไป โดยการอาศยั ความสัมพันธ์เชิงอานาจในชุมชนเพ่ือการโน้มน้าว ชักจูง และสร้างความเข้าใจ รวมถึงทัศนคติ ค่านิยมที่ดีงามแก่กลุ่มเปูาหมายและชาวบ้านในชุมชน ให้ร่วมแรงร่วมใจกันขจัดปัดเปุา ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชนอย่างยั่งยืน ท้ังน้ีโครงการ/กิจกรรมท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอ 62

ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้ดาเนินการในชุมชนเพ่ือแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ตามภารกิจขององค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ และตามงบประมาณรายจ่ายประจาปีท่ีได้รับจัดสรร ซึ่งต้อง เป็นไปด้วยความรอบคอบ โดยงบประมาณท่ีได้ดาเนินโครงการ/กิจกรรมไปแล้วจะต้องเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากที่สุด พร้อมท้ังมีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมที่ได้ดาเนินการ เพื่อเป็นการ รับประกันได้ว่าส่ิงที่องค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ ได้ดาเนินการไปแล้วเกิดประโยชน์กับประชาชน ตามกลุ่มเปูาหมายมากน้อยเพียงใด มีความคุ้มค่ากับงบประมาณหรือไม่ และสามารถแก้ไข้และปูองกันปัญหา ขอทาน ตลอดจนปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ได้หรือไม่ ดังนั้นการดาเนินโครงการ/กิจกรรมจาเป็นอยู่ภายใต้ หลักการวิเคราะห์งบประมาณและวิเคราะห์ศักยภาพขององค์กร เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ลอย่างเป็นรูปธรรม ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีขององค์การบริหารส่วนตาบล กระโพ ซง่ึ ประกอบดว้ ยยุทธศาสตร์ 7 ประการ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี 2) ยุทธศาสตร์ อนุรกั ษ์ฟื้นฟูสงิ่ แวดล้อม 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 4) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาแหล่ง น้าเพ่ือการเกษตร 5) ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพ องค์กร ผู้นา และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 6) ยุทธศาสตรก์ ารส่งเสริมศาสนา รัฐพิธี วัฒนธรรม ประเพณีและการท่องเท่ียว 7) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมรายได้ ประชาชน โดยการดาเนินโครงการ/กิจกรรมระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2559 ภายใต้วิสัยทัศน์ “ตาบลนา่ อยู่ สชู่ มุ ชนท่องเที่ยว” มีดงั น้ี 1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี 1.1 โครงการอดุ หนนุ โรงเรียนโครงการพฒั นาทกั ษะดา้ นกฬี า 1.2 โครงการจดั การศกึ ษาแหล่งเรยี นรนู้ อกสถานที่เดก็ กอ่ นวยั เรยี น 1.3 โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูท้ างวชิ าการ 1.4 โครงการจดั งานวันเดก็ แห่งชาติ 1.5 โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติด 1.6 โครงการคา่ ยเยาวชน 1.7 โครงการสง่ เสริมภาวะผู้นาแก่กลุ่มสตรี 1.8 โครงการจัดงานประเพณีวนั สงกรานต์และวนั ผสู้ ูงอายุ 1.9 โครงการส่งเสรมิ สนับสนนุ กองทุนสวสั ดกิ ารชุมชน 1.10 โครงการแกไ้ ขปัญหาบคุ คลเร่ร่อนขอทาน 1.11 โครงการจดั เก็บข้อมลู พื้นฐาน 1.12 โครงการฝึกทบทวน อปพร. 1.13 โครงการรณรงคถ์ นนปลอดภยั 1.14 โครงการตงั้ จุดตรวจบริการประชาชนสงกรานต/์ ปีใหม่ 1.15 โครงการอบรมเพ่ิมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 1.16 โครงการส่งเสริมกองทุนหลักประกันสุขภาพ 1.17 โครงการสนบั สนุนอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน (อสม.) 1.18 โครงการจัดหารายได้เพื่อกจิ กรรมสาธารณกุศลฯ 1.19 โครงการสานสายใยรกั ครอบครัวอบอุ่น 1.20 โครงการจดั การแขง่ ขันกฬี าเยาวชน 63

1.21 โครงการจัดการแขง่ ขนั กฬี านักเรียน 1.22 โครงการสนับสนนุ ส่งเสริมการแข่งขันกีฬาร่วมกบั หน่วยงานอน่ื 1.23 โครงการสนับสนนุ สถานศึกษา สพฐ. โครงการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2. ยุทธศาสตร์อนุรกั ษฟ์ ื้นฟูส่งิ แวดล้อม 2.1 โครงการปลูกปุาชุมชน 2.2 โครงการปลูกพืชอาหารช้าง 2.3 โครงการคดั แยกขยะ 3. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาด้านโครงสร้างพ้นื ฐาน 3.1 โครงการก่อสรา้ งอาคารเอนกประสงค์ ถนนดินลูกรงั และถนน คสล. ในชมุ ชน 3.2 โครงการลอ้ มร้ัวสระน้า พร้อมปรับปรุงคันสระ หมู่ 5 3.3 โครงการก่อสร้างศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก หมู่ 14 3.4 โครงการเพิ่มหลอดไฟสาธารณะในชุมชน 3.5 โครงการขยายเขตไฟฟูาภายในตาบลกระโพ 3.6 โครงการติดตง้ั ไฟฟาู พลงั งานแสงอาทิตย์ (โซล่าเซล) 3.7 โครงการขยายทอ่ ส่งนา้ ประปา หมู่ 1 3.8 โครงการขุดเจาะบ่อบาดาล พรอ้ มติดต้ังซัมเมอร์ หมู่ 16 3.9 โครงการตรวจสอบคุณภาพนา้ ประปาหมูบ่ ้าน 3.10 โครงการซ่อมแซมบารุงรักษาระบบประปาหมูบ่ ้าน 4. ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาแหลง่ น้าเพื่อการเกษตร ได้รับงบประมาณสนับสนนุ จากองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดสรุ นิ ทร์ และกรมชลประทาน ดังน้ี 4.1 สถานีสูบน้าเพื่อการเกษตรบ้านดา่ น หมู่ 9 4.2 สถานสี บู นา้ เพื่อการเกษตรบา้ นศาลา หมู่ 11 4.3 สถานีสูบนา้ เพื่อการเกษตรบา้ นโคกกงู หมู่ 5. ยุทธศาสตร์การพฒั นาศกั ยภาพ องค์กร ผู้นา และส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 5.1 โครงการประชมุ ช้ีแจงนโยบาย อปท. 5.3 โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม ผู้นาทอ้ งถิ่น พนักงานลกู จ้าง 5.4 โครงการประชาคมจัดทาแผนพัฒนาตาบล 5.5 โครงการอบรมใหค้ วามรู้ประชาชนด้านกฎหมาย 5.6 โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้คนในชาติ 6. ยุทธศาสตร์การส่งเสรมิ ศาสนา รฐั พธิ ี วัฒนธรรม ประเพณแี ละการท่องเทยี่ ว 6.1 โครงการส่งเสริมประเพณีแข่งเรอื ยาว อาเภอท่าตูม 6.2 โครงการส่งเสรมิ พุทธศาสนา 6.3 โครงการประเพณบี วชนาคชา้ ง 6.4 โครงการจดั งานประเพณีวันลอยกระทง 6.5 โครงการประเพณีไหลเรือไฟ หมู่ 7 6.6 โครงการส่งเสรมิ หมู่บา้ นทอ่ งเทย่ี ว 6.7 โครงการแตง่ งานบนหลังชา้ ง 6.8 โครงการประชาสัมพนั ธห์ มูบ่ ้านทอ่ งเทยี่ ว ตาบลกระโพ 64

7. ยทุ ธศาสตรส์ ่งเสรมิ รายได้ประชาชน 7.1 โครงการอบรมอาชีพแกเ่ ยาวชน 7.2 โครงการฝึกอบรมส่งเสรมิ อาชีพ 7.3 โครงการพัฒนาสนิ ค้า OTOP 7.4 โครงการส่งเสริมหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 7.5 โครงการสง่ เสริมการจัดทาเกษตรอนิ ทรีย์ ส่วนท่ี 3 กระบวนการดาเนินงาน รูปแบบวิธีการ การบูรณาการ การมีส่วนร่วมของหน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ และอืน่ ๆ ด้านแก้ไขและปอ้ งกนั ปัญหาขอทานในพ้นื ท่ี บทบาทหน้าท่ีและกระบวนการดาเนินงานของหน่วยงานในพื้นท่ี หรือการมีส่วนร่วมของ หน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นท่ี กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวดั สรุ นิ ทร์ ไดใ้ ห้ขอ้ มูลว่า “เนื่องจากเราเป็นคนพ้ืนท่ี เป็นผู้นาท้องถิ่น ผู้นาชุมชน มีความใกล้ชิดสนิทสนม และ เปน็ ทีร่ จู้ ักนับถือของชาวบ้าน ทาให้เวลามีปัญหาเกิดข้ึนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองที่เล็กน้อย หรือเร่ืองที่ ใหญ่ๆ เราในฐานะผู้นาก็ต้องเข้ามามีส่วนร่วม ต้องช่วยเหลือชาวบ้านอย่างเต็มกาลังความสามารถ ให้สมกลับ ท่ีชาวบ้านไว้วางใจ” ซึ่งจากที่ผ่านมาปัญหาขอทานในพื้นท่ีตาบลกระโพได้รับความสนใจจากสังคม ส่ือต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะปัญหาท่ีเกิดจากขอทาน และจานวนผู้ท่ีเดินทางเข้าไปกระทาการขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แล้วถูกจับกุมส่วนใหญ่ มักมีพนื้ เพมาจากตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตูม จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ทาให้ตาบลกระโพเป็นที่จับตามองและเป็นที่สนใจ จากสังคม ในการระดมกาลังจากทุกภาคส่วนเพื่อเข้ามาแก้ไขและปูองกันปัญหาดังกล่าว จากทั้งหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร มูลนิธิต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยสาหรับบทบาทหน้าที่ของกลุ่มกลุ่มผู้นา/ผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีใกล้ชิดกับชุมชนมากท่ีสุด ท่ีจะช่วยสร้างความเข้าใจ และชักจูงให้กลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มเปูาหมายให้เปิดใจยอมรับ และเข้าร่วมโครง/ กิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพอันจะเกิดประโยชน์ต่อการแก้ไขและปูองกันปัญหา ด้วยการใช้กลวิธี “เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา” เริ่มต้นจากการเม่ือกลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทานถูกจับกุม และส่งตัวกลับคืนสู่ พื้นท่ี ผู้นาชุมชน ผู้บริหารองค์กรในพื้นที่จะร่วมกันลงพ้ืนท่ีเพื่อดูแลสภาพความเป็นอยู่ พูดคุยแนะนา ให้คาปรึกษา สร้างความเข้าใจ รับฟังปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของกลุ่มเปูาหมายอย่างจริงจัง และเข้าใจ รวมถึงการขอความร่วมมือจากชาวบ้าน และจิตอาสาในชุมชน ให้ช่วยกันสังเกตพฤติกรรมและ เฝูาระวังไม่ให้กลุ่มเปูาหมายกลับไปกระทาการขอทานอีก ตลอดจนการระดมความคิดเห็นกันอย่างมีส่วนร่วม ในชุมชนเพ่ือค้นหาความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเปูาหมาย ให้ได้มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ พัฒนาตนเอง ปรับทัศนคติความคิด เปลี่ยน รูปแบบการดารงชวี ิต เพอ่ื กลบั คืนสู่สังคมในชุมชนและมีวถิ ีชีวิตที่ปกติสุข ไมต่ อ้ งเร่ร่อนขอทานอีกตอ่ ไป สาหรับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ให้ข้อมูลว่า “ในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจด้านสังคม มีหน้าที่ในการช่วยเหลือ คุ้มครอง และพัฒนาศักยภาพของ กลุ่มเปูาหมายในระดับพื้นท่ี ก็ต้องเข้าไปมีบทบาทในการปฏิบัติงานท้ังเชิงรุกและเชิงรับ เพ่ือช่วยแก้ไขและ ปูองกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ี ซึ่งปัจจุบันได้เปล่ียนแปลงวิธีการไปจากเดิม โดยกลุ่มผู้ท่ีเข้าไปขอทานก็ เปล่ียนไปเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน ด้วยวิธีการท่ีทราบกันดี คือ การใส่ชุดนักเรียนไปเปุาแคน ซีซอ ดีดพิณ หรือถอื กลอ่ งรบั บริจาคในชว่ งวันหยุดเสาร์-อาทติ ย์ หรือช่วงปิดภาคเรยี น ซ่ึงเมื่อถูกจบั กุมและส่งกลับภูมิลาเนา 65

ก็จะมีเจ้าหน้าท่ีและทีมสหวิชาชีพดาเนินการลงพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานในชุมชน เพื่อพบปะพูดคุย สร้างความ เข้าใจ แล้วก็แนะนาให้คาปรึกษา ชักจูงโน้มน้าวให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาศักยภาพ สร้างความเช่ือม่ัน ในตนเอง และทัศนคติท่ีถูกต้องในการประกอบสัมมาอาชีพ ซ่ึงโครงการ/กิจกรรมที่ถูกจัดข้ึนเพื่อรองรับ กลุ่มเปูาหมายและชาวบ้านในชุมชน บางครั้งก็อาจจะมีทั้งท่ีตรงและไม่ตรงกับความต้องการบ้าง แต่ก็ยัง ได้รับการยอมรับและเปิดใจในการเข้าร่วมจากกลุ่มเด็กและเยาวชน ตลอดจนชาวบ้านในชุมชนเป็นอย่างดี ” โดยกลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มลู ลาดับที่ 3 กลมุ่ ประชาชนผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ให้ขอ้ มูลว่า “จากการทีม่ ีข่าวคนขอทานออกไป ทาให้ชุมชนตาบลกระโพถูกมองไม่ดี และคนภายนอกคิดว่าพวกเราเป็นหมู่บ้านขอทาน ซึ่งอยากบอกว่าจริงๆ แลว้ มนั ก็ไม่ใช่ท้ังหมด เป็นการกระทาของคนเพียงบางคน บางครอบครัวเท่านั้น แต่เม่ือผู้นาชุมชน หน่วยงาน มูลนิธิตา่ งๆ เขา้ มาช่วยเหลอื ให้ความสนใจ ชาวบ้านก็รู้สึกดีท่ีจะมีคนเข้ามาช่วยเราแก้ไขปัญหาท่ีเกิดจากกลุ่ม คนส่วนน้อยในชุมชนให้ดีขึ้น ส่งเสริมให้เขาเลิกขอทาน แล้วหันมาประกอบอาชีพที่สุจริตในชุมชน ท่ีในตอนนี้ มีอยู่หลากหลายงานหลายอาชีพ ซ่ึงถ้าเขาสนใจและอยากทางานจริงๆ ก็มีหน่วยงาน ร้านค้า เจ้าของธุรกิจ ในชุมชนท่ีจะจ้างงานอย่างสม่าเสมอ ในฐานะชาวตาบลกระโพ ถ้ามีโครงการ/กิจกรรมอะไรท่ีสามารถเข้าร่วม ไดก้ ็จะสละเวลาไปเข้ารว่ มตลอด เพราะอยากให้ตาบลกระโพมภี าพลกั ษณ์ทด่ี ีในสายตาคนภายนอก” จากข้อมูลท้ังหมดข้างต้น ทาให้ทราบว่าบทบาทหน้าที่และกระบวนการดาเนินงานของ หน่วยงานในท้ังภายในและภายนอกพื้นท่ี เกิดจาการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานกับหน่วยงาน ระหว่าง หน่วยงานกับชุมชนและกลุ่มเปูาหมาย เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพในพ้ืนท่ีอย่างสอดคล้อง โดยเน้น หลักการสร้างความเช่ือมั่นและความไว้วางใจ เข้าอกเข้าใจซึ่งกันและกัน การผนึกกาลังกันเพื่อการแก้ไขและ ปูองกัน เฝูาระวังไม่ให้เกิดปัญหาขอทานขึ้นในสังคมจากคนในชุมชน ตลอดจนการระดมความคิดและ ดาเนินการจดั ทาเปน็ โครงการ/กิจกรรม เพอ่ื ใหก้ ลุ่มเส่ยี ง กลุ่มเปาู หมาย และชาวบา้ นได้มีโอกาสมาทากิจกรรม ร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน สร้างการยอมรับและเปิดใจ ทาให้เกิดทัศนคติท่ีดีข้ึน และค่อยๆ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม ทั้งนี้การดาเนินการดังกล่าวจะต้องมาวิธีการและ ข้ันตอนท่ีตอ่ เนือ่ งจรงิ จงั และรบั ฟงั ปญั หาและความตอ้ งการท่ีแท้จริง เพ่ือการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดและปูองกัน ไม่ให้ปัญหาเหล่านั้นเกิดขึ้นในชุมชนหรือสังคมได้อีก ทั้งน้ีองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้วางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ โดยมีแนวทางการพัฒนาภายใต้แผน ยุทธศาสตร์ 7 ประการ ท่ีเป็นการกาหนดว่าอนาคตข้างหน้าตาบลกระโพจะเป็นไปในทิศทางใด เพ่ือเป็นแนว ทางการพัฒนาของแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2559–2561) ให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพัฒนาของ องค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ ตามวิสัยทัศน์การพัฒนาตาบลกระโพ คือ “ตาบลน่าอยู่ สู่ชุมชนท่องเที่ยว” ซ่งึ ประกอบด้วยยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ดังน้ี 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ีดี เปาู หมาย : เพ่อื เสริมสรา้ งทักษะการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของคนภายในชมุ ชนท้ังทางด้านจิตใจ ด้านการศึกษา ด้านสุขภาพอนามัย ด้านสวัสดิการและสังคม ด้านกีฬาและนันทนาการ ให้มีคุณภาพสามารถ พ่ึงพาตนเองได้ ซ่ึงเป็นไปตามแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุรินทร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตบน พื้นฐานความเสมอภาค และยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัดสุรินทร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพือ่ ยกระดบั คุณภาพชวี ติ บนพื้นฐานความเสมอภาค ซ่งึ มีแนวทางการพฒั นา ดงั นี้ แนวทางการพัฒนาที่ 1 การส่งเสริมการเรยี นรู้ในระบบสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาท่ี 2 การสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ กอ่ นวยั เรียน แนวทางการพัฒนาที่ 3 การสร้างสงั คมเป็นสขุ ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส์ ิน 66

แนวทางการพฒั นาท่ี 4 การส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชน แนวทางการพัฒนาท่ี 5 การสง่ เสรมิ ด้านกีฬาและนนั ทนาการ 2. ยุทธศาสตร์อนรุ กั ษ์ฟื้นฟสู ง่ิ แวดลอ้ ม เปูาหมาย : เพื่อพัฒนาระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมอันพึงปรารถนาร่วมกันไม่ให้มีปัญหา ภายในชุมชน ซ่ึงเป็นไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ที่ 3 ด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน และยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในเขตจังหวัดสุรินทร์ ที่ 3 ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน ซึ่งมีแนว ทางการพฒั นา ดังน้ี แนวทางการพฒั นาที่ 1 การสง่ เสริมอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อมและการปลูกปาุ ชุมชน แนวทางการพฒั นาท่ี 2 การจัดต้ังศนู ยก์ าจดั ขยะ แนวทางการพัฒนาท่ี 3 การรณรงคล์ ดปรมิ าณขยะ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐาน เปูาหมาย : เพ่ือก่อสร้างและซ่อมบารุงโครงสร้างพ้ืนฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล กระโพให้มีความสะดวกและได้มาตรฐาน เป็นไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ท่ี 2 ด้านการ พัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว และยุทธศาสตร์การ พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัดสุรินทร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจ การคา้ การลงทุน และการท่องเท่ียว ซง่ึ มแี นวทางการพัฒนา ดงั น้ี แนวทางการพฒั นาที่ 1 การพฒั นาคมนาคม ขนส่ง อาคาร ถนน แนวทางการพัฒนาท่ี 2 การพัฒนาระบบไฟฟาู แนวทางการพฒั นาท่ี 3 การพัฒนาระบบประปาหมู่บา้ น 4. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาแหล่งนา้ เพอื่ การเกษตร เปูาหมาย : เพื่อพัฒนาระบบการจัดการแหล่งน้าให้เพียงพอต่อการทาการเกษตรภายใน ชุมชนซ่ึงเป็นไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ท่ี 1 การพัฒนาศักยภาพภาคการเกษตรและ อุตสาหกรรมการเกษตรเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม และยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขต จังหวดั สุรินทร์ที่ 1 การพฒั นาศักยภาพภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเพ่ือสร้างมลู ค่าเพ่ิม แนวทางการพฒั นาท่ี 1 การพฒั นาขุดลอกคลอง แนวทางการพฒั นาท่ี 2 การขุดสระนา้ ขนาดใหญ่ แนวทางการพฒั นาที่ 3 การกอ่ สร้างคลองส่งนา้ เพอ่ื การเกษตร แนวทางการพัฒนาที่ 4 การก่อสร้างฝายนา้ ลน้ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศกั ยภาพองคก์ ร ผนู้ า และสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชน เปูาหมาย : เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์กร ผู้นา พนักงานส่วนตาบล และส่งเสริมสนับสนุน ประชาชนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและตรวจสอบการทางานของภาครัฐ ซึ่งเป็นไปตามแนวทาง ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความ เสมอภาค และยุทธศาสตร์การพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัดสุรินทร์ท่ี 4 ด้านการพัฒนา คนและสังคมเพอื่ ยกระดับคุณภาพชีวิตบนพ้ืนฐานความเสมอภาค 67

แนวทางการพัฒนาท่ี 1 การพัฒนาการและจัดการองคก์ รให้มปี ระสิทธภิ าพในการใหบ้ ริการ ประชาชน แนวทางการพฒั นาที่ 2 การสง่ เสริมพฒั นาศักยภาพ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผ้นู าท้องถิ่น บคุ ลากรในองค์กรและชมุ ชน แนวทางการพฒั นาท่ี 3 การส่งเสรมิ การมีประชาธปิ ไตยและการมีส่วนรว่ มของภาคประชาชน 6. ยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ ศาสนา รัฐพิธี วฒั นธรรมประเพณี และการท่องเทยี่ ว เปูาหมาย : เพื่อส่งเสริมการทานุบารุงศาสนา การจัดงานรัฐพิธี อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมการท่องเท่ียวภายในชุมชน สร้างเครือข่ายชุมชนการท่องเที่ยวและให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมการท่องเท่ียว เป็นไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทนุ และการทอ่ งเที่ยว และยทุ ธศาสตร์การพัฒนาของ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในเขตจังหวัดสุรินทร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การคา้ การลงทนุ และการท่องเท่ยี ว แนวทางการพัฒนาที่ 1 การส่งเสรมิ การจดั งานรฐั พธิ ี แนวทางการพฒั นาท่ี 2 การส่งเสริมการทานุบารุงศาสนา แนวทางการพฒั นาท่ี 3 การส่งเสรมิ อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมท้องถิน่ แนวทางการพฒั นาที่ 4 การส่งเสรมิ การท่องเที่ยว 7. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมรายไดป้ ระชาชน เปูาหมาย : เพ่ือส่งเสริมอาชีพชุมชน มีการสร้างกลุ่มอาชีพ จัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน ส่งเสริม เศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ซ่ึงเป็นไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสุรินทร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม, 2 ด้านการพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว, 4 ด้านการพัฒนาคนและ สงั คมเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ บนพื้นฐานความเสมอภาค แนวทางการพัฒนาที่ 1 การฝกึ อบรมพฒั นาอาชพี แนวทางการพฒั นาที่ 2 การส่งเสริมผลิตภณั ฑส์ นิ ค้า OTOP แนวทางการพฒั นาที่ 3 การจัดศนู ยส์ ินค้า OTOP แนวทางการพัฒนาที่ 4 การสง่ เสริมเศรษฐกจิ พอเพียง แนวทางการพัฒนาที่ 5 การส่งเสริมการเกษตรอนิ ทรีย์ กระบวนการช่วยเหลือคุ้มครอง พัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ของหน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องในการแก้ไขและ ปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ตาบลกระโพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้ให้ข้อมูลว่า “ด้านการช่วยเหลือคุ้มครอง หรือการพัฒนาศักยภาพน้ัน ส่วนใหญ่จะเป็นหน้าที่รับผิดชอบ ของหน่วยงานด้านสังคมและสวัสดิการ นั่นก็คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซ่ึงในพ้ืนที่จังหวัดสุรินทร์ หน่วยงาน พม. ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการ เสรมิ สรา้ งความรู้ความเข้าใจ เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ได้แก่ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ นิคมสร้างตนเองปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ” โดยข้อมูลท่ีได้รับจากหน่วยงานกระทรวง พม. ดังกล่าว ท่ีมีภารกิจในการจัดดาเนินโครงการ/กิจกรรม เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ทั้งร่างกายจิตใจ อาชีพรายได้ และ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซ่ึงจะมีการดาเนินงานในพ้ืนท่ีตาบลกระโพอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง เพ่ือประสานงานและ 68

จัดโครงการ/กิจกรรมตามกลุ่มเสย่ี ง กลุ่มเปูาหมายในชุมชน หรือ “เมื่อไดร้ บั แจ้งข้อมูลว่ามีคนขอทานถูกจับกุม และสง่ ตัวกลับภมู ิลาเนา ไม่ว่าจะเป็นในเขตพ้ืนที่ตาบลกระโพ หรือจะเป็นเขตพื้นที่ใดของจังหวัดสุรินทร์ก็ตาม เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบจากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ และศูนย์คุ้มครอง คนไรท้ ่ีพ่งึ จังหวดั สุรนิ ทร์ ก็จะรว่ มกนั ลงพ้นื ท่ีเพอื่ ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับทีมสหวิชาชีพและหน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ี ทันที โดยจะเข้าไปพูดคุยสร้างความเข้าใจและให้คาปรึกษาแนะนา พร้อมทั้งขอความร่วมมือจากผู้นาชุมชน ผู้บริหารองค์กร อาสาสมัคร และจิตอาสาในชุมชน ในการสังเกตพฤติกรรม เฝูาระวัง และสอดส่องดูแล ไม่ให้กลุ่มเปูาหมายสามารถกลับไปกระทาการขอทานได้อีก” พร้อมทั้งร่วมกันค้นหาแนวทางในการชักจูง โน้มน้าวให้กลมุ่ คนเหลา่ น้ัน ปรับเปล่ียนพฤติกรรมและทศั นคติ โดยการหากิจกรรมให้ทาในชมุ ชน เชน่ การจ้าง งาน การทาอาชีพเสริม เพ่ือให้กลุ่มคนท่ีมีพฤติกรรมดังกล่าว มีรายได้และได้ค่อยๆ ปรับตัว ปรับทัศนคติ เสริมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องแก่ตนเอง และไม่กลับไป หรือมีความคิดท่ีจะเป็นขอทานอีก ตลอดจนการติดตาม การเปล่ียนแปลงของพฤติกรรม โดยผู้นาชุมชน อาสาสมัคร และจิตอาสาในชุมชน โดยไม่ทาให้กลุ่มเปูาหมาย ร้สู ึกอดึ อดั ในทุกเดือน และรายงานตอ่ หนว่ ยงาน อปท. ในพน้ื ท่ีเปน็ ระยะๆ ท้ังนหี้ นว่ ยงาน อปท. ในพ้ืนที่ก็จะมี การรายงานให้แก่หน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องทราบเป็นระยะๆ เช่นกัน ทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน โดยจะมี หน่วยงานภาครัฐในพื้นท่ี องค์กร มูลนิธิต่างๆ สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรมเป็นระยะๆ เพ่ือเป็นการละลายพฤติกรรม และปรับทัศนคติ อีกท้ังยังช่วย สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม เฝูาระวัง และปูองกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มเปูาหมายผู้ที่เคยเข้าไปขอทาน สามารถกลับไปเป็นคนขอทาน หรือมคี วามคดิ ทีจ่ ะไปเป็นขอทานอีก ท้ังนี้ด้านกระบวนการพัฒนาศักยภาพ การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริม สนับสนุนในด้านต่างๆ ในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ตาบลกระโพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 1 และ 2 กล่มุ ผ้นู าชุมชน/กลมุ่ ผ้บู รหิ ารองคก์ ารบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จงั หวดั สุรินทร์ ได้ให้ข้อมูล เพิม่ เตมิ วา่ “ในการทางานดา้ นการแกไ้ ขและปอู งกนั ปญั หาขอทานในพื้นที่ ซงึ่ เป็นปัญหาท่ีเร้ือรังและต้องอาศัย ระยะเวลาในการแก้ไขท่ียาวนานน้ัน ในฐานะผู้นาชุมชน ผู้บริหารองค์กรภาครัฐในพ้ืนที่ ก็มีความต้ังใจ ท่ีจะแก้ไขพัฒนาปัญหาต่างในชุมชนในทุกๆ ด้าน เพ่ือให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น พร้อมทั้งสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับชุมชน” โดยที่ผ่านมาผู้นาชุมชน และผู้บริหารองค์การบริหารส่วน ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้จัดทาโครงการ/กิจกรรมเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินที่หลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจและรายได้ ด้านสาธารณูปโภค ด้านส่ิงแวดล้อม และอ่ืนๆ โดยได้ขอความร่วมมือไปยังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น ให้มีความเจริญ การเดินทางสะดวก สภาพแวดล้อมดี ให้เป็นที่รู้จักทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ โดยนาเรือ่ งของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนกับช้าง ดนตรี และศิลปะพ้ืนบ้านมาพัฒนาต่อยอด เป็นโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว สร้างงานสร้างรายได้ และที่สาคัญคือสร้างภาพลักษณ์ท่ีดี ต่อสังคม ทาให้สังคมมีมิติมุมมองใหม่ๆ ต่อตาบลกระโพ ผ่านการสนับสนุนจากสานักงานพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ นิคมสร้างตนเองปราสาท การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สานักงานสุรินทร์ (ททท.) กรมการปกครอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวดั สรุ ินทร์ องค์กรธุรกจิ เพือ่ สงั คม (CSR) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลกระโพ สถาบันการ พัฒนาชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนกานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน ผูน้ าชมุ ชน ชาวบา้ นตาบลกระโพ และภาคีเครือข่ายด้านสังคมอ่ืนๆ ในการผนึกกาลังกันสร้างสรรค์ และพฒั นาแหลง่ เรยี นรวู้ ถิ ชี ีวติ คนกบั ชา้ ง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วศนู ยค์ ชสาร ต่อยอดการจ้างงานและสร้างรายได้ โดย ให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเรียนรู้วิถีชุมชนในรูปแบบโฮมสเตย์ รวมถึงการผลิตสินค้า อาทิ ผ้าไหม เคร่ืองเงิน 69

ผลิตภัณฑ์จากช้าง เพื่อจัดจาหน่ายเป็นของฝาก หรือของท่ีระลึกแก่นักท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังได้วางรากฐาน ทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีการวางระบบการจัดการน้าเพ่ือการเกษตร การอนุรักษ์ปุาไม้ และการ ปลูกปุาในชุมชน เพื่อเป็นแหล่งอาหารของท้ังคนและสัตว์ อันจะคงความเป็นธรรมชาติตามวิถีชีวิตดังเดิมของ ชาวตาบลกระโพเอาไว้ ด้วยการสนับสนุนจากโครงการชลประทานสุรินทร์ กรมชลประทาน และองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ ที่ทาให้เกิดสถานีสูบน้าเพื่อการเกษตร จานวนกว่า 3 แห่ง ในหมู่บ้านทั้งบ้านด่าน หมู่ 9 บ้านศาลา หมู่ 11 และบ้านโคกกูง หมู่ 17 ซ่ึงจะช่วยให้ชาวบ้านสามารถทาไร่ทานาได้ตลอดทั้งปี โดยไม่ขาดแคลนน้าในช่วงฤดูแล้ง และไม่ต้องอพยพ ย้ายถิ่นฐานเข้าไปหางานในกรุงเทพมหานคร ท่ีสาคัญ คือกลุ่มเส่ียงและกลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทานก็อาจจะล้มเลิกความ คิดท่ีจะเข้าไปขอทานในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เนื่องจากมีการจ้างงานในชุมชนเพ่ิมข้ึน สภาวะเศรษฐกิจในชุมชนดีข้ึน และ รายไดห้ มนุ เวียนในชุมชนมสี ภาพคล่องมากข้ึนนั่นเอง จากข้อมูลท้ังหมดข้างต้น ทาให้ทราบว่ากระบวนการช่วยเหลือคุ้มครอง พัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ของหน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นท่ีตาบลกระโพ เกิดจาการ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนกันในทุกด้านระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาค ประชาสังคม ในการผลักดันโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ไปยังกลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ี เพ่ือสร้างความเชื่อมั่นและ การยอมรับ ตลอดจนการเปิดใจต่อค่านิยม แนวคิด ทัศนคติใหม่ๆ รวมถึงการนาพาตนเองไปสู่การประพฤติ และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ลดละเลิกล้มความคิดท่ีจากเข้าไปขอทานในเขตกรุงมหานครและ ปริมณฑล อีกท้งั การพัฒนาดา้ นสังคมวฒั นธรรม ด้านเศรษฐกจิ และรายได้ ด้านสาธารณูปโภค ด้านสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ก็ยังมีส่วนช่วยในส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดโครงการ/กิจกรรมท่ีดีในชุมชน เกิดการจ้างงาน เกิด อาชีพใหม่ๆ และรายได้ที่เพิ่มขึ้น พัฒนาไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เกิดความรู้ความเข้า มีศีลธรรมและค่านิยมที่ถูกต้อง โดยจากการหนุนเสริมและ เสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกันทางสังคมให้แก่กลุ่มเปูาหมายดังกล่าว จึงทาให้จานวนคนขอทานที่มีภูมิลาเนาอยู่ในตาบล กระโพ ท่ีเดนิ ทางเขา้ ไปขอทานในเขตกรุงมหานครและปริมณฑล นั้นมีจานวนลดลงไปได้ในระดับหน่ึง ซึ่งคาด วา่ ในอนาคตขา้ งหน้าจะสามารถจานวนลงและหมดไปจากชมุ ชน สงั คม และประเทศไทยได้ หากแต่จาเป็นต้อง ใช้เวลาในการดาเนินงานที่ต่อเนื่องย่ังยืน ผ่านการเล็งเห็นความสาคัญของปัญหาที่เกิดข้ึนในทุกมิติ เพ่ือการ แก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุดและปูองกันเฝูาระวังไม่เกิดปัญหาต่างๆ ข้ึนอีก ท้ังนี้เพื่อช่วยเพิ่มความม่ังคง ปลอดภยั ทางสังคม และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้แก่ชาวตาบลกระโพไดอ้ ย่รู วมกนั ได้อย่างปกติสขุ ต่อไป กระบวนการทางานทง้ั เชิงรุกและเชิงรับ เพื่อแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ีให้ลดลง หรือหมดไปของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เก่ียวข้องและให้การสนับสนุนในพ้ืนท่ี กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/กลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีการดาเนนิ งานในพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นกระบวนการในเชิงรับ โดยจะเน้นที่การปูองกัน การสังเกต การเฝูาระวัง ผ่านการนาโครงการ/กิจกรรมด้านการสร้างความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริมอาชีพแก่กลุ่มเส่ียงและ กลุ่มเปูาหมายในชุมชน การอบรมบ่มนิสัยเพ่ือขัดเกลาเด็กและเยาวชน ตลอดจนการปลูกฝังค่านิยม เพื่อสร้างคุณธรรมจริยธรรม และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ให้ก่อเกิดเป็นภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ชาวบ้าน ในชุมชนทุกกลุ่มเปูาหมายในทุกระดับ ซ่ึงโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินการในพื้นที่ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย ด้านกีฬาและนันทนาการ ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านดนตรีและการแสดง ด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น เพอื่ ช่วยสร้างความเช่ือมน่ั ในตนเอง สร้างอาชีพและรายได้ รวมถึงการมีสุขภาพกายและจิตที่ดี อันจะส่งผลต่อ พฤติกรรมและทัศนคตคิ ่านยิ มที่เปลยี่ นแปลงไปในทิศทางดที ข่ี นึ้ ของกลมุ่ เปาู หมายและกลุ่มเสีย่ ง 70

สาหรับกลุ่ม ลาดับท่ี 4 กลุ่มองค์กรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับ กระบวนการทางานเพ่ือแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นท่ีเพิ่มเติมว่า “กระบวนการดาเนินงานกับ กลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเสี่ยง เร่ิมจากการท่ีได้รับข้อมูล หรือทราบข่าวว่ามีบุคคล หรือ กลุ่มบุคคลในตาบลกระโพที่มีพฤติกรรมเดินทางเข้าไปเป็นขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือกลุ่มบุคคลท่ีอยู่ในสภาวะเส่ียงต่อการเป็นคนขอทาน จากหน่วยงานในพ้ืนท่ี หรือจากการที่พลเมืองดี แจ้งเหตใุ ห้ทราบ หน่วยงาน พม. และ หนว่ ยงาน อปท. ในพ้ืนที่ ตลอดจนผู้นาชุมชน อาสาสมัคร และจิตอาสา จะประสานงานร่วมกันในการนัดหมายลงพื้นท่ีร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพ่ือพบปะพูดคุยสร้างความคุ้นเคย และไว้วางใจกับกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง เพ่ือเป็นการตรวจเยี่ยมบ้านและทราบความต้องการในการ ช่วยเหลือแก้ไข พร้อมทั้งสังเกตพฤติกรรมเพื่อเตรียมการปูองกันและเฝูาระวัง สาหรับกรณีท่ีกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเสี่ยงที่เป็นเด็กและเยาวชน จะดาเนินการลงพื้นที่ทางานร่วมกับคุณครูประจาโรงเรียนที่เด็กและ เยาวชนศึกษาอยู่ด้วย” นอกจากน้ียังมีข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานภาครัฐและองค์กรต่างๆ เข้ามา มีส่วนร่วมในการดาเนินงานในพ้ืนท่ีด้วย อาทิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลกระโพ สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกโรงเรียนตาบลกระโพ สถานีตารวจภูธรกระโพ มูลนิธิกระจกเงา และองค์กรธุรกิจ CSR ต่างๆ โดยจะให้ความช่วยเหลือด้านการดูแลสุขภาพ การเยี่ยวยาร่างกายและจิตใจ การให้ความรู้ด้านการศึกษา นอกระบบ การให้ความรู้ด้านกฎหมายข้อบังคับ และการไกล่เกลี่ยปัญหาต่างๆ ผ่านกิจกรรมส่งเสริมความรู้ และพัฒนาศักยภาพ โดยเน้นให้กลุ่มเปูาหมาย กลุ่มเส่ียง และประชาชนทั่วไปได้เข้ามีส่วนร่วมในโครงการ/ กิจกรรม เพ่ือลดความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาซ้าซาก ตลอดจนสร้างคุณค่า ความตระหนัก และภูมิคุ้มกันทาง สังคมแกท่ กุ กลมุ่ เปูาหมายในชมุ ชนทุกระดับ ทั้งนี้กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 3 กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ให้ข้อมูลว่า “ชาวบ้าน ในชุมชนตาบลกระโพมีความพร้อมใจท่ีจะเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ทางหน่วยงานทุกภาคส่วน จดั ดาเนินการขึ้นในพื้นท่ี แตส่ ่วนใหญก่ ล่มุ ผูท้ เ่ี ข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรม มักจะเป็นกลุ่มบุคคลเดิมๆ ครอบครัว เดิมๆ ซ่ึงบางคร้ังกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียงก็ปฏิเสธและไม่ยอมเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม เว้นแต่จะเป็น การบังคบั หรอื มคี ่าตอบแทนเปน็ คา่ อาหารและค่าเดินทางในการสละเวลามาเข้าร่วม แต่ถ้าหากเป็นโครงการ/ กิจกรรมที่จัดกระจายออกไปในแต่ละหมู่บ้าน ก็จาเป็นท่ีกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเสี่ยงจะต้องออกมามี ส่วนร่วมกับชุมชน เน่ืองจากโครงการ/กิจกรรมน้ันจัดข้ึนในหมู่บ้านที่ตนและครอบครัวอาศัยอยู่” ท้ังนี้ถ้าเป็น กลุ่มเปูาหมายที่เป็นเด็กและเยาวชนน้ัน หากจัดดาเนินโครงการ/กิจกรรมข้ึนในโรงเรียน กลุ่มเปูาหมาย หรือ กลุ่มเส่ียงท่ีเป็นเด็กและเยาวชน ก็จะมีโอกาสได้เข้าร่วมและได้รับการพัฒนาศักยภาพร่วมกับเพื่อนๆ ไดม้ ากกวา่ การจดั โครงการ/กจิ กรรมข้นึ ในชุมชน ด้านรูปแบบวิธกี ารในการแก้ไข การพัฒนา การปรับปรุง การ ปูองกัน การติดตาม การประเมินผล การรวบรวมสถิติ เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาซ้าซากขึ้นในพ้ืนท่ี กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “เนื่องจากหน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ีตาบลกระโพ หน่วยงาน พม. และหน่วยงานอ่ืนๆ ที่มีส่วนช่วยในการสนับสนุนด้านการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานที่เกิดจากกลุ่มคนเพียงบางรายในชุมชน น้ัน โดยสว่ นใหญ่จะมีการทางานในพื้นท่ใี นเชงิ รบั เฝูาระวงั เสริมสรา้ งภูมิคุ้มกันทางสังคม ปลูกฝังค่านิยม และ สร้างทัศนคติเสียมากกว่าการท่ีลงพ้ืนที่ในเชิงรุก” ท้ังนี้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง จะเน้นการส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมท่ีสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม สร้างทัศนคติค่านิยม สร้างอาชีพ และรายได้ให้แกก่ ล่มุ เปูาหมาย กลมุ่ เสย่ี ง และชาวบ้านในชมุ นตาบลกระโพอยา่ งยง่ั ยืน 71

จากข้อมูลท้ังหมดข้างต้น ทาให้ทราบว่ากระบวนการดาเนินงานในพื้นที่เพื่อการแก้ไขและ ปูองกันปญั หาขอทานนนั้ จะใหค้ วามสาคัญและเน้นหนักในเชิงการตั้งรับกับปัญหาเป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนการ ให้การสนับสนุน ปูองกัน เฝูาระวัง สังเกตพฤติกรรม โดยการติดตามอย่างใกล้ชิดจากทีมสหวิชาชีพที่เป็น บุคลากรในชุมชน ผู้นาชุมชน อาสาสมัคร จิตอาสา โดยให้ความสาคัญกับการสร้างการยอมรับและการเปิดใจ ของกลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเส่ียง โดยเฉพาะครอบครัวและชุมชนที่กลุ่มเปูาหมาย อาศัยอยู่ ทั้งนี้ถ้าหากกลุ่มเปูาหมายที่เป็นเด็กและเยาวชน จะให้ความสาคัญกับโรงเรียนและครูผู้สอน ให้เข้ามาส่วนร่วมในการแก้ไข ปูองกัน เฝูาระวัง และสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเปูาหมายร่วมด้วย เนื่องจาก ครูผู้สอนมีความใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจมากท่ีสุด พร้อมท้ังการผสานความร่วมมือกันในทุกภาคส่วน เพ่ือการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมท่ีเหมาะสมแก่กลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง โดยมุ่งหวังในการสร้าง ทัศนคติและปลูกค่านิยมท่ีดีงามเพ่ือการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเน่ือง สาหรับโครงการ/กิจกรรมท้ังหมดท่ี องค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมทั้งภายนอกชุมชน ซึ่งไดจัดดาเนินการข้ึน ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2557-2561) โดยเฉพาะด้านที่ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาชุมชนท้ังด้านอาชีพและรายได้ ด้านการเรียน การศึกษา ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค และด้านส่ิงแวดล้อม เพื่อช่วยแก้ไขและปูองกันปัญหา ขอทานในพน้ื ที่ พร้อมท้ังเสริมสร้างภูมคิ มุ้ กนั ทางสังคมให้กับชาวบา้ นในชมุ ชน มีดงั น้ี 1. ดา้ นอาชพี และรายได้ - โครงการ \"ทอ้ งถน่ิ ไทยเก่ียวข้าวช่วยชาวนา\" ณ บา้ นหนองบัว หมู่ 14 - โครงการประชาสมั พนั ธห์ มู่บ้านท่องเที่ยว ตาบลกระโพ - โครงการสง่ เสรมิ หมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจาปี 2561 - โครงการส่งเสริมการปลกู พชื ถวั่ พร้า ประจาปี 2561 - โครงการส่งเสรมิ การปลูกถัว่ พรา้ ประจาปี 2560 - โครงการอบรมมัคคเุ ทศก์น้อย ประจาปี 2559 - โครงการพฒั นาสินค้า OTOP (การทาน้ายาล้างจาน) ประจาปี 2559 - โครงการส่งเสริมอาชีพการประดษิ ฐด์ อกไมจ้ นั ทน์ใหแ้ ก่ กลุม่ สตรี ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ และ เยาวชน ประจาปี 2559 - โครงการส่งเสรมิ อาชพี \"การเลยี้ งปลาในกระชงั บก\" ประจาปี 2559 - โครงการฝึกอบรมสง่ เสริมอาชพี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากหญ้าดอกขาว ประจาปี 2559 - โครงการเพ่มิ รายไดแ้ ก่เกษตรตาบลกระโพ ประจาปี 2559 - โครงการส่งเสรมิ อาชีพการจดั ทาดนิ ปลูกพชื จากมูลชา้ ง ประจาปี 2559 - โครงการส่งเสริมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปี 2559 - โครงการส่งเสรมิ การจัดทาเกษตรอนิ ทรยี ์ ประจาปี 2559 2. ด้านการเรียนการศึกษา - กจิ กรรมเสวนาผู้ประกอบการธุรกจิ หัวขอ้ “การลงทุนการท่องเท่ียวหม่บู า้ นช้าง” - โครงการควาญชา้ งรนุ่ ใหม่หว่ งใยสขุ ภาพชา้ ง - โครงการจัดการศกึ ษาแหลง่ เรยี นรูน้ อกสถานทเ่ี ดก็ ก่อนวัยเรยี น ประจาปี 2560 - โครงการส่งเสรมิ การเรียนรูท้ างวิชาการ ประจาปี 2560 - โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เด็กและเยาวชน ประจาปี 2560 - โครงการทศั นศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้เด็กปฐมวัย ประจาปี 2559 72

- โครงการอบรมใหค้ วามรปู้ ระชาชนดา้ นกฎหมาย ประจาปี 2559 - โครงการวัคซนี ปอู งกนั เด็กจมนา้ เดก็ ตาบลกระโพปลอดภยั ไมจ่ มน้า ประจาปี 2559 - โครงการอบรมเพม่ิ ศักยภาพ อสม. อปพร. ประจาหมูบ่ ้าน ประจาปี 2559 - โครงการอบรมผู้ฝกึ สอนฟตุ บอลขนั้ พนื้ ฐาน (T - Licence) ประจาปี 2559 3. ด้านสงั คมวฒั นธรรม - กิจกรรมถ่ายภาพบันทึกความทรงจาดๆี ทก่ี ระโพ - กิจกรรมการแปรอักษร รวมพลงั แห่งความภกั ดี แด่พอ่ หลวง ร.๙ - กิจกรรมบรกิ ารยอ้ มผ้าสีดาใหป้ ระชาชนในเขตตาบลกระโพ โดย อบต.กระโพ - กิจกรรมการแขง่ ขนั กฬี านกั เรยี นในเขตตาบลกระโพ (กระโพเกมส์) ครัง้ ท่ี 5 - กิจกรรมส่งเสริมพทุ ธศาสนาและวนั สาคญั ทางศาสนา - กจิ กรรมประเพณไี หลเรือไฟ หมู่ 7 - กจิ กรรมแต่งงานบนหลงั ชา้ ง - กิจกรรม Chang Mobile Football Unit - กิจกรรมงานประเพณีวนั ลอยกระทง - กิจกรรมวันเดก็ แห่งชาติ - กจิ กรรมงานประเพณสี งกรานต์ และวนั ผู้สงู อายุ - กจิ กรรมกีฬาทอ้ งถน่ิ สมั พันธอ์ าเภอทา่ ตูม ครั้งท่ี 12 ประจาปี 2559 - กิจกรรมเยาวชนวัยใสใสใ่ จปญั หาต้งั ครรภ์ในวัยเรียน ประจาปี 2559 - กิจกรรมงานวนั แหง่ ความรัก 14 กุมภา ประจาปี 2559 ณ ศูนย์คชศกึ ษา - กจิ กกรมการแข่งขนั กฬี าเยาวชนตาบลกระโพ (กระโพคัพ) ครัง้ ที่ 5 ประจาปี 2559 - กิจกรรมงานประเพณีบุญบงั้ ไฟ บวชนาคชา้ ง ประจาปี 2559 - กจิ กรรมประเพณแี ขง่ เรือยาวชงิ ถว้ ยพระราชทาน “แขง่ เรือปลอดเหล้า” ประจาปี 2558 - กิจกรรมประเพณไี หลเรอื ไฟ ประจาปี 2558 - โครงการแก้ไขปัญหาบุคคลเร่ร่อนขอทาน - โครงการสานสายใยรกั ครอบครวั อบอุ่น - โครงการส่งเสริมหมู่บ้านทอ่ งเที่ยว - โครงการประชาสัมพนั ธ์หมบู่ า้ นท่องเทย่ี ว - โครงการ \"จติ อาสาเราทาดีดว้ ยหวั ใจ\" ประจาปี 2561 - โครงการ “งานมหัศจรรย์ งานช้างสุรินทร์” ประจาปี 2560 - โครงการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั แล้ง ประจาปี 2559 4. ด้านสาธารณูปโภค - โครงการก่อสรา้ งถนนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ และก่อสรา้ งถนนลาดยาง - โครงการก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ ถนนดินลูกรงั และถนน คสล. - โครงการสถานสี ูบนา้ เพือ่ การเกษตร - โครงการล้อมร้ัวสระน้า พร้อมปรบั ปรงุ คนั สระ หมู่ 5 - โครงการเพ่ิมหลอดไฟสาธารณะในชมุ ชน - โครงการขยายเขตไฟฟาู ภายในตาบลกระโพ - โครงการตดิ ต้งั ไฟฟาู พลังงานแสงอาทติ ย์ (โซล่าเซล) 73

- โครงการขยายท่อสง่ นา้ ประปา หมู่ 1 - โครงการขดุ เจาะบ่อบาดาล พร้อมตดิ ต้ังซัมเมอร์ หมู่ 16 - โครงการตรวจสอบคุณภาพน้าประปาหมบู่ า้ น - โครงการซอ่ มแซมบารุงรักษาระบบประปาหมู่บา้ น 5. ด้านส่งิ แวดล้อม - โครงการปลูกพืชอาหารช้าง - โครงการคดั แยกขยะ - กิจกรรมปลกู ปุาชมุ ชน โดย อบต.กระโพ ร่วมกับ กลุ่มธรรมช้าง (Eleesystem) - โครงการปลกู ปุาชมุ ชน รกั น้า รักปาุ รกั ษาแผน่ ดิน ประจาปี 2559 - โครงการหมบู่ ้านสะอาด ประจาปี 2559 ท้ังนี้ผลท่ีได้รับจากการดาเนินการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ชุมชน ครอบครัว และตัวบุคคลท่ีแม้จะยังไม่ ค่อยทจ่ี ะเห็นผลได้ชัดเจนเทา่ ทคี่ วร แตก่ ็คอ่ ยๆ มกี ารพัฒนาศกั ยภาพข้ึนอย่างต่อเน่ืองตามลาดับ เนื่องจากการ ปรับเปล่ียนความคิด ทัศนคติ มุมมอง ตลอดจนรูปแบบวิถีชีวิต จากการที่เคยมีพฤติกรรม หรือทัศนคติอย่าง หน่ึง เปล่ียนมาเป็นพฤติกรรม หรือทัศนคติอีกอย่างหนึ่งนั้น ค่อนข้างจะต้องใช้ระยะเวลาในการปรับเปล่ียน และพฒั นาพอสมควร ซง่ึ การพฒั นาศักยภาพและทัศนคติดังกล่าว เป็นเร่ืองท่ีละเอียดอ่อนจาเป็นจะต้องอาศัย ความคุ้นเคย ความใกล้ชิด ความไว้วางใจ ความเชื่อม่ัน และการเปิดใจยอมรับ จากท้ังกลุ่มเปูาหมาย หรือ กลุ่มเสี่ยง ตลอดจนผู้นาชุมชน เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน อาสาสมัคร และจิตอาสา ดังนั้นผลประโยชน์ที่จะได้รับ จากการร่วมแรงร่วมใจกันของทุกภาคส่วนในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ รวมถึงโครงการ/ กิจกรรมท่ีดาเนินการเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่กลุ่มเปูาหมายในชุมชนทุกระดับ ซ่ึงจะต้องเป็นการ วางแผนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีความมุ่งหวังให้จานวนกลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทานในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือกลุ่มเสี่ยงมีจานวนลดลงไปจากเดิม และค่อยๆ หมดไปจากตาบลกระโพ ผ่านการพัฒนาในด้านต่างๆ ทั้ง 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านอาชีพและรายได้ ด้านการเรียนการศึกษา ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค และด้านส่ิงแวดล้อม ถึงแม้ผลที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในชุมชนนั้น จะยังไม่สามารถส่งผลในเชิงประจักษ์ หรือยังไม่เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร แต่หน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ี ผู้นาชุมชน ตลอดจนชาวบ้านในชุมชนตาบลกระโพ ก็ภูมิใจท่ีได้เป็นส่วนหน่ึงในการผลักดันและ ปรับเปลี่ยนเพ่ือแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาขอทานที่เกิดจากกลุ่มคน เพียงบางรายในชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาให้ชุมชนมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อสังคม ทั้งน้ีกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 1 และ 2 กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ไดใ้ ห้ข้อมลู เพ่มิ เติมวา่ “สาเหตทุ ีต่ ้องพฒั นาในด้านตา่ งๆ ในชมุ ชน กเ็ พ่ือต้องการสร้างในเกิดความอุดมสมบูรณ์ ข้ึนภายในชมุ ชน ท้ังด้านอาชีพ รายได้ สาธารณูปโภค การติดต่อสื่อสาร และคมนาคมท่ีสะดวก ซึ่งถือเป็นการ พัฒนาแบบองค์รวม คือไดร้ บั ประโยชนก์ ันทกฝาุ ย ทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยหวังแค่ไม่อยากเห็นคนขอทานเพ่ิมขึ้น ในชุมชน มีการจ้างงานมีรายได้ มีน้าเพื่อไว้ใช้ทาไร่ทานา ก็ไม่ต้องอยู่แบบอดๆ ยากๆ รอคนมาจ้างงาน รอฟูา รอฝนเพ่ือทาไร่นา เม่ือทุกอย่างมันดีขึ้น สิ่งแวดล้อม สุขภาพกายใจดี รายได้ดี มีอาชีพเสริม เชื่อว่าต่อไป ในอนาคตคนขอทานท่ีมีภูมิลาเนาเป็นคนตาบลกระโพ ก็จะหมดไปจากสังคมไทยได้” อาจกล่าวได้ว่าการ พัฒนาแบบองค์รวม แต่อาจจะยังไม่ส่งผลในเชิงรูปธรรมอย่างชัดเจน แต่ก็ยังมีการดาเนินงานภายใต้การ วางแผน และการมีแผนงานท่ีเป็นขั้นเป็นตอน รวมทั้งรายละเอียดแบบแผน วิธีปฏิบัติและติดตามต่อ กลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง นอกจากน้ีการพัฒนาทั้ง 5 ด้านท่ีได้กล่าวมานั้น อาจดูเหมือนเป็นเพียงการ 74

พัฒนาภายนอกนั้น แต่ในระยะยาวอาจจะส่งผลดีและก่อเกิดประโยชน์ในพ้ืนที่ได้ ท้ังนี้การปรับทัศนคติและ การละลายพฤติกรรม ก็ถือเป็นเรื่องที่สาคัญและควรกระทาอย่างต่อเน่ือง ผ่านโครงการ/กิจกรรมที่มาจาก ความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ของกล่มุ เปูาหมายในชมุ ชนทกุ ระดับ สาหรบั ปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนินงาน ตลอดจนแนวทางในการพฒั นาและแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดข้ึน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 1 กลุ่มผู้นาชุมชน ได้ให้ข้อมูลว่า “ในช่วงแรกๆ ที่ลงพื้นที่เพื่อประสานและ สรา้ งความเข้าใจนนั้ กย็ งั ไมไ่ ด้รบั ความร่วมมือจากกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียงเท่าที่ควร แต่ด้วยการเป็นผู้นา ชุมชนนั้น มักจะได้รับความไว้วางใจและความเกรงใจจากชาวบ้าน ก็เลยพอท่ีจะได้พูดคุยกับชาวบ้านและ โน้มนา้ วใจกลุ่มเปูาหมายได้บ้าง เม่ือให้คาปรึกษาแนะนา และอธิบายแหตุผลกันจนเข้าใจแล้ว ก็ทาให้เกิดการ ยอมรับ หรือเปิดใจของกลุ่มเปูาหมาย ทาให้สามารถท่ีจะดาเนินการตามกระบวนการวิธีการเพ่ือเป็นการ ปรับทัศนคติ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม และการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมอื่นๆ ตามมา” โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดบั ที่ 2 และ 4 กลุ่มผบู้ รหิ ารองคก์ ารบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และกลุ่มองค์กร และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ได้ให้ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เกย่ี วขอ้ งกับปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนในระหว่างกระบวนการ ดาเนินงาน คือ การไม่ยอมรับและเปิดใจในการปรับเปล่ียนแนวความคิด พฤติกรรม ทั้งนี้เร่ืองดังกล่าวเป็นสิ่ง ทีค่ ่อยขา้ งละเอียดอ่อน และต้องใชร้ ะยะเวลานานพอสมควรในการแกไ้ ขปัญหา เนื่องจากกลุ่มคนท่ีมีพฤติกรรม ขอทานน้ัน มักจะติดอุปนิสัยที่มักง่าย ข้ีเกียจ ไม่อดทนต่องานหนัก และไม่ยอมทางานเช่นคนปกติท่ัวไป ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าการขอทานนั้น สามารถหาเงินมาได้ง่ายๆ ไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไร น่ังเฉยๆ ทาตัวให้ ดูน่าสงสารก็ได้รับเงินจากการบริจาคทานของผู้อื้น จึงทาให้ติดลักษณะนิสัยเกียจคร้าน ไม่เอาการเอางาน ดังกลา่ ว เปน็ สาเหตุส่วนหนงึ่ ใหเ้ กดิ การไม่ยอมเปิดใจ หรือไม่ยอมปรับเปล่ียนพฤติกรรม ดังนั้นกลุ่มผู้นาชุมชน ผู้บริหาร ทีมสหวิชาชีพ อาสาสมัคร และจิตอาสาในชุมชน จาเป็นต้องสร้างความคุ้นเคย ความเชื่อมั่น และ ม่ันใจให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเปูาหมาย โดยต้องใช้ระยะเวลาในการทางานเป็นอย่างมาก ทั้งน้ียังต้องคอยสังเกต พฤติกรรม เฝูาระวังโดยไม่กลุ่มเปูาหมายรูส้ ึกอดึ อัด หรือไม่เป็นตัวของตัวเอง ซ่ึงกว่าท่ีกลุ่มเปูาหมายแต่ละราย จะยอมเปิดใจเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ท่ีจัดข้ึนนั้น ก็ต้องอาศัยระยะเวลาและความทุ่มเทใส่ใจ จากผู้ปฏิบัติงานในชุมชนค่อนข้างมาก แต่ถ้าหากว่ากลุ่มเปูาหมายรายใดที่ยอมเปิดใจและให้การยอมรับแล้ว ก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพ ปรับทัศนคติ เปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาศักยภาพตามความถนัด และสามารถ กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขเหมือนชาวบ้านในชุมชน อีกท้ังยังสามารถประกอบสัมมาอาชีพที่สุจริต ไม่ต้องกลับไปเป็นขอทานอีกต่อไป สาหรับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับที่ 3 กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “ในการทางานเพ่ือแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานและปัญหาอื่นๆ ในพ้ืนที่นั้น ผู้นาชุมชน ผู้บริหาร และอาสาสมัครในชุมชน ต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจท่ีจะทางานอย่างจริงจัง อดทน รอจนกลุ่มเปูาหมายให้การยอมรับและเปิดใจ แล้วจึงโน้มน้าว ชักจูง พูดคุย และค่อยๆ พาเข้าสู่กระบวนการ ละลายพฤตกิ รรม อีกทัง้ ตอ้ งมกี ารติดตามสอดสอ่ งดูแลอยา่ งใกล้ชิด รวมถึงการให้จิตอาสาและประชาชนทั่วไป คอยสังเกต เฝูาระวังอยู่ห่างๆ เพ่ือปูองกันไม่ให้กลุ่มเปูาหมายแอบกลับไปขอทานอีก” นอกจากน้ีหน่วยงาน อปท. ในพื้นที่ และหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ี ยังได้มีการจัดอบรมฝึกสอนให้ความรู้ด้านบทลงโทษทางกฎหมายสาหรับขอทาน การส่งเสริมการเรียน การศึกษา ตลอดจนการค้นหาความถนัดเพ่ือสร้างเป็นอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ ให้แก่กลุ่มเปูาหมาย การจัดหา งานให้ทา การพาไปเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน ทาให้กลุ่มเปูาหมายรู้สึกสาคัญและมีคุณค่า ทั้งนี้เพื่อจะได้ ปรับเปล่ียนตัวเองและพฤติกรรม สร้างเสริมแนวความคิดทัศนคติใหม่ๆ ที่ดีงามถูกต้อง ซ่ึงการดาเนินการ ดังกล่าวจาเป็นอยา่ งยิ่งที่จะต้องมคี วามตอ่ เนื่อง และอาศัยระยะเวลาในการค่อยๆ ปรับปรุงพัฒนาต่อไป 75

จากข้อมูลท้ังหมดข้างต้น ทาให้ทราบว่าปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานด้านการแก้ไข และปูองกนั ปญั หาขอทานในพน้ื ทตี่ าบลกระโพน้ัน มอี ปุ สรรคหลักๆ มาจากการท่ีกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง ในชุมชน ไม่ยอมให้ความร่วมมือและไม่เปิดใจยอมรับต่อการปรับเปล่ียนพฤติกรรมท่ีให้เหมาะสมของตนเอง ในช่วงแรกๆ แต่หลังจากที่ได้มีการสร้างความเข้าใจ การให้ความรู้ และการค้นหาความต้องการท่ีแท้จริง ตลอดจนการพัฒนาความสามารถและความถนัดด้านทักษะอาชีพ ก็สามารถโน้มน้าว ชักจูง ให้เกิดการยอมรับ และเปิดใจต่อการพัฒนาศักยภาพได้ ท้ังน้ีกระบวนการดาเนินงานจาต้องมีการติดตามเฝูาระวังอย่างใกล้ชิด โดยได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในชุมชน ตลอดจนจิตอาสาเข้ามาช่วยเหลือ สังเกต และติดตาม ท้ังนี้ด้วยระยะเวลาที่ล่วงเลยไป ทาให้กลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมและทัศนคติ ไปในทิศทางที่ดีข้ึน โดยสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในชุมชน และประกอบสัมมาอาชีพท่ีสุจริต อีกท้ังยัง ไม่มคี วามคิดที่จะไมก่ ลับไปเปน็ ขอทานต่อไป สว่ นท่ี 4 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด หรือการนาไปปรับใช้ในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เพื่อแก้ไข และป้องกันปัญหาทางสังคมอนื่ ๆ แกก่ ลมุ่ เป้าหมาย ก า ร พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด รู ป แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ไ ข แ ล ะ ปู อ ง กั น ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม ใ น พื้ น ที่ เพ่อื เป็นการเตรียมพร้อมและสรา้ งภมู คิ มุ้ กันทางสังคมแก่ชุมชน ในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในพื้นที่ รวมถึงปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ โดยกระบวนการพัฒนาต่อยอดในชุมชน คือ การนาเอาหลักการพัฒนาอย่าง ต่อเน่ืองแบบองค์รวมมาปรับใช้และพัฒนาชุมชนท้ัง 5 ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านอาชีพและรายได้ ด้านการเรียน การศึกษา ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค และด้านส่ิงแวดล้อม ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาต่อยอด กระบวนการแก้ไขและปอู งกนั ปญั หาทางสังคมอื่นๆ ในพืน้ ทตี่ ามความเหมาะสม ดงั ตอ่ ไปน้ี - ด้านอาชีพและรายได้ การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ เช่น ผลิต เครื่องจักสาน ปลูกหม่อนเล้ียงไหม ทอผ้าไหมพ้ืนเมือง ผลิตภัณฑ์จากช้าง ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา เป็นต้น และการส่งเสริมธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในชุมชน เช่น แหล่งท่องเท่ียวชุมชน (วิถีคนกับช้าง) ร้านค้าชุมชน (จาหนา่ ยของท่รี ะลกึ ) บา้ นพักโฮมสเตย์ เป็นตน้ - ด้านการเรียนการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุนทักษะการเรียนรู้ท้ังในและนอกระบบ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการศึกษาเรียนรู้ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจพอเพียง และอ่ืนๆ ทเี่ กยี่ วข้อง ผ่านหนว่ ยงานองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน เชน่ โรงเรียน กศน. หนว่ ยงานภาครฐั และอนื่ ๆ เป็นต้น - ด้านสังคมวัฒนธรรม การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น การแสดง ดนตรี การละเล่นพ้ืนบ้าน ซึ่งจะช่วยดึงดูดนักท่องเท่ียวให้เข้ามาในชุมชน ช่วยให้เกิดการ ร่วมกลุ่มเพือ่ สรา้ งความสามคั คี และเปน็ การละลายพฤติกรรมของกลมุ่ เปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง เช่น การแสดง ชา้ ง ดนตรกี ันตรึม ราแกรนมอ การแข่งขันกีฬาชมุ ชน เปน็ ตน้ - ด้านสาธารณูปโภค การพัฒนาให้เกิดการเปล่ียนแปลงและเพ่ิมศักยภาพในด้านการจัดการ ชุมชน การบริหารจัดการน้า การคมนาคมติดต่อท้ังภายในและภา ยนอกชุมชน เพ่ือสนับสนุนให้เกิด ประสิทธิภาพท้ังในด้านต่างๆ ตลอดจนการสนับสนุนและพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตร เช่น สถานีสูบน้า เพื่อการเกษตรบ้านด่าน หมู่ 9 สถานีสูบน้าเพ่ือการเกษตรบ้านศาลา หมู่ 11 สถานีสูบน้าเพื่อการเกษตร บ้านโคกกูง หมู่ 17 โดยมีความมุ่งหวังว่าหลังจากการดาเนินงานด้านการจัดการน้าและทรัพยากรในชุมชน ประสบผลสาเรจ็ แลว้ จะช่วยให้ชาวบ้านท่ีประกอบอาชีพทางการเกษตรในพื้นที่ สามารถมีแหล่งน้าจากแม่น้า มูลและแมน่ ้าชี ซ่งึ จะไหลผา่ นสถานีสบู น้าในชุมชนและทาใหม้ นี า้ กินน้าใช้ในทุกฤดูกาล 76

- ดา้ นส่งิ แวดล้อม การสง่ เสริมให้เกิดการอนุรักษ์ปาุ ไม้ในชุมชน เพื่อให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ด้านพฤกษศาสตร์ การร่วมใจกันปลูกปุาเพ่ือสร้างแหล่งอาหารและท่ีอยู่อาศัยทางธรรมชาติของสัตว์ปุา เพื่อช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับปุาในชุมชน โดยเน้นการปลูกจิตสานึกท่ีดีเก่ียวกับชุมชนและธรรมชาติ ซ่งึ เปรียบเสมอื นการปลกู ตน้ ไมใ้ นใจคน อนั จะเป็นการร่วมกลุ่มเพื่อทากิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทาให้ เกดิ ความรักบ้านเกดิ รักชุมชน และยังมสี ว่ นชว่ ยในการละลายพฤติกรรมของกลมุ่ เปูาหมาย หรอื กลมุ่ เสี่ยง จากข้อมูลท่ีได้กล่าวมาข้างต้น ทาให้ทราบว่าชุมชนตาบลกระโพมีความมุ่งมั่นต้ังใจที่จะ พัฒนาชุมชนและท้องถ่ิน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการปูองกันปัญหาขอทานและปัญหาทางสังคมอื่นๆ โดยกระบวนการและแนวคิดดังกล่าว ต้องอาศัยความตั้งใจและระยะเวลา รวมถึงการสร้ างความร่วมมือกับ ทุกภาคส่วนในการบูรณาการและพัฒนาร่วมกัน ตลอดจนการแก้ไขปัญหาขอทานและปัญหาทางสังคมอื่นๆ ในพ้ืนท่ี ก็ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน ท่ีมุ่งหวังจะแก้ไข ปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนาตาบลกระโพให้หลุดพ้นจากสภาพปัญหาของกลุ่มคนเพียงบางรายในชุมชนที่ เดนิ ทางเข้าไปเป็นขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ให้มจี านวนทลี่ ดลงและหมดไปในอนาคต กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 1-4 ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มผู้นาชุมชน กลุ่มผู้บริหารองค์กร กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม กลุ่มองค์กรและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ได้ให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในอนาคต หรือการช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพ แก่กล่มุ เปาู หมายว่า “การปอู งกนั ไมใ่ ห้เกิดปัญหาขอทานในอนาคตน้ัน เป็นเร่ืองค่อนข้างละเอียดอ่อนและต้อง ใช้เวลาในการรอให้ปัญหานั้นค่อยๆ คลี่คลาย เพราะว่าคนขอทานน้ันบางครั้งเราไม่ว่าจะในฐานะเจ้าหน้าท่ีผู้ ปฏิบัติ ผนู้ าชุมชน หรอื องค์กร ก็ไม่สามารถจะเข้าถึงท้ังตัวตนของเขาและจิตใจที่แท้จริง หรือความคิดของเขา ได้ง่ายๆ จาต้องอาศัยวิธีการที่หลากหลายเพื่อแก้ไขปัญหาและสถานการณ์เฉพาะหน้า เจ้าหน้าท่ี หรือผู้นา ชุมชนท่ีมาทางานตรงน้ี ก็ต้องมีความอดทนและเข้าใจในปัญหา ต้องให้การยอมรับ เพื่อสร้างความไว้ใจ สร้าง เชื่อมั่นให้เกิดกับกลุ่มเปูาหมายให้ได้ จะได้เข้าถึงจิตใจ ความต้องการ และเพื่อจะได้นาพากลุ่มเปูาหมายไปสู่ การพัฒนาศักยภาพ เพื่อละลายพฤติกรรมและปรับทัศนคติ สร้างค่านิยม สร้างอาชีพ รายได้ และพัฒนาให้ กลุ่มเปูาหมายเปน็ คนดขี องสังคม ใช้ชีวิตแบบชาวบ้านทัว่ ไป ประกอบอาชีพสุจริตเหมือนคนอ่ืนๆ ไม่มีความคิด อยากไปเป็นขอทานอีก” ท้ังน้ีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลดังกล่าว ต่างก็มีมุมมองว่าในอนาคตอันใกล้น้ี จะสามารถ ลดจานวนขอทานจากตาบลกระโพที่เข้าไปขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลลงได้ และหวังว่า คนขอทานจะหมดไปจากชุมชนได้ในอนาคต จากการประสานความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนท่ีเข้ามามีส่วน ร่วมและช่วยการแก้ไขและปูองกันปัญหาในพ้ืนท่ี โดยถ้าหากพื้นที่ใดที่อยากจะนากระบวนการพัฒนาแบบ องค์รวมของชุมชนไปปรับใช้ ก็สามารถท่ีจะวางแผนการพัฒนาแก้ไขและนาไปปรับใช้ได้ ซึ่งอาจจะนาวิธีการ ทางานในพ้ืนท่ี โดยการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาดาเนินการควบคู่กันไป เพ่ือส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้า ม่นั คงในทุกมิติของพ้ืนที่นั้นๆ ทั้งน้ีหน่วยงาน อปท. ในพื้นท่ีต้องร่วมกันวิเคราะห์หาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน ตลอดจนวางแผนร่วมกับชาวบ้านและภาคีเครือข่ายอ่ืนๆ ก่อนท่ีจะดาเนินการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี เพื่อการ แก้ไขปัญหาท่ีตรงจุด พร้อมท้ังมองหาโอกาสที่จะพัฒนาเปล่ียนแปลงชุมชนให้เกิดความสมดุล และลดความ เหลือ่ มล้าจากทั้งดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ท่ีสาคัญต้องพยามสกัดกั้นปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น โดยการ สร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ชุมชน สาหรับผู้นาชุมชน ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ ดาเนินงานด้านขอทาน มีมุมมองว่า “การออก พรบ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 นั้น เป็นการเปิดโอกาส ให้คนขอทานมีท่ียืนในสังคม สามารถเข้ามาอยู่ในระบบ มีพื้นท่ีในการแสดงออก และสามารถควบคุมได้ โดยท้องถ่ินมีสิทธิ์อนุญาตให้ทาการแสดงในแต่ละครั้ง เสมือนเป็นการผลักภาระให้แก่ท้องถ่ินในการ 77

ควบคุมดูแล แต่ข้อดีสาหรับหน่วยงานรัฐท่ีเกี่ยวข้อง คือจะสามารถทราบข้อมูลรายละเอียดของกลุ่มบุคคลท่ีมี บตั รผูแ้ สดงความสามารถน้ันๆ และกลุ่มบุคคลที่มีบัตรดังกล่าว ก็จะถูกยกระดับข้ึนมาจากวณิพก หรือขอทาน ทั่วไปเท่านั้น” อาจกล่าวได้ว่าพระราชบัญญัติการควบคุมขอทาน พ.ศ. 2559 น้ัน ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา ขอทานในสังคมไทยได้เท่าที่ควร หากแต่เป็นการควบคุมและปูองกันการเพิ่มจานวนของขอทานในสังคมไทย เสียมากกวา่ ดงั นนั้ จงึ ควรมกี ารนามาปรบั ใช้เพือ่ ลงโทษผู้กระทาการขอทานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ตลอดจน การควบคุมและเฝูาระวังอย่างเข้มงวด โดยเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานและประชาชนทั่วไปมองว่า “หากมีการเพ่ิม บทลงโทษสาหรับผู้ท่ีมอบทรัพย์สิน หรือให้เงินแก่คนขอทานด้วย ก็น่าท่ีจะสามารถลดจานวนขอทานลงไปได้ เพราะถ้าหากให้เงินขอทานแล้วถูกจับ ถูกปรับ หรือลงโทษ ก็คงไม่มีใครกล้าบริจาคเงินให้ พอคนขอทาน ไม่ได้เงิน หาเงินไม่ได้ ก็อาจจะล้มเลิกความคิดท่ีจะเป็นขอทานไปได้” ท้ังนี้หากมีการแก้ไข ปรับปรุง หรือเพ่ิม บทลงโทษสาหรับผู้ท่ีให้บริจาคทรัพย์สิน หรือสิ่งของแก่คนขอทาน พร้อมท้ังมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เร่ือง การงดบรจิ าคทานแกข่ อทานอย่างต่อเนือ่ ง ว่าการบรจิ าคทานแก่คนขอทานก็เปรียบเหมือนการส่งเสริมให้มีคน ขอทานเพ่ิมข้ึนในสังคม โดยการสร้างความความเข้าใจในการให้ทานและการบริจาคทาน การส่งเสริมทัศนคติ ใหม่ในการการบริจาคทานแก่ประชาชนท่ัวไป ก็อาจจะช่วยแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานในสังคมไทยให้มี จานวนท่ีลดลงไดใ้ นอนาคต ทั้งนี้กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ลาดับท่ี 5 กลุ่มเส่ียง หรือบุคคลผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน ได้ให้ข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะที่มีต่อการช่วยเหลือและการพัฒนาศักยภาพว่าหากได้รับการพัฒนาส่งเสริมอย่างเหมาะสม จริงจังจริงใจ ตามความสามารถและความถนัด ตามกาลังความความสามารถ โดยมีการจัดหาอาชีพ แหล่ง เงินทุนประกอบอาชีพ แหล่งงานในชุมชนและการจ้างงานอย่างต่อเน่ือง คงไม่มีใครคิดที่จะอยากเป็นขอทาน “ถ้าสังคม ชุมชน ให้โอกาส ก็อยากประกอบอาชีพ อยากศึกษาหาความรู้ อยากมีชีวิตแบบชาวบ้านทั่วไป แต่ บางทีก็ต้องยอมรับว่าเงิน คือปัจจัยหลักในการใช้ชีวิต ทุกคนก็มีภาระต้องรับผิดชอบดูแล ต้องเล้ียงดูตนเอง และครอบครัว ปัญหาไม่ว่าจะเรื่องเงิน เรื่องครอบครัว หรือเร่ืองอะไร บางทีก็เป็นเร่ืองที่ไม่สามารถ ปรึกษา หรือหาทางออกใหช้ ีวิตได้ กต็ ้องไปขอทานเพ่ือใหไ้ ดเ้ งนิ มาใชจ้ ่าย ช่วยให้มีชีวิตรอดต่อไป” หลังจากท่ีได้รับการ แก้ไขปัญหาอย่างตรงจุดด้วยความเข้าใจ การพัฒนาศักยภาพ ปลูกฝังค่านิยม และการละลายพฤติกรรมแล้ว กลุ่มเปูาหมายก็สามารถปรับเปล่ียนตนเองให้สามารถประกอบอาชีพรับจ้าง และทาการเกษตรเพื่อเลี้ยงชีพ โดยไม่มีความคิดที่จะกลับไปเป็นขอทานอีก เน่ืองจากไม่อยากทาลายภาพลักษณ์ของตาบลกระโพ ตลอดจน การได้รับความช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ที่สาคัญคือการได้รับการ ยอมรับจากชมุ ชน การจา้ งงาน การสง่ เสรมิ อาชพี ใหม้ รี ายได้จากชุมชน ทาให้สามารถเล้ียงดูตนเองได้ 78

บทที่ 5 อภิปรายผล การดาเนินการโครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยการลงพ้ืนที่จัดเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ ข้อมูลเชิงคุณภาพแก่กลุ่มเป้าหมายของงานวิจัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงานด้านการแก้ไข และป้องกันปญั หาการเขา้ ไปขอทานของพ้ืนท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และเพื่อให้ได้รูปแบบ กระบวนการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ และขยายผลไปยังพื้นที่อื่น ซ่ึงมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย กลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารตาบลกระโพ กลุ่มองค์กร/หน่วยงาน ท่เี ก่ียวข้อง กลมุ่ ประชาชนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม และกลุ่มเส่ียง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน ซึ่งจากการลงพื้นที่ สัมภาษณ์และเกบ็ ขอ้ มลู ตามแบบสมั ภาษณ์ข้อมูลการวิจัย สามารถอภปิ รายผลได้ ดงั ต่อไปนี้ 1. สภาพปัญหาขอทานและผลกระทบในพนื้ ท่ี 2. บทบาทหนา้ ท่ีของหน่วยงานภาครฐั และภาคีเครือข่าย 3. กระบวนการชว่ ยเหลอื แกไ้ ข และปอ้ งกนั ปัญหาขอทานในพื้นท่ี 4. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนา 5. ข้อเสนอแนะ 1. สภาพปญั หาขอทานและผลกระทบในพ้ืนท่ี ตาบลกระโพ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สภาพพื้นท่ี โดยทั่วไปของตาบลกระโพ มีลักษณะเป็นที่ลุ่มและที่ดอนสลับกันไป สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย เขตพ้ืนท่ี ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าภูดินและป่าดงสายทอ มีสภาพอากาศร้อนจัดในฤดูร้อน หนาวจัด ในฤดูหนาว อากาศแห้งแล้ง และฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ปัจจุบันมีการแบ่งชุมชนออกเป็น 20 หมู่บ้าน โดยชาวบา้ นตาบลกระโพสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรบั จา้ ง สภาพปญั หาขอทานในพืน้ ท่ี ในอดีตชุมชนตาบลกระโพ เป็นถ่ินทุรกันดารห่างไกลจากอาเภอ ทา่ ตมู การเดินทางยากลาบาก ชาวบ้านอาศัยอยู่รวมกันเป็นคุ้มบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพทาไร่ทานา และเลี้ยงช้างเพ่ือใช้งานในครัวเรือน อาทิ การเกษตร การลากจูงส่ิงของ เป็นต้น และเม่ือสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว ผลผลิตทางการเกษตร ชาวบ้านจะหาของป่าเพื่อนามาขาย หารายได้เสริม หรือบางครั้งก็จะผลิตสินค้าพ้ืนถิ่น เช่น ผ้าไหม เครือ่ งจักรสาน ผลติ ภัณฑ์จากช้าง และงาช้าง โดยจะนาไปขายให้แก่นักท่องเท่ียวในจังหวัดใหญ่ๆ เมือ่ สนิ ค้าเร่ิมล้นตลาดและขายไม่ออก ชาวบ้านบางส่วนที่ยังหวังจะหารายได้ จึงนาช้างเข้าเมืองเพ่ือมาเร่ร่อน ขอทาน โดยการให้นักท่องเที่ยวจ่ายเงินซื้ออาหารเลี้ยงช้าง ซ่ึงการนาช้างออกเดินทางเร่ร่อนตามท้องถนนใน ยามคา่ คืน ก็อาจทาให้ช้างเกิดอาการคลุ้มคล่ัง หรือเกดิ อุบตั ิเหตุรถเฉีย่ วชนสรา้ งความเสยี หายขน้ึ ได้ โดยท่ีผ่านมาภาครัฐได้เพิ่มมาตรการและบทลงโทษเกี่ยวกับการนาช้างออกมาเร่ร่อนขอทาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเท่ียวและประชาชนท่ัวไป ว่าการสนับสนุนช้างและควาญช้างท่ีออกมา เร่ร่อนขอทานเป็นเร่ืองที่ไม่ถูกต้อง ทาให้ชาวบ้านบางส่วนท่ีกระทาการดังกล่าว เลิกการนาช้างออกมาเร่ร่อน ขอทาน แต่ก็ยังมีบางรายที่ยังคงต้องการหารายได้จากการเร่ร่อนขอทานอยู่บ้าง เน่ืองจากเป็นงานที่ง่าย แถมยังมีรายได้ จึงมีการปรับเปลี่ยนวิธีการโดยการนาความน่าสงสาร ความอ่อนแอ ความเจ็บป่วย ออกมา ลอ่ หลอกให้ผคู้ นที่ผ่านไปมาสงสารและหยิบย่ืนทรัพย์สิน หรือเงินให้ ซึ่งได้เปล่ียนจากกลุ่มชายวัยทางาน หรือ วัยรุ่น มาเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ สตรี (แม่ลูกอ่อน) เด็กและเยาวชน ท้ังนี้ในกลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีเข้าไปเร่ร่อน 79

ขอทาน จะใช้วธิ กี ารสวมเครื่องแบบนักเรียนที่อาจจะดูเก่าๆ ไปย่ืนเป่าแคน เล่นดนตรี ร้องเพลง หรือถือกล่อง รับบริจาค ตามสถานท่ีต่างๆ ท่ีมีผู้คนผ่านไปมา ซ่ึงในปัจจุบันกลุ่มผู้ท่ีกระทาการเร่ร่อนขอทานดังกล่าว ได้ลด น้อยลงไปตามกาลเวลา และจากการท่ีภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้นาพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบยี บต่างๆ ออกมาปรบั ใช้และลงโทษอยา่ งจริงจงั ทาใหก้ ารเร่รอ่ นขอทานลดนอ้ ยลงไปอย่างเห็นไดช้ ัด 2. บทบาทหนา้ ที่ของหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือขา่ ย หลังจากการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ โดยหน่วยงานภาครัฐได้เข้ามาให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ชาวบ้านตาบลกระโพ ตลอดจนการ สร้างงานสร้างอาชีพและรายได้ การบริหารจัดการทรัพยากรในชุมชน รวมถึงการพัฒนาเชิงพื้นท่ีในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค ด้านสิ่งแวดล้อม ด้าน การเรียนการศึกษา ด้านเศรษฐกิจและรายได้ เพ่ือให้ตาบลกระโพมีความสามัคคีเข้มแข็ง และสามารถฝ่าฟันอุปสรรคปัญหา ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนได้อย่างย่ังยืน นอกจากน้ีการสร้างเสริมค่านิยมและทัศนคติที่ดีงามต่อชาวบ้านตาบลกระโพ ซึ่งจาต้องอาศยั ระยะเวลากวา่ 5-10 ปี ในการคอ่ ยๆ ปรับเปล่ยี นความคิด ค่านิยม ทัศคติของชาวบ้าน กลุ่มผู้ที่ เคยเข้าไปขอทาน หรอื กลุ่มเสี่ยงให้เลกิ กระทาการขอทาน โดยการสนับสนุนกลุ่มคนเหล่าน้ีให้นาความสามารถ ที่มีอยู่ของตนเอง อาทิ สีซอ เป่าแคน ดีดพิณ ร้องเพลง และอ่ืนๆ มาฝึกฝนตนเองเพ่ิมเติมความสามารถ และข้ึนทะเบียนการเปน็ ผ้แู สดงความสามารถที่สานกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ เมื่อไดร้ บั บัตรผู้แสดงความสามารถแล้ว จะทาการแสดงความสามารถท่ีใดๆ ก็ให้ขออนุญาตหน่วยงานในพ้ืนท่ี และตอ้ งพกบัตรประจาตวั ผู้แสดงความสามารถตดิ ตัวไวเ้ สมอ หรือทุกครัง้ ที่ตนเองต้องแสดงความสามารถ เพ่ือ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ทั้งน้ี หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร และมูลนิธิต่างๆ ได้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างการรับรู้และเข้าใจ โดยการปลูก จติ สานึก การสร้างค่านยิ มที่ดีงาม ผ่านโครงการ/กิจกรรมต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือผลักดันและสนับสนุนให้เกิด สภาพคล่องทางเศรษฐกิจในชุมชน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมให้ชาวบ้านมีความเข้มแข็ง สร้างคุณค่า และการมี พฤตกิ รรมที่เหมาะสม อันแบบอยา่ งที่ดีงามแกช่ ุมชนและสงั คม จากสถานการณ์และสภาพปัญหาขอทานท่ีเกิดขึ้นกับชุมชนตาบลกระโพ บทบาทหน้าที่ของ หน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายด้านการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพื้นท่ี ไม่อาจสาเร็จลุล่วงไปได้ หากขาดหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร มูลนิธิต่างๆ ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขและป้องกันปัญหา ดังกลา่ ว ซง่ึ ต้องอาศัยระยะเวลาและความมุ่งมั่นในการพัฒนา ปรับเปลี่ยน และแก้ไข เพ่ือให้ชาวบ้านในชุมชน ตาบลกระโพอยู่รว่ มกนั ได้อยา่ งปกติสุข มีคุณค่าและมีศักดิ์ศรีอย่างเท่าเทียมกัน ตลอดจนเป็นสร้างภาพลักษณ์ ของตาบลกระโพให้เป็นไปในทิศทางท่ีเหมาะสม โดยมุ่งเน้นบทบาทหน้าที่ร่วมกันอย่างบูรณาการผ่านการ มสี ว่ นรว่ มระหว่างหนว่ ยงาน องค์กร ทั้งภายในและภายนอกพนื้ ท่ี การรว่ มมือกันระดมกาลังในการค้นหาความ ต้องการการช่วยเหลือพัฒนาศักยภาพ เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพ้ืนท่ี และปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ซ่ึงโครงการ/กิจกรรมท่ีได้จากความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเส่ียง และชาวบ้านในชุมชน โดยมุ่งเน้นให้ความสาคัญในเร่ืองของการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ทเี่ ก่ียวข้อง ควบค่ไู ปกับการสรา้ งสายสัมพนั ธแ์ ละความไว้วางใจระหว่างกลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเสี่ยง กับผู้นาชุมชน ผ้บู ริหารองค์กร ขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ทีผ่ ู้ปฏบิ ัติงานในพ้นื ที่ ตลอดจนการส่งเสริมการสร้างลักษณะนิสัยและ พฤติกรรมที่เหมาะสม การสร้างค่านิยมสร้างคุณค่า รวมถึงการปลูกจิตสานึกท่ีดีงาม อันจะเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีต่อชุมชนตาบลกระโพ ซึ่งท้ังหมดนี้เป็นการหล่อหลอมรวมใจกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคเี ครอื ขา่ ยทางสังคมกบั กลมุ่ เป้าหมาย กลุม่ เสี่ยง ตลอดจนชาวบ้านในชุมชน ให้มีภูมิคุ้มกัน 80

ทางสังคมท่ีเข้มแข็งและสามารถช่วยเหลือพึ่งพาตนเองได้ นอกจากนี้ยังมีกระบวนการพัฒนาศักยภาพ แกก่ ล่มุ เปา้ หมายและกลุ่มเสีย่ งตามความต้องการในดา้ นต่างๆ ซง่ึ ก่อเกิดเป็นโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ทั้งด้านสังคมวฒั นธรรม ดา้ นสาธารณูปโภค ดา้ นสิ่งแวดล้อม ดา้ นการเรยี นการศกึ ษา ด้านเศรษฐกิจและรายได้ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและความสามัคคีเป็นใจหน่ึงเดียวกันในชุมชน เกิดการยอมรับและการปรับเปลี่ยนวิถี ชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเส่ียงให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนการสอดส่องดูแล เฝ้าระวัง ติดตาม เพอื่ การปรบั ปรุง แก้ไข และพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง ในการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน รวมถึงปัญหา ทางสังคมอ่ืนๆ ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยสามารถอธิบายข้ันตอนการจัดการปัญหา โดยวิธีการบริหาร จัดการชุมชนตามแผนภาพประกอบ ดังต่อไปน้ี จากแผนภาพจะเห็นไดว้ ่าบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีเครือข่าย ทางสงั คม โดยหน่วยงานองค์กรต่างๆ เหล่าน้ีจะดาเนินการบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาชุมชนตาบลกระโพ ซึ่งจะ วางแผนการดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่ชุมชน ประชาชน กล่มุ เปา้ หมายหรือกลมุ่ เสี่ยง ดงั นี้ 1. การมีส่วนร่วมและการบูรณาการในพ้ืนที่ โดยผนึกกาลังระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ทั้งภายในและภายนอก ซ่ึงมีหน่วยงาน อปท. ในพ้ืนท่ีเป็นแกนหลักในการบริหารจัดการและการบูรณาการ เพื่อร่วมกันแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ กับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรมูลนิธิต่างๆ 81

2. การคน้ หาความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย โดยระดมความคดิ เพ่ือค้นหาความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มเสี่ยง รวมถึงประชาชนและชุมชน เพ่ือวิเคราะห์สภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ร่วมกัน และหาแนวทางในการดาเนินการแก้ไขและป้องกัน ตลอดจนหน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ จิตอาสา ที่จะสามารถเข้ามามีส่วนช่วยเหลือ แก้ไข ติดตาม ป้องกัน และพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งพร้อมต่อสู้ กับปัญหาตา่ งๆ โดยหลังจากหนว่ ยงาน อปท. ในพ้ืนท่ีได้ดาเนินการวิเคราะห์ SWOT ของชุมชน ทุนทางสังคม ความพร้อมของชุมชน เพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการวางแผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับความ ต้องการด้านการพัฒนาและการแก้ไขปัญหา ซ่ึงสาเหตุของปัญหาขอทานในพื้นที่ คือ ค่านิยม อาชีพ รายได้ และอตั ราการจา้ งงานตา่ ทาใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายหรอื กลมุ่ เสย่ี งจาเปน็ ต้องออกไปเร่ร่อนขอทานในเขตกรุงเทพและ ปรมิ ณฑล 3. การสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติควบคุม ขอทาน พ.ศ. 2559 โดยหน่วยงาน อปท. ในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนษุ ย์ ในการจดั โครงการ/กิจกรรมทใ่ี หค้ วามรู้ด้านกฎหมายแก่กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยง รวมถึงการให้ ความรู้และสร้างความเข้าใจสาหรับการออกบัตรผู้แสดงความสามารถ และการดาเนินการอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย 4. การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป้าหมาย โดยหน่วยงาน อปท. ผู้บริหาร ผู้นาชุมชน ประชาชน จิตอาสาในชุมชน ต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมร่วมกับกลุ่มเป้าหมายและ กลุ่มเสี่ยง ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรมูลนิธิต่างๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมก็จาเป็นต้องมีความ ต่อเน่ืองจรงิ จังในการช่วยเหลือ แกไ้ ข และปอ้ งกนั ปญั หา ด้วยความตัง้ ใจใสใ่ จต่อกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเส่ียง และ สภาพปญั หาอย่างแท้จริง 5. การส่งเสริมการสร้างค่านิยม สรา้ งคณุ ค่า ปลกู จิตสานกึ ใหแ้ ก่กลมุ่ เปา้ หมายและกลุ่มเสี่ยง ซ่ึงจะต้องอาศัยระยะเวลาในการปรับเปล่ียนทัศนคติและความคิด พร้อมทั้งการสร้างการยอมรับและเปิดใจ เพอื่ เสรมิ สร้างความสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งกลมุ่ เป้าหมายหรือกลมุ่ เสี่ยงกบั ประชาชนและชมุ ชน 6. การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมที่เข้มแข็ง โดยการอาศัยความร่วมมือการบูรณาการกับ หน่วยงานองค์กรที่เก่ียวข้องด้านสังคม เพ่ือการผลักดันให้เกิดโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ท่ีดาเนินงานในพ้ืนที่ ท้ังด้านสงั คมวัฒนธรรม ด้านสาธารณปู โภค ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ดา้ นการเรยี นการศกึ ษา ดา้ นเศรษฐกจิ และรายได้ 7. การพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย โดยหลังจากท่ีได้ดาเนินการวิเคราะห์ความต้องการ และจากการระดมความคิดเพื่อค้นหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยง ประชาชน และชุมชน เป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ก็จะมีการวางแผนและดาเนินโครงการ/กิจกรรมตามความต้องการมุ่งหวังของ กลุ่มเปา้ หมายต่างๆ ในชุมชน โดยความรว่ มมอื ระหว่างหน่วยงาน อปท. ในพ้ืนที่กับหน่วยงานองค์กรภายนอก ชุมชน เพ่ือร่วมกันพัฒนาศกั ยภาพตามกล่มุ เปา้ หมายโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง 8. การส่งเสริมอาชีพ การสร้างรายได้ และการมีงานทา โดยหน่วยงาน อปท. ร่วมกับ หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน และอ่นื ๆ ท้ังภายในและภายนอกชุมชน ในการจัดดาเนินโครงการฝึกอบรมและ พัฒนาศักยภาพด้านอาชีพ อาทิ การทาเกษตร การผลิตสินค้าพื้นเมือง การผลิตงานฝีมือและผ้าไหม การผลิต เครื่องจักสาน เพอ่ื เปน็ การสร้างอาชพี และรายไดใ้ นแกก่ ลุ่มเป้าหมายและกลมุ่ เสยี่ ง ทั้งนี้สาหรับกลุ่มเสี่ยงท่ีเป็น เดก็ และเยาวชน ได้มีการจัดกิจกรรมที่ทาให้เกิดการร่วมกลุ่ม อาทิ ดนตรีสากล ดนตรีพื้นบ้าน การแสดง และ กีฬาฟตุ บอล เพอื่ ให้กลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ป็นเดก็ และเยาวชนมีกิจกรรมร่วมกันในชุมชน 82

9. การปรับปรุง แก้ไข ติดตาม และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการร่วมพลังกันระหว่าง หน่วยงาน อปท. ผู้บริหาร ผู้นาชุมชน ประชาชน และจิตอาสา ในการสอดส่อง เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยง โดยไม่ทาให้รู้สึกอึดอัด และการติดตามกากับดูแลของหน่วยงานกระทรวง พม. ซึ่งจะมีการติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเน่ือง เพื่อ พัฒนา ปรับปรงุ แกไ้ ข และป้องกนั การเกดิ ปัญหาซา้ ซาก 3. กระบวนการช่วยเหลอื แก้ไข และปอ้ งกนั ปัญหาขอทานในพ้ืนที่ กระบวนการดาเนนิ งานเพอื่ ชว่ ยเหลือ แกไ้ ข และป้องกันปญั หาขอทานของหน่วยงานในพื้นที่ หรือการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชนที่เก่ียวข้องกับการช่วยเหลือ แก้ไข และป้องกันปัญหาขอทานในพน้ื ที่ โดยกลุ่มผูน้ าชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ จะอาศยั ความคนุ้ เคยในพน้ื ทีแ่ ละความเปน็ ผนู้ าชมุ ชนท่ีได้รับความไว้วางใจ เกรงใจ และเคารพ นับถือของชาวบ้านในชุมชน ในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยง และประชาชน เพ่ือให้คาปรึกษา แนะนา ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอื่นๆ ซ้าซาก ซึ่งที่ผ่านมาปัญหาขอทาน ในพื้นที่ตาบลกระโพได้รับความสนใจจากสังคม ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาจเพราะปัญหาท่ีเกิด จากขอทานและจานวนผู้ท่ีเดินทางเข้าไปกระทาการขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แล้วถูก จับกุมส่วนใหญ่มักมีพื้นเพมาจากตาบลกระโพ ทาให้ตาบลกระโพเป็นที่จับตามองและเป็นที่สนใจจากสังคม ในการระดมกาลังจากทุกภาคส่วนเพื่อเข้ามาแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกล่าว สาหรับบทบาทหน้าท่ีของ กลุ่มกลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่ ใกลช้ ิดกับชุมชนมากทสี่ ุดที่จะชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจ และชักจูงใหก้ ลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มเป้าหมายให้เปิดใจยอมรับ และเข้าร่วมโครง/กิจกรรมต่างๆ เพ่ือพัฒนาศักยภาพอันจะเกิดประโยชน์ต่อการแก้ไขและป้องกันปัญหา โดยเริ่มต้นจากเมื่อกลุ่มเป้าหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทานถูกจับกุม และส่งตัวกลับคืนสู่พ้ืนท่ี ก็จะมีเจ้าหน้าท่ีและ ทีมสหวิชาชีพจากองค์กรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการลงพ้ืนท่ีร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในชุมชน ผู้นาชุมชน ผู้บริหารองค์กร และจิตอาสา เพ่ือพบปะพูดคุย สร้างความเข้าใจ รับฟังปัญหาความต้องการ ที่แท้จริงของกลุ่มเป้าหมาย พร้อมชักจูงโน้มน้าวให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาศักยภาพ เพ่ือสร้างความเช่ือมั่น ในตนเอง และทัศนคติท่ีถูกต้องในการประกอบสัมมาอาชีพ การดูแลสภาพความเป็นอยู่ท่ีให้ถูกสุขลักษณะ รวมถึงการขอความร่วมมือจากชาวบ้านและจิตอาสาในชุมชน ให้ช่วยกันสังเกตพฤติกรรมพร้อมท้ังเฝ้าระวัง ไม่ให้กลุ่มเป้าหมายกลับไปกระทาการขอทานอีก ซ่ึงการจัดโครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มเป้าหมาย ให้ได้มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ พัฒนาตนเอง ปรับทัศนคติความคิด เปล่ียนรูปแบบการ ดารงชีวิตโดยไม่ต้องเร่ร่อนขอทานอีกต่อไป ท้ังกระบวนการดาเนินงานของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก เกดิ จากการมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งหน่วยงานกบั หน่วยงาน ระหว่างหน่วยงานกับชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการ ดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพในพ้ืนที่อย่างสอดคล้อง โดยเน้นหลักการสร้างความเชื่อม่ันและความไว้วางใจ เข้าอกเข้าใจซึ่งกันและกัน การผนึกกาลังกันเพื่อการแก้ไขและป้องกัน เฝ้าระวังไม่ให้เกิดปัญหาขอทานขึ้นใน สังคมจากคนในชุมชน ตลอดจนการระดมความคิดและดาเนินการจัดทาเป็นโครงการ/กิจกรรม เพื่อให้กลุ่ม เสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย และชาวบ้านได้มีโอกาสมาทากิจกรรมร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน สร้างการ ยอมรบั และเปิดใจ ทาให้เกิดทัศนคติท่ีดีข้ึน และค่อยๆ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม โดยการดาเนินการท่ีมีรูปแบบวิธีการและขั้นตอนที่ต่อเน่ืองจริงจัง เพ่ือการแก้ไขปัญหาท่ีตรงจุดและป้องกัน ไม่ให้ปัญหาเหล่านั้นเกิดขึ้นในชุมชนหรือสังคมได้อีก ท้ังน้ีด้านกระบวนการพัฒนาศักยภาพ การเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจ และการส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ในการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพ้ืนที่ 83

กลุ่มผู้นาชุมชน/กลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ได้ดาเนิน โครงการ/กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาทอ้ งถ่นิ ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจและรายได้ ด้านสาธารณูปโภค ด้านสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ โดยได้ขอความร่วมมือไปยังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการ จัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญ การเดินทางสะดวก สภาพแวดล้อมดี ให้เป็นท่ีรู้จัก ในระดับจังหวัดและระดับประเทศ ด้วยการนาเรื่องของการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนกับช้าง ดนตรี และศิลปะพ้ืนบ้านมาพัฒนาต่อยอดเป็นโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว สร้างงานสร้างรายได้ และที่สาคัญคือสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อชุมชน ทาให้สังคมมีทัศคติมุมมองใหม่ๆ ต่อตาบลกระโพ ผ่านการ สนับสนุนจากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัด สรุ ินทร์ นิคมสร้างตนเองปราสาท การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สานักงานสุรินทร์ (ททท.) กรมการปกครอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ องค์กรธุรกิจเพ่ือสังคม (CSR) องค์การ บริหารส่วนตาบลกระโพ สถาบันการพัฒนาชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ธนาคารเพ่ือการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร ตลอดจนกานนั ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน ชาวบ้านตาบลกระโพ และภาคีเครือข่ายด้านสังคม อ่ืนๆ ในการผนึกกาลังกันสร้างสรรค์และพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตคนกับช้าง แหล่งท่องเที่ยวศูนย์คชสาร ต่อ ยอดการจ้างงานและสร้างรายได้ โดยให้นักท่องเทย่ี วเข้ามาเรียนรู้วิถีชมุ ชนในรูปแบบโฮมสเตย์ รวมถึงการผลิต สนิ คา้ อาทิ ผา้ ไหม เครื่องเงิน ผลิตภัณฑจ์ ากชา้ ง เพอ่ื จดั จาหนา่ ยเป็นของฝาก หรอื ของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยว นอกจากน้ียังได้วางรากฐานทางทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม โดยมีการวางระบบการจัดการน้าเพ่ือการเกษตร การอนุรักษ์ป่าไม้ และการปลูกป่าในชุมชนไว้ให้เป็นแหล่งอาหารของท้ังคนและสัตว์ อันจะคงความเป็น ธรรมชาติตามวิถีชีวิตดังเดิมของชาวตาบลกระโพเอาไว้ ผ่านการสนับสนุนจากโครงการชลประทานสุรินทร์ กรมชลประทาน และองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ ที่ทาให้เกิดสถานีสูบน้าเพื่อการเกษตร จานวนกว่า 3 แห่ง ในหมู่บ้าน ซ่ึงจะช่วยให้ชาวบ้านสามารถทาไร่ทานาได้ตลอดท้ังปี โดยไม่ขาดแคลนน้าในช่วงฤดูแล้ง และไม่ต้องอพยพ ย้ายถิ่นฐานเข้าไปหางานในกรุงเทพมหานคร ที่สาคัญคือกลุ่มเส่ียงและกลุ่มเป้าหมายผู้ที่ เคยเขา้ ไปขอทาน ก็อาจจะล้มเลกิ ความคิดทจ่ี ะเข้าไปขอทานในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล เนื่องจากมี การจ้างงานในชมุ ชนเพ่ิมขน้ึ สภาวะเศรษฐกิจในชมุ ชนดีขึ้น และรายไดห้ มุนเวียนในชุมชนมีสภาพคล่องมากขึ้น ดังน้ันกระบวนการช่วยเหลือคุ้มครอง พัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการ ส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ของหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องในการแก้ไขและ ป้องกันปัญหาขอทานในพ้ืนที่ตาบลกระโพ เกิดจาการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนในทุกด้าน ระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม ในการผลักดันโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ไป ยังกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันและการยอมรับ ตลอดจนการเปิดใจต่อค่านิยม แนวคิด ทัศนคติใหม่ๆ รวมถึงการนาพาตนเองไปสู่การประพฤติและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ลดละเลิกล้ม ความคิดทจี่ ากเข้าไปขอทานในเขตกรุงมหานครและปรมิ ณฑล อีกทัง้ ยงั มีสวนช่วยในส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิด โครงการ/กจิ กรรมที่ดีในชุมชน เกิดการจา้ งงาน เกดิ อาชีพใหม่ๆ และรายได้ท่ีเพิ่มขึ้น พัฒนาไปสู่การมีคุณภาพ ชวี ิตท่ดี ีขนึ้ กลุม่ เส่ยี งหรอื กลุ่มผูท้ เ่ี คยเขา้ ไปขอทานได้รบั การพฒั นาศกั ยภาพ เกิดความรู้ความเข้าใจ มีศีลธรรม และคา่ นยิ มทีถ่ กู ต้อง โดยจากการหนุนเสริมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว จึง ทาให้จานวนคนขอทานที่มีภูมิล าเนาอยู่ในตาบลกระโพที่เดินทางเข้าไ ปขอทานในเขตกรุงมหานครแล ะ ปริมณฑล มีจานวนลดลงไปได้ในระดับหน่ึง นอกจากน้ีกระบวนการดาเนินงานในพื้นท่ีเพื่อการแก้ไขและ ปอ้ งกันปัญหาขอทานนัน้ จะใหค้ วามสาคัญและเน้นหนักในเชิงการต้ังรับกับปัญหาเป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนการ ให้การสนับสนุน ป้องกัน เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรม โดยการติดตามอย่างใกล้ชิดจากทีมสหวิชาชีพท่ีเป็ น บุคลากรในชุมชน ผู้นาชุมชน อาสาสมัคร จิตอาสา โดยให้ความสาคัญกับการสร้างการยอมรับและการเปิดใจ 84

ของกลุ่มเป้าหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะครอบครัวและชุมชนท่ีกลุ่มเป้าหมายอาศัย อยู่ ท้ังนี้ถ้าหากกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นเด็กและเยาวชน จะให้ความสาคัญกับโรงเรียนและครูผู้สอนให้เข้ามาส่วน รว่ มในการแก้ไข ป้องกนั เฝา้ ระวงั และสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายร่วมด้วย เน่ืองจากครูผู้สอนมีความ ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจมากท่ีสุด พร้อมท้ังการผสานความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนเพ่ือการเสริมสร้าง ภมู คิ ุ้มกันทางสังคมทเ่ี หมาะสมแก่กลุม่ เป้าหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง และชุมชน โดยมุ่งหวังในการสร้างทัศนคติและ ปลูกค่านิยมท่ีดีงามเพื่อการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถแสดงเป็นภาพกระบวนการดาเนินงาน ดา้ นการแกไ้ ขและปอ้ งกันปญั หาขอทานในพน้ื ท่ี ได้ดงั ต่อไป 85

4. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพฒั นา ปัญหาอุปสรรคต่อแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ท่ีเกิดข้ึน สาหรับกลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานระยะแรกเรม่ิ จากการลงพ้ืนท่ีเพื่อประสานและสร้างความเข้าใจ คือ การไม่ได้ รับความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง รวมถึงการไม่ยอมรับและเปิดใจในการปรับเปลี่ยน แนวความคิด พฤติกรรม แต่ด้วยภาวะผู้นาของกลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตมู จังหวดั สรุ นิ ทร์ ซง่ึ มักจะได้รับความไว้วางใจและความเกรงใจจากชาวบ้าน ก็เลยพอท่ีจะได้พูดคุย กบั ชาวบ้านและโน้มนา้ วใจกลุ่มเป้าหมาย หรอื กลุม่ เสย่ี งได้บ้าง โดยเม่ือให้คาปรึกษา แนะนา สร้างความเข้าใจ จนก่อเกิดการยอมรับและเปิดใจของกลุ่มเป้าหมาย หรือกลุ่มเส่ียง ทาให้สามารถที่จะดาเนินการตาม กระบวนการวิธีการเพ่ือเป็นการปรับทัศนคติ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม และการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมอ่ืนๆ ตามมา โดยเรอ่ื งดังกลา่ วเปน็ สิ่งทค่ี ่อยข้างละเอียดอ่อน และต้องใชร้ ะยะเวลานานพอสมควรในการแก้ไขปัญหา เน่ืองจากกลุ่มคนที่มีพฤติกรรมขอทาน มักจะติดอุปนิสัยที่มักง่าย ข้ีเกียจ ไม่อดทนต่องานหนัก และไม่ยอม ทางานเช่นคนปกติท่ัวไป เนื่องจากการขอทานสามารถหาเงินได้ง่ายและไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไร จึงทาให้ติด ลักษณะนิสัยเกียจคร้าน ไม่เอาการเอางาน ซ่ึงเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งให้เกิดการไม่ยอมเปิดใจ หรือไม่ยอม ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ดังน้ันกระบวนการแก้ไขปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุ่มผู้นาชุมชน ผู้บริหาร ทีมสหวิชาชีพ อาสาสมัคร และจิตอาสา คือ การสร้างความคุ้นเคย ความเช่ือมั่น และมั่นใจให้เกิดข้ึนกับ กลุ่มเป้าหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง โดยต้องใช้ระยะเวลาในการทางานเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ยังต้องคอยสังเกต พฤตกิ รรมและเฝา้ ระวัง โดยกลุ่มเปา้ หมายไมร่ ้สู ึกอึดอดั หรือไม่เป็นตัวของตัวเอง ซึ่งกว่าที่กลุ่มเป้าหมายแต่ละ รายจะยอมเปดิ ใจ ก็ต้องอาศัยระยะเวลาและความทุ่มเทใส่ใจจากผู้ปฏิบัติงานในชุมชนอย่างมาก แต่ถ้าหากว่า กลุ่มเป้าหมายรายใดที่ยอมเปิดใจและให้การยอมรับแล้ว ก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพ ปรับทัศนคติ เปล่ียน พฤตกิ รรม พัฒนาศักยภาพตามความถนัดและสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขเหมือนชาวบ้านในชุมชน อกี ท้งั ยังสามารถประกอบสัมมาอาชีพทสี่ จุ ริต ไม่ตอ้ งกลับไปเป็นขอทานอกี ต่อไป แนวทางการพฒั นาต่อยอดกระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน ตลอดจนปัญหาทาง สังคมอื่นๆ ในพ้ืนที่ เพ่ือเป็นการเตรียมพร้อมและสรา้ งภมู คิ ุ้มกันทางสังคมแก่ชุมชน โดยกระบวนการพัฒนาต่อ ยอดในชุมชน คือ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องด้านการบริหารจัดการชุมชนและพัฒนาชุมชนท้ัง 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านอาชีพและรายได้ ด้านการเรียนการศึกษา ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค และ ดา้ นส่ิงแวดล้อม ตามความเหมาะสม ดงั ต่อไปนี้ 4.1 ด้านอาชีพและรายได้ การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ เช่น ผลิต เคร่ืองจักสาน ปลูกหม่อนเล้ียงไหม ทอผ้าไหมพื้นเมือง ผลิตภัณฑ์จากช้าง ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา เป็นต้น และการส่งเสริมธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในชุมชน เช่น แหล่งท่องเท่ียวชุมชน (วิถีคนกับช้าง) ร้านค้าชุมชน (จาหน่ายของทร่ี ะลกึ ) บา้ นพักโฮมสเตย์ เป็นต้น 4.2 ด้านการเรียนการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุนด้านการเรียนรู้ท้ังในและนอกระบบ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการศึกษาเรียนรู้ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจพอเพียง และอื่นๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ผ่านหน่วยงานองคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชน เชน่ โรงเรียน กศน. หน่วยงานภาครฐั และอนื่ ๆ เปน็ ต้น 4.3 ด้านสังคมวัฒนธรรม การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาวัฒนธรรมประเพณี ท้องถ่ิน การแสดง ดนตรี การละเล่นพ้ืนบ้าน ซ่ึงจะช่วยดึงดูดนักท่องเท่ียวให้เข้ามาในชุมชน ช่วยให้เกิดการ ร่วมกล่มุ เพือ่ สร้างความสามคั คี และเป็นการละลายพฤติกรรมของกลมุ่ เป้าหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง เช่น การแสดง ชา้ ง ดนตรกี นั ตรมึ ราแกรนมอ การแขง่ ขันกฬี าชมุ ชน เป็นต้น 86

4.4 ด้านสาธารณูปโภค การพัฒนาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มศักยภาพด้านการจัดการ ชุมชน การบริหารจัดการน้า การคมนาคมติดต่อทั้งภายในและภายนอกชุมชน เพื่อสนับสนุนให้เกิด ประสิทธิภาพทั้งในด้านต่างๆ ตลอดจนการสนับสนุนและพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตร เช่น สถานีสูบน้า เพ่ือการเกษตรบ้านด่าน หมู่ 9 สถานีสูบน้าเพ่ือการเกษตรบ้านศาลา หมู่ 11 สถานีสูบน้าเพ่ือการเกษตร บ้านโคกกุง หมู่ 17 โดยมีความมุ่งหวังว่าหลังจากการดาเนินงานด้านการจัดการน้าและทรัพยากรในชุมชน ประสบผลสาเรจ็ แลว้ จะช่วยให้ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรในพ้ืนท่ี สามารถมีแหล่งน้าจากแม่น้า มูลและแมน่ า้ ชี ซึง่ จะไหลผ่านสถานสี ูบนา้ ในชุมชนและทาให้มนี า้ กนิ นา้ ใชใ้ นทกุ ฤดูกาล 4.5 ด้านส่ิงแวดล้อม การส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์ป่าไม้ในชุมชน เพื่อให้เป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ด้านพฤกษศาสตร์ การร่วมใจกันปลูกป่าเพื่อสร้างแหล่งอาหารและท่ีอยู่อาศัยทางธรรมชาติของสัตว์ป่า ซ่ึงจะช่วยเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ให้กับป่าในชุมชน โดยเน้นการปลูกจิตสานึกท่ีดีเก่ียวกับชุมชนและธรรมชาติ ซง่ึ เปรยี บเสมือนการปลกู ต้นไมใ้ นใจคน อนั จะเป็นการร่วมกลุ่มเพื่อทากิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทาให้ เกิดความรกั บา้ นเกิด รักชุมชน และยังมสี ว่ นช่วยในการละลายพฤติกรรมของกลุ่มเปา้ หมาย หรอื กล่มุ เส่ยี ง 5. ข้อเสนอแนะ 5.1 ขอ้ เสนอแนะเชิงพ้นื ที่ 1) การป้องกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอื่นๆ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติ ผู้นา ชุมชน หรอื องคก์ ร ตอ้ งใหค้ วามสาคญั และเขา้ ถึงจติ ใจของกลุม่ เปา้ หมาย หรอื กลุ่มเส่ียง และต้องมีปฏิภาณไหว พริบวิธีการในแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และจะต้องมีความอดทน เข้าใจในปัญหา และให้การยอมรับ เพื่อสร้าง ความไว้วางและการเปิดใจยอมรับของกลุ่มเป้าหมาย หรือกลุ่มเส่ียงให้เกิดความเช่ือมั่นและพร้อมเข้าสู่การ พฒั นาศกั ยภาพต่อไป 2) กระบวนการบริหารจัดการและการพัฒนาทั้ง ๕ ด้าน ประกอบด้วย ด้านสังคม วัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านการเรียนการศึกษา ด้านเศรษฐกิจและรายได้ ซ่ึงหน่วยงาน องค์กร และชุมชน สามารถวางแผนการพัฒนาแก้ไขและนาไปปรับใช้กับการดาเนินงานในพื้นท่ี เพ่อื ส่งเสรมิ ให้เกดิ ความก้าวหน้ามัน่ คงในทุกมิติ 3) การดาเนินงานในพื้นท่ีจะต้องร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชน และกาหนดแนวทางการวางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย ก่อนการดาเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหาในพื้นท่ี โดยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ชุมชนเพื่อการแก้ไขปัญหาท่ีตรงจุด พร้อมท้ังมองหาโอกาสในการ พฒั นาอย่างสมดลุ และลดความเหลื่อมลา้ 4) กลุ่มเป้าหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเสี่ยง ควรได้รับการการได้รับการ ยอมรับจากชุมชนและการส่งเสรมิ สนับสนุนท่ีเหมาะสมตามความสามารถและความถนัด โดยมีการจัดหาอาชีพ แหล่งเงินทุนประกอบอาชีพ แหล่งงานในชุมชน หรือการจ้างงานอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการได้รับความ ช่วยเหลอื และพฒั นาศกั ยภาพจากหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง 5.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1) พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติม บทลงโทษสาหรับผู้ท่ีมอบทรัพย์สิน หรือให้เงินแก่คนขอทาน เนื่องจากหากการมอบทรัพย์สิน หรือให้เงิน แก่คนขอทานแล้วถกู จบั ถูกปรับ หรือลงโทษ คงไมม่ ีใครกลา้ บริจาคเงนิ ให้ เมือ่ คนขอทานไม่ได้เงิน หาเงินไม่ได้ ก็อาจจะล้มเลิกความคดิ ท่ีจะเปน็ ขอทานไปได้ 87

2) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริจาคทานแก่คนขอทานอย่างต่อเนื่อง เพอื่ ใหป้ ระชาชนทวั่ ไปได้รับทราบว่าการบริจาคทานแก่คนขอทาน ก็เปรียบเหมือนการส่งเสริมให้มีคนขอทาน เพิ่มขึ้นในสังคม โดยการสร้างความความเข้าใจในการให้ทานและการบริจาคทาน การส่งเสริมทัศนคติใหม่ใน การการบรจิ าคทานแกป่ ระชาชนทัว่ ไป 3) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ควรมีพัฒนากระบวนการ จัดทาบัตรผู้แสดงความสามารถในรูปแบบบัตรชิปการ์ด หรือบัตรสมารท์การ์ด เพ่ือเก็บข้อมูลรายละเอียด รายบุคคล ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องสามารถทราบข้อมูลรายละเอียดของกลุ่มบุคคลที่มีบัตรผู้แสดง ความสามารถ โดยสามารถควบคุมและตดิ ตามพฤติกรรมไดเ้ ปน็ ระยะ 88

ภาคผนวก 89

แบบสมั ภาษณ์ข้อมูล โครงการศกึ ษากระบวนการแก้ไขและปอ้ งกนั ปัญหาขอทาน กรณีศกึ ษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตมู จังหวดั สรุ ินทร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แนวคาถามงานวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อการศึกษาวิจัยตามโครงการศึกษากระบวนการแก้ไข และป้องกนั ปญั หาขอทาน กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา ผลการดาเนินงานด้านการแก้ไขและป้องกันปัญหาการเข้าไปขอทานของตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวดั สรุ ินทร์ และ 2) เพอื่ ใหไ้ ดร้ ูปแบบกระบวนการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานของกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่ และขยายผลไปยังพื้นที่อ่ืน โดยกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การ บรหิ ารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตมู จงั หวดั สุรินทร์ 2) กลุ่มองค์กร/หน่วยงานที่เก่ียวข้อง 3) กลุ่มประชาชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และ 4) กลุ่มเสี่ยง/บุคคลผู้เข้าไปขอทาน โดย สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 (สสว.5) สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ร่วมกับ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ ินทร์ ท้ังนี้ ข้อมูลท่ีได้จากกลุ่มเป้าหมายตามแบบสัมภาษณ์ข้อมูลฉบับน้ี จะใช้เพื่อการศึกษาวิจัย เท่านนั้ การตอบคาถามตามแบบสัมภาษณ์จะไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมายแต่อย่างใด แต่จะเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาวจิ ยั ดงั กลา่ ว และขอขอบพระคณุ ในความรว่ มมือเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ส่วนท่ี 1 ประวัตสิ ่วนตัว ประวตั ิการทางานที่เก่ยี วขอ้ งกับการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพ้นื ที่ เช่น 1.1 ชอื่ นามสกุล 1.2 เพศ/อาย/ุ ภูมลิ าเนา 1.3 ตาแหนง่ /บทบาท/หน้าทร่ี บั ผิดชอบ 1.4 ประสบการณ์ทางานท่ีผ่านมา ส่วนที่ 2 คาถามปลายเปิดเก่ียวกับบริบทและสภาพความรุนแรงของปัญหาในพื้นที่ มุมมองทัศนคติของ หน่วยงาน องค์กร ประชาชน และชมุ ชนทีม่ ตี ่อการขอทาน เชน่ 2.1 บริบทชมุ ชนและสภาพความรุนแรงของปัญหาขอทานในพื้นท่ี 2.2 คาว่า “ขอทาน” ในความคิดของคุณคืออะไร 2.3 บุคคลที่มพี ฤติกรรมหรอื ลกั ษณะใดทค่ี ุณคิดว่าเป็นคนขอทาน 2.4 ความรคู้ วามเขา้ ใจในความแตกต่างระหวา่ ง คนขอทาน กับ ผแู้ สดงความสามารถ 2.5 ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย บทลงโทษ สาหรับการขอทานหรอื การแสวงหาผลประโยชน์ 2.6 การตระหนักถึงความรุนแรงและความสาคัญของปัญหาท่ีเกิดข้ึนของกลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหาร กลมุ่ องค์กร/หนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง และกลุ่มประชาชนในชมุ ชน 2.7 กระบวนการแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปญั หาขอทานจากอดตี ถึงปจั จบุ นั 2.8 หนว่ ยงานท่ีมีบทบาทในการชว่ ยเหลือคุ้มครองและพฒั นาศักยภาพ 2.9 ผลกระทบจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน (ก่อน-หลัง) การดาเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน ในพนื้ ที่ 2.10 การยอมรบั /ปฏิเสธ ต่อคนในชมุ ชนทมี่ ีเขา้ ไปเป็นคนขอทาน 2.11 มุมมองทัศนคติของประชาชนในชุมชน ตลอดจนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท่ีเข้ามามีส่วนร่วมต่อ กลมุ่ เป้าหมายโดยเฉพาะกลมุ่ เส่ียง กลุ่มบุคคลผูเ้ ขา้ ไปขอทาน หรือกล่มุ ผ้เู คยขอทาน *** ส่วนท่ี 2 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตมู จังหวัดสรุ ินทร์ 2) กลมุ่ องคก์ ร/หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง และ 3) กลมุ่ ประชาชนผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม 90

ส่วนท่ี 3 คาถามปลายเปิดเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินงาน รูปแบบวิธีการ การบูรณาการ การมีส่วนร่วมของ หน่วยงาน องคก์ ร มูลนธิ ิ และอื่นๆ ดา้ นแกไ้ ขและป้องกันปญั หาขอทานในพนื้ ท่ี เชน่ 3.1 บทบาทหน้าท่ีและกระบวนการดาเนินงานของหน่วยงานในพื้นท่ี หรือการมีส่วนร่วมของ หนว่ ยงาน องค์กร มูลนธิ ิ ทั้งภาครฐั /เอกชนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การแกไ้ ขและป้องกนั ปัญหาขอทานในพ้นื ที่ 3.2 กระบวนการช่วยเหลือคุ้มครอง พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการส่งเสริม สนบั สนนุ ในด้านต่างๆ ของหน่วยงาน องคก์ ร มูลนิธิ ทั้งภาครฐั /เอกชนที่เกีย่ วขอ้ ง เพอ่ื แก้ไขและป้องกันปัญหา ขอทานในพ้นื ท่ี 3.3 กระบวนการทางานท้ังเชิงรกุ และเชิงรับ เพ่ือแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในพื้นท่ีให้ลดลงหรือ หมดไป ตลอดจนหน่วยงานหนุนเสรมิ ทง้ั ภาครัฐ/เอกชนทีใ่ ห้การสนับสนนุ 3.4 รูปแบบวิธีการในการแก้ไข การพัฒนา การปรับปรุง การป้องกัน การติดตาม การประเมินผล การรวบรวมสถติ ิ และอน่ื ๆ เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ ปัญหาซ้าซาก (โครงการ/กจิ กรรม) 3.5 ผลท่ไี ดจ้ ากการดาเนนิ การแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปญั หาขอทานในพนื้ ท่ี 3.6 ปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน/แนวทางการพัฒนาและแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดขน้ึ ***ส่วนที่ 3 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 2) กลุ่มองค์กร/หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และ 3) กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม *โดยเน้นหนักไปที่การเปิดโอกาสให้ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วม (โครงการ/กิจกรรม) เพ่ือลด ความเส่ียงและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนการสร้างคุณค่า ความตระหนัก และภูมิคุ้มกันทางสังคม แก่คนในชมุ ชน ส่วนที่ 4 คาถามปลายเปิดเก่ียวกับข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาต่อยอด หรือการนาไปปรับใช้ ในพนื้ ที่อืน่ ๆ เพอื่ แก้ไขและปอ้ งกนั ปัญหาทางสงั คมอน่ื ๆ แกก่ ลมุ่ เป้าหมาย เช่น สว่ นท่ี 4 (ตอนท่ี 1) 4.1 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ที่เก่ียวข้องกับการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานในอนาคต หรือการ ชว่ ยเหลอื และพฒั นาศักยภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 4.2 การพัฒนาต่อยอดกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมในพ้ืนท่ี ตามสถานการณ์ปัญหา ทางสงั คมต่างๆ ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ เพือ่ เป็นการเตรียมพร้อมและสรา้ งภมู ิคุม้ ทางสังคมให้แก่ชมุ ชน 4.3 แนวทางการพัฒนาต่อยอดรูปแบบกระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาทางสังคมอื่นๆ ในพ้ืนท่ี หรือการส่งเสริมใหพ้ ื้นท่อี ืน่ ๆ นาไปประยุกตใ์ ช้ตามความเหมาะสม 4.4 ขอ้ เสนอแนะเชิงพ้ืนท/ี่ เชงิ นโยบาย สว่ นท่ี 4 (ตอนที่ 2) 4.1 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มเส่ียง กลุ่มบุคคลผู้เข้าไปขอทาน หรือ กลุ่มผเู้ คยขอทานท่มี ตี อ่ การช่วยเหลอื และการพฒั นาศักยภาพ ***ส่วนท่ี 4 ตอนท่ี 1 จะดาเนินการสัมภาษณ์ : 1) กลุ่มผู้นาชุมชน/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอ ทา่ ตมู จงั หวัดสรุ ินทร์ 2) กลมุ่ องค์กร/หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง และ 3) กลุ่มประชาชนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ***สว่ นท่ี 4 ตอนที่ 2 จะดาเนนิ การสมั ภาษณ์ : 1) กลุ่มเส่ียง/บคุ คลผเู้ ขา้ ไปขอทาน 91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook