Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-27 08:55:39

Description: การแก้ไขปัญหาขอทาาน สสว.5

Search

Read the Text Version

คำนำ ปญั หาขอทานในสงั คมไทยยงั เป็นปัญหาท่ีได้รับความสนใจและมีการป้องกันและแก้ไขปัญหา ขอทานอย่างต่อเน่ืองตลอดมา โดยเฉพาะชุมชนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งมีหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ได้ดาเนินการบูรณาการช่วยเหลือ แก้ไข และป้องกันปัญหาขอทาน ตลอดจนปัญหาทางสังคมอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ี เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและความรู้ความเข้าใจให้แก่ชาวบ้าน ในชุมชน ตลอดจนการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาและส่งเสริม ศักยภาพบุคลากรในชุมชน ท้ังด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสาธารณูปโภค ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านการเรียน การศึกษา เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและย่ังยืน สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวัด นครราชสมี า ได้ดาเนินโครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงานด้านการแก้ไขและป้องกันปัญหาการเข้าไปขอทาน ของพนื้ ทีต่ าบลกระโพ อาเภอทา่ ตมู จังหวดั สรุ นิ ทร์ และเพ่ือให้ได้รูปแบบกระบวนการในการแก้ไขและป้องกัน ปัญหาขอทานของกลมุ่ เป้าหมายในพน้ื ที่ และขยายผลไปยงั พืน้ ท่ีอื่น สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวัดนครราชสีมา ขอขอบพระคุณ สถาบันวิจัยและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ผู้นาชุมชน ผู้บริหาร ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี จากองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ตลอดจนตัวแทนกลุ่มผู้นา/ผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มองค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกลุ่มเส่ียง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน ที่สละเวลาในการให้ข้อมูล โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบล กระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ จะเกิดประโยชน์ต่อพื้นที่ที่สนใจและสามารถนาไปปรับใช้ตามความ เหมาะสม หรอื นาไปเปน็ แนวทางในการศกึ ษาคน้ คว้า แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ วิธีการการแก้ไขปัญหา ทางสังคม และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องต่อไป กนั ยายน 2561 ก

บทสรุปผู้บริหาร การดาเนินการโครงการศึกษากระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงานด้านการแก้ไขและ ปอู งกนั ปญั หาการเข้าไปขอทานของพื้นท่ีตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และ 2) เพื่อให้ได้รูปแบบ กระบวนการในการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทานของกลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ี และขยายผลไปยังพ้ืนท่ีอื่น โดยมีกลุ่มเปูาหมาย ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์การบริหารตาบลกระโพ 2) กลุ่มองค์กร/ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง 3) กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และ 4 ) กลุ่มเส่ียง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน ซึ่งจากการลงพ้ืนที่สัมภาษณ์และเก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ข้อมูลการวิจัย และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยสามารถสรุปได้ ดงั ต่อไปนี้ สภาพปัญหาและผลกระทบ ในอดีตชุมชนตาบลกระโพเป็นถิ่นทุรกันดาร ชาวบ้านส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทาไร่ทานาและเล้ียงช้าง เม่ือส้ินฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านจะหาของปุามาขาย หรือผลิตสินค้า พ้ืนเมืองเพ่ือขายแก่นักท่องเที่ยว ต่อมาสินค้าล้นตลาดและขายไม่ออก ชาวบ้านบางส่วนที่หวังจะหารายได้ จงึ นาชา้ งเขา้ เมืองเพ่อื มาเรร่ อ่ นขอทาน ท่ีผา่ นมาภาครฐั ได้มบี ทลงโทษเกี่ยวกบั การนาชา้ งออกมาเร่ร่อนขอทาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเท่ียวและประชาชนท่ัวไป ทาให้การนาช้างออกมาเร่ร่อนขอทานลดลง แตย่ ังมีบางรายท่ยี ังต้องการหารายได้จากการขอทานอยู่บ้าง เพราะเป็นงานท่ีง่ายและได้รายได้ จึงปรับเปลี่ยน วิธีการโดยการนาความน่าสงสารออกมาล่อหลอกให้ผู้อื่นหยิบยื่นเงินให้ หลังจากการแก้ไขและปูองกันปัญหา ขอทานของตาบลกระโพ โดยมหี นว่ ยงานภาครฐั เข้ามาให้ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนการสร้างงานสร้างอาชีพ และรายได้ การบริหารจัดการทรัพยากรในชุมชน รวมถึงการพัฒนาพื้นที่ในด้านต่างๆ เพ่ือให้ตาบลกระโพ มีความเข้มแข็ง ทาให้กลุ่มผู้ที่เคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเส่ียงให้เลิกกระทาการขอทาน โดยการสนับสนุน กลุ่มคนเหล่าน้ีให้นาความสามารถของตนเองมาฝึกฝนเพ่ิมเติมความสามารถ และข้ึนทะเบียนการเป็นผู้แสดง ความสามารถ เม่ือได้รับบัตรผู้แสดงความสามารถแล้ว จะทาการแสดงความสามารถที่ใดๆ ก็ให้ขออนุญาต หน่วยงานในพน้ื ที่ เพ่อื ความเป็นระเบียบและความถูกตอ้ งตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559 กระบวนการดาเนนิ งานเพื่อช่วยเหลือ แก้ไข และปูองกันปัญหาขอทานของหน่วยงานในพ้ืนท่ี หรือการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน องค์กร มูลนิธิ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง โดยกลุ่มผู้นาชุมชน/ ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ จะอาศัยความคุ้นเคยและความเป็น ผู้นาชุมชนท่ีได้รับความไว้วางใจและเคารพนับถือของชาวบ้านในชุมชน เพื่อเข้าถึงกลุ่มเปูาหมายในการ ให้คาปรึกษาแนะนา ซึ่งกลุ่มผู้นา/ผู้บริหารองค์กรเป็นกลุ่มท่ีใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุดที่จะช่วยสร้างความ เข้าใจ ให้กลุ่มเส่ียงให้เปิดใจยอมรับ และเข้าร่วมโครง/กิจกรรมต่างๆ เพ่ือพัฒนาศักยภาพ โดยเริ่มต้นจาก เมอื่ กลุม่ เปาู หมายผ้ทู เี่ คยเข้าไปขอทานถูกจับกุม และส่งตัวกลับคืนสู่พ้ืนที่ ก็จะมีทีมสหวิชาชีพจากองค์กรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงพ้ืนท่ีร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในชุมชน ผู้นาชุมชน ผู้บริหารองค์กร และจิตอาสา เพื่อสร้างความเข้าใจและรบั ฟังปญั หาความตอ้ งการของกลุ่มเปูาหมาย พร้อมชักจูงให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา ศักยภาพเพ่ือสร้างความเชื่อม่ันในตนเองและทัศนคติที่ถูกต้อง รวมถึงการขอความร่วมมือจากชาวบ้านและ จิตอาสาในชุมชน ให้ช่วยกันสังเกตพฤติกรรมและเฝูาระวังไม่ให้กลุ่มเปูาหมายกลับไปกระทาการขอทาน อีก กระบวนการดาเนินงานเพ่ือแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน เกิดจากการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานกับ หน่วยงาน ระหว่างหน่วยงานกับชุมชนและกลุ่มเปูาหมาย เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพในพื้นท่ี อย่างสอดคล้อง โดยได้ขอความร่วมมือไปยังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนา ท้องถิ่นด้วยการนาเร่ืองของการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนกับช้าง และศิลปะพ้ืนบ้านมาพัฒนา ต่อยอดเพอื่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว การสรา้ งงานสร้างรายได้ และที่สาคญั คอื สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีต่อชุมชน ทาให้ ข

สังคมมีทัศคติมุมมองใหม่ๆ ต่อตาบลกระโพ โดยการสร้างสรรค์และพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตคนกับช้าง แหลง่ ท่องเทยี่ วศนู ยค์ ชสาร เพอื่ ต่อยอดการจ้างงานและสร้างรายได้ โดยให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเรียนรู้วิถีชุมชน ในรูปแบบโฮมสเตย์ รวมถึงการผลิตสินค้า อาทิ ผ้าไหม เคร่ืองเงิน ผลิตภัณฑ์จากช้าง เพื่อจัดจาหน่ายเป็น ของฝาก หรือของท่รี ะลกึ แกน่ กั ท่องเทย่ี ว นอกจากนยี้ งั ได้วางรากฐานทางทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม โดยมีการ วางระบบการจัดการน้าเพ่ือการเกษตร ซ่ึงจะช่วยให้ชาวบ้านสามารถทาไร่ทานาได้ตลอดทั้งปี และไม่ขาด แคลนน้าในช่วงฤดูแล้ง ไม่ต้องอพยพย้ายถิ่นฐานเข้าไปหางานในกรุงเทพมหานคร ที่สาคัญคือกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มเปูาหมาย ผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทานก็อาจจะล้มเลิกความคิดที่จะเข้าไปขอทานในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล เน่ืองจากมีการจ้างงานในชุมชนเพิ่มขึ้น สภาวะเศรษฐกิจในชุมชนดีขึ้น และรายได้หมุนเวียน ในชุมชนมีสภาพคลอ่ งมากขน้ึ ปัญหาอุปสรรคต่อการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอื่นๆ พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานระยะ เกิดจากการไม่ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเสี่ยง รวมถงึ การไมย่ อมรบั และเปิดใจในการปรับเปล่ียนแนวความคิด พฤติกรรม ดงั นนั้ กระบวนการแก้ไขปัญหาและ แนวทางการพัฒนาของกลุ่มผู้นาชุมชน ทีมสหวิชาชีพ อาสาสมัคร และจิตอาสา คือ การสร้างความคุ้นเคย ความเช่ือม่ัน และม่ันใจให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเปูาหมาย หรือกลุ่มเส่ียง สาหรับแนวทางการพัฒนาต่อยอด กระบวนการแก้ไขและปูองกันปัญหาขอทาน ตลอดจนปัญหาทางสังคมอื่นๆ เพ่ือเป็นการเตรียมพร้อมและ สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ชุมชน โดยกระบวนการพัฒนาต่อยอดในชุมชน คือ การพัฒนาด้านการบริหาร จัดการชุมชนและพัฒนาชุมชน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านอาชีพและรายได้ 2) ด้านการเรียนการศึกษา 3) ด้านสังคมวัฒนธรรม 4) ด้านสาธารณูปโภค และ 5 ) ด้านสิ่งแวดล้อม ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ ตาบลกระโพท้ัง 7 ประการ ประกอบด้วย 1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดี 2) ยุทธศาสตร์อนุรักษ์ ฟ้ืนฟูส่ิงแวดล้อม 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 4) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาแหล่งน้า เพื่อการเกษตร 5) ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพองค์กร ผู้นา และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 6) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมศาสนา รัฐพิธี วัฒนธรรมประเพณี และการท่องเที่ยว 7) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมรายได้ ประชาชน ข้อเสนอแนะเชงิ พื้นที่และนโยบาย 1) การปูองกันปัญหาขอทาน และปัญหาทางสังคมอื่นๆ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ผู้นาชุมชน หรือ องค์กร ตอ้ งให้ความสาคญั และเข้าถงึ จิตใจของกลุ่มเปูาหมาย หรอื กลุม่ เสี่ยง 2) กระบวนการบริหารจัดการและการพัฒนาทั้ง 5 ด้าน หน่วยงาน องค์กร และชุมชน สามารถวางแผนการพฒั นาแกไ้ ขและนาไปปรับใช้กบั การดาเนินงานในพ้นื ท่ี 3) การดาเนินงานในพ้ืนที่จะต้องร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหา และกาหนดแนวทางการ วางแผนรว่ มกบั ภาคเี ครือข่าย โดยการสรา้ งเสรมิ ภมู คิ มุ้ กันทางสังคมแกช่ มุ ชน 4) กลุ่มเปูาหมายผู้ท่ีเคยเข้าไปขอทาน หรือกลุ่มเส่ียง ควรได้รับการยอมรับจากชุมชนและ การส่งเสริมสนับสนุนท่ีเหมาะสม โดยมีการจัดหาอาชีพ แหล่งเงินทุนประกอบอาชีพ แหล่งงานในชุมชน หรือ การจา้ งงานอยา่ งต่อเน่ือง 5) พระราชบัญญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติม บทลงโทษสาหรับ ผู้ทมี่ อบทรัพยส์ นิ หรอื ใหเ้ งนิ แก่คนขอทาน 6) การรณรงค์ประชาสมั พนั ธ์เกีย่ วกบั การงดบรจิ าคทานแกค่ นขอทานอยา่ งต่อเนื่อง 7) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ควรมีพัฒนากระบวนการจัดทาบัตร ผู้แสดงความสามารถในรูปแบบบัตรชปิ การ์ด หรือบตั รสมารทก์ าร์ด ค

Executive Summary The Implementation program of the Study on the Problem Solving and Prevention of the Problem of Beggars: A Case Study of Krapo Subdistrict, Tha Tum District, Surin Province 1) To study the performance of the rectification and prevention of begging problems in the area of Khapo Subdistrict, Tha Tum District, Surin Province. 2) To have a model to resolve and reduce begging problems in target areas as well as other areas. The target audience includes: 1) Leadership / Management of the subdistrics administrative organization 2) Associated Organizations 3) People who participate in the activities 4) Risk group / people who have been beggars. In order to create this model, I collected data from interviews conducted in the above stated areas. I then analyzed this data, the results of which are to follow. Problems and Impacts In the past, the Krapo community was a wilderness. Most villagers were engaged in farming and elephant raising. At the end of harvest season, the villagers found the forest for sale or produced local products for sale to tourists. But they are now facing market overflow and are unable to sell out of their products. As an alternative way to earn income, they began bringing elephants to the city and begging. The government has sanctions about bringing elephants to the city for the purpose of begging. The government also needs to create understanding between the tourists and the general public regarding these sanctions and decreasing instances of elephants being used for begging. But there are some people who still want to earn money from begging because it is easy to do and earns decent money. In order to correct and prevent begging behaviors in Krapo district, government agencies created education programs in the area as well as encouraged job creation and career development programs. This allowed the begging risk groups to develop job skills to give them an alternative income earning method. Additionally, those government agencies also implemented a licensing program that allows former beggars to register and become licensed. Then former beggars may get permission from local authorities to perform their various talents. This is known as the Control Act Begging BE.2559 The process of working to help resolve and prevent begging in the described areas has involved the participation of various public and private organizations, community leaders, and the administration of Krapo subdistrict, Tha Tum District, Surin Province. It is based on familiarity and community leadership that is respected by the villagers in the community and aims to reach the target audience and give them advice. Leaders / executives are the closest to the ง

community to help them understand and make risk groups open their minds as well as join the program / activities. Additionally, they seek to develop potential from the beginning when the target audience are arrested and subsequently returned to the target area. There will be a multidisciplinary team from organizations and agencies involved in the area together with government agencies, community leaders, and volunteers to build understanding and listen to the needs of the risk group. That team will also encourage the potential development process to build self-confidence and improve attitudes. The government also has requested the villagers and volunteers in the community to observe the behavior of the risk group to see if they return to begging again. Processes to resolve and prevent begging problems have so far been successful. This is due to the involvement between agencies, communities and target groups. In order to efficiently operate in the affected area, we have cooperated with all network partners to budget for local development by introducing cultural tourism and lifestyle for elephant owners. In addition, folk art developed and tourism was promoted. Creating new avenues of revenue generation was key to creating a positive image of the community and granting society a new perspective on the district. Similarly, by creating and developing learning resources for the risk group and building a travel center, tourists come to learn the community way through homestay. Other ways revenue generation and employment were increased were by encouraging production of silk, silver, and elephant products, as well as distribution of souveniers to tourists. Government intervention also laid the groundwork for environmental and resource development. Creation of a water management system allowed villagers to farm all year round and helped to mitigate water shortages during the dry season. This means that there was no need for villagers to migrate to Bangkok for work, decreasing the size of the risk group. Since a large portion of the risk group was comprised of villagers who migrated to metropolitan areas to find work, increasing employment in those workers’ communities and improving their economic situation led to a reduction in the number of those workers who felt the need to return to begging. There are problems and obstacles that make it difficult to prevent begging. Mainly these problems are operational, due to a lack of cooperation between the target groups, as well as social issues among the risk group. Those social issues might include non-acceptance and a lack of open-mindedness among the risk group in changing their known behaviors. Part of the problem solving and development process of the community leaders, multidisciplinary teams and volunteers is a process of creating familiarity and confidence within the risk group. In order to prepare and socialize the community, the developmental process has 5 aspects: 1) Career and จ

income 2) Education 3) Social and cultural aspects 4) Utilities 5) Environment Under the 7 development strategy of Krapo subdistrict: 1) Strategy for the development of good quality of life 2) Environmental conservation strategy 3) Infrastructure Development Strategy 4) Strategies for water resources development for agriculture 5) Strategic capacity development, leadership and promotion of public participation 6) Strategy to promote religion, state, ceremonial culture, and tourism 7) Strategy to increase comunity income. Spatial Suggestions and Policies 1) Prevention of begging problems and other social issues. Employees, leaders, community leaders or organizations must prioritize and reach the target audience or risk group 2) The management and development process in all 5 aspects of the organization and the community can be planned, developed and adapted to the operations in the area. 3) Operations in the area must be jointly analyzed. Plan and coordinate with network partners by enhancing the social immunity of the community. 4) Target groups who have been beggars, or those at risk, should be accepted by the community and supported in finding the right job, Career Funding Community resources, or continuous employment. 5) The beggars control act BE 2559 should be amended with penalties for property donors or those who give money to beggars 6) Publicity campaign for donations to continuous beggars. 7) Ministry of Social Development and Human Security should develop card processors in the form of a chip card or a smart card. ฉ

สารบญั หนา้ เรื่อง ก ข คานา 1 บทสรปุ ผ้บู รหิ าร 1 บทที่ 1 บทนา 4 4 1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 4 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 5 3. ขอบเขตของโครงการวิจัย 5 4. กรอบแนวความคดิ ของโครงการวจิ ยั 5 5. นยิ ามศัพท์ของโครงการวจิ ัย 6 6. ผลสาเรจ็ ทีค่ าดวา่ จะได้รับ 6 7. ความค้มุ คา่ ทค่ี าดวา่ จะได้รับ 11 บทท่ี 2 แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี และงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง 15 1. ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วกบั สภาพปัญหาขอทาน 25 2. แนวคดิ การจัดการปญั หาขอทาน 26 3. กฎหมายทเี่ กีย่ วข้องสาหรับการแกไ้ ขปญั หาขอทานในประเทศไทย (อดตี -ปัจจบุ ัน) 36 4. กฎหมายเกี่ยวกบั การควบคุมการขอทานในต่างประเทศ 42 5. แนวทางการแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปัญหาขอทาน 42 6. งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง 43 บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวิจัย 43 1. การดาเนินการวิจัย 45 2. ขอบเขตการวิจยั และกลุ่มตวั อย่าง 46 3. เคร่อื งมอื วจิ ยั ท่ใี ชใ้ นการวิจยั 46 4. การเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มลู 46 5. วิธกี ารดาเนินการวจิ ยั 47 6. ระยะเวลาทาการวจิ ัย 47 7. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวจิ ยั สู่กลุ่มเป้าหมาย 50 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 51 1. บริบทพ้นื ที่ 2. สภาพปญั หาและสถานการณ์ปัจจุบนั 3. ผลการศกึ ษา

สารบัญ เรือ่ ง หนา้ สว่ นท่ี 1 ประวตั ิการทางานที่เก่ียวข้องกบั การแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปญั หาขอทานในพ้นื ที่ 52 ส่วนท่ี 2 บริบทและสภาพความรนุ แรงของปญั หาในพ้ืนที่ มุมมองทัศนคติ 53 ของหน่วยงาน องคก์ ร ประชาชน และชมุ ชนทมี่ ตี อ่ การขอทาน สว่ นท่ี 3 กระบวนการดาเนินงาน รูปแบบวธิ ีการ การบรู ณาการ การมสี ่วนรว่ ม 65 ของหนว่ ยงาน องค์กร มูลนิธิ และอ่นื ๆ ด้านการแก้ไขและป้องกัน 76 ปญั หาขอทานในพื้นท่ี 79 สว่ นที่ 4 ขอ้ คิดเหน็ ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาตอ่ ยอด หรือการนาไป 79 ปรบั ใช้ในพ้นื ท่ีอ่ืนๆ เพอ่ื แก้ไขและปอ้ งกันปญั หาทางสังคมอนื่ ๆ 80 แกก่ ลุ่มเป้าหมาย 83 บทท่ี 5 อภปิ รายผล 86 1. สภาพปัญหาขอทานและผลการทบในพนื้ ท่ี 87 2. บทบาทหน้าทีข่ องหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเี ครือข่าย 89 3. กระบวนการชว่ ยเหลอื แก้ไข และปอ้ งกันปญั หาขอทานในพ้ืนท่ี 90 4. ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการพฒั นา 92 5. ข้อเสนอแนะ 95 ภาคผนวก แบบสมั ภาษณข์ ้อมูล บรรณานกุ รม คณะผูจ้ ดั ทา

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา คนขอทานเปน็ อกี กลุม่ ผู้ด้อยโอกาสในสังคมไทยที่พยายามด้ินรนให้มีชีวิตอยู่รอดได้แบบวันๆ ภายใต้สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่าแร้นแค้น โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งของทุกปี (เดือนมกราคม-เมษายน) จะพบว่าสถติ ขิ องคนขอทานมีสูงมากว่าเดือนอ่ืนๆ เน่ืองจากคนชนบทมักจะชักชวนกันไปตามเมืองใหญ่ๆ หรือ แหล่งท่องเที่ยว เพื่อท่าการขอทาน ซึ่งเรามักจะพบเห็นคนขอทานได้ทั่วไปตามแหล่งชุมชนใหญ่ๆ ที่มีผู้คน สญั จรผ่านไปมาเปน็ จา่ นวนมาก เชน่ ศนู ย์การคา้ แหล่งท่องเที่ยว สถานีขนส่ง ป้ายรถโดยสารประจ่าทาง หรือ เดินขอตามบ้านเรือน เป็นต้น โดยประเภทของขอทานส่วนใหญ่ จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ขอทาน ช่ัวคราว ขอทานอาชีพ และขอทานโดยถูกบังคับ (การค้ามนุษย์) โดยการขอทานมีลักษณะของการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย อาศัยความอ่อนด้อยของร่างกายทางสติปัญญา ความสามารถหรือสุภาพ จิตใจของบุคคลอื่นอันส่งผลให้เกิดความเสียหาย เข้าข่ายการค้ามนุษย์ ซึ่งถือว่ารุนแรงกว่าค่าว่าเมตตา ท่ีคนไทยเราเคยหยิบย่ืนให้ เพิ่มความสลับซับซ้อนของปัญหามีขบวนการเอารัดเอาเปรียบ แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ การละเมิดสิทธิ การบังคับข่มขู่เข้ามาเก่ียวข้อง สาเหตุของการขอทานมีปัจจัยหลายอย่างท่ีผลักดัน ให้ตัวบุคคลตอ้ งหนั มาท่าการขอทาน ได้แก่ ปญั หาด้านเศรษฐกจิ ปญั หาดา้ นการศึกษา ปัญหาด้านร่างกายและ จติ ใจ ปญั หาการขาดผอู้ ปุ การเลีย้ งดู เป็นต้น ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ก่อให้เกิดท้ังความ เจริญก้าวหนา้ และปัญหาที่เปน็ ผลกระทบมาจากการพฒั นาประเทศที่ไม่สมดุล ซึ่งน่าไปสู่ความไม่เท่าเทียมกัน ทางสังคม ทา่ ให้บางครอบครัวตอ้ งเผชิญกบั ปัญหาจากการไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมในสงั คม ถกู เอารัดเอาเปรียบ รวมถึงปัญหาความเหล่ือมล่้าทางรายได้ ท่าให้เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมากข้ึน และประชาชน บางส่วนยังไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการของภาครัฐได้อย่างท่ัวถึง หรือบางส่วนได้รับสวัสดิการท่ีไม่เพียงพอ ต่อความต้องในการใช้จ่ายเพื่อด่ารงชีวิต ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของโค รงสร้างสถาบันครอบครัว โดยประชาชนต่างก็พากันหาหนทางเพ่ือความอยู่รอดในการด่ารงชีวิตในสังคม จึงขาดการดูแลเอาใจใส่ ครอบครัว หรือปัญหาภายในครอบครัว ไม่ว่าจะเปน็ การหยา่ ร้างของพ่อแม่ การใช้ความรุนแรง เป็นต้น ปัญหา ต่างๆ เหล่าน้ี สร้างความกดดันให้เด็กต้องออกจากบ้าน เพราะทนสภาพความเป็นอยู่ภายในครอบครัวไม่ไหว จึงต้องเร่ร่อนขอทานไปในสถานที่ต่างๆ เพ่ือเล้ียงชีพตนเองตามที่ปรากฏในสื่อต่างๆ ว่ามีขอทาน ตามแหล่งชุมชนสาธารณะ หรือสถานที่ท่องเที่ยว โดยปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปี และเป็นปัจจัย ส่าคัญท่ีส่งผลลบต่อภาพลักษณ์ของประเทศ รวมถึงปัจจุบันมีกระบวนการค้ามนุษย์ ซึ่งมีการลักพาตัว หรือล่อลวงเด็กมาเพื่อเป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์และรายได้จากการขอทาน อันเป็นปัญหา ทางสงั คมที่ทุกภาคสว่ นต้องร่วมมอื กนั ในการแกไ้ ขปญั หา เพ่ือให้เด็ก เยาวชน ครอบครัว และประชาชนทุกคน สามารถดา่ รงชวี ติ อยู่ได้อยา่ งปลอดภัยและมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ตี ่อไป เมอื งไทยเราสถานการณข์ อทานไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่เป็นสิ่งท่ีพบเห็นได้ท่ัวไปตามสถานที่ ตา่ งๆ เชน่ สะพานลอย ทางแยกไฟแดง แหลง่ ชมุ ชน โดยกลมุ่ คนขอทานเหล่านี้มักมีหลากหลายรูปแบบวิธีการ ตังอย่างเช่น ผู้สูงอายุ เด็ก สตรี นั่งขอทานโดยมีกระป๋องใส่เศษสตางค์ หรือการน่าปมด้อย เช่น ความพิการ ออกมาแสดงให้เกิดความสงสาร เพ่ือขอเงินหรือเศษสตางค์จากผู้พบเห็น เป็นต้น โดยได้มียกเลิก พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 เน่ืองจากมีการบังคับใช้มานานแล้ว บทบัญญัติเก่ียวกับ 1

การสงเคราะห์ผู้กระท่าการขอทานตาม พ.ร.บ. ดังกล่าวไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน จึงเห็นควรให้มี การคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้กระท่าการขอทาน การควบคุมการขอทาน และการแยกผู้แ สดง ความสามารถออกจากการเปน็ ผู้กระท่าการขอทาน เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาสังคมและคุ้มครองสวัสดิภาพของ บุคคลให้เหมาะสม และเป็นการกา่ หนดบทลงโทษทางอาญาแก่ผ้ทู ี่กระทา่ การแสวงหาผลประโยชน์จากกลุ่มคน เหล่าน้ี และได้มีการก่าหนดพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ข้ึน และประกาศใช้เพ่ือการ คุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดจนควบคุมการขอทาน โดยก่าหนดให้มีการแบ่งแยกและคัดกรอง ระหว่างคนขอทานกับผู้แสดงความสามารถไว้อย่างชัดเจน ตามกระบวนการของเจ้าหน้าท่ีภาครัฐและ หน่วยงานช่วยเหลอื ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ซง่ึ ไดก้ ่าหนดลกั ษณะรูปแบบการกระท่าการขอทานไว้ ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 มาตรา 13 ห้ามบุคคลใดท่าการขอทาน การกระท่าอยา่ งหน่ึงอย่างใดดงั ต่อไปนีใ้ ห้ถือว่าเป็นการขอทาน (1) การขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อ่ืนเพ่ือเล้ียง ชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการขอด้วยวาจา ข้อความหรือการแสดงกิริยาอาการใด (2) การกระท่าด้วยวิธีการใดให้ผู้อื่น เกดิ ความสงสารและสง่ มอบเงนิ หรอื ทรัพย์สินให้ การแสดงความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นดนตรีหรือการแสดงอ่ืนใด เพ่ือให้ได้มาซึ่งเงิน หรือทรัพย์สินจากผู้ชมหรือผู้ฟัง การขอเงินหรือทรัพย์สินกันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วย การควบคมุ การเร่ยี ไร ไมถ่ อื วา่ เปน็ การขอทาน การจัดการปัญหาขอทานเป็นภารกิจและหน้าท่ีของทุกคนท่ีจะช่วยกันปกป้องเด็ก สตรี ผสู้ ูงอายุ และผู้พิการในสงั คม มิให้ตอ้ งตกเป็นเคร่อื งมอื ของกลุ่มหรือบคุ คล ผซู้ ่งึ แสวงหาผลประโยชน์จากความ ไม่สมประกอบทางร่างกาย ความอ่อนด้อยทางสติปัญญาหรือสภาพจิตใจ ซึ่งคอยแต่จะกัดกินผลประโยชน์ จากชีวิตของผู้อื่นท่ีอ่อนด้อยกว่าอยู่ร่าไป โดยบทบาทส่าคัญของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ที่ส่าคัญอีกประการหนึ่งคือการเปิดศูนย์ Hot line ช่ือว่า “ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300” คอยทา่ หนา้ ท่ีรบั แจง้ ปัญหาสังคมต่างๆ รวมท้งั เร่ืองคนขอทาน ควรมีการก่าหนดบทบาทเชิงรุกมากกว่าการรับ แจง้ และประสานงานสง่ ตอ่ ไปยังตา่ รวจในทอ้ งท่ีเกดิ เหตุอกี ต่อหน่งึ ซ่งึ นน่ั ถือเปน็ การประสานงานส่งต่อที่ไม่เกิด ประโยชนใ์ นเชิงบวกผู้กระท่าการขอทาน เน่ืองกระบวนการของต่ารวจท้องท่ีเมื่อได้รับแจ้งจากศูนย์ประชาบดี ส่วนใหญ่จะลงพ้ืนที่ไปตรวจสอบและไล่ให้คนขอทานออกนอกพื้นท่ีรับผิดชอบของตน หรือบ่อยคร้ังท่ีไม่มี เจ้าหน้าที่มาให้การดูแลช่วยเหลือคัดกรองหรือให้การคุ้มครองในท่ีเกิดเหตุเลย จากลักษณะการด่าเนินการ แบบน้ีจึงไม่ช่วยแก้ปัญหาแต่อย่างใด การแก้ไขและป้องกันปัญหาคนขอทานจ่าเป็นต้องท่าการเก็บข้อมูล เพ่ือมาขยายผลและคัดกรองให้กลุ่มหรือบุคคลเหล่านั้นได้รับการคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม และไม่กลับเข้าสู่กระบวนการขอทานหรือเป็นคนขอทานอีก ไม่ใช่เพียงแค่ไล่ไปให้พ้นหูพ้นตาแล้วน่ังภูมิใจ ว่าไม่มีขอทานในพ้ืนท่ีที่รับผิดชอบของตน โดยการขอทานในระยะแรกเริ่มอาจเป็นการขอทานเพ่ือน่าเงินมา ใชจ้ า่ ยหรือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่เม่ือกระทา่ ไปนานๆ แล้วเหน็ วา่ รายไดด้ ี จึงยดึ การขอทานเป็นอาชพี ถาวร ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด่ า เ นิ น ง า น ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค ว บ คุ ม ก า ร ข อ ท า น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย์ ท่ีมุ่งขับเคล่ือนภารกิจการแก้ไขปัญหาคนขอทานอย่างเป็นระบบ ตามนโยบาย 3P ท้ังนี้จากสถิติ การจัดระเบียบขอทานท่ัวประเทศ ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงวันท่ี 6 เดือนสิงหาคม 2561 พบว่ามีจ่านวน ผู้กระท่าการขอทานจ่านวนทั้งสิ้น 5,053 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,018 คน เพศหญิง 2,035 คน นอกจากนี้ยัง พบว่าส่วนใหญ่เป็นขอทานคนไทย จ่านวน 3,138 คน คิดเป็นร้อยละ 63 และเป็นขอทานคนต่างด้าว จ่านวน 1,915 คน คิดเป็นร้อยละ 37 ซ่ึงส่วนใหญ่มีสัญชาติกัมพูชา พม่า ลาว เวียดนาม โดยพื้นท่ีที่มีการตรวจพบ ขอทานมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และชลบุรี ตามล่าดับ ทั้งน้ีการด่าเนินการ 2

กับผู้กระท่าการขอทาน ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงวันท่ี 22 เดือนมิถุนายน 2561 มีจ่านวนผู้กระท่าการ ขอทานท่ีถูกจับกุมและส่งกลับคืนครอบครัว จ่านวน 1,751 คน ส่ง ตม. และผลักดันกลับสู่ประเทศต้นทาง จ่านวน 1,847 คน เข้ารับการคุ้มครองในสถานคุ้มครองฯ จ่านวน 1,325 คน ส่งตรวจ DNA พิสูจน์ ความสมั พนั ธ์ จา่ นวน 75 คน และส่งโรงพยาบาล จ่านวน 55 คน ข้อมูลจากศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งทั่วประเทศ จ่านวน 77 แห่ง ต้ังแต่ปี 2559 ถึงเดือน กรกฎาคม 2561 พบว่ามีผู้ใช้บริการด้านการสงเคราะห์ ช่วยเหลือ คุ้งครอง ฟ้ืนฟูและพัฒนาศักยภาพ ภายใต้การดูแลของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งท่ัวประเทศ ประกอบด้วย กลุ่มคนไร้ที่พึ่ง กลุ่มจิตเวช กลุ่มขอทาน เป็นจ่านวนท้ังส้ิน 58,135 คน โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มขอทานที่ เข้ารับบริการภายในศูนย์คุ้มครองฯ จ่านวน 2,829 คน และเข้ารับบริการภายนอกศูนย์คุ้มครองฯ จ่านวน 3,078 คน นอกจากนี้ยังพบว่ามีจ่านวนผู้กระท่าการขอทานท่ีมาจากจังหวัดสุรินทร์ จ่านวนท้ังสิ้น 34 คน แบง่ เป็นเพศชาย จา่ นวน 25 คน เพศหญงิ จา่ นวน 9 คน ข้อมูลจากการจัดระเบียบขอทานของศูนย์ปฏิบัติการและแก้ไขปัญหาการขอทานและ คนไร้ที่พ่ึง กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ต้ังแต่เดือน กุมภาพันธ์ 2558 ถึง เดือนกรกฎาคม 2558 สถิติจ่านวนผู้เข้ามาขอทานในกรุงเทพมหานคร มีจ่านวนทั้งส้ิน 2,783 คน แบ่งเป็นคนไทย จ่านวน 1,872 คน คิดเป็นร้อยละ 67 และคนต่างด้าว จ่านวน 911 คน คิดเป็น ร้อยละ 33 ซ่ึงในจ่านวนน้ีพบว่าส่วนหนึ่งเป็นคนขอทานที่เดินทางมาจากต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ จ่านวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ของจ่านวนขอทานคนไทยท้ังหมด โดยต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ มปี ระชากร 15,637 คน จากท้งั สนิ้ 20 หมู่บ้าน เป็นพื้นทท่ี ี่ไดช้ ือ่ วา่ ชมุ ชนเลยี้ งช้าง หรือหมู่บ้าน เลี้ยงช้างที่ใหญ่ท่ีสุด ประชากรในพ้ืนท่ีส่วนหนึ่งมีอาชีพเลี้ยงช้าง โดยมีศูนย์อนุรักษ์และขยายพันธ์ช้าง มีศูน ย์ ศิลปวัฒนธรรมและการแสดงของช้างที่มีผู้คนเข้ามาเยี่ยมชม และให้ความสนใจเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ ประชากรส่วนหน่ึงประกอบอาชีพท่าการเกษตร ท่าไร่ ท่านา และมีอาชีพเสริมคือการจัดท่าของที่ระลึก เพื่อจ่าหน่ายให้กับนักท่องเท่ียว เช่น พวงกุญแจสัญลักษณ์ช้าง กระเป๋าผ้าและงานผ้า จ้ีสายสร้อย ก่าไร และ ผลิตภัณฑ์ท่ีท่าจากงาช้าง เป็นต้น ซ่ึงพบว่าประชาชนในเขตพ้ืนท่ีของต่าบลกระโพ โดยเฉพาะบ้านอาคุณ หมู่ที่ 5 บ้านตระมงู หมู่ที่ 6 บ้านดา่ น หมู่ 19 และบ้านชะมวง หมู่ 20 มีประชาชนบางส่วนในหมู่บ้านดังกล่าว นิยมเข้าไปเร่ร่อนขอทานในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ให้การช่วยเหลือ รวมถึงองค์กรบริหารส่วนต่าบลกระโพ อ่าเภอ ทา่ ตมู จังหวัดสรุ นิ ทร์ ได้จัดทา่ แผนงานโครงการ/กิจกกรมเพือ่ การแกไ้ ขและป้องกนั ปัญหาอยา่ งต่อเน่อื ง จากสถานการณ์ดังกล่าว องค์การบริหารส่วนต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และหน่วยงานต่างๆ ในพ้ืนท่ี ตลอดจนส่านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดสุรินทร์ มีความพยายามที่จะลงไปด่าเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน เพื่อให้ประชาชนของต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ยุติการเข้าไปขอทานในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกา่ หนดแผนงานโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ที่ด่าเนินการในพ้ืนท่ีและชุมชน เพื่อสกัดกั้นและป้องกันไม่ให้เกิด การกระท่าการดังกล่าว เป็นการช่วยแก้ไขหรือลดปัญหาสังคมท่ีอาจเกิดขึ้น ดังนั้นส่านักงานส่งเสริมและ สนับสนนุ วิชาการ 5 ซึง่ เป็นหน่วยงานภาครัฐที่มภี ารกิจในการส่งเสริมและพัฒนางานด้านวิชาการพัฒนาสังคม และ ความม่ันคงของมนุษย์ ได้เล็งเห็นความส่าคัญของปัญหาด้านการด่าเนินงานเพื่อการแก้ไขและป้องกัน ปัญหาการเข้าไปขอทานของต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เพื่อให้มีรูปแบบกระบวนการในการ แก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี และขยายผลไปยังพื้นท่ีอื่น จึงได้ด่าเนินโครงการ ศึกษากระบวนการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทาน : กรณีศึกษา ต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 3

เพ่ือศึกษาผลท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการด่าเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ด้านการแก้ไขและป้องกัน ปัญหาการเข้าไปขอทานของประชาชนในพ้ืนท่ีต่าบลกระโพ อ่าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ท่ีมีกระบวนการที่ ถูกต้องชัดเจนหรือตรงตามความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี และสามารถยับยั้งขบวนการเข้าไปขอทาน ในเขตกรงุ เทพมหานคร และขยายผลไปยังพ้นื ท่อี นื่ ๆ ท่ปี ระสบปัญหาดังกลา่ วตอ่ ไป 2. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพื่อศึกษาผลการด่าเนินงานด้านการแก้ไขและป้องกันปัญหาการเข้าไปขอทานของ พ้ืนทต่ี า่ บลกระโพ อา่ เภอท่าตูม จังหวัดสรุ ินทร์ 2) เพ่ือให้ได้รูปแบบกระบวนการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาขอทานของกลุ่มเป้าหมาย ในพืน้ ท่ี และขยายผลไปยังพนื้ ทีอ่ ่นื 3. ขอบเขตของโครงการวิจยั 1) รูปแบบการวจิ ัย เป็นการวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบกระบวนการ หรือวิธีการในการด่าเนินงานเพ่ือการแก้ไขและ ป้องกันปญั หาการเข้ามาขอทานของคนในพน้ื ท่ตี ่าบลกระโพ อา่ เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยวิธีการสัมภาษณ์ และการสงั เกตแบบไม่มีส่วนรว่ มกบั กลุม่ เป้าหมาย จ่านวน 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่ - กลมุ่ ผู้นา่ /ผ้บู รหิ ารองค์การบรหิ ารสว่ นตา่ บลกระโพ อ่าเภอทา่ ตูม จงั หวดั สุรินทร์ - กลมุ่ องคก์ ร/หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย ส่านักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ นิคมสร้างตนเองปราสาท ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ บ้านพักเด็ก และครอบครัวจงั หวดั สุรนิ ทร์ - กลุ่มประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านกระโพ หมู่ท่ี 5 บ้าน อาคุณ หมทู่ ี่ 6 บา้ นตระมงู หมู่ 19 บา้ นดา่ น และหมู่ 20 บ้านชะมวง - กลุ่มเส่ียง/กลุ่มบุคคลผู้เคยเข้าไปขอทาน (ผู้สมัครใจในการให้สัมภาษณ์ข้อมูล โดยไมป่ ระสงค์ออกนาม) 2) ขอบเขตการศกึ ษา - ขอบเขตพื้นที่ ด่าเนินการศึกษาวิจัยในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององค์การบริหาร ส่วนต่าบลกระโพ อ่าเภอทา่ ตมู จังหวัดสรุ นิ ทร์ - ขอบเขตประชากร จากกลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ จ่านวน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้น่า/ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต่าบลกระโพ กลุ่มองค์กร/หน่วยงานที่เก่ียวข้อง กลุ่มประชาชน ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม และกลุม่ เสีย่ ง/กลมุ่ บคุ คลผู้เคยเข้าไปขอทาน 4. กรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย 4

5. นิยามศพั ทข์ องโครงการวิจัย 1) การขอทาน หมายถึง การกระท่าการขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อ่ืนเพ่ือเลี้ยงชีวิต ไม่ว่าจะ เป็นการขอด้วยวาจา ข้อความหรือการแสดงกิริยาอาการใด หรือการกระท่าด้วยวิธีการใดให้ผู้อื่นเกิดความ สงสารและส่งมอบเงินหรือทรัพย์สินให้ ยกเว้นการแสดงความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นดนตรี หรือการ แสดงอ่ืนใด เพื่อให้ได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินจากผู้ชมหรือผู้ฟัง การขอเงินหรือทรัพย์สินกันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไรตากฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร ไม่ถือว่าเป็นการขอทาน ตามพระราชบัญญัติ ตามพระราชบญั ญัตคิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ท่รี ะบุไวใ้ นมาตรา 13 2) ผู้กระทา่ การขอทาน หมายถงึ ผูท้ ่ีการกระท่าทเี่ ปน็ พฤติกรรมต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ท่ีระบุไว้ในมาตรา 13 หรือบุคคลท่ีด่ารงชีวิตอยู่ได้ด้วยการขอเงิน หรือ ทรัพย์สิน หรอื ส่งิ ของจากผู้อ่นื โดยไมไ่ ดท้ า่ การอยา่ งใดหรอื ให้ทรพั ย์สนิ ส่ิงใดเปน็ การแลกเปลี่ยน และไม่ใช่เป็น การขอกันในฐานะญาติมิตรให้ถือว่าเป็นคนขอทาน รวมถึงการน่าปมด้อยหรือความพิการออกมาแสดงเพื่อ เรียกความสงสาร และขอรบั เงิน หรือทรพั ยส์ นิ หรอื ส่งิ ของจากผพู้ บเหน็ 3) กระบวนการ หมายถึง วีธีการ หรือข้ันตอน หรือรูปแบบ หรือแนวทางในการด่าเนิน โครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/องค์กร/กลุ่มบุคคล เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาในชุมชน ท่ีสอดคล้องกบั สภาพปัญหาและตอบสนองต่อความต้องการของคนในชุมชน 4) การแก้ไขและป้องกัน หมายถึง การปฏิบัติงาน การท่ากิจกรรมต่างๆ ท่ีสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ซึ่งเป็นวิธีการท่ีช่วยจัดการปัญหา ขจัดปัญหา และสาเหตุของปัญหา รวมถึงการ เฝ้าระวังสถานการณ์ในชุมชน เพ่ือสนองต่อความต้องการของคนในชุมชน อันน่าไปสู่กระบวนการในการ ช่วยเหลือและคุ้มครอง ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถพึ่งตนเองและด่ารงชีวิต อยู่ในสังคมได้ 6. ผลสาเรจ็ ทคี่ าดวา่ จะได้รับ 1) ได้แนวทางในการดา่ เนนิ งานดา้ นการแก้ไขและป้องกันปัญหาการขอทาน 2) ได้รูปแบบการดา่ เนินการปอ้ งกนั ไม่ใหบ้ ุคคลในชุมชนเขา้ มาขอทานในเขตเมอื ง 7. ความคุ้มค่าทคี่ าดจะไดร้ ับ การศกึ ษากระบวนการแก้ไขและปอ้ งกันปัญหาการขอทาน : กรณีศกึ ษา ต่าบลกระโพ อ่าเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ในคร้ังนี้ จะสามารถช่วยเหลือหน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ ด้านกระบวนการด่าเนินงาน และการแก้ไขปัญหาขอทานท่ีถูกต้อง และตรงตามความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี โดยจะสามารถหยุด ขบวนการเข้าไปขอทานในเขตกรุงเทพมหานคร และพื้นที่อ่ืนๆ ของประเทศไทยได้ในระยะยาว ตลอดจน หน่วยงาน/องค์กร/ชุมชนท่ีสนใจ หรือมีส่วนเก่ียวข้องทราบถึงกระบวนการและรูปแบบในการแก้ไข และป้องกันปัญหาขอทานท่ีสามารถน่าไปปรับใช้ได้จริงในพ้ืนที่ตามความเหมาะสม ซ่ึงอาจสามารถน่าไป ขยายผลหรือปรับใช้ในพ้ืนที่อ่ืนๆ ท่ีประสบกับปัญหาในลักษณะท่ีคล้ายคลึงกัน อีกท้ังยังช่วยสร้างค่านิยม ท่ีถูกต้อง รวมถึงภูมิคุ้มกันทางสังคมที่เข้มแข็งให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ท่าให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี เกดิ ความเทา่ เทยี มกนั ในสงั คมและพฒั นาไปสกู่ ารเปน็ สังคมที่มคี ุณภาพต่อไป 5

บทท่ี 2 แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง ปัจจุบันในพ้ืนที่เขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองใหญํๆ หรือเขตเมืองเศรษฐกิจหลายๆ แหํง สามารถพบเห็นคนท่แี ตํงกายด๎วยเสื้อผา๎ ทข่ี าดแลดสู กปรกมอมแมม มกี ระป๋องหรอื ภาชนะอน่ื ๆ ที่ใช๎รองรับเศษ เงินจากผูค๎ นทผ่ี าํ นไปมา และมกั จะนัง่ อยูํตามสะพานลอย หรือริมฟุตบาทท่ีมีคนสัญจรผํานไปมา คนเหลําน้ีถูก เรียกวํา “ขอทาน” โดยขอทานน้ันเป็นท่ีทราบกันดีวํามีมาตั้งแตํสมัยโบราณแล๎ว แทบจะเรียกได๎วําเป็นอาชีพ เกาํ แกอํ าชพี หน่งึ เลยก็วาํ ได๎ และคลา๎ ยจะเปน็ สํวนหนงึ่ ของวัฒนธรรมในสงั คมไทยไปเสียแลว๎ พวกเขาดํารงชีวิต อยูํด๎วยการขอรับเศษเงินจากผู๎ที่ผํานไปมา ซึ่งมักจะทําตัวให๎ดูนําสงสารด๎วยการแตํงกายให๎ดูโทรมๆ เนื้อตัว มอมแมม หรือแสดงออกโดยใช๎ความบกพรํองทางรํางกาย ออกมาเพื่อเรียกร๎องความเวทนาสงสารตํอผู๎พบเห็น ซ่ึงบางรายก็แกล๎งพิการบ๎าง เปิดเผยให๎เห็นบาดแผลท่ีดูนํากลัวนําสยดสยองบ๎าง หรือบางรายก็หอบลูก จูงหลานมาเล้ียง มาน่ังตามสถานที่สาธารณะตํางๆ ให๎ดูนําเห็นใจบ๎าง ซ่ึงเด็กที่พามาด๎วยนั้นจะใชํลูกหลาน จริงๆ หรือไมํ ก็ไมํสามารถที่จะทราบได๎ น่ีคือปัญหาหน่ึงในสังคมไทยที่มีมานาน โดยนับวันปัญหาน้ีก็ยิ่ง ดูเหมือนจะรุนแรงขึ้นเร่ือยๆ และอาจเชื่อมโยงไปสํูปัญหาการค๎ามนุษย๑ หรือปัญหาอาชญากรรมที่อาจเกิดขึ้น ในสงั คมได๎ในอนาคต ผ๎ูวิจัยได๎ดําเนินการศึกษา ค๎นคว๎า รวบรวมแนวคิด หลักการ ทฤษฎี งานวิจัย และเอกสาร วรรณกรรมทเ่ี กี่ยวข๎องกับการแก๎ไขและปูองกันปัญหาขอทาน เพ่ือเป็นแนวทางในการดําเนินงานศึกษาวิจัยใน พื้นที่ตามโครงการศึกษากระบวนการแก๎ไขและปูองกันปัญหาขอทาน กรณีศึกษา ตําบลกระโพ อําเภอทําตูม จังหวดั สุรินทร๑ ดังตํอไปน้ี 1. ความรทู๎ วั่ ไปเก่ยี วกับสภาพปญั หาขอทาน 2. แนวคดิ การจดั การปญั หาขอทาน 3. กฎหมายที่เก่ียวข๎องสําหรบั การแกไ๎ ขปญั หาขอทานในประเทศไทย (อดีต-ปจั จุบนั ) 4. กฎหมายเก่ียวกับการควบคุมการขอทานในตํางประเทศ 5. แนวทางการแกไ๎ ขและปอู งกันปญั หาขอทาน 6. งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข๎อง 1. ความรทู้ ัว่ ไปเก่ยี วกับสภาพปญั หาขอทาน 1.1 ประเภทของการขอทาน โดยสวํ นใหญสํ ามารถแบงํ ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ๎ กํ 1) ขอทานชั่วคราว เป็นการกระทําเพื่อแก๎ปัญหาความขัดสนขาดแคลนที่เกิดข้ึนเฉพาะหน๎า โดยต๎องการให๎ตนเองและครอบครัวรอดพ๎นจากภาวะวกิ ฤตท่ีเกิดข้นึ 2) ขอทานอาชีพ เป็นการกระทาํ ที่เกิดจากความเกยี จครา๎ นในการทาํ งาน ไมมํ ีเงิน ไมํมีความร๎ู ขาดแคลนเงินคําอาหารและคําใช๎จําย หรือความด๎อยโอกาสทางสังคม คนขอทานประเภทน้ีมักมีความพิการ หรือความแกํชรา ซ่ึงจะใชค๎ วามนําสงสารเหลํานี้เปน็ จุดเรยี กรอ๎ งความสนใจ 3) ขอทานโดยอิทธิพลของแก๏งค๑ขอทาน เกิดข้ึนมาจากการเปลี่ยนรูปแบบการขอทาน โดยมี วิวัฒนาการมาจากการขอทานอาชีพมาเป็นขบวนการขอทาน ซึ่งมีผ๎ูจัดการอํานวยความสะดวกอยูํเบ้ืองหลัง การขอทาน โดยกระทําการในรูปแบบธุรกิจ มีนายหน๎าออกไปตามชนบท หรือตามแหลํงเสื่อมโทรมตํางๆ เพ่ือจัดหากลํุมเด็กเล็ก คนท่ีพิการ คนชรา หรือแมํลูกอํอนท่ีดูนําสงสาร เข๎าสํูวงเวียนการขอทาน โดยวิธีการ 6

วําจ๎าง เชําซ้ือ กลํุมคนเหลําน้ี เพ่ือมาดําเนินการขอทานในเมือง หรือตามสถานท่ีตํางๆ (กองสวัสดิการ สงเคราะห๑ กรมประชาสงเคราะห๑, คนเรํรํอนขอทานในทส่ี าธารณะ, 2537) 1.2 สาเหตุของการขอทาน เกิดจากปัจจัยเส่ียงที่หลากหลายทางสังคมท่ีมักจะเป็นตัวผลักดันให๎คน หรือกลํุมบุคคลต๎องหนั มาประกอบอาชพี ขอทาน ไดแ๎ กํ 1) ปัญหาด๎านเศรษฐกิจ ความยากจนและความล๎มเหลวในการประกอบอาชีพในชนบท เป็นแรงผลักดันให๎สมาชิกในครอบครัวต๎องอพยพเข๎ามาหารายได๎ในเมือง ซ่ึงหัวหน๎าครอบครัวมักจะไปรับจ๎าง ทาํ งาน สวํ นแมํบา๎ นทีว่ ํางงาน เดก็ คนชรา คนพกิ ารกเ็ ลอื กท่ีจะออกไปขอทาน เพ่ือหารายไดเ๎ ล้ยี งครอบครัว 2) ปญั หาดา๎ นการศึกษา การขาดความรู๎ ไมมํ วี ฒุ ิการศึกษาทจ่ี ะนาํ ไปใชใ๎ นการสมัครงาน หรือ ประกอบอาชีพ และด๎วยอาชีพรับจ๎างที่ทําอยูํเป็นอาชีพท่ีมีรายได๎น๎อยแตํงานหนัก อีกทั้งยังไมํมีความม่ันคง จงึ เกดิ ความเกียจคร๎านและคิดท่ีจะขอทาน เพราะขอทานเป็นอาชีพท่ีสบาย สามารถหาเงินได๎งําย และไมํต๎อง ลงทนุ ลงแรงอะไร 3) ปัญหาด๎านสภาพรํางกายและจิตใจ ความพิการและผิดปกติทางด๎านรํางกายและจิตใจ ประกอบกับการไมํได๎รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ หรือการชํวยเหลือเยี่ยวยาในการประกอบอาชีพ ขาดทักษะ ในการประกอบอาชีพ ขาดโอกาสในการทํางาน ตลอดจนขาดการดูแลเอาใจใสํจากครอบครัว ทําให๎ต๎อง ออกไปขอทานในเมือง หรือตามสถานทต่ี ํางๆ เพือ่ หารายไดเ๎ ลีย้ งชพี และครอบครวั 4) ปัญหาด๎านการขาดผ๎ูอุปการะเล้ียงดู โดยกลุํมคนพิการ คนชรา และเด็กในครอบครัว ท่ียากจน หรือกลํุมคนที่มีความสัมพันธ๑ในครอบครัวที่ไมํราบรื่น ถูกทอดท้ิง ไมํมีผู๎สํงเสียดูแล หรือได๎รับการ เล้ยี งดูทไี่ มเํ หมาะสม จึงเปน็ สาเหตุให๎ต๎องออกไปขอทานเพ่ือหาเลย้ี งชีพและครอบครวั 5) ปญั หาด๎านคํานิยมของชมุ ชน เน่ืองจากการขอทานเป็นการสร๎างรายได๎ที่ดี สามารถหาเงิน ได๎งําย ไมํต๎องลงทุนลงแรง เพียงแตํต๎องใช๎ความอดทนและการสร๎างความสงสารให๎แกํคนท่ีผํานไปมาเทํานั้น ดงั นน้ั เมือ่ ถึงฤดูแล๎งชาวบ๎านจึงชักชวนกันเดินทางไปขอทานในเมืองเพ่ือหารายได๎ และจะเดินทางกลับถ่ินฐาน ในชวํ งฤดูฝน เพ่อื มาทําไรํ ทํานา หรอื ทาํ การเกษตรเชํนเดิม 6) ปัญหาด๎านอิทธิพลของแก๏งค๑ขอทาน เป็นการพัฒนารูปแบบการขอทานในลักษณะใหมํ คอื มีความเป็นธรุ กจิ มากขึ้น ซ่ึงจะมนี ายหน๎าจัดหารกลุํมคนพิการ คนชรา หรือแมํลูกอํอนที่ดูนําสงสาร เข๎ามา ขอทานในเมือง หรือตามสถานท่ีตํางๆ โดยการวําจ๎าง เชําซ้ือ กลํุมบุคคลเหลําน้ันเพื่อมากระทําการขอทาน ซ่ึงการกระทําดังกลาํ วอาจเข๎าขํายการค๎ามนุษย๑ และอาจถูกดําเนินคดีตามกฎหมาย (กองสวัสดิการสงเคราะห๑ กรมประชาสงเคราะห๑, คนเรรํ อํ นขอทานในทสี่ าธารณะ, 2537) จากบทความประเด็นปัญหาสังคม (เร่ืองปัญหาคนขอทานในสังคมไทย, 2558) ได๎บรรยายถึง สาเหตุของการเปน็ ขอทานเกิดจาก 2 สาเหตุ ได๎แกํ 1) การเป็นผ๎ูยากไร๎ ไมํมีท่ีอยํูอาศัย ไร๎ญาติ และไมํสามารถประกอบอาชีพอ่ืนได๎ จึงต๎องหา เล้ยี งชีพดว๎ ยการขอทาน 2) กระบวนการค๎ามนุษย๑ ซ่ึงกระทําการเป็นธุรกิจเพื่อนําเงินที่ได๎มาจากการขอทานให๎แกํ ผู๎บงการ โดยมีกระบวนการลักพาตัว หรือลํอลวงมาเป็นขอทาน มีการทําร๎ายรํางกายถึงข้ันตัดอวัยวะ เพื่อให๎ เปน็ ทนี่ าํ เวทนาสงสารในสายตาของผู๎คนท่พี บเหน็ นอกจากน้ปี ัจจัยทที่ ําให๎คนมาเป็นขอทานมากข้นึ น้ัน เกิดขนึ้ จากหลากหลายปัจจยั ไดแ๎ กํ 1) ปจั จัยจากลักษณะของงาน การขอทานเป็นงานท่ีเข๎าถึงงําย กระบวนการในการทํางานไมํ ซบั ซ๎อน ไมตํ อ๎ งใชค๎ วามร๎ูความสามรถ หาเงนิ ได๎งําย และใชเ๎ วลานอ๎ ย 7

2) ปจั จยั จากความยากจนและความไมเํ ปน็ ธรรมในการกระจายรายได๎ อันเป็นสาเหตุพื้นฐาน ท่ีสํงผลให๎หลายครอบครัวอพยพมาเผชิญชีวิตในเมืองใหญํ สํงผลให๎ครอบครัวให๎ความสนใจกับเศรษฐกิจและ รายได๎ มากกวําการพัฒนาความสมั พันธใ๑ นครอบครัว เป็นต๎น จากบทความเชิงวชิ าการเร่ืองปัญหาสังคม (เรื่องปัญหาขอทานอาชญากรรมบนความเวทนา, ดวงพร จอมเกตุ, 2556) ได๎บรรยายถึงประเภทของขอทานในสังคมไทย โดยแบํงออกเป็น 2 ประเภท ตามลกั ษณะท่มี าของการเป็นขอทาน ไดแ๎ กํ 1) การเป็นขอทานท่ีไมํมีอะไรเป็นของตัวเองเลย และไมํมีหนทางที่จะทํามาหากินจริงๆ นอกจากอาศัยความเวทนาสงสารของผู๎อื่น จากความพิการทางรํางกายของตนเองเป็นเคร่ืองมือในการหาเงิน เลย้ี งปากเลย้ี งทอ๎ งใหพ๎ ออยไูํ ดไ๎ ปวนั ๆ โดยการเปน็ ขอทานดว๎ ยความสมัครใจ 2) การเป็นขอทานท่ีไมํใชํขอทาน กลําวคือกลํุมคนพวกท่ีใช๎วิธีการต๎มต๐ุนหลอกลวง ผู๎ท่ีมีจิต เมตตาให๎บริจาคทรัพย๑ กลุํมคนพวกนี้อาจมีความสามารถ ไมํใชํคนยากจน เรํรอน หรือยากไร๎แตํอยํางใด แตํกลับคิดวําการขอทานเป็นงานที่สบาย ย่ิงไปน่ังขอทานในยํานเศรษฐกิจ ยิ่งได๎เงินมาก โดยที่ไมํต๎องเสียแรง ทาํ งานแตํอยํางใด ทั้งนี้กลํุมคนขอทานที่เป็นขอทานจริงๆ นั้น บางคนก็มีลักษณะท่ีนําสงสารและนําเห็นใจ เป็นอยํางมาก บา๎ งพกิ าร ขาขาดบา๎ ง แขนขาดบา๎ ง ตาบอดบ๎าง นั่งริมทางเท๎า พนมมือไหว๎ผ๎ูคนท่ีเดินผํานไปมา ใครเห็นใจเมตตาสงสารก็บริจาคกันตามกําลังทุนทรัพย๑ สํวนขอทานกลํุมท่ีไมํใชํขอทานจริงๆ น้ัน จะเป็นพวก อาศัยการฉ๎อฉล ทําให๎ผู๎อ่ืนสงสารและบริจาคทรัพย๑ให๎ กลํุมคนขอทานประเภทน้ีบางทีก็สังเกตได๎งําย เชํน แกล๎งทําเป็นพิการโดยใช๎ผ๎าปิดบังบาดแผล แตํแท๎ท่ีจริงอวัยวะมีครบทุกสํวน บางพวกมีการรวมกันเป็นกลํุม เพ่ือขอทานก็มี ซ่ึงจะกระจายตัวไปตามจุดตํางๆ โดยขบวนการดังกลําวมีการขนสํงขอทานไปตามพ้ืนที่ตํางๆ โดยอาศยั รถยนต๑เป็นยานพาหนะ เม่ือถึงท่หี มายใดก็จะหยํอนขอทานลงไปคนหนึ่ง เมื่อไปเจออีกจุดก็จะหยํอน ลงไปอีกคนหนึ่ง และจะให๎ขอทานแตํละคนทําหน๎าท่ีขอทานตามท่ีได๎รับมอบหมาย เมื่อเสร็จส้ินภารกิจ ประจําวันกจ็ ะมีรถมารบั กลบั ไปรวมกลํุม เพ่ือวางแผนเตรียมการสําหรับวันรํุงข้ึนตํอไป โดยขอทานในประเภท แรกที่กลําวมานั้น แสดงให๎เห็นถึงปัญหาสังคมในด๎านสวัสดิการและเศรษฐกิจที่ต๎องอาศัยความรํวมมือจาก หลายๆ ฝุายเข๎ามาแก๎ไขปัญหาและให๎ความชํวยเหลือแกํพวกเขา แตํขอทานประเภทท่ีสองน้ันเป็นปัญหา ทรี่ ุนแรงมาก จัดเปน็ ปัญหาทางสังคมประเภทหน่งึ ทส่ี ามารถนําไปสูํเหตอุ าชญากรรมได๎ โดยเฉพาะการนําไปสูํ ปัญหาการค๎ามนุษย๑ มีขอทานจํานวนไมํน๎อยที่นําเด็กทารกมาอุ๎มไว๎ในอกและน่ังขอทานอยํูตามสะพานลอย มองดูนําเวทนาสงสาร แตํหากพิจารณาดูให๎ดีเด็กที่อยูํในอ๎อมแขนคนท่ีเรียกตัวเองวําแมํน้ัน หน๎าตาอาจไมํมี ความคล๎ายกันเลยแม๎แตํน๎อย และในขณะเดียวกันก็มีขําวออกมามากมายวํามีเด็กถูกลักพาตัวไปตั้งแตํเด็ก ทารกจนถึงเด็กโต หัวใจของพํอแมํท่ีลูกถูกลักพาตัวไปนั้นแทบแตกสลาย บางคนก็สามารถหาลูกตนเองเจอ ในเวลาไมํนาน บางคนก็ใช๎เวลาเป็นสิบปีกวําจะเจอตัวลูก แตํสภาพของลูกท่ีได๎มาพบน้ันย่ิงทําให๎สะเทือนใจ เพราะบางคนอยูใํ นสภาพขอทานแขนขาขาดต๎องกลายเป็นคนพกิ ารไปแลว๎ แตกํ ็มไี มํน๎อยเลยท่ีปัจจุบันก็ยังตาม หาลกู ตัวเองไมเํ จอ และจากปญั หาตรงนก้ี เ็ ป็นสาเหตุหน่งึ ที่ทําเกิดขอทานเด็กหรือเด็กเรํรํอนในสงั คม ข๎อมูลจากปี 2555 ศูนย๑ข๎อมูลคนหายเพื่อตํอต๎านการค๎ามนุษย๑ มูลนิธิกระจกเงา ได๎ลงพ้ืนท่ี ติดตามขบวนการตํางๆ ท่นี ําเด็กมาขอทาน พบวาํ เดก็ บางรายตอ๎ งออกมาขอทานต้ังแตํ 7 โมงเช๎า จนกระท่ังถึง เวลา 5 ทุํม กวําจะได๎กลับบ๎านพักผํอน ระยะเวลาในการขอทานชํางเนินนานนัก เม่ือเทียบกับคุณภาพชีวิ ต ข๎างถนน ท่ีเด็กไมํสมควรจะได๎รับ ซํ้าร๎ายเด็กเหลํานี้ยังขาดโอกาสทางการศึกษาต้ังแตํเริ่มแรก ดังน้ันเมื่อเด็ก เติบโตขึ้นทางเลือกในการประกอบอาชพี เลี้ยงตวั กล็ ดน๎อยลง ผลักดันให๎เด็กกลุํมน้ีอาจเติบโตในสภาวะของเด็ก เรํรํอนและอาจจะกํอเหตุอาชญากรรมเพ่ือประทังชีวิตในอนาคต ถ๎าหากคนในสังคมเพิกเฉยตํอการแสวงหา 8

ผลประโยชน๑จากเด็ก โดยไมํต้ังคําถามถึงที่มาท่ีไปของเด็กท่ีต๎องมาขอทานเหลําน้ัน หรือสงสัยตํอคุณภาพชีวิต ของเด็กทุกคนท่ีควรจะได๎รับการปกปูองค๎ุมครอง \"ขอทานเด็ก\" ก็คงยังเป็นเครื่องมือที่ขายได๎ และเป็นภาพ ท่ีชินตาของคนในสังคมตํอไป สําหรับคําถามที่วําขอทานเด็กเหลํานี้มาจากที่ไหน คําตอบมีมากมายนัก และ ขอทานเด็กท่ีพบเห็นสํวนใหญํ จะเป็นเด็กตํางด๎าวจากประเทศเพ่ือนบ๎านโดยเฉพาะกัมพูชา พวกเขาถูกซื้อมา จากครอบครัวที่มีฐานะยากจน เส๎นทางในการนําเด็กและขบวนการขอทานเข๎าสูํประเทศไทย ไมํได๎มีความ สลับซับซ๎อนหรือยํุงยากแตํอยํางใด เพราะมีวิธีนําพาเด็กมํุงเข๎าสูํเมืองหลวงของประเทศไทย ได๎หลากหลายวิธี โดยทางรถยนต๑เป็นวิธีการยอดนิยมอีกวิธีการหน่ึงที่ขบวนการค๎าคนจะขนสํงสินค๎ามนุษย๑ เข๎าสํูพื้นท่ีเปูาหมาย ซึ่งหากพิจารณาถึงสภาพการตรวจตราท่ีเข๎มงวดของเจ๎าหน๎าที่ตํารวจและทหาร ในเส๎นทางจากตลาดโรงเกลือถึงจังหวัดปราจีนบุรีแล๎ว ไมํนําเชื่อวําจะมีขบวนการขนคนรอดสายตาไปได๎ แตํยุทธวิธี “กองทัพมด” ท่ีจอดรถเดินเท๎าอ๎อมผํานดํานตรวจ ก็ยังคงเป็นวิธีการที่ถูกนํามาใช๎และใช๎ได๎เสมอ อยํางไมํนําเช่ือเชํนกัน สําหรับทางรถไฟก็เป็นอีกหน่ึงวิธีการที่จะสามารถขนคนเข๎ามายังกรุงเทพมหานคร ได๎อยํางสะดวก ทั้งๆ ท่ีบนขบวนรถไฟมีเจ๎าหน๎าที่รถไฟและตํารวจรถไฟคอยตรวจตราอยํางเข๎มงวด ปัจจุบัน มูลนิธิกระจกเงาได๎ดําเนินโครงการรณรงค๑ยุติธุรกิจเด็กขอทาน ซึ่งเป็นโครงการท่ีแตกยอดมาจากศูนย๑ข๎อมูล คนหายเพื่อตํอตา๎ นการค๎ามนุษย๑ รวํ มกบั เครือขํายภาครฐั อาทิ ศนู ยช๑ วํ ยเหลือสงั คม สายดํวน 1300 กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย๑ สาํ นกั งานตาํ รวจแหํงชาติ เป็นต๎น เน่ืองจากในกระบวนการติดตาม รบั แจ๎งและสบื ค๎นคนหาย พบวําเดก็ ศนู ย๑หายบางสํวนหลุดเข๎าไปอยูํในวงจรธุรกิจขอทาน เด็กเหลําน้ีมีคําเพียง วัสดุอุปกรณ๑สําหรับการดําเนินธุรกิจเลวร๎าย โดยเด็กจะถูกนํามากักขังไว๎รวมกันตามบ๎านเชําในแหลํงเส่ือม โทรมของเมืองเศรษฐกิจ และถกู สงั่ สอนใหร๎ ๎ถู ึงเทคนิควิธกี ารขอทานในรูปแบบตํางๆ และจะถูกนําพาไปน่ังตาม สถานท่ีสาธารณะตํางๆ ที่เป็นแหลํงเศรษฐกิจ แหลํงทํองเที่ยว หรือแหลํงชุมชน ซึ่งจะให๎ขอทานโดยอยูํใน สายตาและการกํากับของผู๎คุมราวกับการใช๎แรงงาน เงินรายได๎จะถูกถํายเทเข๎าสูํแก๏งค๑ธุรกิจขอทาน เด็ กจะ ไมไํ ดร๎ ับอะไรไปมากกวําอาหารเลก็ ๆ น๎อยๆ เพอ่ื ประทังชีวิตในการทํางานขอทานให๎ได๎ในแตํละวัน สาเหตุสํวน หนึง่ ของปัญหาคนขอทานเกิดจากมคี นบางกลมุํ เข๎าไปหาประโยชน๑จากคนพกิ าร ดังน้ันเพื่อเป็นการคุ๎มครองคน พิการไมํให๎ตกเป็นเครื่องมือและเพื่อสร๎างภาพลักษณ๑ที่ดีให๎กับประเทศ รัฐบาลจึงผลักดันกฎหมายการควบคุม การขอทาน โดยมีสาระสําคัญคือกําหนดห๎ามบุคคลใดทําตัวเป็นขอทาน สํวนพฤติกรรมที่ถือวําเป็นขอทาน ตัวอยําง เชํน การขอทาน : การขอทรัพย๑สินของผ๎ูอ่ืนด๎วยวาจา ข๎อความ การกระทําใด เพ่ือให๎ผ๎ูอ่ืนเกิดความ สงสารและมอบทรัพยส๑ ินให๎ การเลนํ ดนตรหี รอื การแสดงความสามารถในท่ีสาธารณะไมํถือวําเป็นขอทาน การ ขอทรัพย๑สินของผ๎ูอื่นด๎วยด๎วยวิธีการใดๆ ก็ตาม หรือทําให๎ผู๎อ่ืนเกิดความสงสารและมอบทรัพย๑สินให๎ โดยไมํมี การตอบแทนด๎วยการทํางาน สํวนการเลํนดนตรีหรือการแสดงความสามารถอื่นใดในที่สาธารณะ โดยขอรับ ทรพั ย๑สินตามแตํผ๎ูชมหรือผ๎ูฟังจะสมัครใจให๎ ไมํถือวําเป็นขอทานแตํต๎องแจ๎งตํอเจ๎าหน๎าที่ในพื้นท่ีกํอน หากฝุา ฝืนมีโทษจําคุก 1 ปี หรือ ปรับ 30,000 บาท และถ๎าเป็นคนท่ีเข๎าไปหาประโยชน๑จากการขอทาน หรือ เป็น เจ๎าหน๎าท่ีรฐั เข๎าไปเก่ียวขอ๎ งจะมโี ทษหนักขน้ึ คือจาํ คุกตัง้ แตํ 3-5 ปี หรอื ปรับ 30,000-50,000 บาท ข๎อมูลจากการลงพื้นที่ดําเนินการจัดระเบียบขอทาน โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ชวํ งเดอื นตุลาคม 2557 ถงึ วันท่ี 6 สิงหาคม 2561 พบวํามคี นขอทานจํานวนทัง้ ส้ิน 5,053 คน แบํงเป็นขอทาน คนไทย จํานวน 3,138 คน และขอทานคนตํางด๎าว จํานวน 1,915 คน สํวนใหญํจะมีสัญชาติกัมพูชา จํานวน 1,628 คน สญั ชาติพมํา จํานวน 141 คน และสัญชาติลาว จํานวน 9 คน สําหรับขอทานคนไทยสํวนใหญํจะมี ภูมิลําเนาอยูํท่ีกรุงเทพมหานคร ขอนแกํน และสุรินทร๑ ซึ่งพ้ืนที่ที่พบวํามีจํานวนขอทานมากท่ีสุด ได๎แกํ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และชลบุรี ตามลําดับ โดยคนเหลําน้ีจะเข๎ามาขอทานตามแหลํงทํองเที่ยว สําคัญ ห๎างสรรพสินค๎า ตลาดนัด สถานที่สาธารณะตํางๆ ซ่ึงสาเหตุท่ีเข๎ามาขอทานสํวนใหญํเกิดจากปัญหา 9

ความยากจน ครอบครัวแตกแยก และเป็นกลุํมขอทานอาชีพ โดยการดําเนินการในเบ้ืองต๎นเจ๎าหน๎าที่ จะดําเนินการสํงกลับคืนสํูครอบครัว ถ๎าไมํมีญาติก็จะนําสํงสถานค๎ุมครองคนไร๎ที่พ่ึง และบ๎านพักเด็กและ ครอบครัว โดยจะดูแลไมํใหม๎ าขอทานซ้ําอกี สวํ นท่เี ป็นขอทานตํางด๎าวก็ผลกั ดันกลบั ประเทศ ข๎อมูลจากสํานักขําวไทย ออกอากาศเม่ือวันที่ 16 มีนาคม 2560 พบวําปัญหาการขอทาน เป็นปัญหาเร้ือรัง ซ่ึงท่ีผํานมาประเทศไทยพยายามแก๎ไข และหวังวําจะสามารถลดจํานวนขอทานลงได๎ ในอนาคต รวมท้ังเพ่ือปูองกันเรื่องค๎ามนุษย๑ที่เข๎ามาเก่ียวข๎อง ซ่ึงประเทศไทยมีกฎหมายควบคุมการขอทาน มาตงั้ แตปํ ี 2484 และลําสุดมีการออก พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 เพื่อเพิ่มโทษหนักแกํผ๎ูท่ีขอทาน และทาํ ให๎เจ๎าหน๎าท่ีแยกแยะกลํุมผ๎ูแสดงความสามารถแลกกับเงิน ซ่ึงไมํใชํขอทานได๎งํายข้ึน กรณีตัวอยํางเชํน ลุงจรอน ชาวจังหวัดสุรินทร๑ วัย 65 ปี ท่ีมักจะมาน่ังสีซอบรรเลงเพลงประจําอยํางลาวดวงเดือน และค๎างคาว กินกล๎วยอยูํในซอยยํานรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร มานานนับเดือน ลุงเลําวําตนเองทํานาเป็นอาชีพหลัก เม่ือหมดฤดูทํานาก็จะเข๎ามาเลํนดนตรีแสดงความสามารถข๎างถนนในกรุงเทพฯ โดยเลือกแหลํงที่มีผ๎ูคน พลกุ พลาํ น เฉลย่ี รายได๎วนั ละประมาณ 1,000 บาท หมูํบา๎ นเดียวกนั มีเข๎ามาเลํนดนตรีแลกเงินแบบลุง 3-4 คน แตํคนท่ีเข๎ามาเพื่อขอทานอยํางเดียวก็มีอีกหลายคนเชํนเดียวกัน ซ่ึงตํางจากกรณีของนายพรเทพ ที่เขาเรียก ตัวเองวําเป็นคนพิการร๎องเพลงอาชีพ เขาร๎องเพลงข๎างถนนเพื่อแลกเงินหาเลี้ยงชีพมาตั้งแตํอายุ 18 ปี ระยะ ต้ังแตํ 10.00 น. - 15.00 น. ทุกวัน เคยได๎เงินสูงสุดถึงวันละ 3,000 บาท โดยเฉลี่ยรายได๎วันละกวํา 1,000 บาท เขาเหน็ วําการร๎องเพลงเป็นความสามารถทีช่ วํ ยสร๎างความรื่นเริงให๎กับผู๎ทผี่ าํ นไปมา อยากให๎สังคมมองวํา เขาใชค๎ วามสามารถแลกกับเงนิ ทุกบาททไ่ี ดร๎ บั และไมเํ หมารวมวาํ เป็นขอทาน ข๎อมูลจากโพสต๑ทูเดย๑ รายงานพิเศษ เจาะลึกอาชีพขอทาน งานงําย รายได๎งาม เผยแพรํ เมื่อวันท่ี 10 กรกฎาคม 2557 โดย อินทรชัย พาณิชกุล กลําวถึงขอทานวําแม๎จะเป็นอาชีพที่ผิดกฎหมาย ไมไํ ด๎รับการยอมรบั จากสงั คม แตดํ ูเหมอื นวาํ ยงั ไมมํ ีแนวทางทจ่ี ะสามารถจดั การปัญหาได๎อยํางจริงจัง มิหนําซ้ํา ยงั เพมิ่ จาํ นวนข้ึนเร่อื ย ด๎านนายวธิ นะพัฒน๑ รัตนาวลีพงษ๑ หัวหน๎าโครงการรณรงค๑ยุติธุรกิจเด็กขอทาน มูลนิธิ กระจกเงา ยอมรับวําขบวนการขอทานในประเทศไทยทุกวันน้ีมีความซับซ๎อนและหลากหลายมาก โดยได๎ แบงํ กลํุมขอทานออกเป็น 6 กลุํม ดังนี้ 1) กลุํมขอทานจากประเทศกมั พูชา ซงึ่ มีมากถึง 90% ของขอทานท้ังหมด สํวนใหญํอพยพมา เปน็ ครอบครัว ท้ังผู๎เฒําผ๎ูแกํ วัยทํางาน จนถึงวัยเด็กเล็ก “มีตั้งแตํคนแกํท้ังชายหญิง แมํอ๎ุมลูกน๎อยวัยแรกเกิด รวมถึงเด็กๆ ท่ีนั่งพนมมือขอเงินตามสะพานลอย สวนสาธารณะ ห๎าสรรพสินค๎า ปูายรถโดยสารประจําทาง ตลอดจนตามทอ๎ งถนน เม่อื เห็นวาํ รายไดด๎ ี ตํารวจไมํจับ จึงชักชวนคนอ่นื ๆ มาทาํ บ๎าง” 2) กลํุมเด็กขายดอกไม๎จากพมํา สังเกตงํายๆ วําเป็นเด็กหน๎าตาคล๎ายแขกมุสลิม เดินเรํขาย ดอกไม๎ตามร๎านอาหาร ร๎านเหล๎าตอนกลางคืน กลํุมน้ีสํวนใหญํมากจากชายแดนตะวันตก อําเภอแมํสอด จังหวัดตาก “โดยเฉพาะชุมชนอิสลามบํารุง อําเภอแมํสอด จังหวัดตาก พบวํามีคนที่เข๎ามาประกอบอาชีพ ขอทานเป็นจํานวนมาก นอกจากน้ียังพบเด็กถูกขายและให๎เชําเพื่อมาเป็นขอทาน โดยนายหน๎าจะเสนอขอเชํา เด็กคนหนึ่ง ภายใต๎ระยะเวลา 6 เดือน และให๎คําใช๎จํายแกํพํอแมํเด็กในราคา 1,500-3,000 บาทตํอเดือน แตํปรากฏวํามีหลายครอบครัวได๎เงินไมํครบบ๎าง เด็กไมํได๎ติดตํอกลับมาทางบ๎านบ๎าง จนพอครบ 6 เดือน เดก็ ก็ไมํได๎กลับบ๎านและสญู หายไปเลยก็มี” 3) กลุํมขอทานเด็กไทย กลํุมน้ีจะใสํชุดเคร่ืองแบบนักเรียน และถือกลํองรับบริจาคเขียน ขอ๎ ความวํา “คําศึกษาเลําเรียน” บางรายเรํขายขนม ลูกอม ปากกา ในราคาท่ีสูงเกินกวําท๎องตลาด แตํท่ีนิยม กันมากคือการเปาุ แคน ทงั้ ทบ่ี างคนเปุาไมํเปน็ เพลงเลยด๎วยซ้ํา เพอ่ื เป็นการหลกี เลยี่ งเจา๎ หน๎าท่ี 10

4) กลุํมผู๎สูงอายุ หรือผู๎พิการ จากข๎อมูลของมูลนิธิกระจกเงา ระบุวําสํวนใหญํขอทานกลํุมนี้ จะมาจากภาคอีสาน หลายคนเป็นชาวนา ชาวไรํ เม่ือหมดฤดูกาลทําไรํทํานา ก็จะเดินทางเข๎ามายัง กรงุ เทพมหานคร เพือ่ ทําการขอทาน เนือ่ งจากรายได๎ดี และเชื่อวําไมํผิดกฎหมาย พ้ืนท่ีท่ีได๎ชื่อวํามีขอทานมาก ท่ีสดุ คือ ตาํ บลกระโพ อําเภอทําตมู จังหวดั สรุ นิ ทร๑ 5) กลมํุ มจิ ฉาชีพ มีท้ังคนไทยละคนตํางด๎าว กลุํมนี้มีทั้งขบวนการค๎ามนุษย๑ท่ีมีการใช๎แรงงาน เดก็ มาน่ังขอทาน ทั้งแกลง๎ พิการ หรอื แตงํ กายเปน็ พระภกิ ษุ แมชํ ี เจา๎ หนา๎ ท่มี ลู นธิ ิตาํ งๆ 6) กลุํมวณิพก กลุํมนี้บางคนมีบัตรผ๎ูพิการจริง มีฝีไม๎ลายมือ มีความสามารถในด๎าน ดนตรี ตรวจสอบได๎งํายกวํากลํุมอ่ืนๆ \"โดยเด็กจะหาเงินได๎มากกวําผ๎ูใหญํ เพราะคนให๎จะร๎ูสึกสงสาร นําเอ็นดู ทําให๎เด๋ียวน้ีวิธีการขอทานมีพัฒนาการในรูปแบบใหมํๆ เชํน ใสํชุดนักเรียนเปุาแคน ลงทุนในสินค๎าต๎นทุนต่ํา เชนํ ลกู อม ทิชชูํ พวงกุญแจ ปากกา ดอกไม๎ หรือกลํองรับบริจาค วางตัวให๎ดูนํารักนําเอ็นดู ซ่ึงคนสํวนมากจะ ให๎เงนิ เพราะเชอื่ วําทําบุญให๎เด็กไดไ๎ ปเรียนหนังสอื หรอื เพอื่ ไปชวํ ยเหลือพํอแม”ํ แนํนอนวําทําเลทองยํานทําเงินของเหลําบรรดาผ๎ูประกอบอาชีพขอทาน หนีไมํพ๎นสถานที่ ทม่ี ีคนพลุกพลําน โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมักจะปักหลักหากินตามหน๎าห๎างสรรพสินค๎า ขนาดใหญํ สถานีรถไฟฟูาบีทีเอสและรถไฟฟูาใต๎ดินเอ็มอาร๑ที สถานท่ีทํองเท่ียวสําคัญ และตลาดนัด สํวนในตํางจงั หวดั มกั จะกระจายไปตามหวั เมอื งใหญํๆ ตวั อยาํ งเชํน ภาคเหนือ จังหวดั เชียงใหมํ อําเภอแมํสอด จังหวัดเชียงราย ภาคอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดขอนแกํน จังหวัดนครราชสีมา ภาคตะวันออก ตลาดโรงเกลือ อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก๎ว สถานท่ีทํองเท่ียวตากอากาศ อาทิ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ๑ และภาคใต๎ อําเภอหาดใหญํ จังหวัดสงขลา เปน็ ตน๎ (ข๎อมูลจาก : https://www.posttoday.com/politic/report/305765/ เขา๎ ใช๎เมอ่ื วนั ที่ 19/04/61) ท้ังนี้ กลํุมคนปกติ หรือกลุํมผู๎พิการ ที่ใช๎ความสามารถในรูปแบบตํางๆ เชํน การร๎องเพลง การเลนํ ดนตรี การแสดงเพื่อแลกกับเงินหรือส่งิ ของจัดอยํูในกลํุมผู๎แสดงความสามารถ ไมใํ ชํขอทานตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ซึ่งกําหนดให๎คนกลํุมนี้มาข้ึนทะเบียนผ๎ูท่ีแสดงความสามารถ ได๎ท่ีกรมพัฒนา สังคมและสวัสดิการ หรือท่ีสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ในแตํละจังหวัด เพ่ือนําบัตรผ๎ู แสดงความสามารถไปประกอบอาชีพและแสดงตํอเจ๎าหน๎าท่ี หากถูกเรียกตรวจในอนาคต และมีการกําหนด พื้นท่ีการแสดงเป็นการเฉพาะด๎วย เพื่อเป็นการควบคุมและจัดระเบียบกลุํมผ๎ูแสดงความสามารถในรูปแบบ ตํางๆ โดยแยกออกจากคนขอทาน ซึ่งใน พ.ร.บ. ฉบับน้ียังเพิ่มบทลงโทษแกํขอทานหนักข้ึน มีโทษปรับสูงถึง 10,000 บาท และจําคุกไมํเกิน 1 เดือน หรือทั้งจําท้ังปรับ เพราะการขอทานเป็นการกระทําที่ผิดกฎหมาย และมีการปลํอยปละละเลยมานาน จนระยะหลังทําให๎มีหลายคนมองวําเป็นวิธีท่ีได๎เงินมางําย โดยไมํต๎อง ทํางาน หรืออาจมีความเก่ียวข๎องกับขบวนการค๎ามนุษย๑ (ข๎อมูลจาก : https://สภากาแฟ.net/threads/ รฐั บาลกับปญั หาขอทานและคนจรจัด.4082/ เข๎าใชเ๎ มื่อวนั ท่ี 26/01/61) 2. แนวคิดการจดั การปัญหาคนขอทาน ปัญหาขอทานเป็นปัญหาท่ีแก๎ไมํตกเสียที ไมํวําจะผํานมากี่ยุคสมัยก็ตาม อาจเป็นเพราะ เมอื งไทยเปน็ เมอื งพุทธ คนไทยท่ใี จบุญนิยมทาํ บุญมีอยมูํ าก และดว๎ ยรปู แบบขอทานทท่ี าํ ตัวในดูนําสงสาร หรือ การนําเดก็ ๆ มาขอทานด๎วยนั้น ทําใหผ๎ ๎ูที่พบเห็นสงสารและยอมท่ีจะให๎เงินแกํขอทานเหลํานั้น ซึ่งการกระทํานี้ เปน็ การสงํ เสริมใหพ๎ วกเขายังคงเป็นขอทานตํอไป โดยเฉพาะขบวนการค๎ามนุษย๑ก็จะอาศัยความใจบุญของเรา เปน็ เครอื่ งมอื ในการทํางานตอํ ไปด๎วยเชนํ กัน แตํนอกจากความใจบุญแลว๎ ปจั จยั ตาํ งๆ ท่ีสํงเสริมให๎คนเลือกท่ีจะ เป็นขอทานได๎อีก ไมํวําจะเป็นปัจจัยทางด๎านสภาพครอบครัว เศรษฐกิจ และโอกาสทางสังคมก็เป็นสํวนที่ 11

ผลักดันให๎คนที่ด๎อยโอกาสเหลํานี้เลือกเดินในเส๎นทางขอทาน การแก๎ปัญหาของภาครัฐโดยการข้ึนทะเบียน ขอทาน (บัตรผ๎ูแสดงความสามารถ) นั้นอาจจะเป็นการตีตรามนุษย๑จนเกินไป หากแตํการแก๎ปัญหาที่แท๎จริง คือ การให๎ความชํวยเหลือพวกเขาให๎สามารถดํารงชีพด๎วยความสามารถของตนเอง มากกวําการมาขอทาน จากผ๎ูอื่นเพียงอยําง และสําหรับปัญหาการค๎ามนุษย๑ท่ีมาเชื่อมโยงกันนี้ การเพ่ิมความเข๎มงวดกับกฎหมาย ให๎มากขน้ึ ดูจะเปน็ วธิ แี ก๎ท่งี ํายทส่ี ดุ ข๎อมูลจากผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ถอดบทเรียนการจัดระเบียบคนขอทาน” โดย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ กํอให๎เกิดเป็นแนวคิด การจัดการปัญหาคนขอทานให๎เลิกขอทาน ด๎วยเหตุที่คนขอทานเป็นผ๎ูด๎อยโอกาส พิการ ชรา เจ็บปุวย ขาดการศึกษา ฯลฯ จึงต๎องหันมาประกอบอาชีพขอทาน ดังนั้นภาครัฐจึงควรสํงเสริมสร๎างสมรรถภาพของคน ขอทาน ทั้งทางด๎านรํางกาย อารมณ๑ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจให๎สูงขึ้น จนสามารถที่จะประกอบอาชีพ เล้ียงตนเองได๎ ไมํเป็นภาระตอํ สังคมและผู๎อื่น ตลอดจนสามารถดํารงชีพอยํูในสังคมได๎อยํางมีความสุขด๎วยการ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพท้ัง 4 ด๎าน ไดแ๎ กํ 1) การฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการแพทย๑ มํุงเน๎นให๎การบําบัดรักษา และฟื้นฟู สมรรถภาพของคนพิการ เชนํ การจดั หากายอุปกรณ๑ 2) การฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการศึกษา การให๎การศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถ บคุ ลกิ ภาพ และเพ่ือสร๎างเสริมลักษณะนิสยั ท่ีถกู ตอ๎ ง ด๎วยวิธกี ารจดั การศกึ ษาพิเศษ 3) การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม การแก๎ไขปัญหาทางอารมณ๑และจิตใจ โดยการ ปรับปรงุ ตนเองใหเ๎ ขา๎ กับสิ่งแวดลอ๎ ม 4) การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ การให๎บริการด๎านการฝึกอาชีพตามความ เหมาะสมกับสภาพรํางกายและความสามารถทมี่ ีอยูํ เพ่อื ชํวยให๎สามารถประกอบอาชีพเล้ยี งตนเองได๎ การดาํ รงชีวิตในสังคมอยํางปกติสุข โดย Suman Fernando (1992, pp. 30-33) ได๎อธิบาย แนวคิด Normalization วาํ เป็นการที่สังคมต๎องยอมรับความสามารถ ความบกพร๎องของแตํละบุคคลในฐานะ ท่ีเขาเป็นมนุษย๑ปุถุชนคนหน่ึง ท่ีมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย๑ที่เทําเทียมกันกับบุคคลอ่ืน และพยายามที่จะ ทําให๎เขาเหลําน้ันสามารถใช๎ชีวิตอยํูในสังคมได๎อยํางปกติสุข โดยแนวทางปฏิบัติตามแนวคิด Normalization จะต๎องมีการเปล่ียนแปลง การตีคําบทบาททางสังคม การให๎การยอมรับในความหลากหลายของคํานิยม เพื่อให๎บุคคลเหลํานั้นเกิดความร๎ูสึกเป็นพวกเดียวกันกับบุคคลอื่นๆ ในสังคม การรณรงค๑ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ทางสังคม เพื่อให๎เกิดการยอมรับและให๎โอกาสกลุํมบุคคลเหลํานี้ ซึ่งทฤษฏีการปรับตัวของ นิภา นิธยายน (2523, น.27-28) ได๎อธิบายถึงแบบแผนในการปรับตัวของแตํละบุคคลวํามีความแตกตํางกัน โดยแบํงการ ปรับตวั ของมนษุ ย๑ใหเ๎ ขา๎ กบั สภาพแวดลอ๎ มของสงั คม สามารถแบํงออกได๎เป็น 5 ลกั ษณะ ไดแ๎ กํ 1) การปรับตัวโดยการปฏิบัติตาม เป็นการปรับตัวท่ีมีจุดมุํงหมายเพ่ือให๎ได๎รับการ ยอมรับจากสังคม และสามารถดํารงชีวิตอยํูได๎ในสังคมนั้น โดยบุคคลที่ปรับตัวในลักษณะนี้เชื่อวํา ระเบียบ แบบแผนและกฎเกณฑ๑ทางสงั คมท่ีเปน็ อยูํมีความถูกต๎องเหมาะสมแล๎ว 2) การปรับตัวแบบแหวกแนว เพื่อให๎ได๎มาซ่ึงจุดประสงค๑ที่ตนเองน้ันต๎องการ โดยไมํคาํ นึงถงึ วิธกี ารวํา จะถกู ตอ๎ งตามระเบียบแบบแผนหรอื เปน็ ที่ยอมรบั หรือไมํในสงั คม 3) การปรับตัวโดยการยึดพิธีการดั้งเดิม ซ่ึงบางคร้ังอาจกํอให๎เกิดปัญหาในเรื่องของ ความลําช๎า ในการทํางาน เน่ืองจากขาดการยืดหยํุน และอาจทําให๎บุคคลท่ีปรับตัวในลักษณะนี้ร๎ูสึกอึดอัดใจ เม่อื สภาพสังคมเปล่ียนแปลงไป แตบํ คุ คลยังคงเครํงครดั ในแบบแผนดงั้ เดิมบางประการ 12

4) การปรับตัวโดยการหนีโลก เป็นการปรับตัวของบุคคลที่ยอมแพ๎หรือท๎อถอย ตํอสิง่ แวดลอ๎ ม และพยายามหลบหนจี ากสภาพแวดลอ๎ มท่ีตนเผชิญไปหาสง่ิ แวดลอ๎ มใหมๆํ 5) การปรับตัวโดยการขัดขืนหรือตํอต๎านความต๎องการของสังคม โดยสามารถ แบงํ ออกเป็น 2 ประเภทใหญๆํ คอื การปรับตัวในทางบวก คอื ปรบั ตัวเขา๎ หาส่งิ แวดลอ๎ ม ซ่ึงไมํกํอให๎เกิดปัญหา ทางสังคมและการปรับตัวในทางลบ คือ ปรับตัวออกจากกฎเกณฑ๑ทางสังคมท่ีเป็นอยูํ ซ่ึงอาจทําให๎เกิดปัญหา ทางสังคมตามมา ข๎อมูลจากผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ถอดบทเรียนการจัดระเบียบคนขอทาน” โดย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ ท่ีเก่ียวข๎องกับแนวคิด การจดั การเพ่ือแก๎ไขและปอู งกันปญั หาขอทาน และปัจจัยความเสยี่ งทมี่ ีสวํ นผลักดนั ให๎คนต๎องมาขอทาน ดังน้ี แนวคดิ การจดั การปูองกนั ปญั หาคนขอทาน มีดังตํอไปนี้ 1) การฝึกอาชีพ เพ่ือพัฒนาฝีมือแรงงานให๎มีประสิทธิภาพตามความต๎องการของ ตลาดแรงงาน เปน็ การสรา๎ งความร๎ู ทกั ษะในการประกอบอาชีพ เพือ่ สร๎างรายไดแ๎ ละสามารถพึ่งตนเองได๎ 2) การจัดหางาน ชํวยให๎ผ๎ูวํางงานมีงานทํามากข้ึน ปูองกันการหันไปทําอาชีพ ขอทาน 3) การสังคมสงเคราะห๑ในด๎านตํางๆ เพ่ือสงเคราะห๑แกํผ๎ูประสบปัญหาทางสังคม ในทุกกลมุํ เปูาหมาย เพือ่ การชํวยเหลอื เยี่ยวยาเบ้ืองตน๎ ใหพ๎ น๎ ปญั หาวิกฤตและไมหํ นั ไปประกอบอาชีพขอทาน 4) การประกันสุขภาพและสังคม เพื่อสร๎างหลักประกันความมั่นคงในการดํารงชีวิต และความเทําเทียมกนั ทางสงั คม 5) การรณรงคป๑ ระชาสัมพันธ๑ผํานส่ือตํางๆ เพ่ือสร๎างความรู๎ความเข๎าใจและทัศนคติ ท่ีเหมาะสมวําการให๎เงินขอทานไมํใชํการชํวยเหลือท่ีแท๎จริง ในทางตรงกันข๎ามยิ่งเป็นการสนับสนุนให๎มี คนขอทานเพ่ิมมากขน้ึ และการขอทานเป็นพฤตกิ รรมทีผ่ ิดกฎหมาย ไมํควรสนับสนุนคนขอทานด๎วยการให๎เงิน เป็นตน๎ 6) การสํงเสริมการศึกษา ด๎วยพัฒนาการศึกษาอยํางทั่วถึง สนับสนุนให๎ประชาชน ในชนบทและพ้ืนที่หํางไกลได๎รับการศึกษาที่มากขึ้น เพ่ือพัฒนาคุณภาพในการใช๎ชีวิตและการประกอบอาชีพ ทดี่ ีขึน้ ไมํหันมาประกอบอาชีพขอทาน แนวคิดการจดั การแก๎ไขปญั หาคนขอทาน มดี ังตอํ ไปน้ี 1) การลงโทษปราบปรามการค๎าคนขอทาน (ค๎ามนุษย๑) หรือการแสวงหา ผลประโยชน๑จากคนขอทาน 2) การปราบปรามคนขอทาน เพ่ือควบคุมคนขอทานท่ีถูกสํงเข๎าไปยังสถาน สงเคราะห๑ ใหไ๎ ดร๎ ับการพฒั นาศักยภาพภาพเพือ่ ใหม๎ ีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ขี ึน้ 3) การปรับสภาพคนขอทาน เป็นการมํุงเน๎นไปยงั บคุ คลทเ่ี คยมีอาชีพขอทานมากํอน ให๎ได๎มีโอกาสกลับตัวกลับใจ ด๎วยการฟื้นฟูสมรรถภาพจากสถานสงเคราะห๑ เพ่ือสํงเสริมอาชีพและสามารถ พึ่งตนเองได๎ ปัจจัยความเสย่ี งท่ีมสี วํ นผลักดนั ใหค๎ นต๎องมาขอทาน 1) ปัจจัยจากสภาพส่ิงแวดล๎อม การชักนําของกลํุมเพื่อนหรือกระบวนการขอทาน และสภาวะแวดล๎อมรอบบ๎าน โดยเฉพาะยาเสพติด เกมส๑ และการพนัน เป็นปัจจัยดึงดูดสําคัญที่ทําให๎บุคคล เข๎าสํูอาชีพขอทาน รวมถึงการรวมกลุํมเพ่ือให๎ได๎รับการยอมรับ การมีชีวิตใหมํท่ีตื่นเต๎น และรู๎สึกวําตนเอง 13

มพี นื้ ทท่ี างสังคม นอกจากนีส้ ภาวะแวดล๎อมรอบๆ ชุมชนท่ีอาจจะมีบุคคลท่ีเป็นขอทาน ทําให๎เกิดความคุ๎นเคย กบั งานขอทานและคิดวาํ ไมนํ าํ รงั เกยี จ 2) ปัจจัยจากลักษณะของงาน โดยการขอทานเป็นงานท่ีเข๎าถึงงํายกระบวนการ ในการทํางานไมํซบั ซ๎อน ไมํต๎องใช๎ความร๎ู ได๎เงนิ งาํ ย ใช๎เวลาน๎อย เป็นปจั จัยสาํ คญั ในการดึงดูดให๎คนมาขอทาน เป็นจํานวนมาก 3) ปัจจัยจากความยากจนและความไมํเป็นธรรมในการกระจายรายได๎ เป็นสาเหตุ พ้ืนฐานที่สํงผลให๎หลายครอบครัวอพยพมาเผชิญชีวิตในเมืองใหญํ สํงผลให๎ครอบครัวให๎ความสนใจกับการ หารายได๎และการกระจายรายได๎ มากกวําการพัฒนาความสัมพันธ๑ในครอบครัว นอกจากน้ีความยากจนทําให๎ บุคคลกลายเป็นผ๎ูที่ด๎อยโอกาสทางสังคมหลายอยําง เชํน การขาดโอกาสในการศึกษา และการขาดโอกาส ในการประกอบอาชพี งานขอทานจงึ กลายเป็นทางเลือกหนึ่งของบุคคลที่ด๎อยโอกาสทางสังคม (ผลการประชุม เชิงปฏิบตั กิ าร “ถอดบทเรยี นการจัดระเบียบคนขอทาน”, 2558) ดังนั้น การทําบุญกับขอทานข๎างถนนเป็นการทําบุญหรือเป็นการชํวยคนชั่วทําบาป เพราะ ขอทานที่เราพบเห็นไมํไดม๎ ชี ีวติ ท่ีลาํ บากมากมายเทาํ ไหรํ บางคนแคํขอทาหลอกลวง ขายความสงสาร แกล๎งทํา เป็นพิการ แกล๎งแขนด๎วน เพื่อเรียกความนําเวทนาสงสารจากคนท่ีเดินผํานไปผํานมา หรือขอทานบางคน ก็อาจจะโดนลํอลวงลักพาตัวจากครอบครัวมาเพ่ือค๎ามนุษย๑ โดยการนํามาตัดแขน ตัดขา แล๎วบังคับให๎มานั่ง ขอทานก็เป็นได๎ สังคมสมัยน้ีเต็มไปด๎วยมิจฉาชีพในรูปแบบตํางๆ จึงต๎องใช๎ชีวิตอยํางมีสติ คิดวิเคราะห๑ กํอนที่ จะตดั สนิ ใจ ดงั น้ันกอํ นท่ีจะทําบุญต๎องแนํใจวําการทําบุญน้ัน จะได๎บุญได๎ส่ิงดีๆ ตอบแทนไปอยํางท่ีเราต้ังใจไว๎ หลักคําสอนของศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่มีเหตุมีผล การจะทําบุญก็ต๎องมีเหตุมีผลด๎วย ถึงจะเรียกได๎วํา การทาํ บญุ ทแี่ ทจ๎ รงิ (คาํ บรรยายประกอบ “ให๎เงินขอทาน ได๎บุญหรือบาป”, ฐ. จิตฺตกาโร channel : เผยแพรํ เมอื่ วันที่ 25 เม.ย. 2559 โดย Mungkorn TV) จากแนวคิดการจัดการปัญหาขอทานท่ีได๎กลําวมาข๎างต๎น ถือได๎วําปัญหาขอทานเป็นปัญหา ท่ีสําคัญของสังคมไทย ซึ่งสํงผลทางลบตํอภาพลักษณ๑และปัญหาด๎านสังคมของประเทศอยํางมาก และมีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นทุกปี สาเหตเุ กิดจากโครงสร๎างทางสังคมและการพัฒนาประเทศที่ยังเหลื่อมล้ํา ตลอดจน ความไมํเทําเทียมกันในสังคมไทย รวมถึงประชาชนบางสํวนยังไมํสามารถเข๎าถึงสวัสดิการของภาครัฐ ได๎อยํางทั่วถึง หรือได๎รับสวัสดิการท่ีไมํเพียงพอตํอการดํารงชีวิตในปัจจุบัน จึงเป็นเหตุให๎ไมํสามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตหรือยกระดับฐานะครอบครัวได๎ เน่ืองจากขอทานเกิดจากปัญหาความยากจนและปัญหา ครอบครัวทําให๎ต๎องกลายมาเป็นขอทาน เพ่ือความอยํูรอดในการดําเนินชีวิตในสังคมและเป็นชํองวําง ให๎กลุํมมิจฉาชีพดําเนินการได๎งําย เนื่องจากคนไทยบางสํวนยังมีคํานิยมในการให๎เงินกับขอทาน หรือมีบุคคล บางกลํุมใช๎คนขอทานเป็นเครื่องมือแสวงหาประโยชน๑โดยมิชอบด๎วยกฎหมาย สํงผลกระทบและเกิดความ เสียหายท้ังด๎านสังคมและด๎านเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากน้ียังมีปัญหาคนตํางชาติท่ีหลบหนีเข๎าเมือง โดยผิดกฎหมายเพื่อมาขอทานในประเทศไทยเป็นจํานวนมาก ประเด็นสําคัญในปัจจุบันคือปัญหาการชักนํา จ๎าง วาน ลักพา หรือลํอลวงมาเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการขอทาน ซึ่งเป็นประเด็นท่ีต๎องได๎รับการแก๎ไขเยียวยา จากสังคมอยํางเรํงดํวน ดังนั้นรัฐบาลและทุกภาคสํวนต๎องให๎ความสําคัญกับปัญหาดังกลําว ซึ่งมีความ สลับซับซ๎อนและหลากหลาย ส่ิงสําคัญคือจะทําอยํางไรให๎คนในสังคมได๎ตระหนักและรํวมมือกันแก๎ไข และปอู งกนั ปญั หาขอทานอยาํ งแท๎จริง เพราะในขณะที่ประเทศไทยก๎าวเข๎าสูํประชาคมอาเซียนแล๎ว แตํปัญหา ขอทานยังจะมีแนวโน๎มเพิ่มข้ึนและยากตํอการแก๎ไข เนื่องจากจะมีการไหลเวียนของประชากรจากประเทศ เพ่ือนบ๎านเข๎าสํูประเทศไทย ทําให๎การแก๎ไขและปูองกันปัญหาขอทานของรัฐบาล จําเป็นต๎องมีการกําหนด 14

นโยบายที่ชัดเจน มีมาตรการที่รัดกุม และมีแนวทางปูองกันที่เหมาะสม เพ่ือให๎สามารถแก๎ไขปัญหาขอทาน ในประเทศไทยได๎อยํางเป็นรปู ธรรม 3. กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งสาหรบั การแกไ้ ขปญั หาขอทานในประเทศไทย (อดีต-ปจั จุบัน) 3.1 พระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2484 โดยอ๎างอิงข๎อมูลจากวิทยานิพนธ๑ เรื่อง ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการบังคับใช๎ พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 โดย จิรวรรณ ทองพายัพ (2558) หลักสูตรนิติศาสตร๑ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ ดังน้ี 3.1.1 ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการบังคับใช๎พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 1) ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับใช๎พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 พบวํา มาตรา 6 ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีเนื้อหาของกฎหมายล๎าสมัย เนื่องจากไมํทัน ตํอเหตุการณ๑ ไมํเข๎ากับสภาพสังคมปัจจุบัน ไมํสามารถบังคับใช๎ได๎ตามวัตถุประสงค๑จริงๆ และยังไปกระทบ ตอํ บุคคลอนื่ ด๎วย โดยเนื้อหาของกฎหมายดังกลําว มีวัตถุประสงค๑เพื่อควบคุมขอทานให๎ลดน๎อยลงหรือหมดไป ซ่ึงตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 นั้น มีการกําหนดนิยามความหมายของขอทาน ไว๎เป็นการทั่วไป ทําให๎เกิดความสับสนในการบังคับใช๎ ซึ่งในปัจจุบันกระบวนการขอทานในประเทศไทย มีหลายรูปแบบที่แตกตํางกันออกไป เชํน เด็กท่ีทําการขายของเล็กๆ น๎อยๆ ตามที่สาธารณะตํางๆ ในโรงภาพยนตร๑ ทางสาธารณะ สวนสาธารณะ ร๎านอาหาร โดยกระทําการขายของเพ่ือแลกเปลี่ยนกับ ทรัพย๑สินท่ีเป็นตัวเงินจากผ๎ูสัญจรไปมา การเช็ดกระจกรถยนต๑ตามท๎องถนน ขณะรถยนต๑ของประชาชน ที่สัญจรไปมาติดสัญญาณจราจรตามส่ีแยก โดยเจ๎าของรถยนต๑นั้นไมํเต็มใจให๎เช็ดกระจกรถยนต๑ เพราะกลัว เกิดความเสียหายแกํทรัพย๑สิน หรือเต็มใจให๎เช็ดกระจกรถยนต๑เพราะเกิดจากความสงสาร ซ่ึงบุคคล ท่ีเช็ดกระจกดังกลําวอาจเป็นเด็ก ผู๎หญิง ผ๎ูชาย หรือวัยรํุน เมื่อเช็ดเสร็จเจ๎าของรถยนต๑ก็ต๎องจํายทรัพย๑สิน ที่เป็นตัวเงินให๎บุคคลนั้นไปเป็นการตอบแทน และประชาชนท่ัวไปท่ีมีการกระทําที่ใกล๎เคียงการขอทาน เชํน นักศึกษาท่ีตั้งกลํองเร่ียไรบริจาคเพ่ือทํากิจกรรมคํายอาสา การเลํนดนตรีเปิดหมวก รวมไปถึงการเลํนดนตรี ตามงานเทศกาลตํางๆ ท่ีมีผ๎ูคนสัญจรไปมา หรือการเลํนดนตรีบนทางเท๎า ทางสาธารณะ เหลําน้ีล๎วนแตํเป็น การแสดงเพื่อให๎ผ๎ูอื่นเกิดความสงสาร เม่ือเกิดความสงสารหรืออาจเกิดจากความรําคาญ ก็จะมอบทรัพย๑สิน ที่เป็นตัวเงินมาเป็นการตอบแทน โดยไมํมีการพิจารณาวําการกระทําดังกลําวเป็นการกระทําของกลุํมบุคคล ที่เป็นขอทานจริงๆหรือกลํุมบุคคลท่ีไมํใชํขอทานท่ีแท๎จริง ซ่ึงแตกตํางจากขอทานในอดีตท่ีใช๎ความพิการ ทางด๎านรํางกายในการขอทาน 2) ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช๎อํานาจของเจ๎าหน๎าท่ีฝุายปกครอง ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มีเน้ือหาอยํางกว๎าง บทบัญญัติของกฎหมายเปิดกว๎าง ไมํมีขอบเขต ไมํคํานึงถึงความเป็นไปได๎ในทางปฏิบัติ กระทบตํอบุคคลอื่นที่มีการกระทําท่ีใกล๎เคียงขอทาน นํามาสํูปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการใช๎อํานาจของเจ๎าหน๎าท่ีฝุายปกครอง เน้ือหาของกฎหมายเปิดชํองวําง ให๎เจ๎าหน๎าที่ตีความไปกระทบสิทธิข้ันพ้ืนฐานของบุคคลอ่ืนท่ีไมํใชํขอทาน เชํน วณิพก เพราะปัจจุบันรูปแบบ การขอทานมีความซับซ๎อนมากขึ้น รวมไปถึงการใช๎อํานาจของเจ๎าหน๎าที่ในการจับกุมบุคคลอื่นที่ไมํใชํขอทาน ท่ีได๎กระทําความผิดก็เป็นอํานาจหน๎าที่เฉพาะของเจ๎าหน๎าท่ี แม๎ทางรัฐจะมีมาตรการการควบคุมการขอทาน ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 และข๎อบังคับของกรมประชาสงเคราะห๑ วําด๎วยการ ควบคุมวินัยของสถานสงเคราะห๑ เพ่ือให๎สามารถประกอบอาชีพได๎ภายหลังจากพ๎นจากการสงเคราะห๑ 15

แตํปรากฏวาํ มาตรการดงั กลําวยังไมํสามารถบังคับใช๎ได๎อยํางเต็มที่เทําที่ควร เพราะยังมีขอทานอยูํเป็นจํานวน มาก ขอทานบางรายถูกควบคุมตัวเข๎าสถานสงเคราะห๑ครั้งแล๎วคร้ังเลํา แตํก็ไมํสามารถแก๎ไขให๎จํานวนขอทาน ลดลงแตํอยํางใด ในทางตรงกันข๎ามขอทานกลับเพ่ิมจํานวนมากขึ้นเร่ือยๆ สํงผลกระทบตํอบุคคลอื่นท่ีไมํใชํ ขอทาน เชํน วณิพก ในทางปฏิบัติทําให๎เจ๎าหน๎าที่ใช๎ดุลยพินิจเกินขอบเขตในการปฏิบัติหน๎าที่ เพ่ือแสวงหา ประโยชน๑โดยมิชอบ โดยการเรียกรับทรัพย๑สินเพ่ือประโยชน๑สํวนตนจากบุคคลอ่ืนที่ไมํใชํขอทาน เชํน วณิพก ซึ่งการใช๎อํานาจของเจ๎าหนา๎ ท่ีดังกลาํ ว เป็นการกระทําที่ทําให๎บุคคลอื่นที่ไมํใชํขอทาน เชํน วณิพก ได๎รับความ เดือดรอ๎ นหรอื ไดร๎ ับความเสยี หายจากการใชอ๎ ํานาจโดยมชิ อบ 3.1.2 ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการควบคุมการขอทานและสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต ของวณิพกโดยองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถ่ิน 1) ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการขอทานโดยองค๑กรปกครอง สวํ นท๎องถน่ิ พระราชบญั ญตั ิควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2484 ที่ใช๎บังคับในปัจจุบันมีปัญหาท่ีเป็นอุปสรรคในการ ปฏิบัติหน๎าท่ีของเจ๎าหน๎าท่ีฝุายปกครอง กํอให๎เกิดความเดือดร๎อนตํอประชาชนในพื้นท่ี รวมไปถึง พระราชบัญญัติดังกลําวยังไมํมีการบัญญัติกฎหมายท่ีเก่ียวกับการควบคุมขอทาน โดยองค๑กรปกครอง สํวนท๎องถ่ินไว๎เป็นการเฉพาะ มีเพียงกฎหมายท่ีเกี่ยวกับการกระจายอํานาจไปสูํองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น เชนํ พระราชบัญญัตกิ ําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจให๎แกํองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น พ.ศ. 2542 โดยกําหนดให๎ท๎องถิ่นมีอํานาจและมีอิสระในการควบคุม เพ่ือให๎ท๎องถิ่นสามารถควบคุมและบริหารจัดการ ประชาชนในทอ๎ งถน่ิ ไดอ๎ ยํางเทําเทยี มกนั แตํในการสนบั สนนุ ดา๎ นขอทานนัน้ กฎหมายให๎อํานาจองค๑กรปกครอง สํวนท๎องถิ่นภาพรวมจากสํวนกลาง ซ่ึงไมํได๎ให๎อํานาจองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่นควบคุมขอทาน แตํก็ยัง ไมํสามารถบังคับใช๎ได๎กับขอทาน จึงต๎องอาศัยพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร๎อยของบ๎านเมือง พ.ศ. 2535 หมวดวําด๎วยการรักษาความเป็นระเบียบเรียบร๎อยที่บัญญัติให๎ราชการ สํวนท๎องถ่ิน มีหน๎าท่ีในการดูแลที่หรือทางสาธารณะ เพ่ือประโยชน๑ใช๎สอยของประชาชนในท๎องถิ่นน้ัน เป็นสํวนรวม โดยการกระจายอํานาจสํูองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่นให๎เข๎ามามีบทบาทหน๎าท่ีในการควบคุม ประชาชนในท๎องถ่ินน้ันๆ ให๎สามารถใช๎สอยพื้นที่หรือทางสาธารณะได๎ด๎วยความเป็นระเบียบเรียบร๎อย หากมี ผใ๎ู ดฝุาฝืนจะได๎ตอ๎ งไดร๎ บั โทษตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิไว๎ 2) ปัญหาทางกฎหมายเก่ยี วกับการสํงเสริมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของวณพิ กโดยองค๑กร ปกครองสํวนท๎องถ่ิน พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มิได๎มีการบัญญัติกฎหมายท่ีเกี่ยวกับ อํานาจหน๎าท่ีในการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของวณิพกโดยองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินไว๎เป็นการเฉพาะ แม๎กระท่ังพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ตามมาตรา 8 ซ่ึงเป็นพระราชบัญญัติที่มีเน้ือหา ในการควบคุมการขอทาน ก็ไมํได๎กําหนดให๎องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินเข๎ามามีสํวนรํวมในการสํงเสริมพัฒนา คุณภาพชีวิต เพียงแตํเมื่อจับตัวขอทานได๎ก็ให๎พนักงานเจ๎าหน๎าที่สํงตัวไปให๎สํานักงานจัดหางาน แตํวณิพก เม่ือถูกจับกุมตัวแล๎วไมํมีกฎหมายบัญญัติวําต๎องดําเนินการอยํางไรตํอไป ซึ่งองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ก็ไมํมีสํวนรํวมในการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของวณิพก มีเพียงบทบัญญัติในระหวํางมีการบังคับใช๎ รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยในอดีต เชํน รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่กําหนดวํา รัฐต๎องสงเคราะห๑ผู๎ยากไร๎และผู๎ด๎อยโอกาสให๎มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยรัฐต๎องสํงเสริมให๎ประชากรวัยทํางาน มีงานทําการให๎ความค๎ุมครองแรงงานโดยเฉพาะแรงงานเด็กและผู๎หญิง แตํประเทศไทยก็ยังประสบกับปัญหา ในการกําหนดให๎องค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น เข๎ามามีสํวนรํวมในการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต สงํ ผลให๎เกิดปัญหาในเรื่องบทบาทและหน๎าท่ีในการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของวณิพกโดยองค๑กรปกครอง สํวนท๎องถิ่น จึงทําให๎องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินในพ้ืนท่ีท่ีมีความใกล๎ชิดวณิพกโดยตรงในพ้ืนท่ีเดียวกัน 16

แตไํ มํมบี ทบาทและหน๎าทใ่ี นการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตจึงทําให๎วณิพกเกิดความยากจน ทําให๎ไมํได๎รับการ ดแู ลชํวยเหลอื อยํางเต็มที่ สํงผลใหว๎ ณิพกไมํไดร๎ ับการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ใหด๎ ีข้ึนนนั่ เอง 3.1.3 ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายเพื่อปูองกันและปราบปราม การแสวงหาประโยชน๑จากขอทาน 1) พระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2484 ซ่ึงเป็นกฎหมายท่ีมีเนื้อหาในการ ควบคุมขอทานในประเทศไทยมีความล๎าสมัย เพราะใช๎บังคับมานานอีกท้ังยังไมํมีบทบัญญัติทางกฎหมาย ที่บัญญัติให๎มีการปูองกันและปราบปรามกระบวนการค๎ามนุษย๑ ซ่ึงการแสวงหาผลประโยชน๑จากขอทาน น้ันถือวําเป็นสํวนหน่ึงในกระบวนการค๎ามนุษย๑ ทําให๎การควบคุมขอทานไมํเป็นไปตามวัตถุประสงค๑และ เจตนารมณ๑ของการควบคุมขอทาน อีกทั้งยังกระทบตํอเจ๎าหน๎าท่ีในการปูองกันและปราบปรามกระบวนการ ค๎ามนุษย๑ เพราะไมํมีบทบัญญัติทางกฎหมายที่ให๎อํานาจเจ๎าหน๎าที่ในการที่จะเข๎าไปปูองกันละปราบปราม กระบวนการค๎ามนษุ ยท๑ ่ีแสวงหาผลประโยชน๑จากขอทาน สํงผลให๎การบังคับใช๎กฎหมายในเรื่องของการปูองกัน และปราบปรามกระบวนการค๎ามนุษย๑ที่ทําในรูปแบบขอทานน้ันไมํมีประสิทธิภาพ เนื่องจากกฎหมายท่ีบังคับ ใชน๎ ั้นมคี วามล๎าสมยั 3.1.4 หลักการและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนที่เก่ียวกับการควบคุมการขอทาน ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 1) หลักนิติรัฐแตํละประเภทมีความสําคัญเป็นอยํางมาก เน่ืองจากเป็นกลไก ขบั เคลื่อนหลักนติ ริ ัฐใหป๎ รากฏผลเปน็ รูปธรรม ดังนนั้ องค๑ประกอบทีเ่ หมาะสมจะมีสวํ นชํวยให๎วัตถุประสงค๑ของ หลักนิติรัฐไดร๎ ับการนาํ ไปปฏบิ ัติอยาํ งจริงจัง ทําให๎สังคมที่มีระบบการปกครองภายใต๎หลักนิติรัฐบรรลุความมํุง หมายในการค๎ุมครองสิทธิและเสรีภ าพของประช าช นด๎วยการจํา กัดอํา นาจของผ๎ูปกครอง ซง่ึ องคป๑ ระกอบหรือสาระสาํ คัญของนติ ิรัฐ ประกอบด๎วย หลกั การ คือ กฎหมายที่ดีในแงํของหลักเกณฑ๑การจัด ให๎มีกฎหมาย โดยท่ัวไปเห็นตรงกันวํากฎหมายต๎องมีความชัดเจน เพื่อให๎บุคคลเข๎าใจความหมายได๎งํายและ สามารถปฏิบัติตนให๎ถูกต๎องตามกฎหมายได๎ หรือสามารถใช๎กฎหมายได๎ถูกต๎อง นอกจากนั้นกฎหมายจะต๎อง มีความแนํนอนมั่งคง การเปลี่ยนแปลงกฎหมายบํอยเกินไปยํอมจะกํอให๎เกิดความสับสน และทําให๎ประชาชน ไมํมั่นใจในสิทธิหน๎าที่ของตน ทําให๎ไมํอาจวางแผนชีวิตได๎โดยเหมาะสมตามควร ความแนํนอนมั่นคงของ กฎหมายน้ี จะมีผลสืบเนื่องถึงสิทธิหน๎าท่ีที่จะเกิดตามมาด๎วย หลักความม่ันคงแหํงสิทธิ เชํน สิทธิที่เกิดจาก คาํ สั่งของฝาุ ยปกครองก็จะมหี ลกั ใหม๎ คี วามแนํนอนโดยบุคคลทุกคนต๎องปฏิบัติตามคําส่ังทางปกครอง แม๎คําสั่ง น้ันจะออกโดยขัดกฎหมาย (เว๎นแตํกรณีเป็นโมฆะ) แตํอาจไปฟูองเพิกถอนในภายหลังได๎ ซึ่งจะมีผลสืบทอด ไปอีกชํวงวําหากมีคําส่ังทางปกครองใดให๎ประโยชน๑แกํบุคคล และบุคคลเช่ือโดยสุจริตในความมั่นคงของสิทธิ ในประโยชนน๑ ั้น กฎหมายก็ตอ๎ งเคารพและคุม๎ ครองความคาดหวงั อนั ชอบด๎วยกฎหมายดังกลาํ วตามสมควร 2) หลักภารกิจหลักของรัฐ หมายถึง ภารกิจพ้ืนฐานที่รัฐดํารงอยูํได๎ ไมํถูกทําลาย หรอื สญู สลายไป เรยี กวาํ ความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประเทศ ภารกิจเชํนวํานี้เป็นอํานาจผูกขาด ของรัฐท่ีผ๎ูปกครองใช๎โดยมีวัตถุประสงค๑เพ่ือประโยชน๑สํวนรวม ภารกิจขั้นพื้นฐานของรัฐน้ีมีอยูํหลายประการ ในอํานาจผูกขาดในการใช๎กําลังบังคับ (หรือหน๎าที่ในการรักษาความสงบเรียบร๎อยภายในและภายนอก ประเทศ) อํานาจผูกขาดในการอํานวยความยุติธรรม (หรือหน๎าท่ีในการพิจารณาพิพากษาคดี) อํานาจผูกขาด ในด๎านความสัมพันธ๑ระหวํางประเทศ (หรือหน๎าที่ทางการทูต) อํานาจผูกขาดในด๎านเงินตราและการคลัง (หรือหน๎าทีท่ างงบประมาณ) และภารกิจรองของรัฐ หมายถึง ภารกจิ ทจ่ี ะทําใหช๎ วี ติ ความเป็นอยูํของประชาชน ดีข้ึน หรือได๎มาตรฐานข้ันต่ําในฐานะเป็นมนุษย๑ เป็นภารกิจด๎านทํานุบํารุงชีวิตความเป็นอยํูของประชาชน ให๎กินดีอยูํดี จึงเป็นงานด๎านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของรัฐนั่นเอง โดยรัฐอาจทําด๎วยตนเองหรือไมํก็ได๎ 17

รัฐอาจมอบหมายให๎ปัจเจกชนเข๎ามามีสํวนรํวมในการจัดทํา ถึงแม๎ภารกิจรองจะมีความสําคัญในทางปฏิบัติ ก็ตาม แตํก็ไมํถือวําภารกิจรองของรัฐเป็นเง่ือนไขของอํานาจอธิปไตย องค๑กรอ่ืนนอกจากรัฐอาจเป็นผู๎จัดทํา ภารกิจของรัฐเพ่ือประโยชน๑สํวนรวม การจัดการศึกษา และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ในรัฐสมัยใหมํท่ีเป็น ประชาธิปไตยและนิติรัฐ รัฐมีภารกิจทําให๎ประชาชนสามารถแสดงศักยภาพของมนุษย๑ออกมาโดยสมบูรณ๑ ตามความสามารถของแตํละบุคคล การจัดทําการศึกษาให๎ความรู๎ทางวิชาการ การฝึกอบรมวิชาชีพ การสอน ให๎รู๎จักอดทนอดกล้ันตํอความคิดเห็นท่ีแตกตํางออกไป ตลอดจนการอบรมให๎ประชาชนมีความรับผิดชอบ ตํอสํวนรวมน้ัน ยํอมจะชํวยให๎คนในสังคมมีความร๎ูความสามารถและใช๎ชีวิตในสังคมรํวมกันอยํางมีคุณภาพ อยํางไรก็ตามการจัดการศึกษา ตลอดจนทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมน้ัน ไมํใชํวํารัฐสามารถกระทําได๎โดยไมํมี ข๎อจํากัด ในรัฐสมัยใหมํท่ีแยกตัวออกจากเปูาหมายทางศาสนาและยอมรับความเป็นพหุนิยม หรือความ แตกตํางหลากหลายในความคิดความเช่อื นน้ั รัฐยํอมเคารพสิทธิในความคิดความเช่ือสํวนบุคคล เคารพในสิทธิ ขั้นพื้นฐานของพลเมือง การจัดการศึกษาของรัฐจึงไมํใชํการยัดเหยียดความเชื่อทางศาสนาหรือลัทธิอันใด อันหนึ่งให๎แกํพลเมืองของตนเอง ตลอดจนการส่ือสารมวลชนน้ันรัฐต๎องระมัดระวังมิให๎การสนับสนุนสํงเสริม ศิลปวัฒนธรรม กลายเป็นการกําหนดเน้ือหาของศิลปวัฒนธรรม หรือบังคับให๎บุคคลต๎องแสดงออกทาง ศลิ ปวฒั นธรรมตามความตอ๎ งการของรัฐ 3) หลักการกระจายอํานาจทางปกครองเป็นวิธีการท่ีรัฐจะมอบอํานาจทางปกครอง บางสํวนให๎องค๑กรอ่ืน นอกจากองค๑การราชการบริหารสํวนกลางในการจัดทําบริการสาธารณะบางอยําง โดยอิสระตามสมควร ไมํต๎องขึ้นอยํูในบังคับบัญชาของราชการสํวนกลางเพียงแตํข้ึนอยูํในกํากับดูแลเทํานั้น หรือกลาํ วอกี นัยหนึง่ บริการสาธารณะซ่งึ เจา๎ หน๎าท่ขี องราชการบริหารสํวนกลางเป็นผู๎ดําเนินงานอยูํในท๎องถิ่น ให๎ท๎องถ่ิน หรือองค๑การอันมิได๎เป็นสํวนหนึ่งขององค๑การในราชการบริหารสํวนกลางรับไปดําเนินการ ด๎วยงบประมาณและเจ๎าหน๎าท่ีของท๎องถิ่น หรือขององค๑การน้ันเอง โดยราชการบริหารสํวนกลางเพียงกํากับ ดูแลเทําน้ัน ไมํได๎เข๎าไปบังคับบัญชาส่ังการ กลําวโดยสรุปคือรัฐมอบอํานาจหน๎าท่ีบางอยํางในการจัดทํา หลักการกระจายอํานาจนน้ั เปน็ วธิ กี ารท่ีรัฐมอบอาํ นาจปกครองบางสํวนให๎องค๑การอื่นท่ีมิใชํองค๑การสํวนกลาง จัดทําบริการสาธารณะ และมีรัฐเป็นเพียงผ๎ูควบคุมกํากับให๎เป็นไปตามกฎหมายเทําน้ัน ซ่ึงเป็นลักษณะของ หลกั การกระจายอาํ นาจทางปกครอง กฎหมายที่ใช๎ในการดําเนินการแก๎ไขปัญหาคนขอทานในประเทศไทย สามารถจําแนก ตามกลมุํ เปูาหมายได๎เปน็ 2 ประเภทใหญๆํ ดงั น้ี 1) คนขอทาน : ด๎วยเหตุท่ีปรากฏวํามีบุคคลกระทําการขอทานเป็นจํานวนมาก โดยเฉพาะตามงานเทศกาลตํางๆ กํอให๎เกิดการกีดขวางและสร๎างความรําคาญให๎แกํประชาชน เสื่อมเสีย ศีลธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ รวมทั้งเกิดความละอายแกํชาวตํางชาติที่ได๎มาพบเห็น รัฐจึงได๎ บัญญัติพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ข้ึน และดําเนินการจัดการกับคนขอทานเพื่อ “ไมํให๎ มีการขอทาน” ด๎วยการใช๎มาตรการทางสังคมสงเคราะห๑ในรูปของสถานสงเคราะห๑ เพื่อฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ทางราํ งกายและจิตใจใหส๎ ามารถประกอบสมั มาอาชีพได๎ ภายหลังพ๎นจากการสงเคราะห๑ 2) ผู๎ถือประโยชน๑จากขอทาน : ตามประมวลกฎหมายอาญา ได๎กําหนดมาตรการ การลงโทษแกผํ ู๎ถอื ประโยชน๑จากคนขอทานตํอเมื่อคนขอทานถูกบังคับ ขํูเข็ญ หรือถูกทําร๎ายรํางกายให๎ทําการ ขอทาน โดยไมสํ มัครใจในฐานความผดิ ตอํ ราํ งกาย ตามมาตรา 295-297 ซ่ึงตอ๎ งระวางโทษจําคุกขั้นตํ่า 6 เดือน ถึง 10 ปีและมีความผิดตํอเสรีภาพ ตามมาตรา 309, 311 และ 312 ซึ่งระบุวํา ในกรณีที่บังคับให๎ผ๎ูอ่ืนกระทํา การต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกิน 3 ปี กรณีกักขังหนํวงเหนี่ยวผ๎ูอื่น ต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกิน 7 ปี และปรับ ไมํเกิน 14,000 บาท แตํถ๎าคนขอทานสมัครใจในการถูกแสวงหาผลประโยชน๑จากคนขอทานก็ไมํถือวํา 18

เป็นความผิด เพราะไมํมีพยานหลักฐานท่ีจะช้ีชัดวําใครเป็นผู๎อยํูเบื้องหลัง อยํางไรก็ตามการดําเนินการกับ ผ๎ูถือประโยชน๑จากคนขอทานก็พบปัญหาอุปสรรคเชํนเดียวกัน (ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการบังคับใช๎ พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2484, จิรวรรณ ทองพายพั , (2558) วิทยานิพนธ๑หลักสูตรนิติศาสตร๑ มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม) ตํอมารัฐได๎เล็งเห็นวํากฎหมายฉบับดังกลําวล๎าสมัย มีข๎อพกพรํองหลายประการ ได๎แกํ รูปแบบการขอทานท่ีพัฒนามาเป็นเชิงธุรกิจ ซึ่งมีบุคคลบางกลุํมเข๎ามาแสวงหาผลประโยชน๑จากคนขอทาน ซึ่งกฎหมายยังไมํสามารถนําตัวมาลงโทษได๎ ยกเว๎นกรณีท่ีคนขอทานถูกบังคับ อีกท้ังกระบวนการดําเนินการ ในขณะนนั้ ไมสํ ามารถประสานใหค๎ วามชํวยเหลือสงเคราะห๑และเยีย่ วยาได๎อยํางเต็มที่ ดังน้ันรัฐจึงได๎ดําเนินการ ปรับปรุงกฎหมายขึ้นใหมํเป็นพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 โดยเหตุผลในการประกาศ ใช๎พระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่องจากพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ฉบับเดิม ได๎ใช๎บังคับ มานานแล๎ว บทบัญญัติเก่ียวกับการสงเคราะห๑ผู๎ทําการขอทานตามพระราชบัญญัติดังกลําว ไมํเหมาะสมกับ สถานการณ๑ในปัจจุบัน สมควรให๎มีการจัดระเบียบเก่ียวกับการค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตผ๎ูทําการ ขอทาน การควบคุมการขอทาน และแยกผู๎แสดงความสามารถออกจากการเป็นผ๎ูทําการขอทาน เพื่อเป็นการ แก๎ปัญหาสังคมและค๎ุมครองสวัสดิภาพของบุคคลให๎เหมาะสมยิ่งข้ึน อีกทั้งการกําหนดโทษความผิดทางอาญา แกํผู๎ซ่ึงหาประโยชน๑จากความไมํสมประกอบทางรํางกาย ความอํอนด๎อยทางสติปัญญา หรือสภาพจิตใจ ของบคุ คลอนื่ จงึ จําเปน็ ตอ๎ งตราพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559 นี้ขน้ึ 3.2 พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 โดยมีผลบังคับใช๎เม่ือวันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 มีทั้งหมด 27 มาตรา ซึ่งมีเหตุผลและความจําเป็นในการตรากกหมายฉบับน้ีข้ึน เนื่องจาก พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ได๎บังคับใช๎มานานแล๎ว บทบัญญัติท่ีเก่ียวกับการสงเคราะห๑ ผู๎กระทําการขอทานตามพระราชบัญญัติดังกลําวไมํเหมาะสมกับสถานการณ๑ในปัจจุบัน จึงควรมีการจัด ระเบียบเก่ียวกับการค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตผุ๎กระทําการขอทาน การควบคุมการขอทาน และการ แยกผ๎ูแสดงความรถออกจาการเป็นผู๎กระทําการขอทาน เพ่ือเป็นการแก๎ปัญหาสังคมและค๎ุมครองสวัสดิภาพ ของบุคคลให๎เหมาะสมยิ่งขึ้น อีกทง้ั ยงั สมควรกาํ หนดความผิดทางอาญาแกํผ๎ูซึ่งแสวงหาผลประโยชน๑จากความ ไมํสมประกอบทางรํางกาย ความอํอนด๎อยทางสติปัญญา หรือสภาพจิตใจของบุคคลอื่น โดยพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 มเี น้อื หาสาระสาํ คญั ตามมาตราตาํ งๆ ดงั นี้ มาตรา 13 ห๎ามบุคคลใดทําการขอทาน การกระทําอยํางหนึ่งอยํางใดดังตํอไปน้ีให๎ถือวํา เปน็ การขอทาน (1) การขอเงินหรือทรัพย๑สินจากผู๎อื่นเพ่ือเล้ียงชีวิต ไมํวําจะเป็นการขอด๎วยวาจา ข๎อความ หรือการแสดงกิรยิ าอาการใด (2) การกระทําด๎วยวิธีการใดให๎ผ๎ูอ่ืนเกิดความสงสารและสํงมอบเงิน หรือทรัพย๑สินให๎การ แสดงความสามารถ ไมํวําจะเป็นการเลํนดนตรีหรือการแสดงอ่ืนใด เพื่อให๎ได๎มาซึ่งเงินหรือทรัพย๑สินจากผู๎ชม หรือผ๎ูฟัง การขอเงินหรือทรัพย๑สินกันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไรตามกฎหมายวําด๎วย การควบคุมการเร่ียไร ไมํถอื วําเปน็ การขอทานตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา 14 ผ๎ูใดประสงคจ๑ ะเป็นผแู๎ สดงความสามารถ ไมวํ ําจะเปน็ การเลํนดนตรีหรือการแสดง อน่ื ใด ตามมาตรา 13 วรรคสาม ให๎ผู๎น้ันแจง๎ เพ่ือเปน็ ผู๎แสดงความสามารถตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด และเม่ือจะแสดงความสามารถในพ้ืนท่ีใด ให๎แจ๎งตํอเจ๎าพนักงานท๎องถิ่นในเขตพ้ืนท่ีนั้น เมื่อเจ๎าพนักงาน ท๎องถ่ินในเขตพ้ืนที่ได๎รับแจ๎งแล๎ว ให๎ออกใบรับแจ๎งไว๎เป็นหลักฐาน ทั้งนี้ให๎เจ๎าพนักงานท๎องถิ่นในเขตพื้นที่ 19

ประกาศเป็นการทั่วไป เพื่อกําหนดเขตพื้นท่ีหรือสถานที่ใดอันเป็นท่ีสาธารณะ วันเวลา การใช๎อุปกรณ๑ หรือส่ิงอ่ืนใด ให๎ใช๎ในการแสดงความสามารถ ผู๎ใดกระทําการฝุาฝืนตามวรรคหน่ึง พนักงานเจ๎าหน๎าที่ หรือเจา๎ พนกั งานท๎องถน่ิ ในเขตพืน้ ท่ีมอี ํานาจสั่งใหผ๎ ูน๎ น้ั หยุด หรือเลกิ กระทําการดังกลําวได๎ มาตรา 15 เม่ือปรากฏตํอพนักงานเจ๎าหน๎าที่วํามีผู๎ใดกระทําการฝุาฝืนมาตรา 13 วรรคหน่ึง ใหพ๎ นักงานเจา๎ หน๎าท่ีสํงตัวผ๎ูซ่ึงฝุาฝืนน้ัน ไปยังสถานคุ๎มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตเพ่ือทําการคัดกรอง และ หากการคัดกรองพบวํา ผ๎ูทําการขอทานเป็นเด็ก หญิงมีครรภ๑ ผู๎สูงอายุ คนวิกลจริต คนพิการ หรือทุพพลภาพ ที่ต๎องดําเนินการตามกฎหมายเฉพาะ ให๎พนักงานเจ๎าหน๎าที่ประสานกับหนํวยงานท่ีเก่ียวข๎องตามกฎหมาย เฉพาะเพอื่ ดาํ เนินการตามอาํ นาจหน๎าทต่ี ํอไป มาตรา 16 เมอ่ื ปรากฏจากการคัดกรองวําผ๎ูทําการขอทานไมํใชํบุคคลตามมาตรา 15 แตํเป็น บุคคลซ่ึงไมํสามารถประกอบอาชีพได๎ ไมํมีญาติ มิตรอุปการะเล้ียงดู และไมํมีทางเล้ียงชีพอยํางอื่น หรืออยูํใน สภาวะยากลําบาก ให๎พนักงานเจ๎าหน๎าที่จัดให๎บุคคลดังกลําวเข๎ารับการค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามพระราชบัญญัตินี้ การเข๎ารับการคุ๎มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามวรรคหนึ่ง ให๎เป็นไปตามระเบียบ ที่อธิบดกี ําหนด มาตรา 17 ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นหรือเป็นการสมควรเพ่ือประโยชน๑ของผู๎ทําการขอทาน พนักงานเจา๎ หน๎าทีจ่ ะไมสํ งํ ตวั ผู๎น้ันไปเพ่ือดาํ เนนิ การตามกฎหมายเฉพาะ และให๎ผู๎ทําการขอทานผู๎นั้นได๎รับการ ค๎มุ ครองและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ตํอไปกไ็ ด๎ มาตรา 18 ในกรณีผู๎ทําการขอทานยอมปฏิบัติตามการดําเนินการของพนักงานเจ๎าหน๎าท่ี ตามกฎหมายเฉพาะ หรือยอมอยูํในสถานค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต ให๎ผู๎ทําการขอทานผ๎ูน้ันพ๎นจาก ความผดิ ตามมาตรา 19 มาตรา 19 ผ๎ูใดฝุาฝืนมาตรา 13 วรรคหนึ่ง ต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกินหน่ึงเดือน หรือปรับ ไมเํ กนิ หนงึ่ หมน่ื บาท หรือทัง้ จําทั้งปรับ มาตรา 20 กรณีผู๎ทําการขอทานได๎ยอมเข๎ารับการค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตในสถาน คมุ๎ ครองและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ แลว๎ ตอํ มาผู๎ทาํ การขอทานผู๎นนั้ ไมยํ อมรับการคุ๎มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต และได๎ออกไปจากสถานคุ๎มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยไมํได๎รับอนุญาต ต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกิน หนง่ึ เดอื น หรือปรับไมํเกินหนง่ึ หม่นื บาท หรอื ท้งั จําท้ังปรับ มาตรา 21 ผ๎ูใดกระทําด๎วยประการใด อันเป็นการชํวยเหลือหรือสนับสนุนให๎มีการฝุาฝืน มาตรา 20 ต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกินสองปี หรือปรับไมํเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถ๎าการกระทํา ความผิดตามวรรคหนึ่ง ได๎กระทําโดยใช๎กําลังประทุษร๎าย หรือขํูเข็ญวําจะใช๎กําลังประทุษร๎าย หรือโดยมี หรือ ใช๎อาวุธ ผู๎กระทาํ ต๎องระวางโทษจาํ คุกไมํเกนิ สป่ี ี หรือปรับไมเํ กนิ สห่ี ม่ืนบาท หรือทั้งจําทัง้ ปรบั มาตรา 22 ผู๎ใดแสวงหาประโยชน๑จากผู๎ทําการขอทานโดยการใช๎ จ๎าง วาน สนับสนุน ยุยง สํงเสรมิ หรอื กระทําด๎วยวิธีการอื่นใด ให๎ผู๎อ่ืนทําการขอทานต๎องระวางโทษจําคุกไมํเกินสามปี หรือปรับไมํเกิน สามหม่นื บาท หรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรับ ถ๎าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึง เป็นการกระทําดังตํอไปน้ี ผู๎กระทําต๎อง ระวางโทษจําคุกไมเํ กนิ หา๎ ปี หรือปรบั ไมํเกนิ ห๎าหมน่ื บาท หรือทง้ั จาํ ท้งั ปรบั (1) กระทําตํอหญงิ มคี รรภ๑ ผส๎ู ูงอายุ คนวกิ ลจรติ คนพกิ าร หรือทุพพลภาพ หรือผ๎เู จ็บปวุ ย (2) รวํ มกันกระทํา หรอื กระทํากบั บคุ คล ต้ังแตสํ องคนข้นึ ไป (3) กระทําโดยนาํ ผอู๎ ่นื จากภายนอกราชอาณาจักรให๎มาขอทานในราชอาณาจักร (4) กระทําโดยผูป๎ กครอง หรอื ผดู๎ แู ลของผ๎ทู าํ การขอทาน (5) กระทาํ โดยพนกั งานเจา๎ หนา๎ ที่ 20

(6) กระทําโดยเจ๎าหน๎าที่ของรัฐท่ีมีอํานาจหน๎าที่ดูแล หรือให๎คําปรึกษาบุคคลตาม (1) ความ ในวรรคหนงึ่ และวรรคสอง (1) (2) และ (4) ไมํใช๎บังคับกับการกระทาํ ระหวํางบุพการีและผสู๎ บื สันดาน มาตรา 23 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี มีโทษจําคุกไมํเกินหน่ึงเดือน หรือปรับ ไมํเกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ ให๎อธิบดีหรือผู๎ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบได๎ และ เมื่อผู๎กระทําความผิดได๎ชําระคําปรับตามจํานวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาท่ีกําหนดแล๎ว ให๎ถือวํา คดเี ลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 24 ให๎สถานสงเคราะห๑ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 เปน็ สถานค๎ุมครองและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามพระราชบญั ญัตินี้ มาตรา 25 ผู๎ซ่ึงถูกสํงตัวไปยังสถานสงเคราะห๑ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ซง่ึ รบั การสงเคราะหอ๑ ยใูํ นวนั กํอนวนั ทพ่ี ระราชบัญญตั ินใี้ ช๎บังคับ ให๎ได๎รับการคุ๎มครองและพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ตํอไปตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา 27 ให๎รฐั มนตรวี าํ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให๎มีอํานาจแตํงต้ังพนักงานเจ๎าหน๎าท่ีและประกาศจัดต้ังสถานค๎ุมครองและพัฒนา คุณภาพชวี ิต เพอ่ื ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญตั ินี้ นายพุฒิพัฒน๑ เลิศเชาวสิทธ์ิ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการในขณะนั้น กลําวถึง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ (พม.) วําได๎มีการเตรียมแผนงานสําหรับ พ.ร.บ. ควบคุม การขอทาน พ.ศ. 2559 โดยไดก๎ ําหนดแนวทางไว๎ 4 แนวทาง ประกอบด๎วย 1. การแยกผู๎แสดงความสามารถออกจากผู๎ขอทาน โดยให๎แจ๎งตํอพนักงานท๎องถ่ิน เพอ่ื ออกบัตรประจาํ ตัวผู๎แสดงความสามารถ 2. การคุม๎ ครองและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผ๎ูขอทานไมใํ ห๎กลับมาขอทานอีก 3. การกําหนดความผิดทางอาญากับผ๎ูแสวงหาประโยชน๑จากการขอทาน โดยผ๎ู ขอทานมคี วามผิดจําคุก 1 เดือน หรอื ปรบั ไมํเกิน 10,000 บาท หรือท้ังจําทั้งปรับ สํวนผู๎แสวงหาผลประโยชน๑ จากขอทาน โทษจาํ คุก 3 ปี หรือปรบั ไมเํ กิน 30,000 บาท หรือทัง้ จาํ ทั้งปรับ 4. การแตํงต้ังคณะกรรมการควบคุมการขอทาน เพื่อทําหน๎าท่ีขับเคล่ือนการดูแล ควบคมุ ขอทาน ท้ังน้ี พล.อ. ประยุทธ๑ จันทร๑โอชา นายกรัฐมนตรี ได๎กําชับให๎กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย๑และหนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎อง บังคับใช๎กฎหมายและให๎ดําเนินการอยํางเด็ดขาด พร๎อมทั้ง แกไ๎ ขปัญหาอยํางย่งั ยืนตามหลัก 3P ภายใต๎แนวคิด “ให๎ทานถูกวิธี ลดวิถีการขอทาน” รวมทั้งรณรงค๑ให๎สังคม หยุดการให๎เงนิ แกคํ นขอทานเพือ่ เป็นการตดั วงจรของการขอทานที่สํวนหน่ึงมีการทํากันเป็นขบวนการและอาจ ลุกลามไปสูํการค๎ามนุษย๑ ด๎าน พล.ต. สรรเสริญ แก๎วกําเนิด โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยวํา รัฐบาลได๎ดําเนินการจัดระเบียบคนขอทานอยํางตํอเน่ือง ซ่ึงเป็นสํวนหนึ่งของการปูองกันและปราบปราม การค๎ามนุษย๑ท่ีกําหนดให๎เป็นวาระแหํงชาติ โดยที่ผํานมาพบคนขอทานกวํา 4,000 คน ท้ังขอทานไทยและ ขอทานตํางด๎าว ซ่ึงหากเป็นคนขอทานตํางด๎าวจะดําเนินการผลักดันสํงกลับประเทศต๎นทาง สํวนคนขอทานที่ เปน็ คนไทยจะสํงเข๎ารับการพัฒนาและฟ้ืนฟูศักยภาพทั้งทางรํางกาย จิตใจ สังคม และการประกอบอาชีพตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ีสถานคมุ๎ ครองคนไร๎ท่ีพึ่งภายใตโ๎ ครงการ “ธญั บุรีโมเดล” และ “บ๎านน๎อย ในนิคม” อยาํ งไรก็ตามผลงานสําคัญของการจัดระเบียบคนขอทานของรัฐบาล คือผลักดัน พ.ร.บ. ควบคุมการ ขอทาน พ.ศ. 2559 ซ่ึงมีผลบังคับใช๎ตั้งแตํวันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ซึ่งจะชํวยทําให๎สามารถแยกผ๎ูแสดง ความสามารถออกจากผ๎ูขอทาน โดยให๎แจ๎งตํอพนักงานท๎องถ่ิน เพ่ือออกบัตรประจําตัวผู๎แสดงความสามารถ 21

รวมถงึ การคุม๎ ครองและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผข๎ู อทานไมํให๎กลับมาขอทานอีก ตลอดจนการกําหนดความผิดทาง อาญากับผ๎แู สวงหาประโยชน๑จากการขอทาน โดยผ๎ูขอทานมีโทษจําคุก 1 เดือน หรือปรับไมํเกิน 10,000 บาท หรือท้ังจําทั้งปรับสํวนผู๎แสวงหาผลประโยชน๑จากการขอทาน มีโทษจําคุก 3 ปี หรือปรับไมํเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และการแตํงตั้งคณะกรรมการควบคุมการขอทาน เพ่ือทําหน๎าท่ีขับเคล่ือนการดูแลคน ขอทาน ท้ังน้ี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ ได๎ตั้งกองทุนเพ่ือพัฒนาคนไร๎ท่ีพึ่ง คนเรํรอน และคนขอทาน ปัจจุบันมีวงเงิน 1.5 ล๎านบาท เพื่อให๎หนํวยงานท่ีดูแลคนไร๎ที่พึ่ง คนเรํรอน และ คนขอทาน ได๎กู๎ยืมเงินโดยไมํมีดอกเบี้ยและได๎เปิดบัญชีให๎ประชาชนรํวมสมทบเงินเข๎ากองทุนอีกด๎วย สําหรับ การขับเคลื่อนนโยบายการแก๎ไขปัญหาขอทานของรัฐบาล เริ่มจัดระเบียบขอทานต้ังแตํเดือนตุลาคม 2557 ซึ่งตรวจพบขอทานรวม 4,573 คน เป็นคนไทย 2,908 คน ตํางด๎าว 1,665 คน ท้ังนี้ขอทานคนตํางด๎าวจะ สํงกลับประเทศ สํวนขอทานคนไทยจะสํงไปพัฒนาและฟื้นฟูศักยภาพท่ีสถานคุ๎มครองคนไร๎ท่ีพ่ึง ภายใต๎ โครงการ “ธัญบุรีโมเดล” และ “บ๎านน๎อยในนิคมฯ” จะพัฒนาทั้งทางด๎านรํางกาย จิตใจ สังคม และการ ประกอบอาชีพ ซ่ึงขอทานคนไทยท่ีเข๎ารับการพัฒนาและฟื้นฟูศักยภาพแล๎วกวํา 1,134 คน และสํงกลับคืน สคํู รอบครวั และชุมชนแล๎วกวํา 764 คน คิดเป็นร๎อยละ 67 ของจํานวนผู๎ใช๎บริการ (ข๎อมูลจาก : https://สภา กาแฟ.net/threads/รัฐบาลกบั ปัญหาขอทานและคนจรจัด.4082/ เข๎าใชเ๎ มือ่ วนั ที่ 26/01/61) ขอ๎ มลู จากกรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร ในฐานะหนวํ ยงานองค๑กรภาครัฐที่กํากับดูแลสถาน ค๎ุมครองคนไร๎ที่พึ่งภายใต๎โครงการ “ธัญบุรีโมเดล” และ “บ๎านน๎อยในนิคม” โดยการดําเนินงานโครงการ ธัญบุรีโมเดล ได๎ถือกําเนิดข้ึนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต คนไร๎ท่ีพึ่ง และขอทาน ต้ังแตํในปี 2558 ซึ่งจะคัดเลือก กลํุมผ๎ใู ช๎บรกิ าร กลมุํ A, B, และ C เขา๎ รับการพัฒนาศักยภาพและการเรียนร๎ูทักษะการใช๎ชีวิตในสังคม ภายใต๎ แนวคิด “เปลี่ยนชีวิต พัฒนาจิตใจ เสริมสร๎างรายได๎ ด๎วยโครงการธัญบุรี” ท้ังนี้โครงการธัญบุรีโมเดลถือเป็น ต๎นแบบในการฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไร๎ท่ีพึ่ง คนขอทานในสถานค๎ุมครอง คนไร๎ท่ีพึ่ง โดยมี กระบวนการสํงเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพผู๎ใช๎บริการตามกลุํมเปูาหมาย และจะดําเนินการติดตามภายหลังการ ประสานสํงตํอผ๎ูใช๎บริการคืนสํูสังคมเป็นรายเดือน (3เดือน, 6 เดือน, 12เดือน) เพ่ือพิจารณาการให๎ความ ชํวยเหลือตามความเหมาะสมตอํ ไป ซ่งึ มวี ิธกี ารดําเนนิ งาน ดงั นี้ 1) การบริหารพื้นท่ี การปรับปรุงพัฒนาสภาพพ้ืนที่และอาคารภายในบริเวณสถานคุ๎มครอง คนไร๎ที่พงึ่ เพอื่ ใชเ๎ ปน็ สถานท่ีฝกึ ปฏบิ ัติ 2) การบรหิ ารคน การคัดกรองกลุํมเปาู หมายคนไรท๎ ่พี ง่ึ และคนขอทานในสถานคุ๎มครองคนไร๎ ท่ีพ่ึงที่มีความพร๎อมทั้งทางด๎านรํางกาย จิตใจ และมีความต๎องการกลับคืนสํูสังคม ครอบครัว ชุมชน เข๎ารํวม โครงการเพ่ือฟ้ืนฟุูและพัฒนาศักยภาพ โดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพ เน๎นการทําการเกษตรแบบยั่งยืน และศิลปหัตถกรรม ควบคูํกับการพัฒนาทักษะทางสังคม ด๎วยการปรับ ทศั นคติ การตระหนกั ในคุณคําของตนเอง การพง่ึ พาตนเองและการใช๎ชวี ติ รํวมกบั ผู๎อ่นื 3) การบริหารรายได๎ ถือปฏบิ ตั ิตามระเบียบการเบิกจํายเงนิ การจัดเก็บรายได๎ และการรักษา เงนิ โดยจาํ ยเป็นคาํ แรงแกผํ ใ๎ู ชบ๎ ริการตามโครงการฯ ในการผลติ 70% จาํ ยเป็นรางวัลผคู๎ วบคุมงาน 5% สมทบ ไว๎เป็นคาํ ใชจ๎ ํายดําเนินงาน 25% 4) การบริหารกองทุน มี “กองทุนเพื่อพัฒนาคนไร๎ท่ีพ่ึง คนขอทาน” โดยปัจจุบันได๎ เปลย่ี นเปน็ “มูลนธิ พิ ฒั นาคนไรท๎ พี่ งึ่ และพัฒนาคนขอทาน” เพอ่ื สาํ หรับเป็นคําใชจ๎ าํ ยในการดําเนินการ ภายใต๎ โครงการทนุ ประกอบอาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ๑ และจัดซ้ือผลิตภัณฑ๑ของโครงการธัญบุรีโมเดลในสถานคุ๎มครอง คนไร๎ทพ่ี ่งึ 11 แหํงทัว่ ประเทศ 22

ท้ังนี้สําหรับโครงการ “บ๎านน๎อยในนิคม” ซ่ึงได๎ถือกําเนินตํอเนื่องมาจากโครงการ “ธัญบุรี โมเดล” เพ่ือชํวยสร๎างชีวิตใหมํให๎คนขอทาน คนเรํรํอน และคนไร๎ท่ีพ่ึง มีความเป็นมาจากการสํงเสริม ผ๎ูใช๎บริการ โดยการคัดเลือกผู๎ใช๎บริการท่ีผํานการบําบัดฟ้ืนฟูตามโครงการธัญบุรีโมเดลให๎ได๎มีโอกาสใช๎ชีวิต อิสระในบ๎านพักที่จัดให๎ในนิคมสร๎างตนเอง สามารถประกอบอาชีพ และสามารถดํารงชีวิตอยํูได๎ด๎วยตนเอง อยํางแท๎จริง ซ่ึงมีวัตถุประสงค๑ 1) เพื่อให๎กลุํมเปูาหมายได๎ประกอบอาชีพ มีรายได๎ในการเล้ียงดูตนเองและ พึ่งตนเองได๎ 2) เพื่อให๎กลุํมเปูาหมายได๎มีท่ีพักอาศัยและกลับคืนสํูสังคมอยํางย่ังยืน 3) เพ่ือให๎กลํุมเปูาหมาย ทผี่ ํานการพฒั นาศักยภาพแล๎ว ไดด๎ ํารงชวี ติ อยํางอสิ ระ มเี กียรติ มีศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย๑ โดยไมํกลับมาเรํรํอน หรือขอทานซ้ํา และ 4) เพื่อให๎ชุมชนและสังคมได๎มีความค๎ุนเคย มีความรู๎ความเข๎าใจ มีทัศนคติท่ีถูกต๎องตํอ คนขอทาน คนเรํรํอน และคนไร๎ที่พ่ึง โดยโครงการ “บ๎านน๎อยในนิคม” มีกระบวนการและกิจกรรมในการ พัฒนาศักยภาพและฟ้ืนฟูทักษะการใช๎ชีวิตอยํางอิสระ ประกอบด๎วย ด๎านการเรียนรู๎ ด๎านอาชีพและรายได๎ ดา๎ นสังคม และด๎านการแพทย๑ โดยมเี ปูาหมายทมี่ ํุงหวังให๎กลํุมผ๎ูใช๎บริการได๎มีชีวิตอิสระ ได๎ประกอบอาชีพและ มรี ายได๎ สามารถกลบั คนื สูํสังคมอยํางยง่ั ยืน อาจสรุปได๎วํากฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข๎อง ตลอดจนกระบวนการพัฒนา บําบัด ฟ้ืนฟู รวมถึงแนวคิดด๎านแก๎ไขและปูอกันกับคนขอทานท่ีกลําวมาข๎างต๎น ชี้ให๎เห็นวําพื้นฐานความคิดของ ภาครัฐในการจดั การปญั หาคนขอทาน วําคนขอทานเป็นผู๎ด๎อยโอกาสท่ีสมควรได๎รับการชํวยเหลือ ตรงกันข๎าม กับผ๎ูถือประโยชน๑จากคนขอทานที่รัฐมองวําเป็นผ๎ูที่เอารัดเอาเปรียบผ๎ูด๎อยโอกาส ดังนั้น มาตรการในการ จัดการจึงมีความแตกตํางกัน กลําวคือรัฐได๎ใช๎มาตรการทางสังคมสงเคราะห๑กับคนขอทาน และใช๎มาตรการ ทางอาญากับผู๎ถือประโยชน๑จากคนขอทานท่ีถูกบังคับ ในสํวนของกระบวนการสังคมสงเคราะห๑กับคนขอทาน เร่ิมตั้งแตํการควบคุมคนขอทาน ซ่ึงรวมถึงวณิพกไปยังสถานสงเคราะห๑การพิจารณาให๎การสงเคราะห๑คน ขอทานตามความเหมาะสมของแตํละรายไป จนกระท้ังพ๎นการสงเคราะห๑จากสถานสงเคราะห๑ ก็ตํอเมื่อ สามารถพ่ึงตนเองได๎ หรือมีบุคคลที่นําเช่ือถือรับไปอุปการะ ตํอมาภายหลังได๎ปรับปรุงกฎหมายให๎มีความ ศักด์ิสิทธิ์ขึ้น โดยใช๎มาตรการทางอาญาลงโทษแกํผู๎ถือประโยชน๑จากการขอทาน หรือผู๎อยูํเบื้องหลังท่ีเป็นธุระ จัดหาให๎มาขอทาน แม๎วาํ คนขอทานจะสมัครใจหรือไมํกต็ าม 3.3 กฎหมายอ่ืนทเ่ี กีย่ วกบั การจัดระเบียบและการแก๎ไขปัญหาขอทาน 1) ปฏิญญาสากลวําด๎วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) ซึ่งแสดงถึงความหมายของสิทธิมนุษยชนโดยรวมไว๎อยํางละเอียดชัดเจน และมีสถานะ เปน็ กฎหมายระหวาํ งประเทศ ที่ประเทศไทยได๎ให๎สตั ยาบนั เปน็ ภาคแี ละต๎องปฏิบัตติ าม 2) อนุสัญญาวําด๎วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child หรือ CRC) ซึ่งมสี ถานะเป็นกฎหมายระหวํางประเทศ ทปี่ ระเทศไทยจะต๎องปฏิบัตติ ามเชนํ กนั 3) รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 4) พระราชบัญญัตคิ ๎ุมครองเดก็ พ.ศ. 2546 5) พระราชบัญญตั ิสขุ ภาพจิต พ.ศ. 2551 นอกจากนยี้ งั มกี ฎหมายที่เกี่ยวขอ๎ งกับขบวนการธุรกิจเด็กขอทาน การลักลอบนําเด็กตํางด๎าว เข๎ามาในประเทศอยํางผิดกฎหมายหรืออ่ืนๆ เชํน พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค๎ามนุษย๑ พ.ศ. 2551 และพระราชบญั ญัติคนเข๎าเมอื ง พ.ศ. 2522 เปน็ ตน๎ สําหรับเร่ืองของสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องที่ทุกคนต๎องรู๎และเข๎าใจ วําคนทุกคนเกิดมามีสิทธิ ที่จะดาํ รงชีวติ อยูํได๎อยํางอิสระ แตํมคี นบางกลุํมอาศัยชํองวํางของเศรษฐกจิ และความด๎อยโอกาสทางสังคมของ ผ๎ูอื่น มาเป็นเคร่ืองมือในการละเมิดสิทธิมนุษยชน เอาเปรียบ และแสวงหาผลประโยชน๑ โดยการลํอลวง ขํมขํู 23

หรือแลกเปล่ียนด๎วยเงินตรา การกระทําเชํนน้ีเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู๎อื่นจากปฏิญญาสากล วาํ ดว๎ ยสิทธมิ นุษยชน หรือ UDHR แล๎ว กรณีเดก็ ขอทานโดยเฉพาะอยํางย่ิงกรณีที่ทําเป็นธุรกิจ โดยมีบุคคลอื่น อยเูํ บ้อื งหลงั นี้คํอนข๎างจะละเมดิ ตอํ ปฏญิ ญาอยหํู ลายข๎อมาก ซ่ึงก็หมายถงึ ละเมิดตํอความเปน็ มนษุ ย๑ อาทิ ข๎อ 1 มนษุ ย๑ทั้งหลายเกดิ มาอสิ รเสรีเทําเทยี มกันท้งั ศกั ดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได๎รับการ ประสิทธ์ปิ ระสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏบิ ัติตอํ กนั อยํางฉันพ่นี ๎อง ขอ๎ 3 บุคคลมสี ทิ ธิในการดําเนินชวี ิตในเสรธี รรมและในความมัน่ คงทางรํางกาย ข๎อ 4 บุคคลใดจะถูกบังคับให๎เป็นทาส หรืออยูํในภาระจํายอมใดๆ ไมํได๎ การเป็น ทาสและการคา๎ ทาสจะมีไมไํ ด๎ทุกรูปแบบ ข๎อ 5 บุคคลใดจะถูกทรมาน หรือได๎รับการปฏิบัติ หรือลงทัณฑ๑ ซ่ึงทารุณโหดร๎าย ไร๎มนุษยธรรม หรือเหยียดหยามเกียรติไมํได๎ (เอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร๑ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,๑ คําสอนวําดว๎ ยรฐั และหลักกฎหมายมหาชน, 2557, วรเจตน๑ ภาคีรัตน)๑ สํวนกฎหมายของประเทศไทยอีกฉบับหน่ึงที่เกี่ยวข๎องกับเด็กโดยตรงเชํนเดียวกัน ก็คือ พระราชบัญญตั ิคม๎ุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ซ่ึงมีจุดนําสนใจอันดับแรกอยูํท่ีมาตรา 22 มาตรา 23 และมาตรา 25 ดังนี้ มาตรา 22 การปฏิบัติตํอเด็กไมํวํากรณีใด ให๎คํานึงถึงประโยชน๑สูงสุดของเด็ก เป็นสําคัญและไมํให๎มีการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม การกระทําใดเป็นไปเพื่อประโยชน๑สูงสุดของเด็ก หรือ เป็นการเลอื กปฏบิ ัติ โดยไมเํ ปน็ ธรรมหรอื ไมใํ ห๎พจิ ารณาตามแนวทางท่ีกาํ หนดในกระทรวง มาตรา 23 ผู๎ปกครองต๎องให๎การอุปการะเล้ียงดู อบรมส่ังสอน และพัฒนาเด็กท่ีอยํู ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแกขํ นบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแหํงท๎องถิ่น แตํท้ังนี้ต๎องไมํ ตา่ํ กวํามาตรฐานขัน้ ตํ่าตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง และตอ๎ งคุม๎ ครองสวัสดิภาพเด็กท่ีอยํูในความปกครองดูแล ของตน ไมใํ หต๎ กอยํใู นภาวะอนั นําเกดิ อนั ตรายแกรํ าํ งกายและจิตใจ มาตรา 25 ผ๎ปู กครองตอ๎ งไมํกระทาํ การ ดังตอํ ไปน้ี (1) ทอดท้ิงเดก็ ไว๎ในสถานรับเล้ียงเด็ก หรือสถานพยาบาล หรือไว๎กับบุคคลที่รับจ๎าง เลย้ี งเดก็ หรือที่สาธารณะ หรอื สถานที่ใด โดยเจตนาทจี่ ะไมรํ ับเด็กกลับคืน (2) ละท้งิ เดก็ ไว๎ ณ สถานทใ่ี ดๆ โดยไมํจัดใหม๎ กี ารปูองกันดแู ลสวสั ดิภาพ หรือให๎การ เลยี้ งดูทเี่ หมาะสม (3) จงใจหรือละเลยไมํให๎สิ่งท่ีจําเป็นแกํการดํารงชีวิต หรือสุขอนามัยจนนําจะ เกิดอันตรายแกรํ ํางกายหรือจติ ใจของเด็ก (4) ปฏิบัติตํอเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโต หรือพัฒนาการของ เด็ก (5) ปฏบิ ตั ติ อํ เดก็ ในลกั ษณะที่เป็นการเลยี้ งดูโดยไมํชอบ นับได๎วําปัญหาเด็กเรํรํอนขอทาน เป็นปัญหาที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนของเด็กเกือบทุกด๎าน แม๎เรา มองดูอยํางผิวเผิน หรือแคํเดินผํานเด็กที่ขอทานไป โดยไมํคิดวําจะมีอะไร แตํเบื้องลึกเบื้องหลังก็มีอะไร ท่ีนาํ กลวั และคกุ คามสทิ ธคิ วามเป็นมนุษย๑ของเดก็ โดยทเ่ี ราอาจคาดไมํถึง การแก๎ปัญหาเด็กเรํรํอนขอทานไมํใชํ หน๎าท่ีของรัฐบาลแตํเพียงฝุายเดียวเทําน้ัน แตํรวมถึงทุกคนที่จะสํงเสริมสนับสนุนเด็กไปในทางที่ถูกท่ีควร เคารพสิทธิความเป็นมนุษย๑ของเด็กฉันเพ่ือนมนุษย๑ด๎วยกัน เพราะเด็กเป็นกําลังสําคัญของประเทศชาติ ในอนาคต แตํนอกจากฎหมายคุ๎มครองสิทธิมนุษยชนแล๎ว ยังมีกฎหมายท่ีเกี่ยวข๎องกับผู๎ที่เป็นขอทานทั้งที่ 24

สมัครใจเป็นและถูกลํอลวงมาเป็นขอทาน (บทความเชิงวิชาการเรื่องปัญหาสังคม, เรื่องปัญหาขอทาน อาชญากรรมบนความเวทนา, ดวงพร จอมเกต,ุ 2556) 4. กฎหมายเกี่ยวกบั การควบคมุ การขอทานในต่างประเทศ 4.1 กฎหมายเกยี่ วกับการควบคุมการขอทานในตาํ งประเทศ โดยอ๎างอิงข๎อมูลจากวิทยานิพนธ๑ เร่ือง ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการบังคับใช๎ พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 (น. 198-212) โดย จิรวรรณ ทองพายัพ หลักสูตรนิติศาสตร๑ มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ ดังนี้ 4.1.1 ประเทศองั กฤษ ประเทศอังกฤษ มีพระราชบัญญัติคนจรจัด ค.ศ. 1824 ให๎ถือวําคนขอทานจัดอยํูในจําพวก หน่ึงของคนจรจัด และได๎มีมาตรการลงโทษทางอาญาสําหรับคนจรจัด โดยประเทศอังกฤษน้ันจัดขอทาน ให๎อยใํู นประเภทของคนจรจดั ประเภทหนึ่ง มีการใช๎มาตรการทางสังคมสงเคราะห๑แกํคนจรจัดแทนท่ีจะลงโทษ ทางอาญา โดยให๎การชํวยเหลือฟื้นฟูสภาพจิตใจให๎แกํคนจรจัด เจตนารมณ๑ที่ออกกฎหมายคนจรจัดข้ึนมา เพ่ือให๎เจ๎าหน๎าท่ีสามารถใช๎กฎหมายฉบับนี้เพ่ือรักษาความสงบเรียบร๎อยของสังคม ทําให๎ปราศจากอันตราย ยามค่ําคืนและปราศจากคนเลวทรามที่อาจกํอให๎เกิดอาชญากรรมได๎ อังกฤษมองวําการขอทานเป็นความผิด และมีโทษทางอาญา โดยมีหลักเกณฑ๑ในการพิจารณาการกระทําของบุคคลท่ีถือวําเป็นขอทาน กลําวคือ คนขอทานต๎องทําการขอทานเป็นลักษณะนิสัยหรือเป็นวิถีทางการดํารงชีพโดยไมํหวังท่ีจะทํางาน ถึงแม๎วําจะ ทําการขอทานเป็นครั้งแรกก็ตาม ถ๎าหากพิสูจน๑ได๎วําคนขอทานทําการขอทานเป็นลักษณะนิสัย หรือเป็น วิถีทางดํารงชีวิตเพื่อความอยํูรอดของเขา รวมไปถึงการขอทานท่ีจะต๎องมีการให๎บางส่ิงเป็นการตอบแทน และการขอทานพิจารณาจากพฤติกรรมของบุคคลไมํใชํพิจารณาจากการไมํมีท่ีอยํูอาศัย แตํถ๎าบุคคลที่ไมํได๎ ขอทานโดยลักษณะนิสัยหรือวิถีทางการดํารงชีพ แตํทําการขอทานจากประชาชนเพื่อต๎องการความชํวยเหลือ ทางการเงินโดยสาเหตุมาจากตนเองต๎องขาดงาน ไมํยอมทํางานให๎นายจ๎างหรืออยํูระหวํางการตํอรอง กับนายจ๎าง การขาดงานช่ัวคราวหรือโดยไมํสมัครใจในระยะเวลาอันส้ันน้ัน ในประเทศอังกฤษไมํถือวํา การกระทาํ ดังกลําวเป็นขอทาน นอกจากนี้ อังกฤษเป็นประเทศท่ีมีกฎหมายเก่ียวกับการให๎ตัวแทนจากองค๑กร ปกครองสํวนท๎องถ่ินเข๎ามามีสํวนรํวมในการดูแลขอทานและสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของขอทาน โดยการ ดูแลและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของขอทานไมไํ ดเ๎ ป็นหน๎าที่เฉพาะรัฐ แตํมีหนํวยงานท่ีให๎ความชํวยเหลือทางสังคม ที่มุํงให๎ความชํวยเหลือโดยตรงตํอประชาชนท่ีต๎องการความชํวยเหลือทางสังคม โดยเฉพาะคนขอทาน ภายในท๎องถิ่นน้ันๆ ซึ่งก็ถือเป็นการท่ีตัวแทนจากองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินเข๎ามามีสํวนรํวมในการดูแล และพัฒนาคุณภาพชีวิตของขอทาน เป็นนโยบายท่ีมีลักษณะแนวคิดในการลดการพ่ึงพาจากรัฐ ซ่ึงการ ดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของขอทาน ต๎องไมํทําลายความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสถาบัน ครอบครัว โดยให๎ครอบครัวและชุมชนมีสํวนรํวมในการดูแลเอาใจใสํ โดยรัฐจัดให๎เป็นแนวคิดที่ลดการบริการ จากรัฐ ทําให๎ครอบครัวและชุมชนมีสํวนรํวมในการดูแลผ๎ูขอทาน รวมทั้งยังมีหนํวยงานท่ีให๎ความชํวยเหลือ ทางสงั คมทม่ี งํุ ให๎ความชวํ ยเหลอื โดยตรงตอํ ประชาชนทตี่ อ๎ งการความชวํ ยเหลือ 4.1.2 สาธารณรัฐอนิ เดยี สาธารณรัฐอินเดีย มีหลักเกณฑ๑ในการพิจารณาวําการกระทําของบุคคลที่ถือวําเป็นขอทาน และในคํานิยามของขอทานในประมวลสาธารณรัฐอินเดีย ได๎ให๎คํานิยามการขอทานกลําวคือ การที่เที่ยวร๎อง ขอเงินตามสถานที่สาธารณะทั่วๆ ไป โดยอาศัยการร๎องเพลง การเต๎นรํา การทํานายโชคชะตา การเลํนกล หรือการขายของเล็กๆ น๎อยๆ เป็นเคร่ืองมือในการขอทาน รวมไปถึงการเข๎าไปในสถานท่ีสํวนบุคคล 25

โดยมวี ัตถุประสงคเ๑ พอื่ ทําการขอทาน รวมทงั้ การทเ่ี ปดิ เผยบาดแผล การทําให๎ตนเอง ผู๎อ่ืน หรือสัตว๑พิการ หรือ ปุวยเป็นโรค เพ่ือวัตถุประสงค๑ในการขอทาน หรือเป็นการขํมขํู หรือบังคับบุคคล เพ่ือให๎ขอทานและคนท่ีใช๎ ผูเ๎ ยาว๑โดยมวี ตั ถุประสงคใ๑ นการขอทาน 4.1.3 สหพนั ธรฐั มาเลเซีย สหพันธรัฐมาเลเซีย เป็นประเทศท่ีประชากรมีคุณภาพชีวิตท่ีดีมาก ประชากรมีอายุที่ยืนยาว จึงทําให๎สหพันธรัฐมาเลเซียให๎ความสําคัญในเร่ืองของขอทาน ซ่ึงโดยภาพรวมแล๎วในสหพันธรัฐมาเลเซีย มีแนวความคิด ในเรื่องการดูแลขอทานวําเป็นเรื่องความรับผิดชอบรํวมกันของสังคมและให๎รัฐบาลแหํงชาติ รัฐบาลท๎องถิ่นโดยองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน บริษัท ชุมชน ท๎องถ่ิน โครงการไมํแสวงหากําไร ประชาชน ทุกคนท่ีใกล๎ชิดกับขอทาน ซ่ึงไมํใชํเฉพาะแตํครอบครัว ได๎รํวมกันดูแลผ๎ูสูงอายุระยะยาว ซึ่งเป็นการสนับสนุน และสํงเสริมรวมไปถงึ การพฒั นาคุณภาพชีวิตของขอทาน อีกท้ังยังให๎ความสําคัญกับความต๎องการของขอทาน ในฐานะผู๎ใช๎บริการและมีความพยายามให๎ขอทานเข๎าถึงบริการให๎ได๎มากท่ีสุด ซึ่งมีขอบขํายครอบคลุม ในทกุ ด๎านทเ่ี ปน็ การจัดสวัสดิการที่ดี อันทําให๎เกิดการสํงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของขอทานให๎มีคุณภาพชีวิต ที่ดียิ่งข้ึนนอกจากน้ีสหพันธรัฐมาเลเซียได๎มีการบัญญัติกฎหมายให๎มีขอบเขตการบังคับใช๎ในลักษณะเ ดียวกัน กับอังกฤษ แตํจะแตกตํางในเรื่องของรายละเอียดของลักษณะการกระทํากลําวคือ บังคับใช๎ลงโทษแกํบุคคล ทไี่ ด๎มีการหาประโยชน๑จากขอทานไมํวําจะเป็นการจ๎าง นํามา ชักจูง หรือกักขังบุคคลใดไว๎เพ่ือสํงตัวไปขอทาน ยุยง สนับสนุนให๎มีการขอทาน หรือทําการขอทานตํอไป หรือทําให๎บุคคลต๎องตกอยูํในฐานะคนขอทาน โดยมี วตั ถปุ ระสงค๑เพื่อให๎สาธารณชนเกิดความสงสารและการได๎ผลประโยชน๑จากการขอทานของผ๎ูอ่ืน ไมํวําจะด๎วย วิธีการใดๆ และในสํวนของบทลงโทษกฎหมายของสหพันธรัฐมาเลเชียได๎บัญญัติให๎การแสวงหาประโยชน๑ จากการขอทานมคี วามผิดถงึ ข้นั จาํ คุกสูงสุด 5 ปี หรือตามท่ีกฎหมายบัญญัติ (ปัญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการ บังคับใช๎พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484, จิรวรรณ ทองพายัพ, (2558) น. 198-212, วิทยานพิ นธ๑หลกั สูตรนติ ิศาสตรม๑ หาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม) 5. แนวทางการแก้ไขและป้องกันปญั หาขอทาน ถ๎ากลําวถึงหนํวยงานราชการอยํางกรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย๑ คนสํวนใหญํก็มักจะเข๎าใจถึงการทํางานในด๎านการให๎บริการสวัสดิการสังคม การสังคมสงเคราะห๑แกผํ ๎ดู ๎อยโอกาส ผยู๎ ากไร๎ คนไรท๎ ่ีพง่ึ ผปู๎ ระสบปญั หาทางสังคม โดยการชํวยเหลือและแก๎ไข ปัญหาในรูปแบบของสถานสงเคราะห๑ และการประสานงานสํงตํอหนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎อง รวมทั้งการสํงเสริม สนับสนุนให๎ชุมชนและท๎องถิ่นจัดสวัสดิการสังคม เพื่อให๎กลํุมเปูาหมายท่ีมีปัญหาทางสังคมสามารถดํารงชีวิต และพึ่งตนเองได๎อยํางมีศักด์ิศรี แตํก็มีคนสํวนใหญํอีกเชํนกันที่ไมํรู๎วําเบ้ืองหลังการทํางานตํางๆ เหลํานั้น มีกระบวนการจดั การและวิธกี ารทาํ งานของกลุํมพนักงานเจ๎าหน๎าที่ผู๎ปฏิบัติงานในแตํละภาคสํวน และมีการสํง ตํอการชํวยเหลือเยียวยากันอยํางไร ซึ่งกํอนท่ีจะมีการสํงคืนกลุํมคนไร๎ที่พึ่ง เรํรํอน ขอทาน ไปสํูครอบครัว หรือสังคมน้ัน ดาํ นแรกทีส่ ําคัญมากคือการทํางานของพนักงานเจ๎าหน๎าท่ีผ๎ูปฏิบัติงานของบ๎านมิตรไมตรี สังกัด กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เป็นสถานที่พักพิงสําหรับกลุํมเส่ียงจะเป็นคนขอทาน หรือยังไมํมีที่พักพิง รวมไปถงึ คนเรํรอํ นในสถานทส่ี าธารณะตํางๆ เชํน สนามหลวง สถานีขนสํง เป็นตน๎ โดยในทกุ ๆ ค่ําคืนพนักงาน เจ๎าหน๎าท่ีผ๎ูปฏิบัติงานจะมีการลงพ้ืนที่ไปตามจุดตํางๆ และมีวิธีการที่ซับซ๎อนในการเข๎าถึงกลุํมคนไร๎ท่ีพึ่งและ กลุํมคนขอทาน เพื่อให๎การชํวยเหลือท่ีย่ังยืนกวําการให๎เงิน พนักงานเจ๎าหน๎าที่ผู๎ปฏิบัติงานดํานแรกกลํุมน้ี ทํางานโดยไมํมีคําวําในเวลาราชการ และเสียสละไมํเพียงแตํเวลาเทําน้ัน แตํยังหมายถึงการเสียสละกายใจ ใหก๎ ับการทาํ งานดว๎ ยเชํนกัน เพียงเพื่อเปูาหมายเดียวคือการชํวยเหลือเพื่อนมนุษย๑ด๎วยกันให๎สามารถยืนอยํูได๎ 26

ด๎วยเกียรติและศักด์ิศรี โดยไมํเป็นภาระกับสังคม ชุมชน และสามารถอยํูรํวมกับครอบครัวได๎อยํางปกติสุข (คําบรรยายประกอบ “คนค๎นฅน : ท่ีพึ่งของคนยาก”, ชํอง ทีวีบูรพา : เผยแพรํเม่ือวันที่ 12 ก.ย. 2560 โดย TvburabhaOfficial) ทีมขําวภูมิภาคชํอง 7 สี ออกอากาศเม่ือวันท่ี 26 มีนาคม 2560 พบวําปัญหาขอทานยังคง สํงผลกระทบตํอภาพลักษณ๑ ยิ่งเข๎าสํูยุค AEC ย่ิงทําให๎ประเทศไทยกลายเป็นแหลํงทํามาหากินของขอทาน จากประเทศเพ่ือนบ๎าน กรณีตัวอยํางเชํน เกาะสมุย ซ่ึงเป็นแหลํงพักผํอนของนักทํองเที่ยวท่ีตามท๎องถนน เตม็ ไปดว๎ ยขอทาน ทีมขําว 7 สี ได๎ลงไปสํารวจถนนเลียบชายหาดเฉวง พบวํามีกลํุมขอทานจากประเทศเพื่อน บ๎านจับจองพืน้ ทร่ี มิ ทางเท๎านั่งขอทานจากนกั ทอํ งเทยี่ ว เมอ่ื กลมุํ ขอทานเห็นทีมขําวได๎บันทึกภาพบางคนก็ขยับ หนี บางคนก็คว๎าโทรศัพท๑โทรบอกกลุํมเพ่ือนขอทานด๎วยกัน สํวนบางคนที่แกล๎งเป็นคนพิการเม่ือเห็นวํา ทมี ขาํ วกาํ ลังบนั ทึกภาพกห็ ายพิการฉับพลนั และลกุ ข้นึ เดนิ ได๎อยํางคนปกติเพื่อหลบหนี โดยทางสมาคมสํงเสริม การทํองเที่ยวเกาะสมุย มีความกังวลในเร่ืองภาพลักษณ๑การทํองเที่ยว เพราะภาพท่ีจะถูกเผยแพรํออกไป อาจทําให๎หลายคนเข๎าใจวําขอทานพวกน้ีเป็นคนไทย ซึ่งความจริงเป็นกลํุมประเทศเพื่อนบ๎านท่ีลักลอบเข๎ามา ดังน้ันหนํวยงานที่เก่ียวข๎องต๎องรีบเข๎ามาจัดการเร่ืองน้ีอยํางจริงจัง กํอนที่ปัญหาขอทานล๎นเมืองจะกลายเป็น ปัญหาท่ีสร๎างความยืดเยื้อให๎กับประเทศไทย ท่ีผํานมาตํารวจตรวจคนเข๎าเมืองเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร๑ธานี ไดร๎ ะดมกาํ ลังออกกวาดลา๎ งขอทานและเด็กขายพวงมาลัยบนเกาะสมุย โดยจับกุมตัวได๎ 9 คน ซึ่งสํวนใหญํเป็น ชาวเวียดนาม จากการตรวจสอบบ๎านพักไมํมีเลขที่ บริเวณหมูํที่ 3 ตําบลบํอผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร๑ธานี ตามคําให๎การของกลํุมคนขอทานชาวเวียดนามท่ีถูกจับกุมไปกํอนหน๎าน้ี วําเป็นแหลํงพักพิง ของกลุํมขอทานและเด็กขายพวงมาลัยชาวเวียดนาม กํอนท่ีจะออกตระเวนไปขอเงินจากนักทํองเท่ียว ชาวตํางชาติในชํวงกลางคืน และเจ๎าหน๎าท่ีได๎ออกกวาดล๎างขอทานตามสถานท่ีทํองเที่ยวชายหาดเฉวง ตําบล บํอผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร๑ธานี จับกุมขอทานได๎ 4 คน เป็นคนไทย 2 คน และคนกัมพูชา 2 คน นอกจากนย้ี งั จบั เด็กขายพวงมาลัยได๎อกี 5 คน ท้งั หมดเปน็ ชาวเวียดนาม โดยขอทานชาวเวียดนามและกัมพูชา ถูกแจ๎งข๎อหาหลบหนีเข๎าเมือง, ประกอบอาชีพที่ไมํได๎รับอนุญาต สํวนขอทานชาวไทยถูกสํงตัวให๎สํานักงาน พัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย๑จังหวัดสุราษฎร๑ธานี ดําเนินการตามข้ันตอนกระบวนการตํอไป (ข๎อมูลจาก : https://สภากาแฟ.net/threads/รัฐบาลกับปัญหาขอทานและคนจรจัด.4082/ เข๎าใช๎เม่ือวันที่ 26/01/61) ทีมขําวไทยรฐั ทีวไี ด๎ดาํ เนินการลงพื้นท่สี าํ รวจรปู แบบกระบวนการขอทานในกลุํมผ๎ูท่ีมีรํางกาย บกผํอง ผ๎ูพิการ และผ๎ูมีรํางกายครบ 32 ที่เรียกความสงสารจากผ๎ูคนท่ีเดินสัญจรผํานไปผํานมา โดยเฉพาะ การนําเด็กมาเป็นองค๑ประกอบ ซึ่งทีมงานไทยรัฐทีวี ได๎มีโอกาสปลอมตัวเป็นคนขอทาน ตั้งแตํเวลา 14.00 น. ถึงเวลา 17.00 น. ขณะท่ีทีมงานไทยรัฐทีวี นั่งปฏิบัติการขอทานอยํูบนสะพานลอยน้ัน มีขอทานเจ๎าถิ่น ชาวกัมพูชาได๎มาทวงคืนพื้นที่ โดยอ๎างวําตนได๎นั่งขอทานท่ีจุดนี้เป็นประจํา จากการตรวจสอบพบวําขอทาน รายน้ีมาขอทานอยูํบริเวณดังกลําวเป็นประจํา แม๎จะถูกเจ๎าหน๎าท่ีจับคุมและสํงกลับประเทศอยูํบํอยครั้ง ขอทานรายนก้ี ม็ วี ิธที ี่จะเดนิ ทางกลับมาขอทานยังที่แหํงนี้ได๎เหมือนเดิม ซึ่งบริเวณสะพานลอยเพียงแหํงเดียวมี ขอทานไมตํ า่ํ กวาํ 4 จดุ โดยขอทานแตลํ ะคนจะมีเด็กแรกเกิดจนถึง 10 ปี เพื่อเรียกความสงสารจากผู๎คนที่เดิน สัญจรผาํ นไปผาํ นมา จากการท่ีทีมงานไทยรัฐทีวี ได๎แฝงตัวเข๎าไปเป็นคนขอทานเป็นเวลากวํา 3 ช่ัวโมง พบวํา เงินรายได๎ที่มาจากการแฝงตัวเป็นคนขอทาน มีจํานวนมากกวํา 216 บาท 50 สตางค๑ ซึ่งผลพวงท่ีได๎เกิดจาก การที่คนไทยนั้น มีความเช่ือเร่ืองกรรมดีกรรมช่ัว การทําบุญให๎ทานกับคนท่ีขาดโอกาสหรือด๎อยกวํา จึงเป็น สิ่งที่อยูํในสังคมไทยตลอดมา และด๎วยอุปนิสัยการทําบุญให๎ทานด๎วยจิตใจเมตตาของคนไทย ทําให๎เกิดการ เข๎ามาขอทานของคนไทยและคนตาํ งชาติเพิม่ มากขนึ้ และพฒั นาไปสูํกระบวนการค๎ามนุษย๑ การทําร๎ายรํางกาย 27

จนถึงขั้นพิการ หรือการลักพาตัวเด็กจากผ๎ูปกครอง เพ่ือใช๎เป็นเครื่องมือหากินจากนํ้าใจของเพ่ือนมนุษย๑ ในสังคม (คําบรรยายประกอบ “ไทยรัฐนิวส๑โชว๑”, ไทยรัฐทีวี ชํอง 32 : เผยแพรํเม่ือวันท่ี 23 พ.ย. 2557 โดย Thairath) เหตุผลสํวนใหญํท่ีคนเลือกให๎เงินขอทานเพราะความสงสาร โดยเฉพาะเด็ก คนพิการ ผ๎ูสูงอายุ แตํหลังจากนี้ไปการจะให๎เงินขอทานอาจจะต๎องฉุดคิด เพราะอาจเป็นการไปสนับสนุนให๎ขอทาน ทําผิดกฎหมายตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ซ่ึงมีผลบังคับใช๎ตั้งแตํวันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ที่ระบวุ าํ ขอทานผิดกฎหมาย มโี ทษอาญา คนขอทานจาํ คกุ 1 เดือน ปรับไมํเกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ สํวนผู๎แสวงหาผลประโยชน๑จากการขอทาน มีโทษจําคุก 3 ปี หรือปรับไมํเกิน 3 หม่ืนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตามขั้นตอนขอทานท่ีถูกจับจะต๎องเข๎าสูํกระบวนการคัดกรอง ฟื้นฟู ฝึกทักษะสร๎างอาชีพ แตํหากขัดขืนก็ต๎อง จาํ คุกหรือปรบั แตกํ ารจะแก๎ปัญหาขอทานให๎ได๎ผลดีคือการ \"ไมํให๎เงินขอทาน\" และเม่ือพบเห็นขอทานให๎แจ๎ง ไปที่ศูนย๑ชํวยเหลือสังคม สายดํวน 1300 โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย๑ และองค๑การเฟรนด๑อินเตอร๑เนช่ันแนล ประเทศไทย ได๎จัดพิธีลงนามความรํวมมือการ ปูองกันและแก๎ไขปัญหาขอทานเด็กตํางด๎าวและครอบครัวอยํางยั่งยืน เพ่ือจัดระบบการชํวยเหลือให๎กลับคืนสูํ ประเทศต๎นทาง และเฝาู ระวงั ไมใํ ห๎กลบั มาขอทานซํ้าในประเทศไทย ซึ่งจากการลงพ้ืนที่จัดระเบียบขอทานตาม คําส่ังของ คสช. โดยพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑จังหวัดมุกดาหาร รํวมมือกับพนักงานเจ๎าหน๎าที่ ผ๎ูปฏิบัติงานรายงานความคืบหน๎าเกี่ยวกับการลงพื้นที่ตรวจสอบบริเวณตลาดอินโดจีน ริมชายฝ่ังแมํนํ้าโขง จากการตรวจสอบเจ๎าหน๎าท่ีผู๎ปฏิบัติงานได๎พบกับนายปรีดา คํามุงคุณ อายุ 39 ปี ชายพิการขาลีบท้ัง 2 ข๎างต้ังแตํกาํ เนิด สามารถพดู คุยสื่อสารได๎ตามปกติ ประกอบอาชีพขอทานอยํูในพ้ืนที่ตลาดอินโดจีน ตรวจสอบ ทรัพย๑สินภายในตัวพบเงินสด เป็นจํานวนกวํา 131,636 บาท บรรจุอยูํในถุงพลาสติกท่ีซุกซํอนไว๎ ในกระเป๋า เส้ือ จากการสอบถามนายปรีดา เลําวําเงินจํานวนดังกลําว ได๎มาจากการตระเวนขอทานไปตามสถานท่ีตํางๆ ในจังหวัด ดว๎ ยรถจกั รยานคูใํ จมาเป็นเวลากวํา 2 ปี โดยตนไดป๎ นั่ จกั รยานสองลอ๎ มาจากอําเภอดงหลวง จังหวัด มุกดาหาร เพือ่ มาขอทาน ท่ตี ลาดอนิ โดจนี และตลาดราตรีในเขตเทศบาลมุกดาหาร ซึ่งกระทําการในลักษณะน้ี เป็นอาชีพ โดยมีรายได๎ไมํต่ํากวํา 600-1,500 บาทตํอวัน และใช๎พ้ืนท่ีในบริเวณเขตโรงพยาบาลมุกดาหาร เพื่อพักอาศัยหลับนอน ทั้งน้ีการขอทานแตํละครั้ง ตนจะวางขันและนั่งลงกับพ้ืน ดัดเสียงให๎เล็กแหบ เพ่ือเรียกร๎องความสงสารแกํประชาชน แตํเมื่อพูดคุยก็จะใช๎เสียงปกติ อยํางไรก็ตามนายปรีดา มีเอกสาร ประจําตัวคนพกิ ารท่ถี ูกต๎องตามกฎหมายมสี ิทธไิ ด๎รบั เบี้ยเล้ียงยังชีพทุกเดือน ด๎านพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย๑จังหวัดมุกดาหาร และพนักงานเจ๎าหน๎าที่ผ๎ูปฏิบัติงานจะได๎ดําเนินการตามกระบวนการสังคม สงเคราะห๑ตํอไป (คําบรรยายประกอบ “ชัดทันขําว เสาร๑-อาทิตย๑”, ไทยรัฐทีวี ชํอง 32 : เผยแพรํเมื่อวันท่ี 27 ก.พ. 2558 โดย Thairath) นางงามจิต แต๎สุวรรณ หัวหน๎าศูนย๑ปฏิบัติการปูองกันและแก๎ไขปัญหาการขอทานและคนไร๎ ที่พ่ึง ในฐานะผ๎ูอํานวยการบ๎านมิตรไมตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ (พม.) พร๎อม ด๎วยตํารวจ สน.ชนะสงคราม ทหาร เทศกิจ และเจ๎าหน๎าท่ีจากมูลนิธิกระจกเงา รวมจํานวนกวํา 30 คน ลงพื้นที่โดยรอบสนามหลวง จํานวน 4 จุด คือ บริเวณฝั่งหน๎ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร๑ บริเวณหน๎า วัดมหาธาตุ บริเวณหน๎าพระแมํธรณีบีบมวยผม และบริเวณหน๎าศาลฎีกาเกํา เพ่ือจัดระเบียบคนเรํรํอน คนขอทาน และคนไร๎บา๎ นรอบพืน้ ท่ีสนามหลวง พบวํายังคงมีคนไร๎ท่ีพ่ึง คนเรํรํอน และคนขอทาน ออกมาเดิน เรํรอนตามท๎องถนน และอาศัยหลับนอนตามทางเท๎าสาธารณะเพิ่มข้ึนมากกวําเดิม ไมํวําจะเป็นบริเวณพ้ืนท่ี รอบนอกท๎องสนามหลวง ถนนมหาราช ถนนราชดําเนิน คลองหลอด อนุสาวรีย๑ชัยสมรภูมิ และถนนสุขุมวิท ดังนนั้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ จึงวางกรอบเวลา 30 วัน ให๎เจ๎าหน๎าที่ที่เกี่ยวข๎อง 28

ดําเนินการจัดระเบียบคนไร๎ที่พึ่ง คนเรํรํอน และคนขอทานเหลํานี้ให๎เรียบร๎อย สําหรับรูปแบบการดําเนินการ มีการแบํงพื้นท่ีปฏิบัติการออกเป็น 6 โซน ใน 50 เขตทั่วกรุงเทพมหานคร คือ โซนกรุงเทพฯ กลาง โซนกรุงเทพฯ เหนือ โซนกรุงเทพฯ ใต๎ โซนกรุงเทพฯ ตะวันออก โซนกรุงธนบุรีฝั่งเหนือ และโซนกรุงธนบุรี ฝั่งใต๎ โดยจะเน๎นในจุดท่ีพบกลํุมคนไร๎ที่พึ่ง คนเรํรํอน และคนขอทาน อาศัยอยํูรวมกันเป็นจํานวนมากๆ เป็นหลักอยํางไรก็ตามการจะทําให๎กรุงเทพฯ ปลอดจากคนเรํรอนและคนขอทานนั้น แม๎จะเป็นเร่ืองยาก แตํ พล.ต.อ.อดุลย๑ แสงสิงแก๎ว รัฐมนตรวี ําการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ในขณะน้ัน มีความเช่ือม่ันวําการปฏิบัติการจัดระเบียบคนเรํรอนและคนขอทานดังกลําว จะชํวยให๎คนเรํรํอนและ คนขอทานมปี รมิ าณลดนอ๎ ยลงอยํางแนํนอน สําหรับข้ันตอนหลังการจัดระเบียบในแตํละพื้นท่ี เจ๎าหน๎าท่ีจะนํา คนเรํรอน และคนขอทาน เข๎าสูํกระบวนการคัดกรองท่ีบ๎านมิตรไมตรี ซึ่งสํวนใหญํเกินกวําร๎อยละ 50 เปน็ ผ๎ูประสบปญั หาทางจิต ซ่ึงจึงต๎องนําไปเข๎ากระบวนการบําบัด ดูแล รักษา โดยกรมสุขภาพจิต แตํหากเป็น เด็ก ผส๎ู ูงอายุ ผ๎ูพิการ หนวํ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ๎ งของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ จะรับไป เยยี วยา ฟ้นื ฟู พร๎อมฝกึ อาชพี และเพิม่ ทักษะในชีวิตเพื่อไมใํ ห๎หวนกลับมาวงจรเดมิ อีก หากเป็นคนตํางด๎าวต๎อง เข๎าสกํู ระบวนการตามกฎหมายและผลักดันออกนอกประเทศ (ข๎อมูลจาก : https://สภากาแฟ.net/threads/ รฐั บาลกบั ปัญหาขอทานและคนจรจัด.4082/ เข๎าใชเ๎ มอื่ วนั ท่ี 26/01/61) ข๎อมูลจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ ในปี 2559 สํารวจพบวํา มีขอทานมากกวํา 4,000 คน เป็นคนไทยกวํา 2,000 คน เป็นคนตํางชาติกวํา 1,000 คน เกือบท้ังหมดเป็น ชาวกัมพชู า ซงึ่ สํารวจพบวาํ ขอทานมรี ายไดข๎ ัน้ ต่ํา 500 บาทตํอวนั และสูงสุดได๎วันละหลายพันบาท ขอทานถือ เป็นเร่ืองผิดกฎหมายและมีการห๎ามขอทานมาแล๎ว นับต้ังแตํมี พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 ครูหยุย วัลลภ ตังคณานุรักษ๑ หน่ึงในผู๎ผลักดันให๎มีกฎหมายนี้ กลําววํานี่อาจจะเป็นทางออกแก๎ปัญหาขอทาน ได๎ดีข้ึน นายพุฒิพัฒน๑ เลิศเชาวสิทธิ์ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการในขณะน้ัน กลําววําการบังคับใช๎ กฎหมายให๎ผ๎ูแสดงความสามารถไปข้ึนทะเบียนที่กรม พส. หรือ พมจ. ในแตํละจังหวัด สําหรับขอทาน หากจับกุมได๎มี 2 ทางเลือก คือ รับโทษปรับหรือจําคุก หรือยอมเข๎ารับการพัฒนาศักยภาพที่ศูนย๑ไร๎ท่ีพึ่ง เพื่อรับการฝึกทักษะอาชีพโดยเน๎นสร๎างรายได๎จริง ในขณะเดียวกันยังคงต๎องจัดการกับขอทานแฝงที่ให๎คนแกํ และเด็กเรํขายสินค๎า แทนการน่ังขอทานแบบเดิม และจัดการกับผู๎บังคับให๎ผ๎ูอ่ืนกระทําการขอทาน พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ได๎กําหนดบทลงโทษที่ชัดเจนขึ้นจากเดิมที่ไมํมีบทลงโทษ และนําตัวสํงสถาน สงเคราะห๑ หากหลบหนีปรับเพียง 100 บาท แตํในกฎหมายน้ีให๎มีโทษจําคุกไมํเกิน 1 เดือน ปรับไมํเกิน 10,000 บาท สํวนผู๎ท่ีแสวงหาประโยชน๑จากการขอทาน มีโทษจําคุกไมํเกิน 3 ปี ปรับไมํเกิน 30,000 บาท และมีโทษหนักข้ึนหากผู๎กระทําผิดเป็นเจ๎าหน๎าท่ีรัฐ แตํลําพังกฎหมายนี้จะไมํสามารถจัดการกับขอทาน ได๎จริงจัง จําเป็นต๎องอาศัยกฎหมายอ่ืนและเจ๎าหน๎าท่ีอีกหลายหนํวยงาน เชํน ตรวจคนเข๎าเมือง ตํารวจ ปราบปรามการค๎ามนุษย๑ แม๎แตํการตรวจดีเอ็นเอแมํและเด็กที่นั่งขอทานวํามีความสัมพันธ๑ทางสายเลือด เดียวกันหรือไมํ เป็นแนวทางบูรณาการจัดการเร่ืองหยุดวิถีขอทานอยํางมีประสิทธิภาพ โดยที่ผํานมา พม. จากการจัดระเบียบขอทาน พบเป็นคนตํางด๎าวเป็นชาวกัมพูชามากสุด และยังหลบหนีกลับเข๎ามาขอทานซ้ําๆ หากพบเปน็ พํอ แมํ ลูกจะจบั ตรวจดเี อ็นเอ เพอ่ื ปูองกันการลกั ลอบค๎ามนุษย๑ นายไมตรี อินทุสุต ปลัดกระทรวง การพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย๑ในขณะนั้น กลําววําจากการจัดระเบียบขอทานในกรุงเทพมหานคร และในสํวนภูมิภาค พบวํามีขอทานจํานวน 4,381 คน เป็นขอทานไทย 2,800 คน ตํางด๎าว 1,581 คน ทั้งนี้พบวําเป็นชาวกัมพูชามากสุด เพราะมีการเดินทางกลับมาขอทานซ้ํา แม๎จะสํงตัวกลับประเทศแตํก็ยัง หลบหนีเข๎ามาตามแนวตะเข็บชายแดน และเข๎ามาแบบคูํพํอแมํลูก หากมีเด็กรํวมอยํูด๎วยต๎องตรวจสอบ ความสัมพันธ๑ทางดีเอ็นเอ ถ๎าไมํตรงกันจะสํงให๎กับกองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการ 29

ค๎ามนุษย๑นําตัวเข๎าสํูกระบวนการตํอไป (ข๎อมูลจาก : https://สภากาแฟ.net/threads/รัฐบาลกับปัญหา ขอทานและคนจรจดั .4082/ เขา๎ ใช๎เมอ่ื วันท่ี 26/01/61) กระทรวงกลาโหมจัดประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนและปฏิรูปการบริหารราชการแผํนดิน ซงึ่ มีพล.อ. ประวิตร วงษส๑ ุวรรณ เปน็ ประธานฯ โดยหนึ่งในหัวข๎อการประชุมคือแผนการจัดระเบียบคนไร๎บ๎าน และขอทานในพ้ืนที่ท่ัวท้ังกรุงเทพมหานครในระยะเรํงดํวน ด๎าน ร.ต.หญิงพรชนก อ่ําพันธ๑ุ ทีม โฆษก กระทรวงกลาโหม กลําววํา พล.อ. ประวิตร วงษ๑สุวรรณ ส่ังการให๎กรุงเทพมหานคร เจ๎าหน๎าท่ีตํารวจ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ (พม.) และภาคเอกชน รํวมกันลงพ้ืนที่สํารวจและกําหนด กลุํมเปูาหมาย โดยให๎เริ่มดําเนินการตั้งแตํวันท่ี 1-31 มีนาคม 2559 โดยการดําเนินการท้ังหมดจะต๎องทําให๎ เรียบร๎อยภายใน 30 วัน และให๎รายผลให๎ท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบ โดยการจัดระเบียบขอทาน คือ การฟื้นฟูและเยียวยาขอทานซ่ึงเป็นคนไร๎ท่ีพึ่งให๎สามารถชํวยเหลือตัวเองได๎ โดยไมํกลับไปเป็นขอทานอีก แตํทวําขอทานมีหลากหลายประเภท บางรายมีอาการทางจิตรํวมด๎วย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการมีวิธี จัดการขอทานเหลาํ น้ี โดยมุงํ หวงั จะชบุ ชีวติ คนไร๎ทีพ่ ่งึ ท่ผี าํ นมาชุดปฏิบัติการจัดระเบียบขอทานและคนไร๎ที่พึ่ง ได๎ลงพื้นท่ีซอยนานา ยํานสุขุมวิท พบท้ังคนไร๎ท่ีพึ่ง คนขอทานท้ังคนไทยและตํางด๎าว สําหรับขอทานคนตําง ด๎าวสํงดําเนินคดีตางกฎหมายและผลักดันกลับประเทศต๎นทางและขอทานคนไทยจะถูกสํงตัวมายังศูนย๑ คุ๎มครองคนไร๎ที่พ่ึง เขตดินแดง โดยทันทีที่มาถึงเจ๎าหน๎าท่ีได๎นําตัวไปอาบนํ้า ตัดผม และให๎สวมใสํเสื้อผ๎าใหมํ แล๎วเริ่มกระบวนการคัดกรอง คนไร๎ที่พ่ึงบางคนปุวยทางจิต บางคนคาดวําเป็นพิษสุราเรื้อรัง สํวนขอทานบาง คนพบวาํ มาจากตํางจังหวัด หลงั จากคัดกรองเรียบร๎อย ท้ังหมดต๎องเข๎าสูํกระบวนการฟื้นฟูตามการจัดระดับ 3 ระดับ คือ ระดับ 1 คนท่ีไมํมีใครดูแลและเดือดร๎อน ศูนย๑ศูนย๑คุ๎มครองคนไร๎ที่พ่ึง เขตดินแดง จะสงํ ไปท่ีสถานค๎ุมครองคนไร๎ทพ่ี ่ึงจงั หวัดนนทบรุ ี ระดับ 2 คนท่ีอยูํตัวคนเดียว จะสํงไปยังโครงการธัญโมเดล เพื่อเรียนร๎ูวิถีเกษตรกร และเม่อื ศกั ยภาพพรอ๎ มกจ็ ะจดั สรรท่ีดนิ ทาํ กินให๎ในนิคมพ่ึงตนเอง พรอ๎ มท้ังยืน่ เรื่องขอพน๎ โทษคดขี อทาน ระดับ 3 หากเป็นคนที่มีครอบครัวต๎องดูแล ชุดฟ้ืนฟูจะไปที่บ๎านให๎การดูแลและ คม๎ุ ครอง ไมํใหก๎ ลบั มาขอทานซ้ําอีก ท้ัง 3 ระดับน้ี หากพบวาํ รํางกายมบี าดแผล หรือคาดวําปุวยทางจิต ชุดปฏิบัติการจะนําตัวสํง โรงพยาบาลทันที การปฏิบัติการจัดระเบียบขอทานและคนไร๎ที่พึ่ง ยังจะดําเนินการตํอไปเรื่อยๆ รํวมกับ หนํวยงานในท๎องที่ท้ังตํารวจ ทหาร โรงพยาบาล ตํารวจตรวจคนเข๎าเมือง จนกวําจะเห็นผลเป็นรูปธรรม โดย รฐั บาลไดจ๎ ัดตัง้ กองอํานวยการแกไ๎ ขปญั หาคนไรท๎ พี่ ่ึงและขอทาน หรือ กอค. และชุดปฏิบัติการ 10 ชุด เพื่อลง พ้ืนท่ีท่ัวกรุงเทพมหานคร เพ่ือจัดระเบียบขอทานและคนไร๎ที่พึ่งอยํางเข๎มข๎นตลอดเดือนมีนาคม 2559 โดยท่ี ผํานมาพบขอทานจํานวน 58 ราย คนไร๎ท่ีพ่ึงจํานวน 62 ราย คนตํางชาติจํานวน 29 ราย จึงนําเข๎าสูํ กระบวนการคดั กรองท่ีบ๎านมิตรไมตรี กรุงเทพมหานคร และสถานคุ๎มครองคนไร๎ท่ีพ่ึงจังหวัดนนทบุรี โดยกรณี คนไทย จะได๎รับการบําบัดฟื้นฟูสภาพรํางกายและจิตใจ ตรวจสอบปัญหาเพื่อให๎ความชํวยเหลืออยํางตรงจุด เสริมสร๎างความร๎ูและทักษะในการประกอบอาชีพ ชํวยให๎หารายได๎เลี้ยงตนเองและกลับไปใช๎ชีวิตในสังคมได๎ อยํางปกติ หากเป็นผ๎ูปุวยจิตเวชจะสํงไปยังสถานพยาบาลเฉพาะทาง สํวนผ๎ูท่ีเป็นคนตํางชาติจะดําเนินการ สงํ กลับประเทศ ทั้งน้ี พล.อ. ประยุทธ๑ จันทร๑โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน๎า คสช. กําชับให๎เพิ่มความ เข๎มงวดเป็นพเิ ศษกบั กลํุมขอทานเด็ก เพราะอาจเปน็ เหย่อื ในกระบวนการคา๎ มนษุ ย๑ โดยระบุวําต๎องแก๎ไขปัญหา น้ีจากตน๎ เหตุ ปญั หาคนเรํรอํ นและขอทานที่เป็นเด็กและเยาวชน ถือเป็นปัญหาท่ีรฐั บาลกาํ ลังเรํงจัดการให๎หมด 30

ไปจากสงั คม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร ถอื เป็นหนํวยงานหลักท่ีเข๎ามาดูแลและแก๎ไขปัญหาอยํางตํอเนื่อง โดยการนํากลุํมคนดังกลําวเหลํานี้ เข๎ารับการอบรมเสริมสร๎างอาชีพและปรับทัศนคติ เพ่ือไมํให๎มาใช๎ชีวิต เปน็ คนเรํรอํ นหรือขอทาน พร๎อมยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ให๎ดีข้นึ ซ่ึงทกภาคสํวนที่เก่ียวข๎องได๎เดินหน๎าอยํางเต็มท่ี ตามนโยบายของภาครฐั ท่ีต๎องการใหค๎ นเหลาํ น้ีมาพฒั นาศกั ยภาพให๎เกดิ คณุ คาํ ในตัวเอง ยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหล่ือมลํ้าของคนในสังคม อีกท้ังให๎บูรณาการความรํวมมือทํางานในเชิงปูองกันและแก๎ไขท่ีต๎นตอ เชํน การใช๎ความรุนแรงในครอบครัว การติดยาเสพติด ความตึงเครียดจากเศรษฐกิจ การตั้งครรภ๑ไมํพร๎อม และขอความรวํ มมอื จากประชาชนท่พี บเห็นขอทานหรือคนไร๎ที่พึ่ง ให๎แจ๎งศูนย๑ชํวยเหลือสังคม 1300 ได๎ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการบังคับใช๎ พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ในชํวงปลายเดือนกรกฎคมของปี 2559 ที่ผํานมา นอกจากจะมีการเพ่ิมอัตราโทษผู๎ทําการขอทานแล๎ว ยังกําหนดให๎ผู๎ท่ีต๎องการแสดงความสามารถ ในท่ีสาธารณะ จะต๎องมีบัตรประจําตัวและต๎องขออนุญาตกํอนทําการแสดง เพราะไมํเชํนน้ันจะมีความผิด ตามกฎหมาย (ข๎อมูลจาก : https://สภากาแฟ.net/threads/รัฐบาลกับปัญหาขอทานและคนจรจัด.4082/ เขา๎ ใช๎เมอ่ื วันท่ี 26/01/61) สถติ คิ นขอทานชวํ งปี พ.ศ. 2557-2558 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ ไดด๎ าํ เนินการเก็บขอ๎ มลู และจดั ระเบยี บคนขอทานในกรุงเทพฯ และสํวนภูมภิ าค 77 จงั หวัด จาํ นวน 3 ครั้ง ครัง้ ที่ 1 ระหวาํ งวนั ท่ี 14 – 20 ตลุ าคม พ.ศ. 2557 คร้งั ท่ี 2 ระหวํางวันท่ี 19 – 25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2557 ครง้ั ที่ 3 ระหวํางวนั ที่ 26 – 30 มกราคม พ.ศ. 2558 พบวาํ มีคนขอทานในประเทศจาํ นวนท้ังสิน้ 1,567 คน ซง่ึ สามารถจาํ แนกประเภท ดงั นี้ 1) ประเภทคนขอทาน โดยการคัดกรองออกเป็นกลํุมคนไทย จํานวน 750 คน และ กลุมํ คนตาํ งดา๎ ว จาํ นวน 436 คน รวมท้ังสิ้น 1,186 คน จังหวัดที่พบขอทานมากที่สุด ได๎แกํ กรุงเทพมหานคร จังหวดั ชลบุรี จงั หวดั นครราชสมี า จังหวัดเชยี งราย และจังหวัดนครสวรรค๑ 2) ประเภทเด็กขอทาน เป็นเด็กไทยจํานวน 64 คน และเด็กตํางด๎าวจํานวน 86 คน รวมท้ังส้ิน 147 คน ในจํานวนนี้เป็นเด็กที่มาขอทานในลักษณะเป็นคูํแมํลูกหรือคํูพํอลูก โดยจังหวัดที่มีเด็ก มาขอทานมากที่สุด ได๎แกํ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ๑ จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสุพรรณบรุ ี 3) ประเภทคนพิการขอทาน โดยจะแยกความพิการออกเป็น 6 ด๎าน ได๎แกํ ด๎านการ เคลื่อนไหวทางรํางกายจํานวน 16 คน ด๎านการมองเห็นจํานวน 64 คน ด๎านการได๎ยินและสื่อความหมาย จํานวน 22 คน ด๎านจิตใจหรือพฤติกรรมจํานวน 22 คน ด๎านสติปัญญาจํานวน 5 คน และพิการซ้ําซ๎อน จํานวน 1 คน รวมท้ังสิ้น 234 คน โดยจังหวัดท่ีคนพิการมาขอทานมากท่ีสุด ได๎แกํ จังหวัดมหาสารคาม จงั หวดั บึงกาฬ จงั หวัดเลย จงั หวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดกาฬสินธ๑ุ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย๑ ได๎มกี ารเสนอแนวทางแก๎ไขและปูองกัน ปญั หาขอทานในเชิงนโยบาย ดงั ตอํ ไปนี้ 1) รัฐควรกําหนดนโยบายและจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบตํางๆ แกํผู๎ด๎อยโอกาส อยํางเพียงพอและท่ัวถึง โดยการให๎ความร๎ูด๎านสิทธิข้ันพื้นฐานในการเข๎ารับบริการขั้นพ้ืนฐานของรัฐ รวมถึง สิทธิการเข๎าถึงบริการด๎านกฎหมาย เพื่อลดความเหล่ือมลํ้าของสังคมและสร๎างโอกาสหรือสร๎างอาชีพ ใหผ๎ ดู๎ ๎อยโอกาสได๎มีความม่ันคงในชีวิต 2) รัฐควรทําหน๎าที่ประสานความรํวมมือกับหนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง เพ่ือรณรงค๑ให๎ คนในสังคมไมํสนับสนุนการขอทาน ซึ่งเช่ือมโยงไปสูํการคุ๎มครองกลุํมเส่ียงหรือผู๎ที่จะถูกแสวงหาผลประโยชน๑ 31

ในการค๎ามนุษย๑ โดยมีการทบทวนบทบาทของหนํวยงานท่ีเก่ียวข๎อง โดยต๎องรํวมกันหาแนวทางและแก๎ไข ปัญหาแบบบูรณาการรํวมกันตามบริบทของสภาพสังคมในปัจจุบัน เพ่ือทําให๎เกิดภาพลักษณ๑ที่ดีตํอประเทศ และมีความเป็นระเบียบเรียบร๎อยมากขน้ึ 3) พระราชบัญญัติควบคุมคนขอทาน พ.ศ. 2559 ที่สอดรับกับสถานการณ๑ปัจจุบัน และนํากฎหมายท่ีเกี่ยวข๎องมาบังคับใช๎อยํางเครํงครัด เพ่ือเป็นกลไกชํวยเหลือขอทานไมํให๎ตกเป็นเหยื่อ ของขบวนการค๎ามนุษย๑ โดยการจัดทําข๎อตกลงความรํวมมือ (MOU) กับประเทศเพื่อนบ๎าน เพื่อรองรับการ เปิดประชาคมอาเซียนโดยมีการประสานงานด๎านนโยบายแผนงาน ระหวํางหนํวยงานท้ังภาครัฐและ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข๎อง เพ่ือแก๎ไขปัญหาคนขอทานอยํางย่ังยืน และกํากับดูแลการปฏิบัติงานของเจ๎าหน๎าท่ี ปราบปรามคนขอทานใหป๎ ฏิบตั ติ ามระเบียบอยํางเครํงครดั เพราะอาจกระทบความสมั พันธ๑ระหวาํ งประเทศได๎ 4) ควรปรับปรุงกฎหมายและเพ่ิมบทลงโทษมากข้ึน สําหรับกลํุมมิจฉาชีพท่ีนําเด็ก สตรี ผ๎ูสูงอายุ ผ๎ูพิการมาเป็นเครื่องมือในการขอทาน หรือบุคคลที่ใช๎คนขอทานเป็นเคร่ืองมือแสวงหา ผลประโยชน๑โดยมิชอบด๎วยกฎหมาย เชํน บัญญัติโทษทางอาญาแกํผู๎อยูํเบื้องหลังการขอทาน เพื่อมิให๎ เปน็ ตัวอยํางในการกระทาํ ผิด 5) หนํวยงานภาครัฐในท๎องถ่ินควรสํงเสริมให๎สถาบันครอบครัวและชุมชนดูแล เอาใจใสํบุตรหลาน คนในครอบครัว หรือคนในชุมชนอยํางใกล๎ชิด ควรมีกิจกรรมภายในครอบครัวและชุมชน เพ่ือสร๎างความสัมพันธ๑ท่ีดีให๎เกิดขึ้นภายในครอบครัวและชุมชน รวมถึงคอยสอดสํองดูแลเพื่อปูองกัน มิให๎คนในชุมชนกลายเป็นคนขอทานตามข๎างถนน หรือเข๎าสํูวงจรของยาเสพติดและปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ (ยอดขอทาน รบ. “บ๊กิ ต”ํู ลําสุด 1,567 ราย ตํางดา๎ ว 436 ราย “กทม.”ครองแชมป์, 2558) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ ได๎ออกมาตรการจัดระเบียบคนขอทาน เน่ืองจากมีการนําเด็ก สตรี ผ๎ูสูอายุ หรือผู๎พิการ มาเป็นเครื่องมือ ในการขอทานเพ่ิมข้ึน โดยถือเป็นปัญหาการค๎ามนุษย๑อีกด๎านหน่ึง ซ่ึงประเทศสหรัฐอเมริกาได๎ประกาศ ปรับลดระดับปัญหาการค๎ามนุษย๑ของประเทศไทยไปท่ีระดับ 3 (Tier 3) จากเดิมประเทศไทยถูกจัดระดับ อยูํท่ี 2.5 (Tier 2 watch list) เป็นระยะเวลา 4 ปีติดตํอกัน ทําให๎ภาครัฐมีความพยายามในการแก๎ไขและ ปูองกันปัญหาในรูปแบบตํางๆ ให๎เป็นรูปธรรมมากข้ึน ดังนั้นกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย๑ จึงได๎จัดการประชุมเพื่อจัดทํารํางบันทึก ความรํวมมือระหวํางหนํวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีเกยี่ วข๎องทง้ั หมด เพอื่ รวํ มกันในการประสานขอ๎ มลู และแจง๎ เบาะแสปัญหาสงั คม จาํ นวน 4 ดา๎ น คอื 1) ปญั หาการคา๎ มนษุ ย๑ 2) การใช๎ความรุนแรงตอํ เด็ก สตรี ผูส๎ ูงอายุ 3) การตั้งครรภ๑ไมํพร๎อม 4) การใชแ๎ รงงานเดก็ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑ ได๎ดําเนินการจัดการประชุมซักซ๎อม แผนการดําเนินงานการจัดระเบียบขอทานทั่วประเทศ ซึ่งดําเนินการไปแล๎วเม่ือวันท่ี 21 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยมี พล.ต.อ.อดุลย๑ แสงสิงแก๎ว รัฐมนตรีวําการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ (ในขณะน้ัน) เป็นประธานในการประชุมดังกลําว ผลการประชุมสรุปวํากระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย๑ ต๎องดําเนินการบูรณาการแก๎ไขและปูองกันปัญหารํวมกับหนํวยงานตํางๆ เพ่ือเตรียมพร๎อมกํอน การจดั ระเบยี บขอทานพรอ๎ มกันท่ัวประเทศ และกําหนดนโยบายการดําเนนิ งาน โดยใชห๎ ลัก 3P ได๎แกํ 32

1) การบังคับใช๎กฎหมาย (Policy) เป็นนโยบายเพ่ือเพ่ิมแนวทางการขับเคลื่อนงาน ใหค๎ รอบคลมุ และเน๎นการบังคับใช๎กฎหมายใหม๎ ปี ระสิทธิภาพ เชํน - แตํงตงั้ คณะกรรมการแก๎ไขปัญหาการขอทานจงั หวัด - แตํงตง้ั พนกั งานเจา๎ หนา๎ ท่ีปฏบิ ัติงานค๎ุมครอง - จัดระเบียบคนขอทานและจัดทาํ ทะเบยี นข๎อมลู - โครงการจดั ทําและพฒั นาฐานขอ๎ มูลคนขอทาน - ขยายผลดําเนนิ คดกี บั ขบวนการค๎ามนษุ ย๑ - แก๎ไขปรับปรงุ พระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2484 - จดั ตง้ั ศูนยอ๑ ํานวยการปูองกนั และแก๎ไขปญั หาการขอทาน 2) การค๎มุ ครองชํวยเหลือ (Protection) เปน็ การพัฒนากระบวนการให๎การค๎ุมครอง ชํวยเหลือ ฟ้นื ฟู ตามปัจจยั และสาเหตุการเปน็ ขอทาน เชํน - ทาํ บันทกึ ความรวํ มมือเพอื่ ความม่นั คงทางอาชีพและรายได๎ - คดั แยกเหย่ือจากการค๎ามนษุ ย๑ และการค๎ุมครองสวสั ดิภาพคนขอทาน - จัดบรกิ ารฟ้ืนฟู และพัฒนาศักยภาพคนขอทาน - เสริมสรา๎ งศักยภาพบุคลากรท่เี กี่ยวข๎องในการปฏิบตั งิ าน 3) การปูองกัน (Prevention) เป็นการปูองกันในรูปแบบตํางๆ ซ่ึงเป็นสิ่งสําคัญและ เป็นมาตรการที่จะชํวยในการจัดการปัญหาได๎อยํางเหมาะสม รวมไปถึงการรณรงค๑ประชาสัมพันธ๑ให๎สังคม ตระหนักถึงการปูองกนั อยาํ งถูกวธิ ี เชนํ - ศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบการค๎ุมครองทางสังคม เพื่อปูองกันแก๎ไข ปญั หาการขอทานและกลุํมเสีย่ ง - รณรงคป๑ ระชาสมั พนั ธ๑อยํางตอํ เน่ือง - ให๎ความร๎ูเรื่องกฎหมายและสิทธิในการเข๎าถึงบริการพื้นฐาน และบริการ ดา๎ นสวสั ดิการ - สํงเสริมภาคีเครือขําย โดยมีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนษุ ย๑ เปน็ แกนนาํ เฝูาระวงั ปัญหา - ทําข๎อตกลงรํวมมือ (MOU) กับภาคีเครือขํายในการแก๎ไขปัญหาขอทาน ตาํ งด๎าว รวมทั้งมอบหมายให๎กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย๑ จัดต้ังศูนย๑ปฏิบัติการการจัดระเบียบคนขอทาน (ศูนย๑ค๎ุมครองคนไร๎ท่ีพ่ึงและขอทาน) เพ่ือรํวมมือกับหนํวยงานระดับจังหวัดในการดําเนินการจัดระเบียบขอทานท่ัวประเทศ โดยเชื่อมโยงกับภาคี เครือขํายและให๎ดําเนินการอยํางจริงจังตํอเนื่องทุกเดือน กรณีการจัดระเบียบท่ีผํานมา พบวํามีขอทานท่ียังคง กลับมากระทําซํ้าโดยเฉพาะขอทานตํางด๎าว จึงต๎องมีการทบทวนข๎อตกลงความรํวมมือกับประเทศเพ่ือนบ๎าน เพ่ือเพิม่ ประสิทธิภาพในการแก๎ปัญหามากย่ิงข้ึน (เอกสารประกอบการประชุมซักซ๎อมแผนการดําเนินงานการ จดั ระเบยี บคนขอทานทัว่ ประเทศ, 2558) ทั้งน้ี ข๎อมูลผลการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ในชํวงปี 2561 ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยการมุํงขับเคล่ือนภารกิจการแก๎ไขปัญหาคน ขอทาน อยํางเป็นระบบ ตามนโยบาย 3P ดงั น้ี 33

1) ดา๎ นการขบั เคลอ่ื นนโยบาย (Policy) 1.1) การขับเคลื่อนนโยบายผํานกลไกคณะกรรมการ 3 ระดับ คือคณะกรรมการ ควบคมุ การ ขอทาน คณะอนกุ รรมการพฒั นามาตรการกลไก เพอื่ การควบคุม ค๎ุมครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผทู๎ าํ การขอทาน และ คณะอนุกรรมการควบคุมการขอทานจังหวัด ทําหน๎าที่ในการเสนอโยบายและมาตรการ เกี่ยวกับการควบคุม คุ๎มครองและ พัฒนาชีวิตผู๎ทําการขอทาน การปูองกันและแก๎ไขปัญหา รวมท้ังการออก ระเบียบ หลักเกณฑ๑ และวธิ ีการดําเนนิ การ กบั ผแู๎ สดงความสามารถ 1.2) การแตํงตั้งพนักงานเจ๎าหน๎าท่ีตามพระราชบัญญัติที่เป็นการบูรณาการความ รํวมมอื กับหนํวยงาน ภาคีเครือขาํ ย เพ่ือเปน็ หุ๎นสํวนในการดาํ เนนิ งานค๎มุ ครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู๎ทําการ ขอทานในระดับพ้ืนที่ ซ่ึงปัจจุบัน มีพนักงานเจ๎าหน๎าท่ีตามพระราชบัญญัติแล๎ว จํานวน 1,280 คน (ข๎อมูล ณ วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2561) ซ่งึ อยํรู ะหวําง การปรบั ปรุงหลกั สูตรการอบรมฯ จากเดมิ 6 ชวั่ โมง เป็น 30 ชว่ั โมง 1.3) การจัดทํารํางคูํมือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ๎าหน๎าท่ีตามพระราชบัญญัติ ควบคุม การขอทาน พ.ศ.2559 เพื่อให๎มีแนวทางการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน๑สูงสุดตํอ กลุมํ เปาู หมาย 1.4) การจัดระเบียบขอทาน โดยจากสถิติการจัดระเบียบขอทานทั่วประเทศ ต้ังแตํ เดือนตุลาคม 2557 ถึงวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 จํานวนทั้งสิ้น 5,053 ราย เป็นเพศชาย 3,018 ราย เป็นเพศ หญิง 2,035 ราย นอกจากน้ียังพบวําขอทานสํวนใหญํเป็นขอทานไทย จํานวน 3,138 ราย คิดเป็นร๎อยละ 63 สํวนขอทานตํางด๎าว มีจํานวน 1,915 ราย คิดเป็นร๎อยละ 37 ซ่ึงสํวนใหญํมีสัญชาติกัมพูชา พมํา ลาว เวียดนาม โดยพื้นท่ีที่พบขอทานมากท่ีสุด 3 อันดับ คือ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และชลบุรี ในยําน ตลาด แหลงํ ชมุ ชน และวัด 2) ดา๎ นการค๎ุมครอง (Protection) 2.1) การจัดทําความรํวมมือ (MOU) การพัฒนาระบบค๎ุมครองคนไร๎ที่พ่ึงและ ขอทานในชุมชน กับเทศบาลนครท่ัวประเทศ จํานวน 29 แหํง และเมืองพัทยา รวมเป็น 30 แหํง เม่ือวันท่ี 26 มกราคม 2561 เพื่อเป็นเครือขํายความรํวมมือในการขับเคล่ือนการดําเนินงานค๎ุมครองและพัฒนา กลุํมเปูาหมายในระดับพ้นื ท่ี - เม่ือวันท่ี 30 พฤษภาคม 2561 ได๎มีการลงพ้ืนท่ีเพ่ือสร๎างความเข๎าใจให๎กับ ผู๎บริหารเทศบาล นครเชียงราย เพ่อื จะไดจ๎ ดั ทาํ ความรวํ มมือตํอไป - วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2561 จดั ประชุมสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารถอดบทเรียนและ พัฒนา กระบวนการดาํ เนนิ งานตามบนั ทกึ ขอ๎ ตกลงเพอื่ ถอดบทเรยี น พัฒนากระบวนการดําเนินงาน และจัดทํา แผนปฏบิ ตั ิ การรํวมกัน ระหวาํ งกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ กบั เทศบาลนคร และเมอื งพทั ยา 2.2) การดําเนินการกับผ๎ูกระทําการขอทาน ต้ัง เดือนตุลาคม 2557 - วันที่ 22 มิถุนายน 2561 มีดงั นี้ - สงํ คนื ครอบครัว (หลังบนั ทึกจับกมุ /ปรับ) จํานวน 1,751 ราย - สํง ตม.และผลักดันกลบั ประเทศต๎นทาง จํานวน 1,847 ราย - เข๎ารบั การคมุ๎ ครองสถานคม๎ุ ครองฯ (ตามมาตรา 16) จํานวน 1,325 ราย - สงํ ตรวจ DNA พิสจู นค๑ วามสมั พนั ธ๑ จํานวน 75 ราย - สํงโรงพยาบาล 55 ราย 34

3) ด๎านการปูองกัน (Prevention) 3.1) การรณรงค๑ ประชาสัมพันธ๑ “ให๎ทานถกู วิธี ลดวถิ กี ารขอทาน” 3.2) การแยกผ๎ูทําการขอทานออกจากผ๎ูแสดงความสามารถ มีการสํงเสริมและ พัฒนาศักยภาพ ผ๎แู สดงความสามารถ เพื่อยกระดบั การแสดงให๎มีคุณภาพและมีมาตรฐาน พัฒนาสํูการเป็นมือ อาชีพ การมรี ายได๎ และมงี านทาํ ทม่ี ั่นคง เพ่ือปอู งกนั ไมํใหเ๎ ขา๎ สกํู ารเป็นขอทาน - เปิดลงทะเบียนผู๎แสดงความสามารถ ณ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย๑จังหวัด และศูนย๑คุ๎มครองคนไร๎ที่พ่ึงกรุงเทพมหานคร โดยมีผู๎ลงทะเบียนแล๎ว จํานวน จํานวน 3,164 ราย (ข๎อมลู ณ วนั ที่ 18 มถิ นุ ายน 2561) - โครงการนํารํองในการพัฒนาศักยภาพผู๎แสดงความสามารถใน 2 ด๎าน คือ ด๎านดนตรี (ศูนย๑พัฒนาศักยภาพผู๎แสดงความสามารถกรุงเทพมหานคร) และด๎านหมอลํา (ศูนย๑พัฒนา ศักยภาพผู๎แสดง ความสามารถจงั หวดั ขอนแกํน) - การสํงเสริมและพัฒนาศักยภาพผ๎ูแสดงความสามารถด๎านดนตรี 2 หลักสูตร คือ หลกั สตู ร พ้ืนฐาน มีผู๎ผาํ นการอบรม จาํ นวน 399 คน หลกั สตู รการพฒั นาการเป็นนักร๎องและนักดนตรี จัด อบรม 3 รุํน มีผู๎ผํานการอบรม จํานวน 119 คน ซ่ึงได๎รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสํงเสริมและ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต คนพกิ าร กรมสงํ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ จาํ นวน 3,821,050.- บาท - การเปิดถนนเสรีผ๎ูแสดงความสามารถเพื่อให๎ผู๎แสดงความสามารถได๎มีพ้ืนที่ใน การแสดง อยํางถูกต๎อง ซ่ึงเป็นการดําเนินการ ตามมาตรา 14 พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559 ซ่ึง กําหนดให๎ท๎องถิ่น ประกาศพื้นท่ีสําหรับแสดงความสามารถ ปัจจุบันได๎ประกาศแล๎ว 16 จังหวัด จํานวน 158 แหํง ตลอดจนมีพ้ืนท่ีที่ อนุญาตให๎แสดงความสามารถ 14 จังหวัด จํานวน 67 แหํง และอยูํระหวํางการ ดําเนนิ การประกาศอยาํ งตํอเนื่อง จากข๎อมูลที่ได๎กลําวมาท้ังหมดข๎างต๎น ปัญหาของคนขอทานนับวําเป็นปัญหาที่สําคัญปัญหา หน่งึ ของสงั คมไทย ท่ีเราทุกคนทุกภาคสํวนต๎องรํวมมือกันแก๎ไขปัญหา ภาครัฐต๎องขจัดขบวนการฉ๎อฉลเหลําน้ี ให๎หมดไป ในขณะเดียวกันเราควรสอดสํองดูแลผู๎ท่ีตกทุกข๑ได๎ยากและชํวยเหลือตามสมควร โดยไมํใชํการให๎ เพยี งแคทํ ุนทรพั ย๑แตคํ วรจะสอนใหเ๎ ขายืนไดด๎ ๎วยตัวเอง ดงั ตอํ ไปนี้ 1) ด๎านการแก๎ไขปัญหาขอทาน รัฐบาลควรบัญญัติกฎหมายลงโทษปรับเงินควบคูํ ไปกับการสงเคราะห๑แกํคนขอทานอาชีพ ควรประสานนโยบายแผนงานระหวํางหนํวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เก่ียวข๎อง เพ่ือแก๎ไขและปูองกันปัญหาขอทานอยํางจริงจัง และกํากับดูแลการปฏิบัติงานของเจ๎าหน๎าท่ี ปราบปรามคนขอทานอยํางเครํงครัด ควรเปิดโอกาสให๎ “วณิพก” (ผู๎มีบัตรแสดงความสามารถ) กระทําการ แสดงความสามารถได๎อยํางเสรี 2) ด๎านการปูองกันปัญหาขอทาน รัฐบาลตลอดจนหนํวยงานท่ีเก่ียวข๎อง ควรประชาสัมพันธ๑ให๎ประชาชนทราบถึงบริการสวัสดิการสังคมตํางๆ และการกระจายบริการประกันสังคม ไปสูํประชาชนที่ประกอบอาชีพอิสระตํางๆ ตลอดจนปรับปรุงพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 โดยเพิ่มบทลงโทษแกํสถานประกอบการตํางๆ ในกรณีไมํรับคนพิการเข๎าทํางานและจํายเงินเข๎า กองทุนฟ้ืนฟูสมรรถภาพพิการแทน และเพิ่มการให๎ความชํวยเหลือแกํคนเรํรํอน เชํน ท่ีพัก การให๎ความร๎ู เกยี่ วกบั การทกั ษะดํารงชีวิต และการประกอบอาชพี เป็นต๎น 3) ด๎านการพัฒนาสังคม ภาครัฐควรจัดการศึกษานอกระบบให๎กระจายไป ทั่วประเทศ โดยเพ่ิมโอกาสให๎ทุกคนสามารถเข๎าถึงการศึกษาและองค๑ความรู๎ท่ีเป็นประโยชน๑ได๎งํายขึ้น 35

ตลอดจนการสํงเสริมการจัดตั้งกลํุมหรือองค๑กรภาคประชาชนขึ้นในทุกชุมชน และการกําหนดนโยบายการ พฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื สอดคล๎องกับนโยบายรัฐบาล ทั้งนี้สําหรับปัญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการจัดระเบียบขอทานท่ัวประเทศตาม นโยบาย 3P โดยศนู ย๑คม๎ุ ครองคนไรท๎ พ่ี ่ึง กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ ประกอบดว๎ ย 1) พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 เป็นกฎหมายที่มีบทกําหนดโทษ แตทํ ัง้ นใี้ นทางปฏิบัตยิ ังไมํได๎มีการกําหนดระดับของความผิดเพ่ือเปรียบเทยี บปรับที่ชัดเจน 2) การตีความกฎหมายของหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องยังมีความคลาดเคลื่อนและความ เขา๎ ใจทไ่ี มํตรงกัน 3) คํานิยมและความเช่ือของคนไทยเร่ืองการให๎ทาน การทําบุญ เป็นปัจจัยสําคัญ ท่ียังทาํ ให๎มีการขอทาน 4) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและวิธีการขอทาน ทําให๎ยากตํอการตีความวําเข๎าขําย การกระทาํ ความผดิ หรือไมํ 5) การขาดฐานข๎อมูลท่ีเชื่อมตํอกันระหวํางหนํวยงาน องค๑กรที่เกี่ยวข๎อง ทําให๎ เจ๎าหน๎าทผ่ี ปู๎ ฏิบัตงิ านไมมํ ีฐานข๎อมลู เรื่องการขอทานซาํ้ อันจะเปน็ ประโยชน๑ตอํ การปฏบิ ัติงาน 6) ผู๎เคยกระทําการขอทานที่เข๎ารับการพัฒนาอาชีพ เมื่อกลับไปประกอบอาชีพจริง แล๎ว ไมํไดร๎ ับผลตอบแทนทค่ี ๎มุ คํา จงึ หนั กลับมาเป็นขอทานซ้ํา 7) ผู๎กระทําการขอทานสํวนใหญํเคยมีอาชีพรับจ๎าง ซ่ึงมีรายได๎ที่ไมํแนํนอน และใช๎ แรงงานหนกั จึงเกดิ ความคดิ ที่จะขอทาน เพราะได๎รายไดด๎ แี ละไมํต๎องลงทนุ ลงแรงอะไร 6. งานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง ศรุติรัตน๑ ขาวพันธ๑ (วารสารวิจัย : รามคําแหง, 2558, น.71-83) ได๎ทําการศึกษาวิจัย เชิงคณุ ภาพ เรือ่ ง “เดก็ ขอทาน : ผลติ ผลจากการค๎ามนุษย๑” มีวัตถุประสงค๑เพื่อศึกษาถึงกระบวนการค๎ามนุษย๑ โดยการนําเด็กมาเป็นขอทานในประเทศไทย และศึกษากระบวนการแก๎ไขปัญหาการค๎ามนุษย๑ในประเทศไทย ซง่ึ ใช๎วิธีวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ ได๎แกํ การศึกษาจากเอกสารตําราทางวิชาการท่ีเกี่ยวข๎อง และการเก็บรวบรวมข๎อมูล ภาคสนามโดยการเข๎าไปพูดคุย สอบถาม และสัมภาษณ๑แบบเป็นทางการกับเจ๎าหน๎าท่ีตํารวจ หนํวยงาน ปูองกันและปราบปรามการค๎ามนุษย๑ (ปคม.) เจ๎าหน๎าที่ตํารวจ สถานีตํารวจภูธรเมืองสมุทรสาคร และสถาน แรกรับเด็กชายปากเกร็ด (บ๎านภูมิเวท) ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑ และ จัดทํากรณีศึกษากลํุมเด็กขอทาน จํานวน 10 ราย ในลักษณะของการสนทนากลุํมยํอย (Focus Group) ผลการศึกษาพบวํา เด็กขอทานท่ีอยํูในสถานแรกรับเด็กชายปากเกร็ดนั้น มีอายุเฉลี่ยระหวําง 8 -17 ปี สํวนใหญํเป็นเด็กชายสัญชาติกัมพูชาและไมํได๎รับการศึกษา โดยการเข๎ามาในประเทศไทยสํวนใหญํจะติดตาม พํอ แมํ หรือญาติพ่ีน๎อง เข๎ามาเพื่อเป็นขอทานในประเทศไทย และอีกสํวนหนึ่งจะถูกหลอกเข๎ามาเพ่ือขอทาน ซ่ึงวิธีการน้ีจะถูกจัดอยํูในรูปแบบของการค๎ามนุษย๑ สํวนหน่ึงอาจจะทําเพราะต๎องการชํวยเหลือพํอ แมํ ญา ติ พ่ีน๎องท่ีเป็นหน้ีสิน และอีกสํวนหนึ่งเกิดจากความไมํร๎ู หรือทําตามคําชักชวนของนายหน๎า ซ่ึงสาเหตุหลักของ ปัญหาน้ี คือ การขาดการศึกษาและการปลูกฝังในส่ิงท่ีไมํถูกต๎อง โดยข๎อเสนอแนะท่ีได๎จากการศึกษา คือ ภาครัฐควรมีบทบาทที่สําคัญในการผลักดันให๎การดําเนินการเรื่องการแก๎ไขและปูองกันปัญหาการค๎ามนุษย๑ ควรเฝูาระวังและติดตามอยํางใกล๎ชิด การสํงเสริมให๎เกิดความรํวมมือกับประเทศต๎นทางตามแนวชายแดน ในการดําเนินงานแก๎ไขและปูองกันปัญหาการค๎ามนุษย๑ เข๎มงวดในการตรวจข๎นกํอนการปลํอยผํานเข๎ามา ภายในประเทศ และภาครัฐควรสร๎างโอกาสเพ่ือไมํให๎เกิดความเหลื่อมลํ้า เชํน การสํงเสริมการมีงานทํา 36

การสํงเสริมด๎านการศึกษา เพื่อให๎มีความร๎ูเพียงพอท่ีจะไปประกอบอาชีพได๎ โดยผู๎ปกครองควรสํงเสริมและ ปลูกฝังให๎ลูกหลานไมํหลงเช่ือคําชักชวนจากคนแปลกหน๎า ควรหาวิธีดูแลและพยายามไมํบังคับให๎เด็กทํางาน ในส่ิงทีไ่ มชํ อบและขดั ตํอกฎหมายอกี ด๎วย วําที่ ร.ต.สาณุรักษ๑ ฟุองวาริน (2553, น.1-2) ได๎ทําการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง “กระบวนการกลายเป็นคนชายขอบ : ศึกษาเฉพาะกรณีคนขอทานในเขตราชเทวีกรุงเทพมหานคร” การวิจัย คร้ังนี้มีวัตถุประสงค๑เพ่ือศึกษา 1) กระบวนการกลายเป็นคนชายขอบของคนขอทานในเขตราชเทวี กรุงเทพ เทพมหานคร และ 2) สภาพการดํารงและคงอยํใู นอาชพี ขอทานของคนขอทานในเขตราชเทวีกรุงเทพมหานคร การวจิ ยั คร้ังน้ีใชร๎ ะเบียบวธิ ีการวิจัยเชิงคณุ ภาพ โดยทาํ การศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมข๎อมูลด๎วยวิธีการสังเกตแบบ ไมํมีสํวนรํวม การสังเกตแบบมีสํวนรํวม การสัมภาษณ๑ และสนทนากลํุมผ๎ูวิจัยทําการศึกษารายกรณี ซึ่ง ประกอบดว๎ ยคนทีป่ ระกอบอาชีพขอทานในเขตราชเทวกี รุงเทพมหานคร จํานวน 5 ราย โดยมีพ้ืนทําการศึกษา เฉพาะจุดบริเวณทางเช่ือมระหวํางสะพานลอยห๎างสรรพสินค๎ามาบุญครองและศูนย๑ศิลปวัฒนธร รม กรุงเทพมหานคร และบริเวณเชิงสะพานหัวช๎างเขตราชเทวีกรุงเทพ ได๎แกํ บริเวณหน๎าหอพักสํานักกลาง นักเรียนคริสเตยี น บริเวณหนา๎ โรงแรมเชยี กรงุ เทพ ผ๎ูใหข๎ อ๎ มลู หลกั ไดแ๎ กํ คนขอทานชายวัยกลางคนท่ีประกอบ อาชีพขอทานบริเวณโรงแรมเอเชียกรุงเทพจํานวน 1 คน เคร่ืองมือท่ีใช๎ ในการวิจัย ประกอบด๎วย แบบสังเกต พฤติกรรมขอทานและบริบทท่ัวไปของสถานท่ี แบบบันทึกประจําวันจากการสังเกต แบบบันทึกการสัมภาษณ๑ และแบบบนั ทกึ จากระบวนการกลมํุ ซ่งึ วิเคราะห๑ข๎อมูลโดยการสร๎างข๎อสรุปแบบอุปนัย การตีความข๎อมูล และ การอธิบายสาเหตุและเช่ือมโยงข๎อมูล ผลการวิจัยพบวํา 1) คนขอทานที่ประกอบอาชีพในเขตราชเทวีกรุงเทพ มีกระบวนการกลายเป็นขอทานจากคนชายขอบ โดยการเผชิญกับความยากลําบากในชีวิตอยํางแสนสาหัส เชํน ความจน ความพิการ ความชรา ความสิ้นหวัง หดหูํ และถูกทอดท้ิง ประกอบกับการดํารงชีพอยูํ ในสภาพแวดล๎อมภมู หิ ลงั ที่เคยเผชิญแตํความส้ินหวัง จึงตัดสินใจอพยพย๎ายถ่ินฐานจากท๎องถิ่นของตนเองมาสูํ กรุงเทพมหานคร ตํอส๎ูดิ้นรนเพ่ือหาเล้ียงชีพและเม่ือประสบความล๎มเหลวขาดที่พึ่งและต๎องการความอยํูรอด จึงมองปัจจัยแหํงงานที่เป็นอาชีพขอทาน การเข๎าสูํกระบวนการเลือกอาชีพและต๎องการวิถีชีวิตใหมํ มีกลไกล หลักที่สําคัญ คือ ความกล๎าท่ีจะประกอบอาชีพขอทาน จึงถูกผลักไสให๎เกิดภาวะที่ทําให๎เกิดการกลายเป็นคน ชายขอบของสังคมในท่ีสุด และ 2) คนขอทานท่ีประกอบอาชีพในเขตราชเทวีกรุงเทพ มีการดํารงและคงอยูํ ในอาชพี ขอทาน เกิดจากความอยูรํ อดในอาชีพขอทานเป็นเบื้องตน๎ ท่กี ระบวนวิธีการทาํ งานในอาชีพไมํซับซ๎อน จึงตอ๎ งอาศัยความอดทนเพราะไมํสามารถจะทําอาชีพอ่ืนได๎ เพราะงานขอทานร๎ูสึกสบาย ไมํต๎องออกแรงหนัก มเี ครอื ขาํ ยของอาชีพขอทาน ที่ไมํมกี ารขา๎ มเขตการทํางานแตํประสานกนั อยาํ งเป็นวงจร จึงเกิดระบบเครือขําย ภายใต๎การยืดหยํุนท่ีมีการทําอาชีพเสริมระหวํางการขอทาน เชํน การเก็บของเกํา การรับจ๎างขนของ และ คนขอทาน ซ่งึ จะต๎องมกี ารระวงั ภยั อยตํู ลอดเพราะไมมํ ีความจรงิ ใจอยาํ งสมบูรณ๑ซ่ึงกันและกนั สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑จังหวัดสุรินทร๑ (2552, น. ข-ซ) ได๎ ทําการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ แนวทางการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพคนเรํรอนขอทาน กรณีศึกษา อาํ เภอทาํ ตูม จังหวดั สรุ ินทร๑ โดยมีวัตถุประสงค๑ 1) เพื่อศกึ ษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนขอทนและคน ยากจนท่ีมีภูมิลําเนาอยใํู นตาํ บลกระโพ อาํ เภอทําตมู จังหวัดสุรินทร๑ 2) เพื่อสงํ เสริมสนับสนุนให๎คนขอทาน คน ยากจน และครอบครัว มีโอกาสและทางเลือกในการดํารงชีพท่ีสมควรตามอัตภาพมากข้ึน ซ่ึงมีกลํุมเปูาหมาย ประกอบด๎วย คนขอทานท่ีมีภูมิลําเนาในตําบลกระโพ อําเภอทําตูม จังหวัดสุรินทร๑ จํานวน 262 คน ใช๎ กระบวนการวิจัยรํวมกับการขับเคล่ือนงานปูองกันและแก๎ไขปัญหาขอทาน ตามบทบาทหน๎าท่ีของสํานักงาน พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย๑จังหวัดสุรินทร๑ และภาคีเครือขํายด๎านการพัฒนาสังคมท่ีเกี่ยวข๎องกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผ๎ูด๎อยโอกาส พบวํา สภาพปัญหาท่ีคนขอทานและคนยากจนมีตํอตนเอง ครอบครัว 37

และชุมชนในการดําเนนิ ชีวติ และกระบวนการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตท่ผี ํานมา ตลอดจนทัศนคติของผ๎ูนําและภาคี เครือขํายท่ีเก่ียวข๎อง โดยปัญหาของคนขอทานสํวนใหญํเกิดจากปัญหาเร่ืองการครองชีพ การขาดปัจจัย สี่ ซ่ึงเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดําเนินชีวิต สําหรับจุดอํอนและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพคนขอทานและคน ยากจน ซ่ึงมที ้งั ท่ีเกดิ จากปัจจยั ภายในของคนขอทานและคนยากจนเอง เชํน การมพี ฤติกรรมและคํานิยมที่เป็น อุปสรรคตํอการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนขอทานและคนยากจนได๎อยํางตรงคว ามต๎องการกับปัญหาและความ ต๎องการของประชาชน และการขาดการบูรณาการการดําเนินงานรํวมกันอยํางแท๎จริง ขาดความตํอเน่ือง เชอื่ มโยงกนั จงึ ไมํมผี ลตํอการเปลย่ี นแปลงอยาํ งเป็นรูปธรรม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑จังหวัดสุรินทร๑ (2551, น. (1)-(6)) ไดท๎ าํ การศกึ ษาวจิ ยั เชิงคุณภาพ เรื่อง “กระบวนการขอทาน” โดยมีวัตถุประสงค๑ 1) เพื่ออธิบายปรากฏการณ๑ การเข๎าสูํกระบวนการเป็นขอทาน การดําเนินชีวิตขอทาน และผลการของขอทาน 2) เพ่ือศึกษาความคิดเห็น ของผ๎ูนําและประชาชนทั่วไปตํอการเข๎าส๎ูกระบวนการเป็นขอทาน การดําเนินชีวิตขอทาน และผลของการ ขอทาน โดยผ๎ูนําชุมชนเป็นผ๎ูคัดเลือกกลุํมเปูาหมายที่เป็นขอทาน/เคยเป็นขอทาน จํานวน 30 คน และบ๎าน ข๎างเคียงจํานวน 30 คน และกลํุมเปูาหมายประชาชนทั่วไปจากตําบลกระโพ อําเภอทําตูม จังหวัดสุรินทร๑ จํานวน 20 หมูํ โดยการสมุํ ตวั อยํางประชาชนทัว่ ไป จาํ นวน 954 คน และกลุํมผ๎ูนําชุมชน จํานวน 48 คน รวม 1,002 คน พบวํา การตัดสินใจเข๎าสูํกระบวนการขอทานเกิดจาก 1 ) ปัจจัยด๎านตัวบุคคล ประกอบด๎วย ภูมิ หลังของครอบครัว ฐานะความเป็นอยํูและสภาพชีวิตการทํางานในอดีตและปัจจุบัน ทัศนคติ ความคิด ความ เชอื่ และระดบั ความต๎องการของชวี ติ และวิธีขจัดปัญหาอุปสรรค การปรับตัว และสร๎างคุณคําให๎กับตนเอง 2) ปัจจัยด๎านครอบครัว ประกอบด๎วย ความสัมพันธ๑ในครอบครัวและชุมชน 3) ปัจจัยด๎านชุมชน วัฒนธรรม ความเชื่อ 4) ปัจจัยสภาพทุนทางสังคมของชุมชน และ 5) ปัจจัยลักษณะทั่วไปของขอทาน ท้ังนี้ผลจากการ ขอทาน ประกอบด๎วย 1ป เชิงมูลคําทางเศรษฐกิจ พบวํา ขอทานสามารถสร๎างรายได๎ เพื่อแบํงเบาภาระ ครอบครวั จนถึงการสรา๎ งมลู คําเพิ่มใหก๎ บั ครอบครวั ดา๎ นส่ิงอํานวยความสะดวกตํางๆ เชํน การซํอมแซม สร๎าง ตํอเติม ท่ีพักอาศัย การชดใช๎หนี้สิน การรักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัว เป็นต๎น 2) ชิงคุณคําทางสังคม พบวํา ผู๎กระทําการขอทานไมํมีใครภาคภูมิใจในอาชีพขอทาน แตํกลับมีความภาคภูมิใจที่ตนเองสามารถ แบํงเบาภาระครอบครัว สามารถชํวยเหลือครอบครัวได๎ 3) ภัย/ปัญหาจากการขอทาน พบวํา คนขอทาน โดยเฉพาะกลุํมท่ีไมใํ ชเํ ด็ก แตํเป็นวัยแรงงานและวัยสูงอายุ โดยมีพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อให๎คนทั่วไปสงสาร ซงึ่ ถือวาํ เป็นการลดคณุ คําและศักดศ์ิ รีตนเองเพ่ือไปเปน็ ขอทาน สําหรบั ภยั ปญั หาท่ีเป็นอันตรายตํอรํางกายและ ชีวิต คือ ขอทานกลํุมเด็กและเยาวชน ท่ีอาจจะถูกลํวงละเมิดทางเพศ ถูกขํมขืนหรือกระทําชําเรา หรือชักจูง เข๎าสูํกระบวนการค๎ามนษุ ย๑ได๎ จุฑามณี สมบูรณ๑สุทธิ์ (2547, น.1-2) ได๎ทําการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง “หญิงชรา คนจน คนชายขอบ : ชีวิตริมฟุตบาทของหญิงชราขอทาน” มีวัตถุประสงค๑เพ่ือต๎องการศึกษาวําปัจจัย เพศสภาพมีสํวนผลักดันให๎หญิงชราต๎องกลายมาเป็นขอทานได๎อยํางไร และเมื่อเข๎าสํูอาชีพขอทานแล๎ว หญิงชรามีวิธีดิ้นรน ตํอส๎ู ปรับตัว และเอาตัวรอดในสังคมเมืองได๎อยํางไร เพ่ือให๎สามารถดํารงอยูํบนเส๎นทาง แหํงการขอทานไดอ๎ ยาํ งยาวนาน โดยกลํุมเปูาหมายท่ีใช๎ในการศึกษาครั้งน้ี ได๎แกํ หญิงชราที่มีอายุต้ังแตํ 60 ปี ข้ึนไป ซ่ึงกําลังดํารงชีพด๎วยการขอทาน หรือทําอาชีพอ่ืนท่ีแฝงเร๎นมากับการขอทานในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 8 คน นอกจากนี้ผ๎ูศึกษายังได๎สัมภาษณ๑กลํุมเปูาหมายรองที่มีสํวนเก่ียวข๎องกับการวิจัยครั้งน้ีเพิ่มเติม อาทิ กลํุมเพ่ือนๆ ของหญิงชราอพยพเข๎ามาขอทานด๎วยกัน ลูกๆ ของหญิงชราขอทาน ผู๎ใหญํบ๎านในหมํูบ๎าน ท่ีมี หญิงชราอพยพเข๎ามาเรํขายของ (ขอทาน) รวมไปถึงทัศนะของตํารวจและประชาชนท่ัวไป ซึ่งเคย มีประสบการณ๑ตรงท่ีข๎องเก่ียวกับหญิงชราขอทาน เป็นต๎น จากผลการศึกษาคร้ังสรุปได๎วําการที่จะทําความ 38

เข๎าใจปรากฏการณ๑ของหญิงชราขอทาน เราไมํสามารถแยกสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งออกจากกันได๎อยํางเด็ดขาด เพราะแตํละปัจจัยตํางมีความซ๎อนทับ เกื้อหนุน และเช่ือมโยงซ่ึงกันและกัน เชํน นอกจากปัจจัยเพศสภาพ จะเป็นแรงผลกั ดันใหเ๎ กิดการของหญงิ ชราแลว๎ ผศ๎ู ึกษาพบวํายังมีปัจจัยเร่ืองวิกฤตความจนในครอบครัว ปัญหา ด๎านมาตรฐานเชิงซ๎อนวําด๎วยเร่ืองอคติและเพศอคติ รวมถึงการถูกกีดกันให๎ออกจากตลาดแรงงาน ก็นับเป็น สาเหตสุ ําคัญที่มสี ํวนผลกั ดนั ให๎เกดิ การขอทานควบคูไํ ปกบั ปจั จัยเพศสภาพเชํนเดียวกัน และเม่ือหญิงชราเข๎าสํู วังวนแหํงการเป็นขอทานแล๎ว นอกจากนี้หญิงชรายังมีวิธีการปรับตัวและเอาตัวรอดในสังคมเมืองด๎วยวิธีการ ท่ีหลากหลาย เชํน พลิกแพลงรูปแบบการขอทานให๎เป็นการค๎าขายหรือพยายามใช๎ความสามารถ มาแลกเปลี่ยนกับเศษเงินด๎วยการดูหมอ หรือสีซอ-เปุาแคน เป็นต๎น สําหรับการสร๎างคํานิยามใหมํพบวํา หญิงชราจะเรียกตนเองวํา เป็นคนขายของ เป็นหมอดู หรือมาหาเงินทดแทนคําวํา “ขอทาน” นอกจากน้ี หญิงชราขอทานยงั มกี ารรวมกลุํมกันสรา๎ งพ้นื ที่แหงํ การชํวยเหลือและดูแลกนั เองข้นึ สําหรับในอนาคตหญิงชรา ขอทาน พบวําในกรณีที่หญิงชราอายุยังไมํมากและร๎ูชํองทางในการหางานทําที่กรุงเทพ พวกเธอคาดหวังวํา อยากเลกิ ขอทานและหนั มาประกอบอาชีพคา๎ ขาย หรือเปน็ แมํบ๎าน สํวนหญิงชราท่ีมีอายุมากแล๎ว มีพ้ืนเพอยูํที่ ชนบท คิดวาํ จะขอทานตอํ ไปเร่ือยๆ จนกวําจะหมดลมหายใจ วรรณา อรัญกุล (2543, น.1-3) ได๎ทําการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เร่ือง “มาตรการการจัดการ ปัญหาคนขอทานไทยในทศวรรษหน๎า” โดยมีวัตถุประสงค๑เพื่อศึกษาถึงสถานการณ๑และสาเหตุของปัญหา คนขอทานไทยในสังคมไทย ตลอดจนแสวงหามาตรการการจัดการปัญหาคนขอทานไทยที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมสอดคล๎องกับสภาพสังคมไทยในทศวรรษหน๎าด๎วยเทคนิคเดลฟาย (Delpfi Technique) โดยการ ใช๎แบบสัมภาษณ๑อยํางมีโครงสร๎างเก็บรวบรวมข๎อมูลจากกลํุมเปูาหมายคนขอทานท่ีอยํูรับการสงเคราะห๑ ในสถานสงเคราะห๑ชายธัญบุรี และสถานสงเคราะห๑หญิงธัญบุรี รวมท้ังคนขอทานที่กําลังขอทาน ตามท่ีสาธารณะตํางๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นจํานวนทั้งส้ิน 30 คน เพ่ือรวบรวมข๎อมูล ปรากฏการณ๑ปัญหาคนขอทานไทยในปัจจุบัน จัดทําเป็นแบบสอบถามเก็บรวบรวมข๎อมูลแนวทางการจัดการ ปัญหาดังกลําวจากผู๎เชี่ยวชาญ จํานวน 21 คนตํอไป โดยผลจากการเก็บรวบรวมข๎อมูลคนขอทานปรากฏวํา สาเหตหุ ลักทีผ่ ลกั ดันใหก๎ ระทาํ การขอทานเกิดจากความยากจน และระดับการศึกษาตํ่ามากที่สุด รองลงมาคือ สุขภาพไมํดี ปัญหาครอบครัว และติดสารเสติด เป็นต๎น เรียงตามลําดับจากมากไปน๎อย ทั้งน้ีคนขอทาน ได๎กระทําการขอทานมาเป็นระยะเวลายาวนานมากกวํา 1 ปีขึ้นไป และมักจะขอทานโดยลําพังอิสระมากกวํา ขอทานภายใต๎ผ๎ูอยํูเบื้องหลัง ในระหวํางการขอทานคนขอทานได๎ประสบปัญหาตํางๆ เรียงตามลําดับจากมาก ไปน๎อย ได๎ดังนี้ ถูกไลํที่ ถูกขโมยเงินจากอันธพาล ถูกขบวนการขอทานโกงเงิน ถูกคนตําหนิหรือกํอกวน ถกู คนเดนิ ชนและใชเ๎ สยี งดงั เปน็ ตน๎ ซ่งึ คนขอทานจะใช๎รูปแบบการแก๎ไขปัญหาแบบประนีประนอม หลีกเล่ียง จากปัญหา อาทิ ย๎ายสถานที่ขอทานใหมํ ลาออกจากขบวนการขอทาน หรือซุกซํอนเงินไว๎ตามสํวนตํางๆ ของรํางกาย เป็นต๎น สํวนใหญํคนขอทานเคยถูกควบคุมตัวเข๎ารับการสงเคราะห๑มากกวํา 2 คร้ังขึ้นไป และ ในระหวํางอยูํรับการสงเคราะห๑ คนขอทานสํวนมากไมํเคยได๎รับการฝึกอาชีพใดๆ สําหรับคนขอทานท่ีรับการ ฝึกอาชีพ สํวนใหญํจะเป็นอาชีพหัตถกรรมสูงสุด ทั้งน้ีในอนาคตคนขอทานมีความคาดหวังจะประกอบอาชีพ ค๎าขายมากที่สุด รองลงมาคือ ลูกจ๎างประมง ปลูกห๎องให๎เชํา นวดแผนโบราณ ตามลําดับ และมีคนขอทาน หลายรายท่ียงั ไมํรูว๎ ําจะประกอบอาชีพใด ทั้งนค้ี นขอทานจงึ มีความประสงค๑ใหช๎ วํ ยเหลือด๎านทุนประกอบอาชีพ คําครองชีพ และฝึกอาชีพ เรียงตามลําดับจากมากไปน๎อย ผลการเก็บรวบรวมข๎อมูลจากผ๎ูเชี่ยวชาญ พบวํา มาตรการการจัดการปัญหาคนขอทานไทย ประกอบด๎วย มาตรการท้ัง 4 ด๎านควบคูํกันไป ดังนี้ ด๎านการแก๎ไข ปญั หา ไดแ๎ กํ ควรบัญญัติกฎหมายให๎การสงเคราะห๑แกํคนขอทานท่ีประสบปัญหาความเดือดร๎อนอยํางแท๎จริง และคนขอทานอาชีพในรูปแบบตาํ งๆ เพือ่ ให๎เขาสามารถชวํ ยเหลือตัวเองได๎ในสังคม ควรบัญญัติโทษทางอาญา 39

แกํผู๎อยํูเบื้องหลังการขอทาน ควรปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานสงเคราะห๑ คนขอทาน ควรประสานความรํวมมือกับหนํวยงานตํางๆ ท่ีเก่ียวข๎อง เพื่อรํวมวางแผนแก๎ไขปัญหาคนขอทาน ตลอดจนควรมอบหมายให๎องค๑การบริหารสวํ นท๎องถ่ินเข๎ามามีสํวนรํวมปราบปรามคนขอทาน ด๎านการปูองกัน ปัญหา ได๎แกํ ควรกําหนดนโยบายและจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบตํางๆ แกํผ๎ูด๎อยโอกาสอยํางเพียงพอและ ทั่วถึง ควรให๎สถาบันโรงเรียน ศาสนา มีบทบาทขัดเกลาทางสังคมแกํประชาชนให๎ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี ควรประชาสัมพันธ๑ให๎ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายของปัญหาคนขอทาน ควรติดตํอหนํวยงานองค๑กร ท่ีเก่ียวข๎องตํางๆ เพ่ือรํวมกันชํวยเหลือคนขอทาน และควรศึกษาวิจัยหมูํบ๎านที่มีคนอพยพเดินทางไปขอทาน เป็นจํานวนมาก ด๎านการดํารงชีวิตในสภาพปกติ ได๎แกํ ควรปรับเปล่ียนทัศนคติของประชาชนที่มีตํอคนพิการ และผู๎ถือประโยชน๑จากคนขอทานให๎ยอมรับเป็นสมาชิกหนึ่งของสังคม ด๎านการพัฒนาสังคม ได๎แกํ ควรเสริมสร๎างแนวคิดประชาสังคม ควรกระจายอํานาจการตัดสินใจให๎แกํชุมชนสามารถปกครองตนเองได๎ โดยอิสระ ควรมํุงเน๎นนโยบายเศรษฐกิจแบบพอเพียง และควรขยายโอกาสทางการศึกษาภาคบังคับออกไป สําหรับข๎อเสนอแนะของผู๎ศึกษาตํอมาตรการการจัดการปัญหาคนขอทานเพ่ิมเติม มีดังนี้ ด๎านการแก๎ไขปัญหา ได๎แกํ ควรบญั ญัติกฎหมายลงโทษปรับเงินควบคํไู ปกับการสงเคราะห๑แกคํ นขอทานอาชีพ ควรประสานนโยบาย แผนงานระหวํางหนํวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวข๎อง เพ่ือแก๎ไขปัญหาคนขอทานอยํางจริงจังและกํากับ ดูแลการปฏิบัตงิ านของเจา๎ หนา๎ ที่ปราบปรามคนขอทานอยํางเครํงครัด ควรเปิดโอกาสให๎วณิพกสามารถกระทํา การขอทานได๎อยํางเสรี ด๎านการปูองกันปัญหา ได๎แกํ ควรประชาสัมพันธ๑ให๎ประชาชนทราบถึงบริการ สวสั ดิการสังคมตํางๆ ควรกระจายบรกิ ารประกันสงั คมไปสูปํ ระชาชนทป่ี ระกอบอาชพี อสิ ระตํางๆ ควรปรับปรุง พระราชบัญญัติการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 โดยเพ่ิมบทลงโทษแกํสถานประกอบการตํางๆ ในกรณีไมํรับคนพิการเข๎าทํางานและไมํจํายเงินเข๎ากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพพิการ และควรให๎ความชํวยเหลือ คนเรํรํอน เชํน ท่ีพัก การให๎ความร๎ูเก่ียวกับการดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ เป็นต๎น ด๎านการพัฒนา สังคม ได๎แกํ ควรจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนกระจายท่ัวประเทศ ควรสํงเสริมกาจัดตั้งกลํุมหรือองค๑กร ประชาชนขึน้ ในชุมชน และควรกําหนดนโยบายการพฒั นาประเทศแบบย่ังยนื สถาบันราชภัฎสวนดุสิต (มติชนรายวัน, 2541, น.9) ได๎ทําการสํารวจความคิดเห็น ของคนขอทานในกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล๎เคียง จํานวนท้ังสิ้น 255 คน พบวํา สํวนใหญํจะมีภูมิลําเนา อยํูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากท่ีสุด สํวนสาเหตุการขอทาน คือ พิการ รองมา คือ ฐานะยากจน ไมํมีงาน ทํา และถูกบังคับตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบรายได๎ปีท่ีแล๎ว พบวํา สํวนใหญํมีรายได๎น๎อยลงกวําคร่ึง ปัญหา และอุปสรรคจากการขอทาน ได๎แกํ ไมํคํอยมีคนให๎ทาน รองลงมาคือ จัดหางานให๎ทําหรือฝึกอาชีพ และ จดั สวสั ดกิ ารสําหรับคนพกิ ารอยํางจริงจงั มีนอ๎ ยทส่ี ุด กองวิชาการและแผนงาน กรมประชาสงเคราะห๑ (2538, น. ข-ค) ได๎ทําการศึกษาวิจัย เชิงสํารวจเรื่อง “สาเหตุ ปัญหา และความต๎องการของคนเรํรํอนขอทาน” จากคนเรํรํอนขอทานท่ีถูกนําสํง เข๎ารับการสงเคราะห๑ในสถานแรกรับคนไร๎ที่พึ่งนนทบุรี พบวํา คนเรํรํอนขอทานสํวนใหญํเป็นเพศชาย โดยสํวนใหญํมีรํางกายไมํสมประกอบ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 ข้ึนไป รองลงมาคือ ไมํได๎เรียน หนังสอื มีภูมิลาํ เนาอยํูภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เป็นสวํ นใหญํ มีสถานภาพเรียงลําดับจากมากไป น๎อย คือ สมรส แยกกันอยูํ หม๎าย และโสด อาชีพเดิม คือ เกษตรกรรม และประสบปัญหายากจน อดอยาก ขาดแคลน และปัญหาในครอบครัว โดยมีวัตถุประสงค๑ที่ออกมาจากบ๎านสํวนใหญํ คือ เพ่ือหางานทํา และ รองลงมา คอื เพ่ือมาขอทาน ขณะที่เรํรํอนมักมปี ัญหาไมํมีเงนิ ใช๎ ไมํมีทีอ่ ยูอํ าศัย และขาดปัจจัยส่ี 40

กองสวัสดิการสงเคราะห๑ กรมประชาสงเคราะห๑ (2537, น. 1-2) ได๎ทําการศึกษาวิจัย เชิงสาํ รวจเร่ือง “คนเรํรํอนขอทานในทส่ี าธารณะ” พบวาํ คนเรํรอํ นขอทานสํวนใหญเํ ปน็ เพศชายอยูํในชํวงอายุ ระหวําง 35-44 ปี มีภูมิลําเนาเดิมจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สํวนด๎านการศึกษา พบวํา มากกวํา 2 ใน 3 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา โดยอาชีพเดิมเป็นเกษตรกรมากที่สุด สํวนด๎านรายได๎ของคนเรํรํอนขอทาน อยํูระหวําง 500-1,500 บาทตํอเดือน ท้ังน้ีมีกลํุมผ๎ูท่ีสมรสและโสดอยูํในอัตราเดียวกัน และไมํมีภาระ ท่ีต๎องอุปการะเล้ียงดู โดยมีจํานวนคนเรํรํอนขอทาน 1 ใน 4 เป็นผ๎ูมีอาการทางจิต สํวนลักษณะบุคคลเรํรํอน ขอทาน พบวํา มากกวําครึ่งหน่ึงเป็นบุคคลเรํรํอนแบบถาวร คือ อยูํในที่สาธารณะมามากกวํา 1 ปี พักอาศัย ในที่สาธารณะท่ัวไป ริมถนน ปูายรถโดยสารประจําทาง โดยจะใช๎แมํน้ํา ลําคลอง และสุขาสาธารณะ เปน็ ทีข่ บั ถําย นอกจากนี้ 2 ใน 3 ของคนเรรํ ํอนมีฐานะยากจน ไมํมีทุนประกอบอาชีพ ไมํมีท่ีทํากิน ขาดความร๎ู ราํ งกายไมํแข็งแรง และวํางงานตามฤดูกาล สําหรับความต๎องการด๎านบริการ พบวํา มากกวําครึ่งหน่ึงต๎องการ ให๎รัฐจัดบริการที่พักราคาถูกให๎ในอัตราคืนละ 11-20 บาท สํวนใหญํไมํต๎องการการฝึกอาชีพเพิ่มเติม แตํต๎องการการบรกิ ารรกั ษาพยาบาลฟรี และทต่ี อ๎ งการมากที่สุดคือเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภค ศุภชัย ศรีหล๎า (2534, น. ก-ช) ได๎ทําการศึกษาวิจัยเชิงเปรียบเทียบระหวํางบุคคลที่ย๎ายถิ่น เพ่ือขอทานและบุคคลท่ีไมํได๎ย๎ายถิ่นเพ่ือขอทาน เร่ือง “สาเหตุ รูปแบบ และผลสืบเนื่องของการย๎ายถ่ิน เพ่ือขอทาน : กรณีศึกษา บ๎านมํวง อําเภอปทุมรัตน๑ จังหวัดร๎อยเอ็ด พบวํา สาเหตุการย๎ายถ่ินหลักเพื่อการ ขอทานและเป็นลูกจ๎างในพื้นที่เกษตรกรรม เพราะการวํางงาน การเป็นหน้ี และวัฒนธรรมชุมชน ท่ีมีความสัมพันธ๑กับระบบอุปถัมภ๑ สํวนสาเหตุเฉพาะที่ย๎ายถ่ินเพื่อขอทานแบํงออกเป็น 3 ด๎าน ดังน้ี ด๎านเศรษฐกิจ ได๎แกํ การไมํมีที่ดินทํากิน การมีหน้ีสินจํานวนมาก ด๎านสังคม ได๎แกํ ความสัมพันธ๑ระหวําง สมาชิกในครัวเรือนในท๎องถิ่น เพื่อขอทานเป็นไปในระดับต่ํา และด๎านวัฒนธรรม ได๎แกํ บุคคลที่ย๎ายถ่ิน เพือ่ ขอทานเปน็ บุคคลท่มี ีประสบการณ๑ในการขอข๎าว สําหรับรูปแบบของการย๎ายถ่ินเพื่อขอทาน สามารถสรุป ได๎วํากลุํมบุคคลที่ย๎ายถ่ินเพ่ือขอทานเป็นเพศหญิงสูงอายุ และเพศชายพิการ มีทิศทางในการย๎า ยถ่ิน เพ่ือไปขอทานยังกรุงเทพฯ มีการจัดการเชิงธุรกิจจัดหาอยํางเป็นระบบ ทั้งในเรื่องการเดินทาง อาหาร และ ที่พัก รวมทั้งวิธีการสร๎างรายได๎จากการขอทาน โดยได๎รายได๎ประมาณ 2,500-3,000 บาท/คน ตํอ 15-17 วัน ซึ่งผลสืบเน่ืองจากการย๎ายถ่ินเพ่ือขอทาน ดังน้ี 1) ตํอบุคคลที่ย๎ายถ่ิน พบวํา บุคคลที่ย๎ายถิ่นเพื่อขอทาน ในคร้ังแรก เม่ือกลับไปยังชุมชนจะมีความวิตกกังวลในเร่ืองการเข๎าสังคมมาก อยํางไรก็ตามความกังวลใจนั้น ได๎ลดลงเมื่อมีประสบการณ๑ในการย๎ายถิ่นเพื่อขอทานมากขึ้น 2) ตํอครอบครัวผ๎ูย๎ายถ่ิน พบวํา สมาชิกที่เป็น เพศหญิงให๎การยอมรับตํอพฤติกรรมการย๎ายถ่ิน เพ่ือขอทานของสมาชิกในครอบครัวได๎เร็วกวําเพศชาย และ 3) ตํอชุมชน พบวํา ทัศนคติของประชาชนในชุมชนคิดวํา การย๎ายถิ่นเพื่อขอทานของบุคคลท่ีมีความยากจน เปน็ แนวทางในการแกไ๎ ขปญั หาทางเศรษฐกิจของบุคคลน้ันๆ เพอื่ ความอยํูรอดของครอบครวั 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook