Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KM ฉบับสมบูรณ์ 63

KM ฉบับสมบูรณ์ 63

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-12 00:28:59

Description: KM ฉบับสมบูรณ์ 63

Search

Read the Text Version

สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 1 สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ค�ำ น�ำ การจดั การความรู้ (Knowledge Management: KM) เกดิ ขน้ึ จากการคน้ พบวา่ องคก์ รตอ้ งสญู เสยี ความรู้ ทกั ษะ หรอื ประสบการณท์ �ำ งานไปพรอ้ มๆกบั การทบี่ คุ ลากรลาออกหรอื เกษยี ณอายรุ าชการ อนั สง่ ผลกระทบตอ่ การด�ำ เนนิ งาน ขององค์กรเป็นอย่างย่ิง ดังนั้น จากแนวคิดการมุ่งพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้มากแต่เพียงอย่างเดียวจึงเปล่ียนแปลง ไปเปน็ ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ ประเดน็ ทว่ี า่ จะท�ำ อยา่ งไรใหบ้ คุ ลาการสนใจใฝเ่ รยี นรกู้ นั อยา่ งทวั่ ถงึ สรา้ งบรรยากาศแหง่ การเรยี นรู้ นำ�ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) หากจะพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ก็จำ�เป็นจะต้องมีการจัดการความรู้ ในองค์กรให้เป็นระบบเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเรียนรู้ได้จริงและต่อเนื่อง รวมท้ัง ท�ำ อย่างไรให้บคุ ลากรยินดีถา่ ยทอด แลกเปลยี่ นเรียนร้รู ว่ มกบั ผอู้ ่นื สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ของการจัดการความรู้ จึงมอบหมายให้ ศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ภายใต้ความรับผิดชอบของกลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบ เครอื ข่าย จดั กจิ กรรมการจดั การความรู้ จ�ำ นวน 4 เรือ่ ง ไดแ้ ก่ เรือ่ งผลกระทบจากโควิด-19 กบั การน้อมนำ�หลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการแก้ปญั หา เรื่องผลกระทบจากโควิด-19 กบั ปญั หาความเครยี ดจนกอ่ ให้เกิดการฆ่าตวั ตาย ในสงั คมไทย เรอ่ื งเทคนคิ การถา่ ยภาพเบอ้ื งตน้ และเรอื่ งการเพม่ิ ความสามารถในการประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสอ่ื ออนไลนแ์ ละ การตดั ตอ่ ไฟลภ์ าพและวดิ ีโอด้วยโปรแกรม Kinemaster โดยสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารการจัดการความรู้ฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์แกบ่ ุคลากรและบุคคลทั่วไป ในการปฏิบัติงานถ่ายภาพอย่างมีประสทิ ธภิ าพ (นายผาด สุวรรณรัตน์) หวั หนา้ กลมุ่ การวิจยั และการพฒั นาระบบเครือข่าย กนั ยายน 2563

2 สรุปผลการด�ำ เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 สารบญั การจดั การความรู้ 3 วิกฤตโควิด - 19 กบั เศรษฐกิจพอเพียง 5 การจัดการความร้เู ร่ืองผลกระทบจากไวรสั โควดิ - 19 กับการน้อมน�ำ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มาใช้ในการแก้ปญั หา 6 การสัมภาษณ์เพ่อื เกบ็ ข้อมลู ผู้ได้รบั ผลกระทบจากสถาณการณ์ โคโรนา่ ไวรัส 2019 12 การสัมภาษณ์เพ่อื เกบ็ ขอ้ มูลผู้ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ โคโรน่า ไวรสั 2019 14 การจัดการความรู้ เร่อื งผลกระทบจากไวรสั โคโรนา่ - 19 กับปญั หาความเครยี ดจนก่อใหเ้ กิดปญั หา การฆา่ ตัวตายในสงั คมไทย 18 โครงการอบรมเพมิ่ ความรู้และทักษะ เรอื่ ง : เทคนิคการก�ำ หนดภาพเบ้อื งต้น 27 สรปุ ผลการดำ�เนินโครงการอบรมเทคนิคการถา่ ยภาพเบ้ืองต้น ประจ�ำ ปี 2563 28 โครงการอบรมเพิม่ ความรแู้ ละทักษะหลักสตู รการสรา้ งสือ่ ออนไลน์ งา่ ยแค่ปลายน้วิ 41 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งาน โครงการอบรมเพม่ิ ความรู้และทกั ษะหลักสูตรการสรา้ งสื่อออนไลน์ งา่ ยแคป่ ลายนว้ิ 42

สรุปผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 3 สำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 1 เรอ่ื ง ผลกระทบจากไวรัสโควิท-19 กบั การนอ้ มน�ำ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการแกป้ ญั หา วันพฤหสั บดี ที่ 2 เมษายน 2563 กจิ กรรม ลงพนื้ ทถ่ี า่ ยท�ำ วดิ ที ศั นแ์ ละศกึ ษาถงึ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ ต่อเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ -2019 (Covid-19) รวมถึงแนวทางหรือวิธีการในการปรับตวั ของคน ในครอบครัว ชุมชน โดยการนำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพเิ พยี งมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำ วนั 2 เรอ่ื ง ผลกระทบจากไวรัสโควิท-19 กับปัญหาความเครียด จนกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาการฆ่าตัวตายในสงั คมไทย วนั องั คาร ท่ี 21 เมษายน 2563 กิจกรรม 1. ลงพื้นท่ีโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ เพ่ือถ่ายทำ�วิดีโอ เรื่อง “วิกฤต สุขภาพจิต ยุค Covid-19” 2. ไดส้ มั ภาษณ์ นายแพทย์ประมวล ไทยงามศลิ ป์ ผู้อ�ำ นวยการโรงพยาบาลกาฬสนิ ธุ์ และแพทย์หญิงเฉิดพิธุ วินัศปัทมา จิตแพทย์ หัวหน้ากลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด ในประเด็น การให้คำ�แนะนำ�แนวทางการปฏิบัติตนของประชาชน ให้รับมือสถานการณ์อย่างมีสติให้คำ�แนะนำ� เร่อื ง “รตู้ วั เอง รคู้ ุณค่า ฝกึ จติ และคดิ บวก”

4 สรุปผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 3 เรือ่ ง เทคนิคการถ่ายภาพเบื้องตน้ วนั พธุ ที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรม 1. รบั ฟังบรรยาย เร่ือง เทคนคิ การถ่ายภาพ 2. ฝกึ ปฎบิ ัตกิ ารถ่ายภาพ/น�ำ เสนอผลงานภาพถา่ ยรายบคุ คล พร้อม อธิบายหลักการถ่ายภาพองค์ประกอบของภาพถ่าย และเทคนิคในการถ่ายภาพ 3. ร่วมแลกเปล่ียนความคดิ เห็น/ให้ค�ำ แนะน�ำ /สรปุ ผล 4 เรอ่ื ง การเพ่ิมความสามารถในการประชาสัมพนั ธุผ์ า่ นส่ือออนไลน์ และการตัดตอ่ ไฟล์ภาพและวิดโี อด้วยโปรแกรม Kinemaster ระหวา่ งวนั ท่ี 8-10 กรกฎาคม 2563 มผี เู้ ขา้ รว่ มอบรมจากหนว่ ยงาน One Home จงั หวดั ได้แก่ กาฬสินธุ์ บงึ กาฬ นครพนม สกลนคร มุกดาหาร อุบลราชธาน ี และอำ�นาจเจรญิ จ�ำ นวน 53 คน ณ ราชาวดีรสี อร์ท แอนด์ โฮเทล จังหวัดขอนแกน่ กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยาย นางสุมาลี สุวรรณกร บรรณาธกิ ารศูนย์ขา่ วเครอื เนชั่นภาคอสี าน พรอ้ มทมี วทิ ยากรกระบวนการ นางสาวพรพรรณ เพช็ รแสน และ นางสาวกวนิ ทรา ใจซอื่ จากศนู ยข์ า่ ว เครอื เนชัน่ ภาคอสี าน 2. ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารใช้โปรแกรม Kinemaster ในการตดั ตอ่ ไฟลภ์ าพและวดิ ีโอ 3. น�ำ เสนอผลงาน/รว่ มแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น/ใหค้ �ำ แนะน�ำ /สรุปผล

สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 5 สำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 เมอื่ วนั พธุ ที่ 1 เมษายน 2563 นางสาวศรวี รรณ ์ สระแกว้ นกั พฒั นาสงั คม ช�ำ นาญการพเิ ศษ รกั ษาราชการแทนผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 มอบหมายใหศ้ นู ยบ์ รกิ ารวชิ าการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดกิ ารสงั คม กลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย ลงพ้ืนที่ถ่ายทำ�วิดีทัศน์และศึกษา ถึงปัญหาที่เกิดข้ึนกับผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา (Covid-19) รวมถงึ แนวทางหรอื วธิ กี ารในการปรบั ตวั ของคนในครอบครวั ชุมชนโดยการนำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ ในชีวิตประจำ�วัน ณ บ้านนามะเขืออำ�เภอสหสั ขันธ์ จงั หวดั กาฬสินธ์ุ

6 สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 การจัดการความรู้ เร่ือง ผลกระทบจากไวรสั โควิด-19 กับการน้อมนำ� หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการแกป้ ญั หา จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โควดิ -19 ทก่ี �ำ ลงั ระบาดขยายวงกวา้ งไปทวั่ โลก ทวั่ ทกุ ภมู ภิ าค ทน่ี บั วนั จะทวี ความรนุ แรงมากยงิ่ ขน้ึ เปน็ สงครามโรครา้ ย ซงึ่ สง่ ผลกระทบทงั้ ในเชงิ เศรษฐกจิ สงั คม และการใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั ประเทศไทย ก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน ทั้งในทางตรงและทางอ้อม มาตราการยับย้ังป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ตามมาตราการตา่ งๆจากรฐั บาลถกู น�ำ มาใชพ้ รอ้ มการรบั มอื เพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มน่ั ใหก้ บั ประชาชนแตอ่ กี มมุ หนงึ่ กต็ อ้ งยอมรบั ความเปน็ จรงิ กบั ความวติ กกงั วลของคนในสงั คม เราจงึ ไดเ้ หน็ ภาพตา่ งๆของการรบั มอื กบั สถานการณ์ในหลากหลายพน้ื ท่ี ทเี่ กดิ ขนึ้ ทีเ่ รมิ่ มีปญั หาตามมาและเริม่ ไดร้ ับผลกระทบต่อการใชช้ วี ิต เมื่อตอ้ งอยูภ่ ายใต้มาตราการปอ้ งกนั ตนเองและสังคมรอบขา้ ง จงึ จะเหน็ ไดว้ า่ ในชว่ งสภาวะวกิ ฤตเศรษฐกจิ ผคู้ นบางสว่ นเรมิ่ กกั ตนุ อาหาร เมอ่ื ตอ้ งอยู่ในภาวะของการเกบ็ ตวั อยบู่ า้ น และไมร่ วู้ ่าจะรนุ แรงมากข้นึ แคไ่ หน จนอาจนำ�ไปส่ภู าวะการขาดแคลนอาหารข้ึนได้ เกษตรกรรมต้นทางแหง่ การผลติ อาหาร ทเ่ี ปน็ ปจั จยั ขน้ั พนื้ ฐานของมนษุ ย์ ไดก้ ลายเปน็ หนทางรอด โดยเฉพาะกบั แนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกษตรผสมผสานทเี่ หมาะสม กบั สภาพสงั คมไทยมาโดยตลอด ไดก้ ลายเปน็ ทางเลอื กทางรอดทสี่ �ำ คญั ในยามวกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทยในขณะน้ี สามารถชว่ ยลด ค่าใช้จ่ายในครัวเรอื น ทำ�ใหพ้ ึง่ พาตนเองได้อย่างแท้จริง วกิ ฤตการณ์ในครัง้ น้ี อนาคตประเทศไทย หลายสงิ่ อาจจะไมเ่ หมอื นเดมิ อีกตอ่ ไป ในวกิ ฤตย่อมมีโอกาส มันถึงเวลา แล้วหรือยงั ทีเ่ ราตอ้ งหันกลับมามองตนเองวา่ เราควรมแี ผนส�ำ รอง หรอื หนั มาตงั้ หลกั เอาจรงิ ในการด�ำ เนนิ ชีวิตตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพยี ง ซง่ึ เป็นแนวพระราชด�ำ ริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่ีจะชว่ ยให้เราผ่านพ้นวกิ ฤตนี้ไปได้ และจะเปน็ ทางเลือกทางรอด อยา่ งแทจ้ ริงกบั สงั คมไทย

สรปุ ผลการด�ำ เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 7 สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาชถี้ งึ แนวการด�ำ รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ �ำ เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบภมู คิ มุ้ กนั ในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ท้ังนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ในการน�ำ วชิ าการตา่ งๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำ เนนิ การทกุ ขน้ั ตอน และ ขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ีของรฐั นกั ทฤษฎี และนักธรุ กิจในทกุ ระดบั ใหม้ สี �ำ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และใหม้ คี วามรอบรทู้ เ่ี หมาะสม ด�ำ เนนิ ชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี รมสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุสังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดังน้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ีไม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผ้อู ื่น เชน่ การผลิตและการบริโภคทีอ่ ยู่ในระดบั พอประมาณ ๒. ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ระดบั ความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตปุ จั จัยที่เก่ยี วข้อง ตลอดจนค�ำ นงึ ถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทำ�นัน้ ๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภมู คิ มุ้ กนั หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ โดยคำ�นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ า่ งๆ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต โดยมี เงอื่ นไข ของการตดั สนิ ใจและด�ำ เนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั พอเพยี ง ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วชิ าการตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะน�ำ ความรู้ เหล่าน้นั มาพิจารณาใหเ้ ช่อื มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏิบัติ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและ มคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้สติปญั ญาในการด�ำ เนินชีวิต แนวทางการทำ�การเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง เน้นหาข้าวหาปลาก่อนหาเงินหาทอง คือ ทำ�มาหากินก่อน ท�ำ มาค้าขายโดยการสง่ เสรมิ : 1. การท�ำ ไรน่ าสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพือ่ ให้เกษตรกรพัฒนาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง 2. การปลูกพืชผกั สวนครวั ลดค่าใชจ้ า่ ย 3. การทำ�ปุ๋ยหมักป๋ยุ คอกและใชว้ ัสดุเหลอื ใชเ้ ปน็ ปจั จยั การผลิต(ปุย๋ )เพ่ือลดคา่ ใชจ้ ่ายและบ�ำ รงุ ดิน

8 สรุปผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 4. การเพาะเหด็ ฟางจากวสั ดุเหลือใช้ในไรน่ า 5. การปลูกไม้ผลสวนหลังบ้าน และไม้ใช้สอยในครวั เรอื น 6. การปลกู พชื สมนุ ไพร ชว่ ยส่งเสริมสขุ ภาพอนามยั 7. การเลยี้ งปลาในร่องสวน ในนาข้าวและแหล่งนำ้� เพื่อเป็นอาหารโปรตนี และรายได้เสริม 8. การเล้ยี งไก่พืน้ เมือง และไกไ่ ข่ ประมาณ 10-15 ตัวต่อครวั เรอื นเพือ่ เปน็ อาหารในครวั เรือน โดยใชเ้ ศษอาหาร รำ� และปลายขา้ วจากผลผลิตการทำ�นา ข้าวโพดเลีย้ งสัตวจากการปลกู พชื ไร่ เป็นต้น 9. การท�ำ ก๊าซชีวภาพจากมลู สตั ว์ พระราชด�ำ รสั โดยยอ่ เกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพียงในวนั ฉลองสิรริ าชสมบตั ิครบ 60 ปี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเขา้ พระราชหฤทยั ในความเปน็ ไปของเมอื งไทยและคนไทยอยา่ งลกึ ซง้ึ และกวา้ งไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพ่ึงตนเองได้มีความ “ พออยู่พอกิน” และมี ความอิสระท่ีจะอยู่ได้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวิเคราะห์ว่าหาก ประชาชนพึ่งตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติโดยส่วนรวมได้ ในที่สุด พระราชดำ�รัสท่ีสะท้อนถึง พระวิสัยทศั น์ในการสร้างความเขม้ แข็งในตนเองของประชาชนและสามารถทำ�มาหากนิ ให้พออยพู่ อกินได้ ดังนี้ “….ในการสรา้ งถนน สรา้ งชลประทานใหป้ ระชาชนใชน้ นั้ จะตอ้ งชว่ ยประชาชนในทางบคุ คลหรอื พฒั นาใหบ้ คุ คลมคี วามรแู้ ละ อนามยั แขง็ แรง ดว้ ยการใหก้ ารศกึ ษาและการรกั ษาอนามยั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนในทอ้ งทส่ี ามารถท�ำ การเกษตรได้ และคา้ ขายได…้ ” ในสภาวการณป์ จั จบุ นั ซง่ึ เกดิ ความถดถอยทางเศรษฐกจิ อยา่ งรนุ แรงขน้ึ นจ้ี งึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจไดช้ ดั เจนในแนวพระราชด�ำ ริ ของ “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ซง่ึ ได้ทรงคดิ และตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไมไ่ ปพี่งพา ยึดตดิ อยูก่ ับกระแสจากภายนอก มากเกนิ ไป จนได้ครอบง�ำ ความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่ม่นั คงเหมอื น ลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นน้ีอาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นน้ี ดังนั้น “เศรษฐกิจพอเพียง” จึงได้ส่ือความหมาย ความสำ�คัญในฐานะเป็นหลักการสังคมท่ีพึงยึดถือในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟ้ืนฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น เศรษฐกิจพอเพียงเป็นทั้งหลักการและกระบวนการ ทางสังคม ต้ังแต่ขั้นฟ้ืนฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรมย่ังยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภค อย่างพออยู่พอกินข้ึนไปถึงข้ันแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและทักษะวิชาการท่ีหลากหลายเกิดตลาดซ้ือขาย สะสมทุน ฯลฯ บนพนื้ ฐานเครือข่ายเศรษฐกจิ ชุมชนน ี้ เศรษฐกจิ ของ 3 ชาติ จะพฒั นาขนึ้ มาอย่างม่นั คงทงั้ ในดา้ นก�ำ ลังทนุ และตลาดภายในประเทศ รวมทงั้ เทคโนโลยซี งึ่ จะคอ่ ยๆ พฒั นาขนึ้ มาจากฐานทรพั ยากรและภมู ปิ ญั ญาทม่ี อี ยภู่ ายในชาติ และ ท้ังทจ่ี ะพงึ คดั สรรเรยี นรูจ้ ากโลกภายนอก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจท่ีพอเพียงกับตัวเอง ทำ�ให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีส่ิงจำ�เป็นที่ทำ�ได้ โดยตัวเอง ไมต่ อ้ งแขง่ ขนั กับใคร และมเี หลือเพือ่ ชว่ ยเหลือผู้ท่ีไมม่ ี อันนำ�ไปสกู่ ารแลกเปลยี่ นในชมุ ชน และขยายไปจนสามารถที่จะเป็น สินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดท่ีเริ่มจากตนเองและความร่วมมือ วิธีการเช่นนี้จะดึงศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแขง็ ของครอบครัว ซึ่งมีความผพู้ ันกบั จิต วิญญาณ คอื คณุ คา่ มากกวา่ มูลค่า ในระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งจะจดั ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั ของ “คณุ คา่ ” มากกวา่ “มลู คา่ ” มลู คา่ นนั้ ขาดจติ วญิ ญาณ เพราะเปน็ เศรษฐกจิ ภาคการเงนิ ทเ่ี นน้ ทจี่ ะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการท่ีไมจ่ �ำ กดั ซง่ึ ไรข้ อบเขต ถา้ ไมส่ ามารถควบคมุ ไดก้ ารใชท้ รพั ยากร อย่างทำ�ลายล้างจะรวดเร็วขึ้นและปัญหาจะตามมา เปน็ การบรโิ ภคท่ีก่อใหเ้ กิดความทกุ ขห์ รอื พาไปหาความทุกข์ และจะไม่มี โอกาสบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ในการบรโิ ภค ทจ่ี ะกอ่ ใหค้ วามพอใจและความสขุ (Maximization of Satisfaction) ผบู้ รโิ ภคตอ้ งใช้ หลกั ขาดทนุ คือกำ�ไร (Our loss is our gain) อยา่ งนีจ้ ะควบคมุ ความตอ้ งการท่ีไมจ่ �ำ กัดได้ และสามารถจะลดความต้องการ ลงมาได้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความพอใจและความสขุ เทา่ กบั ไดต้ ระหนกั ในเรอื่ ง “คณุ คา่ ” จะชว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ยลงได้ ไมต่ อ้ งไปหาวธิ ที �ำ ลาย

สรุปผลการดำ�เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 9 สำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 ทรัพยากรเพื่อให้เกิดรายได้มาจัดสรรสิ่งที่เป็น “ความอยากที่ไม่มีท่ีสิ้นสุด” และขจัดความสำ�คัญของ “เงิน” ในรูปรายได้ ทเี่ ปน็ ตวั ก�ำ หนดการบรโิ ภคลงไดร้ ะดบั หนง่ึ แลว้ ยงั เปน็ ตวั แปรท่ีไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพง่ึ พงิ กลไกของตลาด ซึ่งบุคคลโดยท่ัวไปไม่สามารถจะควบคุมได้ รวมท้ังได้มีส่วนในการป้องกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects) จะไม่ท�ำ ให้เกดิ การสูญเสยี จะทำ�ให้ไมเ่ กิดการบรโิ ภคเกิน (Over Consumption) ซ่งึ ก่อให้เกิดสภาพเศรษฐกจิ ดี สงั คมไมม่ ี ปญั หา การพฒั นายั่งยืน การบรโิ ภคทฉ่ี ลาดดงั กลา่ วจะชว่ ยปอ้ งกนั การขาดแคลน แมจ้ ะไมร่ �ำ่ รวยรวดเรว็ แต่ในยามปกตกิ จ็ ะท�ำ ใหร้ �่ำ รวยมากขนึ้ ในยามทกุ ขภ์ ยั ก็ไมข่ าดแคลน และสามารถจะฟนื้ ตวั ไดเ้ รว็ กวา่ โดยไมต่ อ้ งหวงั ความชว่ ยเหลอื จากผอู้ นื่ มากเกนิ ไป เพราะฉะนน้ั ความพอมีพอกินจะสามารถอุ้มชูตัวได้ ทำ�ให้เกิดความเข้มแข็ง และความพอเพียงน้ันไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัว ตอ้ งผลติ อาหารของตวั เอง จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง แตม่ กี ารแลกเปลยี่ นกนั ไดร้ ะหวา่ งหมบู่ า้ น เมอื ง และแมก้ ระทงั่ ระหวา่ งประเทศ ทส่ี �ำ คญั คอื การบรโิ ภคนน้ั จะท�ำ ใหเ้ กดิ ความรทู้ จ่ี ะอยรู่ ว่ มกบั ระบบ รกั ธรรมชาติ ครอบครวั อบอนุ่ ชมุ ชนเขม้ แขง็ เพราะไมต่ อ้ ง ท้งิ ถนิ่ ไปหางานท�ำ เพอื่ หารายไดม้ าเพื่อการบริโภคท่ีไมเ่ พียงพอ ประเทศไทยอดุ มไปด้วยทรัพยากรและยงั มพี อสำ�หรบั ประชาชนไทยถา้ มีการจัดสรรท่ดี ี โดยยึด “ คณุ คา่ “ มากกวา่ “ มลู ค่า “ ยดึ ความสัมพนั ธข์ อง “บคุ คล” กับ “ระบบ” และปรับความต้องการที่ไมจ่ �ำ กดั ลงมาให้ได้ตามหลกั ขาดทุนเพื่อก�ำ ไร และอาศยั ความร่วมมือเพอื่ ใหเ้ กิดครอบครัวท่ีเข้มแข็งอันเป็นรากฐานทีส่ �ำ คัญของระบบสงั คม การผลิตจะเสียค่าใช้จ่ายลดลงถ้ารู้จักนำ�เอาส่ิงที่มีอยู่ในขบวนการธรรมชาติมาปรุงแต่ง ตามแนวพระราชดำ�ริ ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ซงึ่ สรปุ เปน็ ค�ำ พดู ทเ่ี หมาะสมตามท่ี ฯพณฯ พลเอกเปรม ตนิ ณสลู านนท์ ทว่ี า่ “…ทรงปลกู แผน่ ดนิ ปลกู ความสขุ ปลดความทกุ ขข์ องราษฎร” ในการผลติ นนั้ จะตอ้ งท�ำ ดว้ ยความรอบคอบไมเ่ หน็ แกไ่ ด้ จะตอ้ งคดิ ถงึ ปจั จยั ทมี่ แี ละ ประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาอย่างเช่นบางคนมีโอกาสทำ�โครงการแต่ไม่ได้คำ�นึงว่าปัจจัยต่าง ๆ ไม่ครบ ปจั จยั หนึ่งคือขนาดของโรงงาน หรือเคร่อื งจกั รทส่ี ามารถทจี่ ะปฏิบัติได้ แต่ขอ้ ส�ำ คญั ทส่ี ดุ คอื วตั ถดุ บิ ถ้าไมส่ ามารถทีจ่ ะให้คา่ ตอบแทนวัตถดุ ิบแกเ่ กษตรกรท่เี หมาะสม เกษตรกรก็จะไมผ่ ลิต ยงิ่ ถ้าใชว้ ัตถุดบิ ส�ำ หรับใช้ในโรงงาน้นั เป็นวัตถุดิบทจี่ ะตอ้ งนำ�มาจากระยะไกล หรอื นำ�เขา้ กจ็ ะยิ่งยาก เพราะวา่ วัตถดุ ิบท่ีน�ำ เข้านนั้ ราคายง่ิ แพง บางปวี ัตถดุ ิบมีบรบิ ูรณ์ ราคาอาจจะต�ำ่ ลงมา แต่เวลาจะขายส่ิงของทีผ่ ลติ จากโรงงานก็ขายยากเหมอื น กัน เพราะมมี ากจงึ ท�ำ ใหร้ าคาตก หรอื กรณีใช้เทคโนโลยที างการเกษตร เกษตรกรรู้ดีว่าเทคโนโลยีทำ�ใหต้ ้นทุนเพ่มิ ขน้ึ และ ผลผลิตท่ีเพ่ิมนัน้ จะล้นตลาด ขายได้ในราคาทีล่ ดลง ทำ�ใหข้ าดทนุ ตอ้ งเป็นหนีส้ นิ การผลิตตามทฤษฎีใหมส่ ามารถเป็นตน้ แบบการคดิ ในการผลิตทีด่ ไี ด้ ดงั นี้ 1. การผลิตนั้นมุ่งใช้เป็นอาหารประจ�ำ วันของครอบครวั เพ่อื ใหม้ ีพอเพยี งในการบริโภคตลอดปี เพ่อื ใช้เปน็ อาหาร ประจำ�วนั และเพอ่ื จ�ำ หน่าย 2. การผลติ ตอ้ งอาศยั ปจั จยั ในการผลติ ซง่ึ จะตอ้ งเตรยี มใหพ้ รอ้ ม เชน่ การเกษตรตอ้ งมนี �ำ้ การจดั ใหม้ แี ละดแู หลง่ น�ำ้ จะก่อให้เกดิ ประโยชน์ทั้งการผลติ และประโยชน์ใชส้ อยอน่ื ๆ 3. ปจั จัยประกอบอน่ื ๆ ทีจ่ ะอ�ำ นวยให้การผลติ ดำ�เนนิ ไปด้วยดี และเกิดประโยชนเ์ ชอ่ื มโยง (Linkage) ท่จี ะไปเสริม ให้เกิดความยั่งยืนในการผลิต จะต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายท้ัง เกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพ่ือเช่ือมโยงเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ากบั เศรษฐกจิ การคา้ และใหด้ ำ�เนินกจิ การควบคไู่ ปดว้ ยกนั ได้ การผลติ จะตอ้ งตระหนกั ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง “บคุ คล” กบั “ระบบ” การผลติ นน้ั ตอ้ งยดึ มน่ั ในเรอื่ งของ “คณุ คา่ ” ใหม้ ากกว่า “มลู ค่า” ดงั พระราชดำ�รัส ซงึ่ ไดน้ ำ�เสนอมากอ่ นหนา้ นีท้ ว่ี ่า “…บารมนี ัน้ คือ ท�ำ ความดี เปรยี บเทียบกับธนาคาร …ถา้ เราสะสมเงนิ ใหม้ ากเรากส็ ามารถทจ่ี ะใชด้ อกเบย้ี ใชเ้ งนิ ทเ่ี ปน็ ดอกเบยี้ โดยไมแ่ ตะตอ้ งทนุ แตถ่ า้ เราใชม้ ากเกดิ ไป หรอื เรา ไม่ระวงั เรากิน เข้าไปในทนุ ทุนมนั ก็นอ้ ยลง ๆ จนหมด …ไปเบกิ เกินบัญชเี ขากต็ อ้ งเอาเร่ือง ฟ้องเราให้ล้มละลาย เราอยา่ ไป เบกิ เกนิ บารมที บี่ า้ นเมอื ง ทป่ี ระเทศไดส้ รา้ งสมเอาไวต้ ง้ั แตบ่ รรพบรุ ษุ ของเราใหเ้ กนิ ไป เราตอ้ งท�ำ บา้ ง หรอื เพมิ่ พนู ใหป้ ระเทศ

10 สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ของเราปกตมิ อี นาคตทม่ี นั่ คง บรรพบรุ ษุ ของเราแต่โบราณกาล ไดส้ รา้ งบา้ นเมอื งมาจนถงึ เราแลว้ ในสมยั นที้ เ่ี ราก�ำ ลงั เสยี ขวญั กลัว จะได้ไมต่ อ้ งกลวั ถ้าเราไม่รกั ษาไว…้ ” การจัดสรรทรัพยากรมาใช้เพื่อการผลิตที่คำ�นึงถึง “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” จะก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่าง “บุคคล” กับ “ระบบ” เปน็ ไปอยา่ งยง่ั ยนื ไมท่ �ำ ลายทง้ั ทุนสงั คมและทนุ เศรษฐกิจ นอกจากนีจ้ ะต้องไม่ตดิ ตำ�รา สรา้ งความรู้ รัก สามคั คี และความร่วมมอื ร่วมแรงใจ มองการณ์ไกลและมรี ะบบสนบั สนุนทเ่ี ปน็ ไปได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปลูกฝังแนวพระราชดำ�ริให้ประชาชนยอมรับไปปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง โดยให้วงจร การพฒั นาดำ�เนนิ ไปตามครรลองธรรมชาติ กลา่ วคือ ทรงสร้างความตระหนักแก่ประชาชนให้รับรู้ (Awareness) ในทุกครา เมอ่ื เสด็จพระราชดำ�เนนิ ไปทรงเยย่ี มประชาชนในทุกภมู ิภาคตา่ ง ๆ จะทรงมีพระราชปฏสิ นั ถารให้ประชาชนได้รบั ทราบถงึ สิ่งท่ีควรรู้ เช่น การปลูกหญ้าแฝกจะช่วยป้องกันดินพังทลาย และใช้ปุ๋ยธรรมชาติจะช่วยประหยัดและบำ�รุงดิน การแก้ไข ดนิ เปรยี้ วในภาคใตส้ ามารถกระท�ำ ได้ การ ตดั ไมท้ �ำ ลายปา่ จะท�ำ ใหฝ้ นแลง้ เปน็ ตน้ ตวั อยา่ งพระราชด�ำ รสั ทเี่ กย่ี วกบั การสรา้ ง ความตระหนกั ให้แกป่ ระชาชน ไดแ้ ก่ “….ประเทศไทยน้ีเป็นที่ท่ีเหมาะมากในการตั้งถ่ินฐาน แต่ว่าต้องรักษาไว้ ไม่ทำ�ให้ประเทศไทยเป็นสวนเป็นนากลายเป็น ทะเลทรายก็ปอ้ งกัน ทำ�ได…้ .” ทรงสรา้ งความสนใจแก่ประชาชน (Interest) หลายท่านคงไดย้ ินหรือรับฟงั โครงการอันเนอ่ื ง มาจากพระราชดำ�ริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวทมี่ นี ามเรียกขานแปลกหู ชวนฉงน น่าสนใจติดตามอยู่เสมอ เชน่ โครงการแกม้ ลิง โครงการ แกลง้ ดิน โครงการเส้นทางเกลอื โครงการน�ำ้ ดไี ลน่ ำ้�เสยี หรอื โครงการน้�ำ สามรส ฯลฯ เหลา่ นี้ เปน็ ตน้ ลว้ นเชญิ ชวนให้ติดตามอย่างใกลช้ ิด แต่พระองคก์ จ็ ะมพี ระราชาธิบายแต่ละโครงการอย่างละเอยี ด เปน็ ท่ีเขา้ ใจง่าย รวดเร็ว แก่ประชาชนทั้งประเทศ ในประการตอ่ มา ทรงให้เวลาในการประเมนิ คา่ หรือประเมินผล (Evaluate) ดว้ ยการศึกษา หาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ วา่ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รขิ องพระองคน์ นั้ เปน็ อยา่ งไร สามารถน�ำ ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ในสว่ นของตนเอง หรอื ไม่ ซ่งึ ยังคงยึดแนวทางท่ีให้ประชาชนเลอื กการพฒั นาดว้ ยตนเอง ท่ีว่า “….ขอใหถ้ อื ว่าการงานที่จะท�ำ นั้นต้องการเวลา เปน็ งานทม่ี ผี ดู้ �ำ เนนิ มากอ่ นแลว้ ทา่ นเปน็ ผทู้ จี่ ะเขา้ ไปเสรมิ ก�ำ ลงั จงึ ตอ้ งมคี วามอดทนทจี่ ะเขา้ ไปรว่ มมอื กบั ผอู้ นื่ ตอ้ งปรองดอง กับเขาให้ได้ แมเ้ หน็ ว่ามีจุดหน่ึงจุดใดตอ้ งแก้ไขปรับปรงุ กต็ อ้ งคอ่ ยพยายามแก้ไขไปตามที่ถกู ทีค่ วร….” ในขนั้ ทดลอง (Trial) เพื่อทดสอบว่างานในพระราชดำ�ริที่ทรงแนะนำ�นั้นจะได้ผลหรือไม่ซ่ึงในบางกรณีหากมีการทดลองไม่แน่ชัดก็ทรงมักจะมิให้ เผยแพร่แกป่ ระชาชน หากมีผลการทดลองจนแนพ่ ระราชหฤทยั แล้วจงึ จะออกไปสสู่ าธารณชนได้ เชน่ ทดลองปลกู หญ้าแฝก เพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ�น้ัน ได้มีการค้นคว้าหาความเหมาะสมและความเป็นไปได้จนทั่วทั้งประเทศว่าดียิ่งจึงนำ�ออกเผยแพร่ แก่ประชาชน เป็นต้น ข้ันยอมรับ (Adoption) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�รินั้น เมอื่ ผ่านกระบวนการมาหลายข้ันตอน บ่ม เพาะ และมีการทดลองมาเป็นเวลานาน ตลอดจนทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริและสถานท่ีอื่น ๆ เป็นแหลง่ สาธติ ที่ประชาชนสามารถเข้าไปศกึ ษาดูได้ถึงตวั อยา่ งแหง่ ความสำ�เร็จ ดงั นั้น แนวพระราชด�ำ ริของพระองคจ์ ึงเป็น สิ่งทร่ี าษฎรสามารถพิสูจน์ได้วา่ จะได้รบั ผลดีตอ่ ชีวิต และความเป็นอยู่ของตนได้อย่างไร แนวพระราชด�ำ รทิ ้ังหลายดังกล่าว ขา้ งตน้ น้ี แสดงถงึ พระวริ ยิ ะอตุ สาหะทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงทมุ่ เทพระสตปิ ญั ญา ตรากตร�ำ พระวรกาย เพอื่ คน้ ควา้ หาแนวทางการพฒั นาใหพ้ สกนกิ รทงั้ หลายไดม้ คี วามรม่ เยน็ เปน็ สขุ สถาพรยงั่ ยนื นาน นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั ใหญห่ ลวง ที่ได้พระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลามากกว่า 50 ปี จึงกล่าวได้ว่าพระราชกรณียกิจของพระองค์น้ันสมควรอย่งยิ่ง ที่ทวยราษฎรจักได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ตามท่ที รงแนะน�ำ สั่งสอน อบรมและวางแนวทางไวเ้ พอ่ื ให้เกิดการอยู่ดี มีสขุ โดยถว้ นเชน่ กนั โดยการพัฒนาประเทศจำ�เปน็ ต้องทำ�ตามลำ�ดับขึน้ ตอนตอ้ งสร้างพ้นื ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตาหลักวิชาการ เพ่ือได้พ้ืนฐาน ทม่ี น่ั คงพรอ้ มพอสมควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ึ ทสี่ งู ขนึ้ ไปตามล�ำ ดบั

สรุปผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 11 สำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 จะก่อให้เกิดความย่ังยืนและจะนำ�ไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และสังคม สุดท้ายเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยนื ประการท่ีสำ�คัญของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอท่ีจะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลอื จงึ ขายไป 2. พออยพู่ อใช้ ท�ำ ใหบ้ า้ นนา่ อยู่ ปราศจากสารเคมี กลนิ่ เหมน็ ใชแ้ ตข่ องทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ (ใชจ้ ลุ นิ ทรยี ผ์ สมน�้ำ ถพู นื้ บา้ น จะสะอาดกวา่ ใช้นำ้�ยาเคมี) รายจ่ายลดลง สขุ ภาพจะดขี น้ึ (ประหยดั ค่ารกั ษาพยาบาล) 3. พออกพอใจ เราต้องรจู้ กั พอ รู้จกั ประมาณตน ไม่ใครอ่ ยากใคร่มีเชน่ ผู้อ่นื เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปญั ญา จะไมเ่ กดิ “ การจะเปน็ เสือน้นั มันไมส่ �ำ คัญ ส�ำ คญั อยู่ทีเ่ ราพออยู่พอกนิ และมีเศรษฐกิจการเปน็ อยแู่ บบพอมพี อกนิ แบบพอมี พอกนิ หมายความว่า อุม้ ชูตวั เองได้ ใหม้ พี อเพียงกบั ตัวเอง ” “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” จะสำ�เรจ็ ไดด้ ว้ ย “ความพอดีของตน” ท่ีมา : https://www.nhtech.ac.th/Sufficient/

12 สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 การสมั ภาษณเ์ พอื่ เก็บขอ้ มลู ผู้ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ โคโรน่าไวรสั 2019 (COVID-19) ขอ้ มูลส่วนตวั ชื่อนายธนานนั ต์ ปญั ญามี อายุ 37 ปี อาชพี ขบั รถต้รู ับจา้ ง รายได้เฉลย่ี ต่อเดอื น 30,000.-บาท ที่อยปู่ จั จุบัน 251 ม.9 บา้ นนามะเขือ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสนิ ธ์ุ เบอร์โทรศัพท์ 085-7774752

สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 13 ส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 ผลกระทบท่ีได้รบั จากสถานการณ์โรคระบาด ต้ังแต่ต้นเดือนมีนาคม 2563 สถานการณ์โรคระบาดไวรัสโควิด-19 ในประเทศไทยเริ่มมีความรุนแรงมากขึ้น ทางรฐั บาลมกี ารรณรงคข์ อความรว่ มมอื ใหค้ นไทยทกุ ๆคน อยบู่ า้ น หยดุ เชอ้ื เพอื่ ชาติ จนกระทงั่ รฐั บาลประกาศใช้ พรก.ฉกุ เฉนิ ห้ามออกเคหสถาน ทั่วราชอณาจักร ในเวลา 22.00-04.00น. ผมในฐานะหวั หน้าครอบครวั มรี ายไดห้ ลกั จากการวง่ิ งานรถตู้ เดอื นหนง่ึ มรี ายไดเ้ ฉลยี่ ประมาณ 30,000.-บาท เมอ่ื เกดิ สถานการณ์โรคระบาดก็ไมส่ ามารถวงิ่ งานได้ เมอ่ื ไมม่ งี านก็ไมม่ รี ายได้ ทำ�ให้เกิดความเครียดเน่ืองจากค่าใช้จ่ายในบ้านก็ยังต้องจ่ายตามปกติ ค่าใช้จ่ายที่อยู่ตรงหน้าไม่ว่าจะเป็นค่าบ้าน ค่ารถ ค่าเทอมลูกสาว 2 คน และคา่ ใช้จา่ ยประจำ�วัน ผมเครยี ดกนิ ไมไ่ ด้ นอนไม่หลบั นานกว่า 1 สปั ดาห์ สอบถามไปยงั กลุม่ เพอื่ นๆ รถตู้ทุกคนก็อยู่ในสภาวะไมต่ า่ งกัน คือไมม่ งี าน ไมม่ ีเงิน ท่มี ีคอื เวลาวา่ ง ปกติ 1เดือน ผมจะได้อยู่ท่บี ้านประมาณ 5-7 วัน นอกนน้ั คือไปท�ำ งาน จากสถานการณ์โรคระบาดผมก็ไดม้ ีเวลาคดิ ไดห้ นั กลบั มามองคนในครอบครัว ได้ใชเ้ วลาอยกู่ ับพวกเขา และหนั มาดแู ลพชื ผกั สวนครวั ผลไม้ ทอี่ ยู่ในสวนหลงั บา้ น ในยามวกิ ฤตเชน่ นที้ �ำ ใหผ้ มไดเ้ ขา้ ใจหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของในหลวงรัชการท่ี 9 อยา่ งถอ่ งแท้ ผมโชคดที ี่ยังมที ีด่ นิ ท�ำ กิน มนี าข้าว มีผกั มีผลไม้ มปี ลา มไี ก่ ในสวน ส่งิ เหล่าน้ีช่วยให้ ดำ�รงชีวิตอยู่ได้ ลดค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน อย่างน้อยท่ีสุดก็ทำ�ให้ผมและครอบครัวอิ่มท้อง ท่ีดีไปกว่าก็คือ การได้ ใช้ชีวิตอยู่กับลูกสาวได้อบรมเลี้ยงดูเขา ได้มอบความรักความอบอุ่นให้เขา วิถีชีวิตในช่วงโรคระบาด ผมต่ืนนอน ตอนเช้ากเ็ ขา้ สวนรดนำ้�ตน้ ไม้ เพาะต้นไม้ ให้อาหารปลา กบ ไก่ ทำ�แปลงผักเพ่มิ มากขน้ึ ปลูกผักทกุ ชนดิ ที่เรามแี ละในขณะ เดียวกันผมก็ได้ปลูกฝังให้ลูกสาวทำ�ด้วย วิกฤตโรคระบาดทำ�ให้ผู้คนเริ่มกักตุนอาหารไข่ไก่ในท้องตลาดแพงจนกระทั่งหาซื้อ ไม่ได้ ผมจึงได้สร้างเล้าไก่ไข่ขึ้นและเล้ียงไก่ไข่จำ�นวน 10 ตัว พอให้เล้ียงดูคนในครอบครัว และหน้าที่เก็บไข่ไก่ในทุกวันๆ ผมได้มอบหมายใหล้ ูกสาวของผมเปน็ คนเก็บ ในเร่อื งรา้ ยๆ กย็ งั มีเรอ่ื งดอี ยูม่ าก วันนผี้ มเข้าใจแลว้ วา่ ความพอดี พอประมาณ ท�ำ ในสงิ่ ทเ่ี ราท�ำ ได ้ ไมเ่ ดอื ดรอ้ นใคร การตง้ั สตอิ ยกู่ บั ปจั จบุ นั คอ่ ยหาทางแก้ไข ผมกข็ อฝากไปยงั ทกุ ๆทา่ นนะครบั เรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพียงจะเป็นทางเลือกทางรอดให้กับทุกๆ ท่าน เริ่มจากพื้นที่เล็กหลังบ้านของเราเองครับ และก็ขอเป็นกำ�ลังใจให้กับ ทกุ ท่านเราจะผ่านวิกฤตนี้ไปดว้ ยกันครบั ผม

14 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 การสัมภาษณเ์ พอ่ื เก็บข้อมลู ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ โคโรนา่ ไวรัส 2019 (COVID-19) ข้อมูลสว่ นตัว ชื่อนายโสภา นาใจคง อายุ 64 ปี อาชพี เกษตรกร ที่อยู่ปัจจบุ ัน 141 หมู่ 4 ตำ�บลห้วยโพธิ์ อำ�เภอเมือง จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ผลกระทบที่ได้รบั จากสถานการณ์โรคระบาด ผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดทเี่ กดิ ขนึ้ ในครอบครวั ผมเองมองวา่ ไดร้ บั ผลกระทบคอ่ นขา้ งนอ้ ย เนอ่ื งจากวถิ ี ชวี ติ ของเราท�ำ เกษตรพอเพยี งกนั อยแู่ ลว้ เรามขี า้ วในยงุ้ ขา้ ว มพี ชื ผกั สวนครวั มผี ลไมต้ ามฤดกู าล และเลย้ี งสตั วห์ ลายหลายชนดิ ได้แก่ ไก่บ้าน เป็ดไข่ กบ และหนูพุก เรากินทุกอย่างที่ปลูก ปลูกทุกอย่างที่กิน ผลผลิตท่ีเหลือเราก็เอาไปจำ�หน่ายท่ี ตลาดหมู่บ้าน เราสามารถดำ�รงชวี ติ อย่ไู ดอ้ ย่างปกติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งครับ

สรปุ ผลการดำ�เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 15 ส�ำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 สแกนควิ อาร์โค้ด เพ่อื รับชมวิดีทศั น์ การสัมภาษณ์ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจาก โควิด - 19 เตรยี มพรอ้ มรบั มอื อยา่ งไร ในวกิ ฤตโรคระบาด Covid – 19 ครงั้ ถดั ไป ทศพร อาตมผดงุ ปัจจุบันยังไม่มียารักษาโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (Covid-19) ทำ�ได้เพียงแค่รักษาตามอาการจนกระท่ังหายดี เปน็ ปรกติ ทางรฐั บาลจงึ ไดม้ กี ารรณรงคป์ อ้ งกนั การระบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ดงั กล่าว โดยมกี ารสร้างความเปน็ ปรกติใหม่ (New Normal) มาเพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินชีวิต เพื่อเป็นการ ป้องกันการติดเชื้อไวรัสดังกล่าว และมีการคาดคะเนกันว่า จะใชเ้ วลาในการผลติ วคั ซนี รกั ษาไวรสั โดยใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ย 2 ปี ดังน้ันจงึ ตอ้ งมีการเตรียมการปอ้ งกันรับมอื กับสถานการณ์วิกฤตโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ครง้ั ต่อไป ด้วยวธิ ดี ังต่อไปน้ี 1. เตรยี มเงนิ ไวล้ ว่ งหนา้ การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนาท�ำ ใหเ้ ศรษฐกจิ โลกถดถอย การฟน้ื ตวั ทางเศรษฐกจิ เปน็ ไอยา่ งลา่ ชา้ ผคู้ นมากมายตอ้ งตกงานหรอื มรี ายไดล้ ดลงกวา่ เดมิ เพอื่ รองรบั ความเสย่ี งดงั กลา่ ว เราควรตอ้ งมเี งนิ ส�ำ รอง ฉกุ เฉินท่ีมสี ภาพคลอ่ งสูงไว้ใชจ้ ่ายอยา่ งนอ้ ย 6 เดือน เพื่อให้สามารถหางานใหม่หรอื รายรับในรปู แบบอ่นื เข้ามาได้ เปน็ การ ป้องกันปัญหาการมีรายได้ไม่เพียงพอในการด�ำ เนนิ ชวี ิต 2. รักษาสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรงอยูเ่ สมอ ณ วนั ที่ 9 มิถนุ ายน 2563 ตวั เลขสถิติอย่างเปน็ ทางการพบวา่ มผี ู้ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนาทั่วโลก 6.9 ล้านคน และมีผู้เสยี ชวี ติ จากการติดเชื้อ จำ�นวน 4 แสนคน ทง้ั นผ้ี ูเ้ สยี ชวี ิตสว่ นใหญม่ ักเปน็ ผูส้ ูงอายหุ รือ อยู่ในกลุ่มเส่ียง มีโรคประจำ�ตัว ดังนั้นการออกกำ�ลังกายและดูแลตนเองให้มีร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอเพื่อลดโอกาส การติดเชื้อ และอตั ราการเสยี ชวี ิตลงได้ 3. ไมป่ ระมาทการด์ อยา่ ตก มาตราการภาครฐั ในการปอ้ งกนั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา เชน่ การเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม การสวมใสห่ นา้ กากอนามัยหรือหนา้ กากผา้ ขณะอยู่ในพื้นท่สี าธารณะ การลา้ งมอื บ่อยๆดว้ ยสบู่เจลแอลกอฮอล์ รับประทาน อาหารด้วยอปุ กรณภ์ าชนะส่วนตวั เราจงึ ควรปฏิบตั ติ นตามมาตราการภาครฐั ในการป้องกันโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา



สรุปผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 17 สำ�นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 วันองั คารท่ี 21 เมษายน 2563 นางสาวศรวี รรณ์ สระแก้ว นักพฒั นาสังคมชำ�นาญการพิเศษ รกั ษาราชการแทนผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกึ งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 มอบหมายให้ นายผาด สวุ รรณรตั น์ นักพัฒนาสังคมชำ�นาญการพิเศษ นางสาวพรสุดา ฤทธิธาดา นักพัฒนาสังคมชำ�นาญการ นางสาว ปภิญญา ฮวดศรี นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการและ นางสาวชฎารัตน์ ไซยสิงห์ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการ วชิ าการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดกิ ารสังคม ลงพ้ืนท่ีโรงพยาบาลกาฬสินธุเ์ พ่ือถ่ายทำ�วดิ ีโอ เรอ่ื ง วกิ ฤต สุขภาพจิต ยุคโควิด-19 ที่กำ�ลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ ทำ�ให้คนในสังคมส่วนใหญ่อยู่ในสภาวะวิกฤต ทางดา้ นสขุ ภาพจติ อารมรณเ์ กดิ ความเครยี ดสะสม และมแี นวโนม้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความรนุ แรงในครอบครวั ชุมชน และสังคมเมื่อตกอยู่ในภาวะไม่มีงานทำ� ขาดรายได้ และปัญหาอ่ืนๆ ไร้ซ้ึงทางออกจนนำ�ไปสู่ ความเครียด โดยการถ่ายทำ�ครัง้ นี้ได้สมั ภาษณ์ นายแพทยป์ ระมวล ไทยงามศลิ ป์ ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาล กาฬสนิ ธุ์ และแพทย์หญิงเฉิดพธิ ุ วนิ ศั ปทั มา จิตแพทย์ หัวหนา้ กลมุ่ งานจติ เวชและยาเสพติด ในประเดน็ การให้คำ�แนะนำ�แนวทางการปฏิบัติของประชาชน ให้รับมือสถานการณ์อย่างมีสติ ไม่ตกอยู่ในอารมณ์ แห่งความเครียดมากเกินไป ได้ให้คำ�แนะนำ�เร่ือง รู้ตัวเอง รู้คุณค่า ฝึกจิต และคิดบวก พร้อมได้ ร่วมให้กำ�ลังใจคนไทยทั้งประเทศให้ก้าวพ้นวิกฤตครั้งนี้ ไปด้วยกัน และทีมงานได้สัมภาษณ์ความรู้สึก ของประชาชนท่ีได้รับผลกระทบในครง้ั นดี้ ้วย -- สามารถตดิ ตอ่ ตามรายละเอยี ดเพิ่มเติมได้จาก NEW TPSO-6 เร็วๆ นี้ --

18 สรปุ ผลการด�ำ เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 การจดั การความรู้ เรอื่ ง ผลกระทบจากไวรัสโควดิ -19 กบั ปัญหาความเครียด จนกอ่ ให้เกิดปัญหาการฆา่ ตวั ตายในสังคมไทย การระบาดของเชื้อไวรสั โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทยเปน็ อยา่ งยิ่ง โดยคาดว่า ปี 2563 GDP จะตดิ ลบ และขยายตัวตำ่�สุดในช่วงไตรมาส 2 ของปี และอาจส่งผลให้สถานการณ์ความยากจนและความเหล่ือมล้ำ�ของประเทศ มแี นวโนม้ สงู ขน้ึ สง่ ผลให้ 3สาขาอาชพี หลกั ไดแ้ ก่ 1.การบรกิ าร 2.การทอ่ งเทยี่ ว 3.คา้ ปลกี ไดร้ บั ผลกระทบจากวกิ ฤตในครง้ั นี้ กลมุ่ ผทู้ ี่ไดร้ บั ผลกระทบกลมุ่ แรงงานในระบบ : หยดุ งานโดยไมไ่ ดร้ บั เงนิ เดอื น / ถกู เลกิ จา้ ง / ปรบั อตั ราเงนิ เดอื น /หยดุ ประกอบ อาชพี อสิ ระเพอื่ กกั ตวั ท�ำ ใหร้ ายไดแ้ ละการใชจ้ า่ ยลดลงไมส่ ามารถช�ำ ระหนี้ได้ มหี นส้ี นิ เพม่ิ ขน้ึ กลมุ่ ท�ำ งานนอกระบบ : หยดุ งาน โดยไมม่ หี ลกั ประกนั เพอื่ ชดเชยรายได้ ไมม่ รี ายได้ในแตล่ ะวนั มหี นส้ี นิ เพมิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะหนนี้ อกระบบ กลมุ่ คนจนเมอื ง : เสย่ี งตอ่ การติดและแพร่กระจายโรคให้แก่คนในครอบครัวและผู้อ่ืน เน่ืองจากจำ�เป็นต้องออกนอกที่พักเพ่ือหารายได้แต่เข้าไม่ถึง การป้องกันท่ีมีคุณภาพ และท่ีพักอาศํยไม่เหมาะสมกับการกักตัว กลุ่มเกษตรกร : มีรายได้และผลผลิตการเกษตรน้อยลง มีราคาสูง และจ�ำ หน่ายได้ยากเนื่องจากประชาชนมกี �ำ ลังซอ้ื ลดลง กล่มุ เด็ก : ทุพโภชนาการ School dropout ส่งผลตอ่ การพัฒนาศักยภาพของเด็กและการพัฒนาคนช่วงวัยต่อไป กลุ่มบัณฑิตจบใหม่ : การว่างงานแฝงจะเพ่ิมขึ้นต่อเน่ืองจาก ปี 2562 รวมถงึ อาจเกดิ ปญั หาการแยง่ งาน ระหวา่ งแรงงานท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากการจา้ งงานอยเู่ ดมิ กลมุ่ ผสู้ งู อายุ : มปี ญั หา ทางสขุ ภาพทางจติ /กาย ซงึ่ เปน็ ผลจากการตอ้ งอยแู่ ต่ในทพี่ กั และอาจท�ำ ใหผ้ สู้ งู อายอุ ยู่ในภาวะพงึ่ พงิ มาขนึ้ มอี ปุ สรรคในการ เข้าถึงบริการสุขภาพที่รวดเร็ว และมีความเส่ียงสูงในการติดโรคหากขาดเครื่องมือป้องกันท่ีเหมาะสม กลุ่มคนไร้บ้าน : การปอ้ งกนั สอบสวนและควบคมุ โรคในกลมุ่ นเ้ี ปน็ ไปไดย้ าก เนอ่ื งจากการใหบ้ รกิ ารจ�ำ กดั แตเ่ ฉพาะอยู่ในโรงพยาบาล ท�ำ ใหเ้ สยี่ ง ต่อการจะเป็นผู้ป่วยและแพร่กระจายโรคไปยังผู้อื่น กลุ่มคนพิการ : ขาดรายได้ Social distancing / Self-isolation เปน็ อปุ สรรคกบั คนพกิ าร โดยเฉพาะกลมุ่ ผทู้ ตี่ อ้ งพง่ึ พงิ ผอู้ นื่ ในการดแู ลชวี ติ ประจ�ำ วนั ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ เวชภณั ฑ์ และบรกิ ารตา่ งๆ รวมถงึ ขอ้ มลู ในการปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั ประเภทของผพู้ กิ าร กลมุ่ คนตา่ งดา้ ว : ไมส่ ามารถเดินทางกลบั ไปยงั ประเทศบา้ นเกดิ ได้ ขาดรายได้ ไมม่ ีเงนิ ชดเชยในการใช้จ่าย คา่ ที่พัก/คา่ บริการทางการแพทย์ และที่พกั อาศํยไม่เหมาะสมกับการกกั ตัว กลมุ่ ผสู้ งสัยวา่ ติดโรคโควดิ -19 /ผู้ปว่ ย/ผูเ้ สยี ชวี ติ : การตีตราทางสังคม (Social stigma) และส่งผลกระทบให้ประชาชน ปกปิดอาการเจ็บป่วยเพ่ือหลีกเล่ียงการเลือกปฏิบัติ ขัดขวางการเข้ารับการรักษา หรอื อาศยั อย่รู ว่ มกนั ในชมุ ชน และกจิ กรรมทเี่ กีย่ วขอ้ งกับผปู้ ่วย ปัญหาการฆ่าตัวตาย ไม่ใช่เร่ืองใหม่ของสังคม ในหน่ึงปีจะมีผู้ฆ่าตัวตายสำ�เร็จท่ัวโลกมากกว่า 1 ล้านคน คิดเป็น คา่ เฉลยี่ ทกุ 40 วินาทจี ะมีผฆู้ ่าตัวตายสำ�เรจ็ ทางองคก์ ารอนามยั โลกพบว่าประชากรผชู้ ายฆ่าตัวตายสำ�เรจ็ มากกว่าผู้หญงิ ถึง 3 เท่า ซ่ึงมีสาเหตุหลายปัจจัยได้แก่ เกิดความเครียดสะสมทั่งเรื่องเรียน เรื่องงาน ปัญหาครอบครัว หรือปัญหา สุขภาพตา่ งๆทส่ี ่งผลกระทบตอ่ ร่างกายและบบี คัน้ ตอ่ จติ ใจ จนไมส่ ามารถหาทางออกได้ ทา้ ยทสี่ ุดจึงเลอื กจบปัญหาดว้ ยการ ฆ่าตัวตาย และในปัจจุบันเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อาจส่งผลกระทบกับใครหลายๆคน อาจเป็นฟาง เส้นสุดทา้ ยทีม่ ากระทบจนหาทางออกไมไ่ ด้

สรปุ ผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 19 ส�ำ นักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 ความเครียด คือ ช่องว่างระหว่าง ความต้องการและความสามารถเม่ือเรามี ความต้องการแต่เราขาดปัจจัยหรือทรัพยากร ในด้านต่างๆ เช่นเม่ือเรามีค่าใช้จ่ายรายเดือน ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ แตเ่ รามรี ายรบั เทา่ เดมิ หรอื นอ้ ยกวา่ เดมิ สิ่งน้ีจะทำ�ให้ความเครียดเกิดขึ้น ทำ�ให้เรา ต้องปรับตัวและหาทางออกโดยการตัดค่าใช้จ่าย ที่ไม่จำ�เป็นออกไป หรือหาอาชีพเสริมเพื่อสร้าง รายได้ บางคนเจอเรื่องไม่ดี เจอสถานการณ์ ทย่ี ำ่�แย่ แตเ่ ขาฮึดสกู้ ับความยากล�ำ บากเอาชนะ ความท้าทายทำ�ให้เกิดผลในทางที่ดี สุดท้าย เรื่องร้ายกลับกลายเป็นดี ความเครียดจึง กลายเปน็ สงิ่ กระตนุ้ ใหล้ กุ ขน้ึ สดู้ ว้ ยความไมย่ อ่ ทอ้ คดิ และลงมอื ท�ำ จนสามารถจดั การแก้ไขปญั หาได้ แตก่ ม็ ผี คู้ นอกี มากมายทต่ี ง้ั รบั ไมไ่ หวยอมแพ้ใหก้ บั ปญั หาทีเ่ ข้ามารมุ เร้า จนมองไมเ่ หน็ ทางออกและลงเอยด้วยการฆา่ ตวั ตายเพราะความเครยี ด ความเครียดไม่ใช่ความรู้สึก แต่เป็นสัญญาณเตือนช่วยให้เราปรับเปล่ียนพฤติกรรม ความเครียดในระยะสั้นๆ เป็นสิ่งทีด่ ี ทำ�ใหเ้ รามีพลงั ลุกขึ้นมาสู้ ท�ำ ใหเ้ ราปรบั ตัว เปลีย่ นแปลง ทำ�ให้เราหันกลับมาใหค้ วามสำ�คัญกับสง่ิ ท่สี ำ�คญั กับเรา มากท่สี ดุ น่นั กค็ อื ครอบครัว ความเครยี ดทน่ี า่ เปน็ หว่ ง คอื ความเครยี ดทเ่ี กดิ ขนึ้ ในตอนทเี่ ราไมร่ จู้ ะท�ำ อยา่ งไร หรอื หาทางออกไมไ่ ด้ ซง่ึ ถา้ ปลอ่ ยไว้ จะเกิดเป็นความเครียดสะสมระยะยาวจะทำ�ให้เกิดผลเสียความเครียดน้ันจะย้อนกลับมาทำ�ร้ายเรา ทำ�ให้เรารู้สึกเหนื่อยล้า ทอ้ แท้ หมดก�ำ ลงั ใจ ไมม่ แี รงลกุ ขนึ้ สตู้ อ่ ดงั นน้ั เราจงึ ควรรเู้ ทา่ ทนั และเปลย่ี นความเครยี ดใหเ้ ปน็ พลงั อยา่ ปลอ่ ยใหค้ วามเครยี ด สะสมและยอ้ นกลบั มาท�ำ รา้ ยตวั เรา เราตอ้ งมคี วามเชอื่ มนั่ วา่ เรายงั หาทางออกได้ หาทางแก้ไขได้ เปลยี่ นแปลงสถานการณ์ได้ เราจะต้องเปลร่ยนความเครียดให้เป็นพลัง ทมี่ าทำ�ให้เราขยับตัว ปรับตัว และเปล่ียนแปลงลดความต้องการลง หรือเพ่ิมขีด ความสามารถของเราใหม้ ากข้นึ ทำ�ให้ทกุ อยา่ งกลบั มาสู่สภาพปกติ ท�ำ ให้เราควบคุมสถานการณ์ได้ ที่มา : จากหนงั สือ Stressaholic:5 step to transform your relationship with stress เขียนโดย Dr.Heidi Hanna

20 สรุปผลการด�ำ เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 จากผลการสำ�รวจคนเมืองในภาวะวิกฤต โควิด-19 พบว่าสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างในด้าน เศรษฐกิจและสังคม การหยุดงานของทั้งภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึงการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม ร้อยละ18.87 นายจ้างให้หยุดงานหรือเลิกจ้าง ร้อยละ 18.44 อาชีพอิสระและไม่มีผู้ว่าจ้างหรือมีผู้ ใช้บริการลดลง ร้อยละ 18.22 อาชพี คา้ ขาย คา้ ขายไดน้ ้อยลงรอ้ ยละ 18 นายจ้างให้ลดเวลาท�ำ งาน และร้อยละ 8.24 ผลกระทบอนื่ ๆ นอกจากส่งผลกระทบต่อการทำ�งานแล้วยังส่งผลให้รายได้ของประชาชนลดลงตามไปด้วย ร้อยละ 60.24 รายได้ลดลงเกือบทง้ั หมด ร้อยละ 31.21 รายไดล้ ดลงกึง่ หนงึ่ ร้อยละ 8.55 รายไดเ้ ทา่ เดิม จะเห็นได้ว่าประชาชนเกินคร่ึงหนึ่งมีรายได้ลดลงจากผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 จากการท่ีมีรายได้ลดลง สง่ ผลใหป้ ระชาชนเดอื ดรอ้ นเรอ่ื งการไมม่ เี งนิ สง่ หนสี้ นิ หนรี้ ถยนต์ หนผี้ อ่ นบา้ น รอ้ ยละ 54.41 ตอ้ งกหู้ นย้ี มื สนิ รอ้ ยละ 33.82 ต้องนำ�เงินออมออกมาใช้ ร้อยละ 29.83 ไม่มีเงินจ่ายค่าเช่าที่อยู่อาศัย ร้อยละ 26.02 ไม่มีเงินสำ�หรับรายจ่ายที่จำ�เป็น ของครัวเรอื น เช่นดแู ลผู้ปว่ ย ผูส้ งู อายุ และต้องเอาขา้ วของไปจำ�น�ำ ร้อยละ 20.80 ท่มี า http://the standard.co/open-survey-on-poor-people-in-coronavirus-crisis/

สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 21 สำ�นักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 จากผลการสำ�รวจท่ีกล่าวมาน้ันนำ�มาซ่ึงสภาวะความเครียดและความวิตกกังวลเร่ิมรู้สึกท้อแท้หมดหวัง รู้สึกไร้ค่า ไมอ่ ยากมชี วี ติ อยู่ เปน็ ตน้ หลายคนก็ไมไ่ ดต้ ระหนกั วา่ ก�ำ ลงั เกดิ ความผดิ ปรกตดิ า้ นอารมณ์ เมอื่ ไมร่ ตู้ วั ก็ไมไ่ ดจ้ ดั การอยา่ งถกู ตอ้ ง จนอาจสง่ ผลกระทบกับประสิทธิภาพในการทำ�งาน มปี ัญหาความสมั พันธ์ ทัง้ เรอ่ื งสว่ นตัวและกับเพื่อนร่วมงาน ความเครียด สะสมยังอาจนำ�ไปสู่การตัดสินใจผิดพลาดนำ�ชีวิตด่ิงลงได้ โดยง่าย และอาจนำ�มาซึ่งปัญหาการฆ่าตัวตายในที่สุดหากบุคคล เหลา่ น้ันหาทางออกหรือวิธกี ารแก้ไขปญั หาไม่ได้ เปรียบเทียบสถิติการฆ่าตัวตายในช่วง 20 มี.ค.- 25เม.ย.ของปี 2562 และ ปี2563 โดยอ้างอิงจากฐานข้อมูล กรมสขุ ภาพจิต พบวา่ ในปี 2562 นนั้ มผี ู้เสยี ชีวิต 191 ราย ในขณะท่ปี ี 2563 นม้ี ผี ้เู สียชวี ติ 605 ราย เพม่ิ ขึน้ จากปีก่อน ถงึ 3 เท่า สว่ นจำ�นวนผู้รอดชวี ติ จากการฆ่าตัวตายในชว่ งเวลาเดยี วกนั ในปี 2562 มจี ำ�นวน 633 ราย เทียบกบั ผู้รอดชวี ิต ในปี 2563 มจี �ำ นวน 981 ราย ถือว่าเพิม่ ขึ้น 1.5 เท่า ทม่ี า http://prachatai.com/journal/2020/04/87430

22 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 วิธีรับมือความเครียด ในชว่ งการระบาดของโรด COVID-19 ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั COVID-19 ความรสู้ กึ กงั วล เครยี ด และสบั สน เปน็ เรอ่ื งปกตทิ สี่ ามารถ เกดิ ขน้ึ ได้ กบั หลายคน การเตรียมพร้อมรบั มอื กบั ความวติ กกงั วลจงึ เป็นเรอื่ งทจี่ �ำ เปน็ อยา่ งยงิ่ วธิ ีคลายเครยี ดดๆี ง่ายๆ ที่ทำ�ไดท้ ุกวัน มดี งั นี้ 1. การพูดคุยกับคนในครอบครัว เพ่ือน หรือคนที่ไว้ ใจ จะสามารถช่วยคลายความรู้สึกเครียด หรือวิตกกังวล ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. พยายามรักษาสุขภาพร่างกายให้แขง็ แรง รบั ประทานอาหารทีด่ ีต่อสขุ ภาพ ออกกำ�ลงั กายและนอนหลับพักผ่อน ให้เพียงพอ รวมไปถึงการมปี ฏสิ มั พันธ์กับคนในครอบครัวหรอื คนที่คณุ รัก 3. งดบุหร่ี สรุ าหรือยาเสพตดิ อื่น ๆ เพื่อจดั การกับความเครยี ดของคณุ หากคุณรสู้ กึ เครยี ดหรือหนกั ใจ การปรึกษา นักจติ วทิ ยานบั ว่าเป็นทางออกทด่ี ี 4. ติดตามข้อมูลข่าวสารการแพร่ระบาด จากแหล่งที่เช่ือถือได้ เช่น เว็บไซต์ WHO หรือกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสขุ เพื่อใหส้ ามารถเฝ้าระวงั และรบั มือได้อยา่ งเหมาะสม 5. พยายามคดิ บวก ลดการเสพขา่ วทส่ี ร้างความวิตกกังวลและบ่ันทอนจติ ใจ ที่มา: กองปราบปราม #ศูนยต์ อ่ ต้านขา่ วปลอม #AntiFakeNewsCenter #AFNCThailand #โควิด19 #COVID19

สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 23 สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 จติ แพทยแ์ นะ จัดการความเครยี ดรบั มือ COVID-19 ไม่ให้ป่วยใจ ท่ามกลางสถานการณ์ COVID-19 ท้งั แพทย์ พยาบาล บคุ ลากรทางการแพทย์ ผู้ปว่ ย และทุกคนล้วนมคี วามเครยี ด และความกังวลใจ ลองมาดูสักนิดว่า เราจะช่วยกันรับมือ ดูแลจิตใจ และผ่านวิกฤตินี้ไปด้วยกันได้อย่างไร กับการจัดการ ความเครียดเพอื่ รบั มอื COVID-19 อย่างถูกวิธีที่จิตแพทยอ์ ยากแนะนำ� ความร้สู กึ กังวลท่เี กดิ ข้ึนเป็นกลไกธรรมชาตขิ องมนุษย์ในการเผชิญวกิ ฤติ ความเครียดเป็นกลไกโดยธรรมชาติท่ีช่วยให้มนุษย์เตรียมตัว วางแผน และรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ถา้ มีใครสักคนท่ีไมร่ สู้ กึ เครียด ไมก่ ลวั ตดิ เช้อื ไมส่ นใจวา่ จะต้องปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไร ไมฟ่ ังการประกาศจากรัฐบาล กลมุ่ นถ้ี อื วา่ ผดิ ปกตแิ ละอาจน�ำ พาไปสคู่ วามเสยี่ งมากมายทง้ั ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื ดงั นนั้ การทร่ี สู้ กึ เครยี ด กงั วล กลวั ตน่ื ตระหนก นน้ั ถกู ตอ้ งแลว้ และควรจะเปน็ แบบนน้ั เพอ่ื ทท่ี กุ คนจะไดข้ วนขวายหาความรู้ หาขอ้ มลู มาประกอบการตดั สนิ ใจ มกี ารวางแผน และเตรียมการอย่างถูกวิธี สถานการณ์ COVID-19 คุณมอี าการดังตอ่ ไปนห้ี รือไม่ CDC สหรัฐฯ แนะน�ำ ให้สังเกตอาการเหล่านี้ 1. อารมณ์เปล่ยี นแปลง แปรปรวน 2. กลัว เครยี ด กังวล 3. เบอ่ื เฉยชา 4. หงดุ หงิดฉุนเฉียวง่าย 5. นอนไม่หลบั หรอื หลับไม่สนิท 6. ฝันร้ายต่อเนื่องเรื้อรงั 7. พฤติกรรมการกนิ ผิดปกติ บางรายกินไม่ลง บางรายกินมากผดิ ปกติ 8. รู้สกึ ไมก่ ระปร้ีกระเปร่า ไม่สดช่นื เฉ่อื ยชาลง 9. ลดกจิ กรรมลงอยา่ งชัดเจน เบอ่ื ไม่อยากท�ำ อะไร

24 สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 10. สมาธจิ ดจ่อไม่ดี หลง ๆ ลืม ๆ ทำ�งานบกพรอ่ ง 11. สญู เสียการตัดสินใจ 12. ดื่มแอลกอฮอล์หนักข้นึ หรอื อาจมกี ารสูบบุหรีห่ รือใชส้ ารเสพตดิ มากขึน้ 13. ผปู้ ่วยท่ีมีโรคทางกาย เช่น เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง โรคไต โรคหัวใจ ในระยะนอ้ี าการอาจกำ�เรบิ แปรปรวน เชน่ ปวดทอ้ ง ปวดหวั ปวดตามตัวหรอื มผี น่ื ข้นึ ตืน่ ตระหนก ฯลฯ 14. เริม่ รู้สกึ ท้อแท้หมดหวัง รสู้ กึ ไร้ค่า ไมอ่ ยากมีชีวิตอยู่ สง่ิ ส�ำ คัญคอื คนจำ�นวนมากไมต่ ระหนักว่ามคี วามผดิ ปกตดิ ้านอารมณ์ เมือ่ ไม่รู้ตัวก็ไมไ่ ด้จัดการอยา่ งถกู ตอ้ ง จนอาจ ส่งผลกระทบกับประสิทธิภาพในการทำ�งาน สมาธิไม่ดี ทำ�งานบกพร่องหรืออารมณ์แปรปรวนจนมีปัญหาความสัมพันธ์ ทั้งเรื่องสว่ นตัวและกบั เพอ่ื นร่วมงาน ความเครยี ดสะสมยงั อาจน�ำ ไปสูก่ ารตดั สินใจผิดพลาดนำ�ชวี ติ ดงิ่ ลงได้ โดยงา่ ย COVID-19 ทำ�ให้เครียดระดับสงู สาเหตุท่พี บบอ่ ยเม่ือผปู้ ่วยมาพบจติ แพทย์ 1. กลัวการตดิ เช้ือ อาจเกดิ ความรู้สกึ หวาดระแวงคนรอบข้าง คนใกล้ตัว แม้แตค่ นทีด่ ูปกติทส่ี ดุ แขง็ แรงร่าเริงดี ก็สามารถกลายเป็นผู้ติดเช้ือแบบไม่มีอาการและแพร่เชื้อได้ โดยง่ายดาย ต้องระแวงแม้แต่ตัวเอง พอมีอาการไอแห้ง ๆ คัดจมูกกเ็ รม่ิ วติ กจรติ ไมแ่ นใ่ จวา่ ไปรับเช้อื มาแล้วหรอื เปล่า หรือจะตอ้ งไปตรวจหาเช้ือหรือไม่ 2. สถานการณ์เปลี่ยนแปลงรายวัน มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น นโยบายรัฐบาลปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์เกือบทุกวัน วันนี้อาจไปทำ�งานปกติ วันรุ่งขึ้นที่ทำ�งานอาจถูกปิด ในกรณีท่ีบางคนติดตั้งแอปพลิเคชันติดตามข่าวทุก 1 ชั่วโมง หรือมี เสยี งเตือนทุกคร้งั ที่มีรายงานผ้ตู ดิ เชื้อเพิ่มขึน้ อาจท�ำ ใหม้ ีอาการต่ืนตระหนกมากเกินไป 3. กังวลกับทุกเร่ือง นอกจากกลัวติดเช้ือ COVID-19 ยังมีความกังวลในเร่ืองต่าง ๆ เช่น ตกงาน ปิดโรงงาน หยดุ สายการบนิ ปรบั ลดจ�ำ นวนพนกั งาน ปดิ โรงเรยี น เปน็ ตน้ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความกงั วลในการใชช้ วี ติ ความเครยี ดจากการตดิ ตาม ขา่ วรายวนั อาจสะสมเป็นขยะโดยทเ่ี ราไม่ร้ตู ัว 4. ไม่รูว้ า่ สถานการณ์นี้จะจบลงเมอ่ื ไร สง่ิ ทท่ี ำ�ให้ทุกคนเครียดมากท่สี ดุ คอื การทเ่ี ราไมม่ ที างรู้ไดว้ ่า สถานการณน์ ี้ จะเนิ่นนานอีกสักเท่าไร บางคนพยากรณ์ว่าการระบาดจะยาวนานถึงปีหน้า เศรษฐกิจจะได้รับผลกระทบอีกยาว ปัจจุบัน ไมส่ ามารถรู้ไดเ้ ลยวา่ เหตกุ ารณจ์ ะแยล่ งอกี หรอื ไม่ เราเดนิ ทางมาถงึ จดุ สงู สดุ ของการระบาดหรอื ยงั แมจ้ ะรว่ มมอื กบั นโยบาย เว้นระยะหา่ งทางสงั คม ปฏิบัติตามรายงานของภาครัฐอย่างเครง่ ครดั การแพรร่ ะบาดกน็ า่ จะยงั ไม่ยตุ ิในระยะเวลาอนั ใกล้

สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 25 สำ�นกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ผู้ป่วยท่มี ีปัญหาสุขภาพจิต (Mental Health) อย่เู ดมิ อาการอาจก�ำ เรบิ รนุ แรง กอ่ นเกิดวิกฤติ COVID-19 มผี ้คู นจ�ำ นวนมากตกอยู่ในภาวะเครยี ด องคก์ ารอนามัยโลกได้มีรายงานเม่อื ต้นปี 2020 ว่า ทั่วโลกมีคนป่วยเป็นโรคซึมเศร้าประมาณ 264 ล้านคน โดยประเทศไทยพบอัตราการฆ่าตัวตายเพิ่มข้ึนจากปี 2560 คือ 4.94 ตอ่ ประชากรแสนคน เป็น 5.33 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 นอกจากน้ียังมีโรควิตกกังวล ซ่ึงในสหรัฐอเมริกา มรี ายงานผู้ปว่ ยวิตกกังวลโดย The Anxiety and Depression Association of America สงู ถึง 18.1% ของประชากร หรือประมาณ 40 ล้านคน และยังไม่นับรวมผู้ท่ีมีปัญหาติดแอลกอฮอล์ จึงเป็นที่แน่นอนว่า เมื่อเกิดวิกฤติ COVID-19 เขา้ มา ผปู้ ว่ ยเหลา่ นอี้ าจมอี าการก�ำ เรบิ หรอื แยล่ ง แมย้ งั ไดร้ บั การรกั ษาอยา่ งสม�ำ่ เสมอ ดงั นนั้ หากคณุ หรอื คนใกลช้ ดิ เปน็ คนหนง่ึ ท่ีอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยหรือสงสัยว่าจะป่วยอยู่ก่อน ช่วงนี้ควรพบจิตแพทย์เพื่อประเมินและรักษาอย่างเหมาะสม หรือหากมีนัด สม่ำ�เสมอก็ไม่ควรหยุดพบแพทย์ เพราะอาจน�ำ ไปสู่อาการรุนแรง และเป็นอันตรายได้ ซึ่งปัจจุบันมีการให้บริการการรักษา ทางไกล (E - Mental Health) ท�ำ ให้สะดวกมากขึน้ รบั มือกบั สถานการณ์ COVID-19 อยา่ งเขา้ ใจ 1. อยา่ ท�ำ ใหส้ ถานการณเ์ ลวรา้ ยลง ความเครยี ดระยะยาวอาจท�ำ ใหเ้ กดิ ภาวะทอ้ ถอย หมดหวงั น�ำ ไปสกู่ ารตดั สนิ ใจ ที่ผดิ พลาดได้งา่ ย เชน่ การท�ำ ร้ายตวั เอง การฆ่าตวั ตาย การลาออกจากงาน การย้ายท่อี ยู่ การขายบ้าน การหย่าขาดจาก คู่สมรส การตัดสินใจผิดพลาดทางธุรกิจ การทะเลาะกับคนใกล้ชิด การกระทบกระท่ังกันในหมู่เพื่อนในระหว่างท่ีเราเผชิญ กบั ความเครยี ด เปน็ ตน้ อารมณท์ ี่ไมเ่ ปน็ ปกติ ท�ำ ใหม้ ีโอกาสตดั สนิ ใจท�ำ สงิ่ ใด ๆ โดยไมร่ อบคอบ ค�ำ แนะน�ำ เบอื้ งตน้ คอื ระหวา่ งน้ี ไมค่ วรมกี ารตดั สนิ ใจในเรอ่ื งใหญ่ ๆ ทงั้ สนิ้ เพยี งประคับประคองให้ผ่านสถานการณแ์ ตล่ ะวัน รกั ษาตวั ให้ดี ระวังอยา่ ให้ติด เช้ือ COVID-19 2. ตดิ ตามข่าวสารเท่าท่จี �ำ เป็น อาจเช็กข่าวสักวนั ละครง้ั กเ็ พยี งพอ เลอื กรับขา่ วสารจากแหล่งขา่ วทีเ่ ชอ่ื ถอื ได้ เช่น ประกาศของรฐั บาลและกระทรวงสาธารณสขุ เปน็ ต้น ลดการเสพโซเชยี ลมเี ดยี ระมดั ระวังขา่ วปลอม 3. ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�จากกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อนช้อนกลาง ลา้ งมอื สวมหน้ากากอนามัย หลีกเล่ยี งการสัมผสั 4. ตรวจสอบอาการทางรา่ งกาย จติ ใจ และอารมณข์ องตวั เองสม�่ำ เสมอ เฝา้ ระวงั อาการซมึ เศรา้ การนอนทผี่ ดิ ปกติ การด่ืมแอลกอฮอล์มากข้ึน หากมีอาการเหล่านี้จนถึงข้ันกระทบศักยภาพ หน้าท่ีการงาน หรือความสัมพันธ์ ควรพบแพทย์ โดยเรว็ 5. ใชช้ ีวิตอยา่ งปกติและมคี ุณค่า แม้อยู่ในสถานการณ์ท่ีไมป่ กติ เรากจ็ �ำ เปน็ ต้องด�ำ เนนิ ชีวิตใหเ้ ปน็ ปกติ แมจ้ ะตอ้ ง หยดุ งานกกั ตวั อยบู่ า้ น 14 วนั กส็ ามารถจดั การกจิ วตั รแตล่ ะวนั ใหม้ สี ขุ ภาพดไี ด้ อยา่ มวั แตจ่ ดจอ่ อยกู่ บั ขา่ วจนปว่ ยทงั้ ใจและกาย เทคนคิ ใช้ชีวิตให้ปกติ (Healthy Routine) 1. กินใหเ้ ป็นปกติ ทำ�อาหารง่าย ๆ เช่น หงุ ข้าว ทอดไข่ เปน็ ต้น แม้ไม่หิวถึงเวลาก็ตอ้ งกนิ ส่งั ดิลิเวอรีบา้ งพยายาม รับประทานอาหารทห่ี ลากหลายและมีประโยชน์ 2. นอนใหป้ กติ การนอนหลับให้เพียงพอเป็นภมู ิคุม้ กนั ชัน้ ดี ปอ้ งกันไวรสั และป้องกันภาวะซมึ เศรา้ ได้ ปิดโทรศพั ท์ และปิดเสยี งเตอื นกอ่ นเขา้ นอน พยายามผ่อนคลาย สงั เกตลมหายใจเขา้ และออกกอ่ นนอน 3. เชอ่ื มตอ่ กบั ผ้คู น แม้จะเจอเพื่อนฝูงผู้คนเหมอื นเมื่อกอ่ นไม่ได้ แตย่ ังสามารถเช่ือมต่อ พูดคุยปรึกษาหารอื กันได้ โดยใช้เทคโนโลยเี ชื่อมต่อถึงกนั หรอื จะโทรหากัน การแยกตวั โดดเด่ียวอาจทำ�ให้ความเครียดมากข้ึน 4. หากจิ กรรมท�ำ อยา่ ใหว้ า่ ง แมจ้ ะ Work From Home กค็ วรท�ำ ตวั เหมอื นปกติ ตน่ื เชา้ อาบน�ำ้ แตง่ ตวั ออกก�ำ ลงั กาย ตามยูทูบแทนการไปฟิตเนส ทำ�งานบ้าน ทำ�อาหาร รดนำ้�ต้นไม้ การเคลื่อนไหวเป็นยาดี ป้องกันภาวะซึมเศร้า เช่น เดนิ ขน้ึ ลงบนั ได กระโดดตบ ทำ�ท่ากายบรหิ าร เปน็ ตน้ 5. ทำ�สิ่งท่ีสนใจและงานอดเิ รกท่ชี อบ เรยี นร้สู ่ิงใหม่ ๆ ออกก�ำ ลังกายสมอง ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ท�ำ กจิ กรรมในเงอ่ื นไขสถานการณท์ จี่ �ำ กดั เชน่ ลองวาดรปู ภาพดว้ ยอปุ กรณเ์ ทา่ ทมี่ ี อบขนมหรอื ท�ำ อาหารงา่ ย ๆ ฟงั เพลงหรอื ลองแตง่ เพลง เลน่ ดนตรี ต่อจก๊ิ ซอว์ ทำ�งานประดิษฐ์ ฝึกโยคะ หดั เรียนภาษาอื่น ๆ เป็นต้น

26 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 6. ฝึกปรับทศั นคติ “อย่าตระหนก อยา่ กังวล” ความรูส้ ึกแยเ่ หล่านเ้ี กดิ ขึน้ โดยอตั โนมัติ ย่งิ พยายามไม่คดิ ความคิด จะเกิดขน้ึ เอง วกวนอยู่แต่กับความรู้สกึ ลบ ๆ ท่ีมา : https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/psychiatric-guidance-on-stress-management-trad- ing-covid-19 กจิ กรรม 1. ลงพน้ื ท่ีโรงพยาบาลกาฬสนิ ธุ์ เพ่อื ถา่ ยทำ�วโิ อเร่อื ง “วกิ ฤต สขุ ภาพจิต ยคุ Covid -19” 2. สัมภาษณ์ นายแพทย์ประมวล ไทยงามศลิ ป์ ผู้อ�ำ นวยการโรงพยาบาลกาฬสนิ ธุ์ แพทย์หญิงเฉิดพธิ ุ วนิ ัศปทั มา จติ แพทย์ หัวหนา้ กลมุ่ งานจติ เวชและยาเสพตดิ ในประเดน็ คำ�แนะนำ� เร่อื ง “รตู้ ัวเอง รู้คุณค่า ฝึกจติ และคิดบวก” สแกนควิ อาร์โคด้ เพ่อื รับชมการสัมภาษณ์

สรปุ ผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 27 สำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 วนั พุธท่ี 4 ธันวาคม 2562 เวลา 09.00-16.30 น. ณ หอ้ งประชมุ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้บุคลากร เข้าใจถึงหลักการถ่ายภาพน่ิงและภาพเคล่ือนไหว เรยี นรกู้ ารใชอ้ ปุ กรณก์ ารถา่ ยภาพนงิ่ ภาพเคลอื่ นไหว และฝกึ ผฏบิ ตั เิ ทคนคิ การถา่ ยภาพอยา่ งมีศลิ ปะ

28 สรปุ ผลการด�ำ เนินงานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 สรุปผลการด�ำ เนนิ โครงการอบรมเทคนิค การถา่ ยภาพเบอื้ งต้น ประจำ�ปี 2563 ชือ่ เรอ่ื ง : การจดั การความรู้ เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพเบ้ืองตน้ ค�ำ วา่ ภาพถา่ ยในภาษาองั กฤษคอื Photography มาจากภาษากรกี โบราณ 2 ค�ำ คอื โฟโต้ (photo) หมายถงึ แสง และ กราฟ (graph) หมายถงึ การวาด ภาพถา่ ยจงึ หมายถงึ การวาดภาพดว้ ยแสง “ writing with light ” ความหมายทางวชิ าการ ถา่ ยภาพในปจั จบุ นั หมายถงึ ความรวู้ า่ ดว้ ยการผลติ ภาพถา่ ยหรอื การถา่ ยภาพ หรอื กระบวนการใดๆ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ภาพถา่ ยทถี่ าวรขน้ึ บนวัสดไุ วแสงดว้ ยการท�ำ ใหว้ สั ดุไวแสงนน้ั ถูกแสงสวา่ งหรือถกู รังสีอัลตราไวโอเลต รงั สีในสเปกตรัมและรังสอี นิ ฟราเรดที่คน มองไม่เห็น การถ่ายภาพจึงเป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดจากการท่ีแสงตกกระทบบนพ้ืนผิวที่มีการเตรียมไว้เป็นพิเศษ ดว้ ยสารไวแสง เปน็ กระบวนการสรา้ งภาพดว้ ยแสงบนั ทกึ ลงบนวสั ดทุ เี่ คลอื บผวิ หนา้ ดว้ ยวตั ถไุ วแสง เมอ่ื น�ำ ไปผา่ นกระบวนการ ทางฟสิ ิกสแ์ ละเคมจี ะไดภ้ าพถา่ ยท่สี ามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเกดิ เป็นภาพปรากฏบนวสั ดนุ น้ั ภาพถา่ ยตามความหมายของการสื่อสาร (กมล ฉายาวฒั นะ, 2544, หนา้ 549-613)คือสอื่ กลางของการถ่ายทอด อารมณ์ความรู้สึก ทัศนคติ ความรู้ ประสบการณ์ของกระบวนการสื่อสาร ระหว่างผู้ส่งและผู้รับสื่อ สามารถเลือกใช้ส่ือ เพอื่ การติดต่อสื่อสารไดห้ ลายสอื่ เชน่ การพดู การเขยี น และภาพถา่ ยถือเปน็ สอื่ หนง่ึ ทท่ี �ำ หน้าทีค่ ล้ายสอ่ื อ่ืนๆ ในกระบวนการ สอื่ สารวชิ าการถา่ ยภาพจงึ เปน็ ศาสตรท์ ศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั กระบวนการผลติ ภาพ โดยอาศยั กลอ้ งถา่ ยภาพวสั ดไุ วแสงและแสงสวา่ ง ส่วนการที่จะทำ�ให้ภาพถ่ายมีคุณภาพดีมีความสวยงามก็ต้องอาศัยหลักการในการถ่ายภาพ ความรู้ทางด้านศิลปะ การจัด องคป์ ระกอบ แสง สี มีความรูแ้ ละทกั ษะการใช้กล้องถ่ายภาพ อปุ กรณ์ประกอบตา่ งๆตลอดจนฟลิ ม์ กระดาษอัดภาพ นำ�้ ยา ที่ใช้ในกระบวนการล้างฟิล์มและอัดขยายภาพ การเก็บภาพเริ่มด้วยการมองเห็นด้วยตา กล้องถ่ายภาพเป็นอุปกรณ์ท่ีจะ บันทึกการเห็นให้เป็นภาพอย่างถาวร การมองเห็นของดวงตาและการเกิดภาพในกล้องถ่ายภาพมีลักษณะคล้ายกัน ดวงตา มีแกว้ ตา ส่วนในกล้องถา่ ยรปู มเี ลนสท์ ำ�หนา้ ท่ีหักเหแสงทมี่ ากระทบให้ไปตกลงท่ีฉากหลัง ในดวงตามมี า่ นตา (Iris) สำ�หรับ ก�ำ กบั แสงใหผ้ า่ นเขา้ ในปรมิ าณทแี่ ตกตา่ งกนั กลอ้ งกม็ ชี อ่ งรบั แสง (Diaphragm) ส�ำ หรบั ท�ำ หนา้ ทร่ี บั แสงเชน่ เดยี วกบั มา่ นตา ทำ�ให้มลี กั ษณะการเหน็ ทีเ่ หมือนกัน สรุปไดว้ า่ การเห็นจะตอ้ งเกิดจากแสงเป็นตวั นำ�วตั ถนุ นั้ ๆ เขา้ มากระทบแกว้ ตาหรือเลนส์ ซึ่งโปรง่ แสงยอมใหแ้ สงผา่ นไปไดแ้ สงท่ีผ่านตอ่ ไปตอ้ งไมม่ ีแสงอื่นมารบกวนจึงจะปรากฏภาพทีช่ ดั เจนน่ันคือ หอ้ งมืดในลูกตา หรือหอ้ งมดื ในตัวกล้อง (ภาพท่ี 1) แสดงสว่ นประกอบของดวงตา

สรุปผลการด�ำ เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 29 สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 (ภาพที่ 2) การเกดิ ภาพในกลอ้ งถา่ ยภาพ เมื่อ 20,000 ปีมาแล้ว มนุษย์ได้วาดภาพไว้บนผนังถำ้�เป็นรูป คน สัตว์ ส่ิงของท่ีมีอยู่ในยุคน้ัน หรือภาพเขียน ทศ่ี ิลปนิ ทมี่ ีชอื่ เสยี งอยา่ ง เลโอนาร์โด ดาวนิ ชิ (Leonardo Da Vinci)ไดเ้ ขียนข้นึ ลว้ นเปน็ ความพยายามของมนษุ ยท์ จี่ ะบนั ทกึ ส่ิงที่ตนเองมองเห็นให้ผู้อื่นได้เห็น ศิลปินมีบทบาทในการใช้ทักษะและความสามารถทางศิลปะสร้างผลงานโดยใช้ทฤษฎี ลอกเลยี นแบบ(Imaginationalistic Theory) เพอ่ื น�ำ เสนอเรอื่ งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ แสดงใหผ้ อู้ นื่ รบั รทู้ ง้ั ดา้ นเรอ่ื งราวและองคป์ ระกอบ ท่ีสวยงามโดยใชเ้ วลาอันยาวนานในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ปัจจุบันภาพถ่ายมีบทบาทในการส่ือความหมายได้ในเวลาอันสั้นแสดงออกถึงความงามในงานทางทัศนศิลป์ เช่น ภาพถา่ ยบันทกึ ความทรงจ�ำ ในโอกาสไปพกั ผ่อน งานวนั เกดิ งานแต่งงาน ภาพถ่ายในหนงั สอื พิมพ์ นติ ยสาร ภาพถา่ ยที่ให้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตวั สนิ คา้ หรอื บรกิ ารตา่ งๆ ภาพถา่ ยสามารถบนั ทกึ สงิ่ ทเ่ี กนิ ขอบเขตแหง่ การมองเหน็ ของคน เชน่ ภาพขยายของ จลุ ินทรยี ์ เชื้อรา สว่ นละเอียดบนตัวของแมลง กลอ้ งถา่ ยภาพก็ยงั สามารถใช้ได้ในทที่ ่ีอาจจะเปน็ อนั ตรายต่อมนุษย์โดยการ เพม่ิ ระยะทางยาวโฟกัสของเลนส์ เพอื่ ให้ไดเ้ ห็นส่งิ ท่ีตอ้ งการอย่างชัดเจนเช่น การถ่ายภาพบรเิ วณปลอ่ งภเู ขาไฟหรอื ส่ิงทอ่ี ยู่ ไกลเกินกว่าทีจ่ ะมองเหน็ ด้วยสายตา เช่น กลุ่มดาวบนทอ้ งฟ้า กล้องถ่ายภาพเกิดจากแนวคิดที่ได้จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ ของคนท่ีอยู่ในห้องมืดสนิทภายนอกมีแสงสว่างมากท่ีผนังมีช่องขนาดเล็ก แสงจะส่องเข้ามาในห้องตามช่องท่ีผนังห้องแล้ว กระจายออกไปกระทบฝาห้องด้านตรงข้าม นำ�เอาภาพข้างนอกมาปรากฏท่ีผนังห้องด้านตรงข้ามเป็นภาพกลับหัวและได้มี การนำ�ขบวนการน้ีมาพัฒนาใช้ทำ�เป็นกล้องถ่ายภาพตามท่ีอาริสโตเติล (Aristotle) นักวิทยาศาสตร์ชาวกรีกได้บันทึกไว้ เปน็ ครงั้ แรกเม่อื 400 ปีก่อนครสิ ต์ศกั ราชว่า “ ถ้าเราปลอ่ ยให้ลำ�แสงผ่านเขา้ ไปทางรูเลก็ ๆ ในห้องมดื แลว้ ถือกระดาษขาว ใหห้ า่ งจากรูรับแสงประมาณ 15 เซนติเมตร จะปรากฏภาพบนกระดาษขาวนนั้ เป็นภาพหัวกลับแต่ไมค่ ่อยชดั เจนนัก “ ภาพถา่ ยมพี นื้ ฐานอยบู่ นความคดิ ทเ่ี ปน็ เทคนคิ อยา่ งหนงึ่ ทางศลิ ปะทรี่ จู้ กั กนั ในลกั ษณะของทศั นยี ภาพเชงิ เสน้ (Linear perspective) ซึ่งพัฒนามาต้ังแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 14 ผู้ริเร่ิมคือสถาปนิกชาวอิตาลีช่ือฟิลิปโป บรูเนลเลสคิ ( Filippo Brunelleschi ) สร้างระบบของจดุ รวมสายตา(Vanishing point) ท่จี ะท�ำ ใหเ้ กิดลักษณะของภาพที่ดเู ปน็ สามมิตบิ นระนาบ แบนๆ ได้ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 16 ศิลปินหลายคนใช้กลอ้ งทเี่ รียกว่ากล้องออบสคิวรา่ (Cameraobscura) เป็นเครื่องมอื ช่วย ในการเขียนภาพให้มีระยะลึก ลักษณะเป็นกล่องมีรูขนาดเล็กด้านหนึ่งและอีกด้านหน่ึงเป็นกระจกรับภาพ มนุษย์เรียนรู้ เรื่องของแสงท่ีแปรเปลี่ยนไปตามวัสดุและสภาพแสงมาก่อนการคิดค้นกล้องถ่ายภาพจากกล้องออบสคิวล่า ต่อมาก็ได้มี

30 สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 การคิดค้นกล้องถ่ายภาพให้มีรูปแบบและการใช้งานท่ีสะดวกขึ้น เลนส์มีช้ินของเลนส์หลายช้ินทำ�หน้าท่ีในการหักเหแสง ไดม้ ากขน้ึ มกี ารเคลอื บน�ำ้ ยาบนผวิ หนา้ ของแกว้ เลนส์ใหม้ คี ณุ ภาพรบั แสงไดม้ ากขนึ้ และชว่ ยลดแสงสะทอ้ นใหน้ อ้ ยลง ฟลิ ม์ เปน็ วัตถุประเภทโปร่งแสง คือ เซลลูลอยด์ ( celluloid ) แทนกระดาษ กระบวนการถ่ายภาพได้พัฒนาไปสู่การค้นพบอื่นๆ อกี หลายอยา่ งเชน่ การถา่ ยภาพการบนิ ของนก การเคลอ่ื นไหวของคนและการท�ำ งานของดวงตามนษุ ย์ ท�ำ ใหเ้ กดิ พฒั นาการบนิ ของเคร่ืองบินและภาพยนตร์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 การถ่ายภาพบุคคลไม่ได้ราคาถูกไปกว่าการวาดภาพด้วยมือเพียงแต่ใช้เวลาในการนั่ง เปน็ แบบนอ้ ยกวา่ และใหล้ กั ษณะของบคุ คลนนั้ ไดถ้ กู ตอ้ งกวา่ ดงั นน้ั จงึ เรม่ิ นยิ มการถา่ ยภาพมากกวา่ การนงั่ เปน็ แบบใหว้ าดภาพ แต่ภาพถ่ายก็ได้พัฒนารูปแบบไปให้มีลักษณะงานที่ออกมาดูแล้วคล้ายกับภาพวาดมีการใช้แสงไฟช่วยในการถ่ายภาพ ในครสิ ตศ์ ตวรรษท2ี่ 0 การถา่ ยภาพกม็ บี ทบาท ในธรุ กจิ โฆษณาอยา่ งเตม็ ที่ การถา่ ยภาพเปน็ เครอื่ งมอื ทส่ี ามารถดงึ เอาคณุ สมบตั ิ ของสนิ ค้าให้ปรากฏออกมาได้ เปน็ การทำ�งานที่ผสมระหว่างธุรกจิ และงานศลิ ปะ ภาพถ่ายมีบทบาทและความสำ�คัญต่องานนิเทศศิลป์ได้แก่ งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และสื่อโฆษณาทั้งหลาย เพราะเป็นงานที่ต้องการส่ือความหมายด้วยภาพประกอบกับตัวหนังสือเพ่ือให้ผู้รับสื่อได้เข้าใจจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ของสอ่ื แตล่ ะตวั นน้ั วา่ ตอ้ งการใหท้ ราบเรอ่ื งราวเขา้ ใจในรายละเอยี ดหรอื ตอ้ งการขายสนิ คา้ ทมี่ คี ณุ สมบตั เิ ชน่ ไร ภาพประกอบ จะเป็นสิ่งท่ีช่วยให้เข้าใจได้กระจ่างชัดและตรงกับเป้าหมายมากที่สุด จึงควรที่จะต้องทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพถ่ายเพ่ือท่ี จะได้นำ�ไปใช้ในการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมให้งานด้านนิเทศศิลป์มีคุณค่าและสื่อสารได้ตรง จุดมุ่งหมายมากข้นึ การถา่ ยภาพแฟชนั่ พฒั นามาจากการถา่ ยภาพในหนงั สอื นติ ยสารโดยการถา่ ยภาพเปน็ แบบงานศลิ ปะ ใชก้ ารจดั แสง เพื่อให้ภาพดูสวยงามขึ้นและพัฒนาสู่การใช้ภาพถ่ายเพ่ือการโฆษณาเพ่ิมมากขึ้นเช่น รูปภาพแค็ตตาล็อกสินค้า (catalog picture) เพอ่ื นำ�เสนอสินค้าให้ดูน่าใช้ ศิลปะแห่งการถ่ายภาพในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ได้อิทธิพลจากการถ่ายภาพงานโฆษณา งานจิตรกรรมและงาน ประติมากรรมในยโุ รป เกดิ รูปแบบใหมข่ องการถ่ายภาพแบบแนวใหม่ เหน็ มมุ มองใหม่ “New Vision” ทำ�ใหเ้ หน็ วา่ ภาพถ่าย นั้นมีพลังแห่งวัฒนธรรม ภาพถ่ายจึงเข้าไปมีบทบาทในงานศิลปะ วรรณกรรม ภาพยนตร์แม้แต่ในงานจิตรกรรมและ ประติมากรรม การถ่ายภาพแสดงให้เห็นถึงการนำ�เอาศาสตร์ทางศิลปะและเทคนิคของการสร้างสรรค์ภาพมาผสมผสาน เข้าด้วยกัน การถ่ายภาพเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตในปัจจุบัน เช่น ภาพถ่ายบันทึกความทรงจำ� ภาพถ่ายของครอบครัว ภาพขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ ภาพถา่ ยตดิ บตั ร ภาพถา่ ยประเภทสวยงาม ( glamorization) ภาพถา่ ยการทอ่ งเทยี่ ว ภาพถา่ ยในอวกาศ หรือทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น กล้องขนาดเล็กท่ีเข้าไปถ่ายภาพภายในร่างกายของมนุษย์ ภาพถ่ายแสดงการเคล่ือนไหว ของคนทเ่ี ปลย่ี นทา่ ทางตา่ งๆ ภาพโฆษณาในหนา้ นติ ยสาร แคต็ ตาลอ็ ก ภาพแฟชน่ั ผลติ ภณั ฑห์ รอื ภาพถา่ ยงานสถาปตั ยกรรม และกล้องถา่ ยภาพกพ็ ัฒนาไปตามความเจรญิ ของระบบอตุ สาหกรรม ความนยิ มในสงั คม สภาพเศรษฐกิจและวฒั นธรรม ขอบขา่ ยและความส�ำ คัญของการถ่ายภาพในงานนิเทศศิลป์ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1839 ภาพถ่ายเป็นตัวบันทึกรายละเอียดต่างๆ ของคนที่ชอบเห็นสิ่งต่างๆด้วยตาของตนเอง แต่เม่ือ ไมส่ ามารถเกบ็ เปน็ ภาพทถี่ าวรไดก้ ลอ้ งกช็ ว่ ยบนั ทกึ สง่ิ เหลา่ นนั้ ใหเ้ ปน็ ภาพแทนและเปน็ ตวั สอ่ื สารผา่ นทางสอ่ื ของการมองเหน็ ภาพถา่ ยเป็นสอ่ื ชว่ ยในการสร้างงานสอ่ื สารมวลชนท่เี ราเหน็ โดยทวั่ ๆ ไป เช่น หนงั สอื หนังสอื พมิ พ์ นติ ยสาร แค็ตตาล็อก สินคา้ แผน่ พบั หรือป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ โปสเตอร์ สอ่ื โฆษณาทางโทรทัศน์ บางคร้งั ใช้ภาพถา่ ยเลา่ เร่อื งการเดนิ ทางหรอื การค้นพบ เช่น ได้เห็นพ้ืนผิวของดวงจันทร์ ดาวอังคาร หรือค้นพบดวงดาวในระบบสุริยะ ภาพถ่ายมักใช้กับงานโฆษณา ในระบบอตุ สาหกรรมในการขายสนิ คา้ ใช้ในการฝกึ อบรมหรอื งานบรกิ ารตา่ งๆ ในงานดา้ นการปกครอง การประชมุ สามารถ ใช้ภาพในการโฆษณาจงู ใจหรอื น�ำ เสนอข้อเท็จจรงิ ต่างๆ ของสนิ ค้าไดเ้ ป็นอยา่ งดี

สรปุ ผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 31 ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ภาพถ่ายอาจจะใช้สำ�หรับการสื่อความหมายกับชุมชนกลุ่มใหญ่ได้ไม่ว่าจะเป็นในสถานท่ีราชการ การประชุมและ งานสำ�คัญๆ ใช้การนำ�เสนองานโดยอาศัยภาพถ่ายเพ่ือการชักชวนอธิบายหรือทำ�ให้เห็นข้อเท็จจริงอันจะนำ�ไปสู่การดำ�เนิน การบริหาร ออกกฎหมายต่างๆ หรือเป็นหลักฐานบางอย่างได้ เช่น ภาพถ่ายจากนักข่าวท่ีทำ�ให้เห็นข้อเท็จจริงบางอย่าง ในเหตุการณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาพถ่ายช่วยในการทำ�แผนท่ีผังระดับเพ่ือศึกษาพื้นดินและพ้ืนนำ้�ช่วยให้รู้ถึง สภาพอากาศ กล้องในดาวเทียมสามารถจับภาพ โลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ และดาวอ่ืนๆ ในวิชาดาราศาสตร์ก็ใช้ภาพ เหล่าน้ีศึกษากาแลคซ่ี อวกาศ ตำ�แหน่งของดวงดาว ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ภาพถ่ายก็ช่วยได้ เช่น วัตถุเล็กมาก จนไมส่ ามารถเหน็ ไดด้ ว้ ยตากจ็ ะถกู บนั ทกึ ดว้ ยกลอ้ งไมโครสโคป (Microscope) หรอื ใช้ไฟแฟลชอเิ ลก็ ทรอนกิ ทมี่ คี วามเรว็ พเิ ศษ ช่วยใหส้ ามารถบันทึกสงิ่ ที่เกดิ ข้ึนอยา่ งรวดเร็วทตี่ าไมส่ ามารถมองเห็นไดท้ นั ให้เราเห็นได้ งานนิเทศศิลป์หมายถงึ งานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขอ้ มลู ขา่ วสารต่างๆ รวมทงั้ งานโฆษณา การมี ภาพประกอบช่วยส่ือความหมายให้ข่าวสารที่ต้องการเผยแพร่นั้นสามารถส่ือสารได้ตรงกับจุดมุ่งหมายของผู้สร้างสรรค์ส่ือ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ภาพถา่ ยทน่ี �ำ มาใชป้ ระกอบกบั สอื่ ตา่ งๆ เพอ่ื งานประชาสมั พนั ธห์ รอื งานโฆษณาจงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณะเนอื้ หา เรอื่ งราวตรงตามแนวคดิ ของผ้สู ร้างงาน สามารถจัดวางสอดคล้องไปกบั ขอ้ ความหรือช่วยส่งเสรมิ ใหง้ านเผยแพรน่ ัน้ มคี วาม นา่ สนใจมากขน้ึ เนอื่ งจากภาพถา่ ยมเี นอื้ หาสาระปรากฏอยู่ในภาพจงึ ท�ำ หนา้ ทสี่ อ่ื สารใหผ้ ดู้ สู ามารถเขา้ ใจในสาระนน้ั ๆ ไดด้ งั น้ี 1. ถา่ ยทอดความเหมอื นจรงิ เนอ่ื งจากถา่ ยภาพจากสงิ่ ทมี่ อี ยจู่ รงิ สภาพแสงและมมุ กลอ้ งชว่ ยท�ำ ใหภ้ าพเหมอื นจรงิ ไดต้ ามสภาพแสง 2. ถา่ ยทอดรายละเอยี ดไดค้ รบถว้ นเท่าทตี่ อ้ งการด้วยคณุ ภาพของกลอ้ งและเลนส์ 3. ภาพถ่ายตรงึ ความเคลือ่ นไหวใหห้ ยุดนง่ิ ไดท้ �ำ ใหเ้ ห็นลกั ษณะการเคล่ือนไหวน้นั 4. ภาพถ่ายสามารถบันทกึ เหตกุ ารณ์ไว้ไดอ้ ยา่ งถาวร จงึ มปี ระโยชนต์ ่อการสอ่ื สารชว่ ย ให้เกดิ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ต่อส่ิงของ ผู้คน สถานที่หรือเหตกุ ารณ์ต่างๆ แมแ้ ต่ภาพถ่ายประกอบหลักฐานส�ำ คญั ของทางราชการ เช่น ภาพถา่ ยตดิ บัตร ประชาชน ใบขับข่ี ภาพถา่ ยยังบอกเร่ืองราวให้ข้อเท็จจรงิ ถ่ายทอดความสวยงาม สร้างอารมณ์ ความรสู้ ึกต่อผู้ดูได้ คณุ ภาพของภาพถ่าย ภาพต้องมีลกั ษณะที่สมบูรณ์ สแี ละขนาดน่าสนใจ ไมม่ ีการผิดเพี้ยนขนึ้ อยู่กบั ปัจจยั ต่างๆ คอื 1. เทคนิคในการถ่ายภาพมีส่วนช่วยให้ภาพโฆษณาดีข้ึน ภาพถ่ายที่สวยงามด้วยแสงเงาและองค์ประกอบที่ดี ย่อมดึงดูดความสนใจของผ้พู บเหน็ ได้เปน็ อนั ดับแรก 2. การให้ไดม้ าซงึ่ ภาพถา่ ยทมี่ คี ณุ ภาพตอ้ งเลอื กอปุ กรณท์ เ่ี หมาะสม การเลอื กใชก้ ลอ้ งถา่ ยภาพ เลนสแ์ ละอปุ กรณเ์ สรมิ ที่ชว่ ยทำ�ใหภ้ าพถ่ายเกดิ ความนา่ สนใจมากขน้ึ 3. การเลือกสถานท่ีตามแนวคิดของผู้ทำ�โฆษณา อาจเป็นภาพถ่ายเฉพาะตัวสินค้า วิธีการใช้สินค้า เรื่องราว ท่ีแวดล้อมตัวสินค้า โดยการจัดฉากในห้องถ่ายภาพหรือถ่ายภาพนอกสถานท่ีในเวลาต่างๆ หรือคุณลักษณะท่ีต้องการเน้น มกี ารใชอ้ ปุ กรณเ์ พมิ่ เตมิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสวยงาม การจดั แสงใหม้ คี วามนา่ สนใจ เนน้ การถา่ ยภาพระยะใกลเ้ หน็ ตวั สนิ คา้ ชดั เจน สดั ส่วนถกู ต้อง 4. การน�ำ ภาพถา่ ยไปใช้เพือ่ ทำ�สื่อชนิดตา่ งๆ เช่น แผน่ พับขนาดเลก็ โปสเตอร์โฆษณาในหน้านติ ยสาร หนงั สือพมิ พ์ หรือป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ เง่ือนไขเหลา่ น้ที ำ�ให้สามารถก�ำ หนดได้ว่าจะเลอื กใชก้ ล้อง ฟลิ ์มหรืออปุ กรณ์ใดจงึ จะเหมาะสม การจัดการความรู้ เร่ืองเทคนิคการถ่ายภาพเบื้องตน้ 1. ความสำ�คัญ ในยคุ แห่งความเปลีย่ นแปลงความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ยุคแห่งโซเชยี ลมเี ดยี ทป่ี จั จุบันทุกคนไมเ่ พยี งแตเ่ ป็น

32 สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 ผู้รับสือ่ ยังเป็นผู้สง่ ส่ือในคราวเดียวกนั อกี ด้วย โดยเปน็ ยุคแห่งการเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารอยา่ งไรพ้ รมแดน ภาพถา่ ยและการถา่ ยภาพเปน็ หนงึ่ ในความนยิ มทส่ี งั คมในปจั จบุ นั นยิ มใชเ้ ปน็ การสอื่ สาร สอ่ื ความหมายซงึ่ กนั และกนั หรอื ใชก้ นั ในวตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ ทอ่ี าจแตกตา่ งกนั ออกไป แลว้ ค�ำ ถามภาพทด่ี นี น้ั ควรเปน็ อยา่ งไร แลว้ ควรมอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง ซ่ึงภาพที่ดีเป็นอย่างไรก็ข้ึนอยู่กับนิยามหรือความต้องการของผู้ถ่ายภาพว่าต้องการนำ�เสนออะไร แต่อย่างน้อยที่สุดภาพ เหล่านน้ั ควรจะมีเรอื่ งราวสื่อสารความหมายได้อย่างชดั เจน ภาพสามารถเลา่ เรื่องราวที่เกดิ ข้ึนได้ ดงั นนั้ เพื่อใหก้ ารถ่ายภาพ และภาพถ่ายที่ได้ สามารถใช้ประโยชน์ในการส่ือสารบอกกล่าวเร่ืองราวได้จากภาพที่ถ่าย ไม่ว่าจะด้วยจากชุดอุปกรณ์ กล้องบันทึกภาพน่ิงหรือจากสมาร์ทโพน เพ่ือให้การถ่ายภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุน วชิ าการ 7 จงึ ไดจ้ ดั อบรมใหค้ วามรู้ เรอื่ งเทคนคิ การถา่ ยภาพขนึ้ เพอ่ื ถา่ ยทอดองคค์ วามรเู้ รอ่ื งเทคนคิ การถา่ ยภาพใหข้ า้ ราชการ เจ้าหน้าท่สี �ำ นกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ ๗ 2. แนวทางการจัดการความรู้ 2.1 การถอดบทเรยี น เมื่อทราบถึงความสำ�คัญของภาพถ่ายท่ีเป็นส่วนสำ�คัญในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่าน Social Media แล้ว กลมุ่ การวิจัยและการพัฒนาระบบเครือขา่ ย จงึ ด�ำ เนนิ การรวบรวมประเด็นความรเู้ ก่ยี วกบั การถ่ายภาพทีด่ ี ด้วยการประชุม ภายในกลมุ่ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเครอื ขา่ ยพรอ้ มรวบรวมประเดน็ ความรู้ เพอ่ื ด�ำ เนนิ การจดั การความรู้ เรอ่ื ง “เทคนคิ การถ่ายภาพเบือ้ งต้น” โดยมี นายผาด สวุ รรณรตั น์ หวั หน้ากลมุ่ การวิจัยและการพัฒนาระบบเครือขา่ ย ซึ่งเปน็ ผ้มู ีแนวทาง ปฏิบัติที่ดีในเรื่องดังกล่าว เป็นผู้ถอดความรู้ เร่ืองเทคนิคการถ่ายภาพเบ้ืองต้น เพื่อสร้างกระบวนการจัดการความรู้และ เป็นแนวทางในการเผยแพร่ต่อไป ทั้งน้ี นายผาด สุวรรณรัตน์ ได้รวบรวมประเด็นความรู้ และการสนทนากลุ่มย่อยกับ เจ้าหนา้ ท่ีในกล่มุ การวจิ ยั ฯ โดยนำ�เทคนคิ การจดั องคป์ ระกอบ มี 8 วธิ ี ได้แก่ การถ่ายภาพมอี งคป์ ระกอบทีส่ �ำ คญั คือ 1. การจัดองค์ประกอบภาพ 1.1 กฎ 3 สว่ น ภาพที่ 3

สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 33 สำ�นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ภาพที่ 4 กฎ 3 สว่ น หมายถึง ในกรอบหรอื เฟรมส่เี หลี่ยมของภาพมกี ารแบ่งออกเป็น 3 สว่ นเทา่ ๆ กัน ไมว่ ่าจะแนวตงั้ หรอื แนวนอน แตส่ ว่ นมากจะนยิ มในลกั ษณะแนวนอนในการแบง่ ภาพ โดยการใชก้ ฎ 3 สว่ นนี้ จะใช้ในการก�ำ หนดสดั สว่ นของภาพ อยา่ งเชน่ ถา้ เปน็ ภาพวิวทวิ ทัศน์ กอ็ าจก�ำ หนดให้พน้ื ท่ีท่เี ป็นทอ้ งฟา้ 1 ส่วน และอกี 2 ส่วนเปน็ พนื้ ดินหรือผนื นำ�้ หรอื ในการ กลับกัน อาจให้ส่วนที่เป็นพื้นดินหรือผืนนำ้� 1 ส่วน แล้วท้องฟ้าเป็น 2 ส่วน ซ่ึงก็แล้วแต่ว่าในภาพ ๆ น้ันส่วนใดน่าสนใจ กว่ากนั ท่ีจะน�ำ เสนอ ขึน้ อยกู่ ับวตั ถปุ ระสงค์หรือมุมมองแตล่ ะคน แตจ่ ะไม่นิยมแบง่ ครึง่ ๆ เทา่ ๆ กนั 1.2 จดุ ตดั 9 ช่อง ภาพที่ 5

34 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ภาพท่ี 6 จดุ ตดั 9 ชอ่ ง เป็นอกี 1 หลกั ของการจดั องคป์ ระกอบทน่ี ักถา่ ยภาพนยิ มใช้กนั ในการจัดองค์ประกอบภาพ โดยใน ต�ำ แหนง่ ของจดุ ตดั ทงั้ 4 จดุ คอื ต�ำ แหนง่ ทด่ี ที ส่ี ดุ ในการวางจดุ สนใจของภาพทเี่ ราจะถา่ ย ซง่ึ ในต�ำ แหนง่ ทง้ั 4 จดุ นี้ ในหนงึ่ ภาพ เลือกวา่ จะวางจดุ เนน้ ทน่ี า่ สนใจจดุ ใดจดุ หน่งึ เพียงจดุ เดยี ว (ในภาพหน่ึงภาพไม่ควรมีจดุ สนใจมากกวา่ 1 จดุ ) 1.3 ถ่าย 3 ระยะ ในการถา่ ยภาพโดยทวั่ ๆ ไป ในแตล่ ะกจิ กรรมควรยดึ หลกั การถา่ ยภาพที่ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ระยะหรอื อาจจ�ำ งา่ ย ๆ วา่ ยดึ หลกั 3 ก ดังนี้ ก ท่ี 1 คอื ภาพมุมกวา้ ง ภาพท่ี 7

สรปุ ผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 35 สำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ก ที่ 2 คอื ภาพระยะกลาง ภาพท่ี 8 ก ที่ 3 คือ ภาพระยะใกล้ ภาพท่ี 9 หรอื บางครง้ั การถา่ ยภาพมมุ กวา้ ง จะมกี วา้ งมากและระยะใกลก้ จ็ ะมีใกลม้ าก (ขนาดเหน็ แววตา) ในภาพ 1 เหตกุ ารณ์ ไม่ควรถ่ายภาพแค่ระยะใดระยะหนง่ึ เพราะจะท�ำ ใหข้ าดรายละเอียดขาดความนา่ สนใจ เชน่ การถา่ ยภาพมุมกวา้ งจะเป็นการ สอื่ ความหมายใหเ้ หน็ ถงึ ความยงิ่ ใหญข่ องจ�ำ นวนคนมากมายหรอื ววิ ทวิ ทศั นส์ ดุ ลกู หลู กู ตา ฯลฯ ซง่ึ ภาพมมุ กวา้ งหรอื กวา้ งมาก จะไมเ่ หน็ รายละเอยี ดของเหตุการณ์นั้น ๆ ภาพระยะกลางจะทำ�ใหเ้ ราเริ่มเหน็ รายละเอยี ดของเหตุการณ์ได้มากยิ่งขึ้นวา่ มีเรื่องราวอะไรอยู่ในเรอ่ื งราวน้ัน ๆ ภาพระยะใกล้ย่ิงทำ�ให้เห็นรายละเอียดของเรื่องราวได้ชัดเจนเข้าไปอีก เห็นรายละเอียดทีปลีกย่อยอย่างชัดเจนว่า ต้องการหรอื ให้เห็นอะไร 1.4 ถา่ ยหลายมุม, ถา่ ยซ้ำ�, ถา่ ยเผ่อื การถ่ายภาพหลาย ๆ ครัง้ เราจะเจอปัญหาการเลอื กภาพมาใช้ การถา่ ยภาพใน 1 เหตุการณ์ ถ่ายแคเ่ พียง 2-3 ภาพและถ่ายในมุมเดิม ๆ ภาพและงานท่ีได้จะไม่มีความหลากหลาย ใน 1 เหตุการณ์ (โดยเฉพาะงานสำ�คัญ ๆ) ควรถ่ายภาพที่หลากหลายมมุ เชน่ ถา่ ยดา้ นหนา้ ตรง ดา้ นทางขวา ข้างซ้าย ดา้ นหลงั และควรซำ�้ หลายๆ ภาพ เพอ่ื ประโยชน์

36 สรุปผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 ในการเลอื กใชง้ าน เพราะบางเหตกุ ารณเ์ กดิ ขนึ้ แลว้ ผา่ นพน้ ไป เราไมส่ ามารถยอ้ นกลบั ไปถา่ ยใหมไ่ ด้ ซงึ่ ส�ำ คญั ในการถา่ ยเกบ็ รายละเอยี ดของเหตุการณน์ ัน้ ๆ และในความหมายของการถ่ายภาพหลายมุมยังรวมไปถึงการถ่ายภาพที่เป็นมากกว่าการยกกล้องขึ้นถ่ายภาพ ดว้ ยความคนุ้ เคยอยแู่ คร่ ะดบั เดยี ว คอื มกั ถา่ ยภาพในระดบั สายตา ซง่ึ ก็ไมผ่ ดิ อะไรแตเ่ รากจ็ ะไดม้ มุ มองท่ีไมไ่ ดแ้ ปลกตาไปจาก ท่เี ราพบเจอ แต่ถ้ามกี ารปรับเปลี่ยนมุมกลอ้ ง เช่น ให้กล้องอยู่ตำ่�ระดบั พ้ืน เราจะไดม้ มุ มองทเ่ี ปน็ การเสยภาพหรอื การถา่ ย ภาพจากมมุ สูง กดกลอ้ งลงต่ำ� ก็จะไดอ้ ารมณ์ภาพทเ่ี ปล่ยี นไปเชน่ กนั 1.5 เสน้ นำ�สายตา ในเรอื่ งการจดั องคป์ ระกอบภาพ หนงึ่ ในนน้ั คอื เรอื่ งเสน้ น�ำ สายตา ไมว่ า่ จะเปน็ ถนน สะพาน ทางเดนิ รปู ทรง สถาปัตยกรรม ก็จะเป็นเส้นนำ�สายตาไปสู่จุดหมายปลายทาง เส้นต่าง ๆ จะนำ�ภาพไปเจอสิ่งที่น่าสนใจอะไรบ้าง ในการ วางแบบหรอื ก�ำ หนดจุดสนใจใหอ้ ยู่ดา้ นปลายขอบเสน้ นำ�สายตา ภาพท่ี 10 1.6 ฉากหลงั หรอื (Foreground) การถา่ ยภาพทมี่ ฉี ากหนา้ หรอื โฟกราว จะท�ำ ใหก้ ารถา่ ยภาพนา่ สนใจและมมี ติ ิ เกดิ ความลกึ ของภาพ แตต่ อ้ ง ระวังอย่าให้ฉากชดั มากจนมาบดบดั ตัวแบบหรอื จดุ สนใจที่ต้องเนน้ พวกฉากหนา้ อาจเป็นพวกก่ิงไม้ ใบไม้ ดอกหญา้ ต้นหญา้ อืน่ ๆ แลว้ แต่เหตกุ ารณ์

สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 37 สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ภาพที่ 11 1.7 กรอบภาพ กรอบภาพเปน็ อกี หนง่ึ องคป์ ระกอบทที่ �ำ ใหภ้ าพนา่ สนใจ กรอบจะเปน็ ตวั ก�ำ หนดใหแ้ บบหรอื วตั ถทุ เ่ี ราเนน้ นน้ั โดดเดน่ ในเร่ืองราวเหมือนเปน็ ล็อคเปา้ หมาย ให้ดใู นส่วนท่ีอยู่ภายในกรอบเชน่ กรอบทเ่ี ป็นประตู หน้าต่าง แนวโครงสรา้ ง ตา่ ง ๆ จากสถาปตั ยกรรม ภาพที่ 12 1.8 ภาพส่ือความหมายเล่าเรอื่ งได้ ภาพถา่ ยทด่ี คี วรสอ่ื สารบอกกลา่ วเรอื่ งราวทจี่ ะน�ำ เสนอไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ เราตอ้ งการสอื่ สารใหค้ นดไู ดเ้ ขา้ ใจวา่ ในภาพนัน้ มีเรื่องราวอะไรเกดิ ขึน้ บา้ ง ถึงไมม่ ีค�ำ อธิบายภาพก็สามารถเล่าเรอื่ งได้

38 สรุปผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ข้อมูลเรื่องราวเก่ียวกับการถ่ายภาพที่ประกอบการจัดการความรู้ (Knowledge management: KM ในคร้ังน้ี เปน็ เพยี งเรอื่ งราวสรปุ สนั้ ๆ แคเ่ พยี งบางสว่ นและไมไ่ ด้ใชศ้ พั ทท์ างวชิ าการถา่ ยภาพมาประกอบเพอื่ เปน็ การสอื่ สารท่ีใหเ้ ขา้ ใจ ได้ง่ายขึ้น การถ่ายภาพท่ีดีควรเป็นอย่างไร ขึ้นอยู่กับเป้าหมายวัตถุประสงค์ของแต่ละคน หลักเกณฑ์ กรอบกติกา ทฤษฎี เป็นเพยี งกรอบแนวคิดในการประกอบการสร้างจินตนาการศิลปะทีผ่ า่ นการออกแบบ แลว้ แตส่ ไตลข์ องแต่ละคนแค่น้ันเอง การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ เมื่อได้เทคนิคเป็นแนวทางแล้ว ได้ดำ�เนินการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพเบื้องต้น รว่ มกบั เจา้ หนา้ ทข่ี อง ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 เมอื่ วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2562 และผลติ ในรปู แบบ info graphic และวีดที ศั น์ รวมถึงการเผยแพรผ่ ่านเว็บไชต์ การน�ำ ไปใช้ กลุ่มการวิจัยได้มีการนำ�เทคนิคไปปรับใช้จริง ทั้งกิจกรรมภายในและภายนอกสำ�นักงานโดยการถ่ายทอดเทคนิค การสรา้ งสอ่ื ประชาสมั พันธ์ให้กับบ้านพกั เด็กและครอบครัว จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ผลตอบรบั คอื เจา้ หนา้ ท่ีมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลกั การถ่ายภาพเบ้อื งตน้ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ ันระหวา่ งเจา้ หนา้ ทแี่ ละวิทยากร การบ�ำ รงุ รกั ษา นำ�ความรู้ท่ีได้ทบทวนความถูกต้องและทันสมัยเข้าสู่ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๗ ให้กบั ภาคีเครือข่ายและบคุ ลากรทส่ี นใจ 3. ผลลพั ธ์จากการจดั การความรู้ ผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากการจดั การความรู้ในเรอื่ งนคี้ อื จากการจดั อบรมใหค้ วามรเู้ รอ่ื งเทคนคิ การถา่ ยภาพเบอ้ื งตน้ ของ เจา้ หนา้ ที่ ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 : สสว โดยมกี ารประเมนิ ผล กอ่ น การใหค้ วามรแู้ ละหลงั จากการอบรม ซงึ่ เหน็ ไดช้ ดั เจนจากผลการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นการออกถา่ ยภาพทงั้ ภายในและนอกสถานท่ี ผลงานกอ่ นและหลงั มคี วามแตกตา่ งชดั เจน คอื มีความรู้ ความเข้าใจหลักของการถ่ายภาพมากยิ่งข้ึนไมว่ ่าจะเปน็ เรือ่ งการจดั องค์ประกอบภาพ มุมมองการถ่ายภาพและ การสื่อความหมายซึ่งเป็นหัวใจท่ีสำ�คัญของการถ่ายภาพซึ่งผลที่ได้ในคร้ังนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง เพราะปัจจุบัน ทกุ คนถา่ ยภาพกันเป็นหลกั อยูแ่ ลว้ และจะเกิดประโยชน์ในการน�ำ ไปพัฒนาประยุกต์ในการท�ำ งานอกี ด้วย

สรปุ ผลการด�ำ เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 39 ส�ำ นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 บรรณานกุ รม การถ่ายภาพ. (มปป.). [ออนไลน์]. ได้จาก: http://thunpitcha.blogspot.com/p/blog-page.html [สืบค้นเม่ือวันท่ี 30 มกราคม 2563].



สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 41 สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 นางสาวศรีวรรณ์ สระแกว้ นางสุมารี สวุ รรณกร นางสาวพรพรรณ เพียรแสน นกั พฒั นาสงั คมช�ำ นาญการพเิ ศษ บรรณาธิการศูนย์ข่าวเครอื เนชัน่ ศนู ย์ขา่ วเครือเนชน่ั ภาคอสี าน รักษาราชการแทน ผอ.สสว.6 ภาคอสี าน ระหวา่ งวันที่ 8-9 กรกฎคม 2563 นางสาวศรีวรรณ์ สระแก้ว นักพฒั นาสังคมช�ำ นาญการพเิ ศษ รักษาราชการแทนผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 (สสว.6) พรอ้ มด้วยข้าราชการ และเจ้าหนา้ ท่ี สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 จัดโครงการอบรมเพิ่มความรแู้ ละทกั ษะ หลกั สตู ร การสร้างส่ือออนไลน์ งา่ ยแค่ปลายนวิ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้บคุ คลากรมคี วามรู้ทกั ษะในการเขียนข่าว สร้าง Content เพม่ิ ความสามารถในการประชาสัมพรั ธ์ผ่านสือ่ ออนไลน์ สามารถตัดต่อไฟล์ภาพและวิดีโอ ดว้ ยโปรแกรม Kinemaster โดยการใชม้ อื ถอื เพยี งเครอื่ งเดยี ว ณ โรงแรมราชาวดรี สี อรท์ แอนด์ สปา โฮเทล จังหวดั ขอนแกน่ ในการนี้ไดร้ บั เกยี รตจิ าก นางสมุ าล ี สวุ รรณกร บรรณาธกิ ารศนู ยข์ า่ วเครอื เนชนั่ ภาคอสี าน นางสาว พรพรรณ เพช็ รแสน และนางสาวกวินทรา ใจซอ่ื จากศูนย์ข่าวเครอื เนชัน่ ภาคอสี าน เป็นวทิ ยากรในการ บรรยายในหลกั สตู รดงั กล่าว

42 สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 ประจำ�ปีงบประมาณ 2563 สรปุ ผลการดำ�เนินงานโครงการอบรมเพ่ิมความรู้และทักษะ หลักสตู รการสร้างสอื่ ออนไลน์ ง่ายแค่ปลายนวิ้ และหลกั สตู รการใหบ้ รกิ ารกล่มุ เป้าหมายในภาวะ New Normal ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ส�ำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ----------------------------------------------------- กลุ่ม/ฝ่าย : กลมุ่ การวิจยั และการพฒั นาระบบเครือข่าย ชื่อเรื่อง : โครงการอบรมเพิ่มความรแู้ ละทกั ษะ หลักสตู รการสรา้ งสื่อออนไลน์ ง่ายแคป่ ลายนิ้ว และหลกั สตู รการ ให้บริการกลุ่มเป้าหมายในภาวะ New Normal ประจำ�ปงี บประมาณ 2563 ระยะเวลาและสถานที่ : 8 - 10 กรกฎาคม 2563 ณ หอ้ งแกรนดพ์ าวลิ เลย่ี น โรงแรมราชาวดีรีสอรท์ แอนด์ สปา โฮเทล จงั หวัดขอนแกน่ กลมุ่ เป้าหมาย : ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ที่ สำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 6 วัตถปุ ระสงค์ : 1. หลกั สูตรการสร้างส่อื ออนไลน์งา่ ยแค่ปลายน้วิ เพื่อให้บุคลากรในเขตพื้นทร่ี ับผดิ ชอบ 7 จงั หวัด ของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ มีความรทู้ กั ษะในการเขียนข่าว สรา้ ง Content เพมิ่ ความสามารถ ในการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ สามารถตัดต่อไฟล์ภาพและวิดีโอด้วยโปรแกรม Kinemaster ด้วยการใช้มือถือ เพยี งเครอ่ื งเดยี ว 2. หลักสูตรการให้บริการกลุ่มเป้าหมายในภาวะ New Normal เพ่ือให้บุคลากร ในเขตพ้ืนท่ี รับผิดชอบ 7 จงั หวัด ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ เป็นผู้ทม่ี คี วามรู้ทักษะในเร่อื ง New Normal วิถีชีวิตใหม่ และการปรับตัวในภาวะ Covid-19 และผู้เข้าร่วมอบรมสามารถ นำ�ความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำ�วัน ของตนเอง สามารถน�ำ ความรู้ไปเผยแพร่ บรรยายหรอื ใหค้ �ำ ปรกึ ษาแก่กลมุ่ เป้าหมายผรู้ บั บรกิ าร ได้แก่ เด็ก ผพู้ ิการ ผูส้ งู อายุ ได้ สรปุ สาระสำ�คัญของการจดั กิจกรรม “หลกั สตู รการสรา้ งสือ่ ออนไลน์ ง่ายแคป่ ลายน้วิ ” ความหมายของส่ือสังคมออนไลน์ ส่ือสังคมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสาร ระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์ บนส่ือใดๆ ท่ีมีการเช่ือมต่อ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ โดยเนน้ ใหผ้ ู้ใชท้ งั้ ทเี่ ปน็ ผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สารมสี ว่ นรว่ ม (Collaborative) อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในการผลติ เนอื้ หา ข้ึนเอง (User-GenerateContent: UGC) ในรปู ของขอ้ มูล ภาพ และเสียง

สรุปผลการด�ำ เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 43 สำ�นักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2563 ประเภทของส่อื สังคมออนไลน์ ประเภทของสอ่ื สงั คมออนไลน์ มดี ว้ ยกนั หลายชนดิ ขนึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะของการน�ำ มาใช้โดยสามารถแบง่ เปน็ กลมุ่ หลกั ดังนี้ 1. Weblogs หรอื เรยี กสน้ั ๆ วา่ Blogs คอื สอ่ื สว่ นบคุ คลบนอนิ เทอรเ์ นต็ ที่ใชเ้ ผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ ขอ้ คดิ เหน็ บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบง่ ปนั ใหบ้ ุคคลอ่ืนๆ โดยผู้รบั สารสามารถเข้าไปอ่าน หรอื แสดงความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ ได้ ซึ่งการ แสดงเน้ือหาของบล็อกน้ันจะเรียงลำ�ดับจากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเน้ือหาย้อนหลัง เพือ่ อา่ นและแก้ไขเพ่มิ เติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สำ�หรับเช่ือมต่อ ระหวา่ งบคุ คล กลมุ่ บคุ คล เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ กลมุ่ สงั คม (Social Community) เพอ่ื รว่ มกนั แลกเปลยี่ นและแบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหวา่ งกนั ทง้ั ด้านธุรกิจ การเมอื ง การศกึ ษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ “บลอ็ กจว๋ิ ” ซงึ่ เปน็ เวบ็ เซอรว์ สิ หรอื เวบ็ ไซตท์ ่ีใหบ้ รกิ าร แก่บุคคลทั่วไป สำ�หรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความส้ันๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ท่ีเรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพอ่ื แสดงสถานะของตวั เองวา่ ก�ำ ลงั ท�ำ อะไรอยู่ หรอื แจง้ ขา่ วสารตา่ งๆ แกก่ ลมุ่ เพอ่ื นในสงั คมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทงั้ นีก้ ารกำ�หนดให้ใช้ขอ้ มลู ในรูปข้อความสน้ั ๆ ก็เพือ่ ให้ผู้ใชท้ ่ีเปน็ ทั้งผเู้ ขยี นและผ้อู า่ นเขา้ ใจง่าย ที่นยิ ม ใชก้ นั อย่างแพรห่ ลายคอื Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึงปัจจุบันได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นำ�เสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำ�กัดโดยผังรายการที่แน่นอนและ ตายตวั ท�ำ ใหผ้ ู้ใชบ้ รกิ ารสามารถตดิ ตามชมไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพราะไมม่ ีโฆษณาคน่ั รวมทง้ั ผู้ใชส้ ามารถเลอื กชมเนอื้ หาไดต้ าม ความต้องการและยังสามารถเช่อื มโยงไปยังเว็บวดิ ีโออื่นๆ ทเี่ กีย่ วข้องได้จำ�นวนมากอกี ด้วย เช่น Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เปน็ เว็บไซตท์ ่ีเนน้ ให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใชบ้ รกิ ารสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดรปู ภาพ เพื่อนำ�มาใช้งานได้ ที่สำ�คัญนอกเหนือจากผู้ ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นท่ีเพ่ือเสนอ ขายภาพทต่ี นเองนำ�เข้าไปฝากได้อกี ด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซตท์ ่ีมลี กั ษณะเป็นแหลง่ ขอ้ มลู หรือความรู้ (Data/Knowledge) ซง่ึ ผเู้ ขยี นส่วนใหญ่อาจจะเปน็ นักวิชาการ นักวชิ าชพี หรอื ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทงั้ การเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียน หรอื แก้ไขข้อมลู ได้อยา่ งอสิ ระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำ�ลองส่วนหน่ึงของชีวิตลงไป จัดเป็นส่ือสังคมออนไลน์ ทบี่ รรดาผทู้ อ่ งโลกไซเบอร์ใชเ้ พอื่ สอื่ สารระหวา่ งกนั บนอนิ เทอรเ์ นต็ ในลกั ษณะโลกเสมอื นจรงิ (Virtual Reality) ซง่ึ ผทู้ จี่ ะเขา้ ไป ใชบ้ รกิ ารอาจจะบริษัทหรือองคก์ ารด้านธรุ กจิ ด้านการศกึ ษา รวมถงึ องค์การด้านสื่อ เชน่ ส�ำ นักขา่ วรอยเตอร์ ส�ำ นกั ขา่ ว ซีเอน็ เอ็น ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยในการซอื้ พนื้ ท่ีเพื่อใหบ้ คุ คลในบริษัทหรือองคก์ รได้มีช่องทางในการน�ำ เสนอเรอื่ งราวต่างๆ ไปยัง กลมุ่ เครอื ขา่ ยผู้ใช้สอ่ื ออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทง้ั หลัก และรองหรอื ผทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งกับธุรกิจ ของบรษิ ทั หรือองคก์ าร ก็ได้ ปจั จุบันเวบ็ ไซต์ที่ใชห้ ลัก Virtual Worlds ทปี่ ระสบผลส�ำ เรจ็ และมีชือ่ เสียง คอื Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของค�ำ สองค�ำ คอื Crowd และ Outsourcing เปน็ หลักการขอความรว่ มมอื จากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดท�ำ ในรูปของเว็บไซต์ท่ีมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือค้นหาค�ำ ตอบและวิธีการ แก้ปัญหาต่างๆท้ังทางธุรกิจ การศึกษา รวมท้ังการส่ือสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคม มาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนท่ัวไปหรือ ผู้มคี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นท่อี ยู่ในภาคธรุ กจิ หรอื แมแ้ ต่ในสงั คมนกั ขา่ ว ขอ้ ดีของการใชห้ ลกั Crowd souring คอื ทำ�ให้ เกิดความหลากหลายทางความคิดเพื่อนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูล ซ่ึงเป็นปัญหาสาธารณะรว่ มกนั ได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea

44 สรปุ ผลการด�ำ เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 9. Podcasting หรอื Podcast มาจากการรวมตัวของสองค�ำ คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึง่ “POD” หรือ PersonalOn - Demand คอื อปุ สงค์หรอื ความตอ้ งการสว่ นบุคคล ส่วน“Broadcasting” เปน็ การนำ�ส่ือต่างๆ มารวมกนั ในรปู ของภาพและเสยี ง หรอื อาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนำ�มาไว้ในเวบ็ เพจ (Web Page) เพ่อื เผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ทสี่ นใจดาวน์โหลดเพื่อน�ำ ไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เปน็ เวบ็ บอร์ดท่ีผู้ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ สามารถแสดงความคดิ เหน็ โดยอาจจะเกย่ี วกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ประเดน็ สาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม เชน่ Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp อปุ กรณ์เครื่องมือทางส่ือสังคมออนไลน์ คอมพิวเตอร์ คือ เคร่ืองคำ�นวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำ�งานคำ�นวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำ�สั่ง ดว้ ยความเรว็ สงู อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและอตั โนมตั ิ พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 ได้ใหค้ �ำ จ�ำ กดั ความของคอมพวิ เตอร์ ไวค้ ่อนขา้ งกะทดั รัดวา่ เครอ่ื งอิเลก็ ทรอนิกส์แบบอัตโนมตั ิ ทำ�หนา้ ทเ่ี สมือนสมองกล ใช้สำ�หรบั แก้ปญั หาตา่ งๆ ทั้งท่งี ่ายและ ซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการคำ�นวณและ การประมวลผลขอ้ มูล สมาร์ทโฟน (SmartPhone) คือ โทรศัพท์มือถือที่นอกเหนือจากใช้ โทรออก-รับสายแล้วยังมีแอพพลิเคช่ันให้ ใชง้ านมากมาย สามารถรองรบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ น 3G, Wi-Fi และสามารถใชง้ านโซเชยี ลเนต็ เวริ ค์ และแอพพลเิ คชน่ั สนทนาช้นั น�ำ เชน่ LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดยทผี่ ู้ใชส้ ามารถปรบั แต่งลูกเล่นการใชง้ านสมารท์ โฟน ให้ตรงกับความต้องการได้มากกว่ามือถือธรรมดา ผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ๆ นิยมผลิตสมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่กลอ้ งถ่ายรูปท่มี ีความละเอยี ดสูง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทนั สมยั , มีแอพพลิเคช่ันและลูกเล่นท่นี ่าสนใจ แท็บเลต็ (Tablet) คอื อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ทม่ี หี น้าจอระบบสมั ผัสขนาดใหญ่ มขี นาดหน้าจอต้ังแต่ 7 น้วิ ขึน้ ไป พกพาได้สะดวก สามารถใช้งานหน้าจอผ่านการสัมผัสผ่านปลายนิ้วได้โดยตรง มีแอพพลิเคช่ันมากมายให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะ รับ-ส่งอีเมล,์ เล่นอินเทอรเ์ น็ต, ดูหนงั , ฟงั เพลง, เล่นเกม หรอื แมก้ ระท่ังใชท้ ำ�งานเอกสารออฟฟติ ขอ้ ดีของแท็บเลต็ คอื มี หนา้ จอทก่ี ว้าง ทำ�ให้มพี น้ื ทกี่ ารใชง้ านเยอะ มนี ้�ำ หนกั เบา พกพาไดส้ ะดวกกวา่ โน๊ตบุ๊คหรือ คอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทกึ หรอื ใชเ้ ปน็ อุปกรณ์เพือ่ การศกึ ษาได้เป็นอย่างดี การท�ำ สอื่ วีดีทศั นด์ ว้ ยแอปพลิเคช่ัน KineMaster การสรา้ งสื่อออนไลน์ โดยใช้ แอปพลิเคชน่ั KineMaster มาเป็นหลกั สตู รที่จัดทำ�ข้ึนเพอ่ื ให้ความรแู้ ละแนวฝึกทักษะ พืน้ ฐานการตัดตัดตอ่ ภาพเคลื่อนไหวบนสมารท์ โฟนท่งี า่ ยและเหมาะสำ�หรบั ประชาชนทุกเพศทกุ วัย ภาพที่ 1 การทำ�สือ่ วีดที ศั น์ดว้ ยแอปพลเิ คชน่ั KineMaster

สรุปผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 45 สำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 วธิ ีใช้งาน หลังจากติดตง้ั แอปลงเคร่อื งเรยี บร้อยแลว้ เปิดแอปและกลับหน้าจอเปน็ แนวนอน โดยอตั โนมตั ิ จากนนั้ กดไปที่ปมุ่ สีแดงทางซ้าย (อันใหญส่ ุดตรงกลาง) เพื่อเริ่มตัดต่อวิดีโอ ภาพที่ 2 การเปดิ แอปพลิเคชัน่ ภาพท่ี 3 การเลือกอตั ราสว่ นของภาพ ให้เลือกว่าต้องการวิดีโออัตราส่วนเท่าไหร่ เป็นแนวต้ัง แนวนอน หรือส่ีเหล่ียมจัตุรัส เมื่อเข้ามาก็จะเจอหน้าจอ แบบน้ี ตรงดา้ นซา้ ยล่างจะมีโฆษณา ให้เหน็ สำ�หรับผู้ใช้งานฟรี ภาพที่ 4 การเลือกไฟลว์ ีดีโอหรอื ภาพนง่ิ ทีเ่ ราตอ้ งการ

46 สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) ส�ำ นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 การเร่ิมต้นน�ำ ไฟลว์ ิดีโอหรือภาพน่ิงท่เี ราตอ้ งการมาใส่ โดยกดท่ี Media และเลือกไฟลท์ ่ีเราต้องการ เมอ่ื เลอื กไดแ้ ลว้ ไฟลด์ งั กลา่ วกจ็ ะมาอยตู่ รง Timeline ดา้ นลา่ ง เสน้ สแี ดง (Playhead) จะบอกวา่ คลปิ ทเ่ี ราเลอื กมา มคี วามยาวกวี่ นิ าที โดยเราสามารถวางคลปิ วดิ ีโอทต่ี อ้ งการไดเ้ รอื่ ยๆ แลว้ คอ่ ยมาตดั ออกทหี ลงั ถา้ จะลบคลปิ ไหนทงิ้ กก็ ดเลอื ก ใหเ้ ปน็ ขอบสเี หลอื งและกดทร่ี ปู ถงั ขยะดา้ นซา้ ยมอื เพอื่ ลบทงิ้ หรอื ถา้ อยากจะยา้ ยเอาคลปิ ดา้ นหนา้ มาไวข้ า้ งหลงั ก็ใหแ้ ตะตรง คลิปทตี่ อ้ งการคา้ งไวแ้ ลว้ ลากไปบริเวณที่ต้องการได้เลย ภาพท่ี 5 การเลือกวีดีโอหรอื ภาพลง Timeline ภาพที่ 6 การลบไฟล์ภาพหรอื วีดีโอ กดเลอื กคลปิ ทตี่ อ้ งการลบ แลว้ จะมถี งั ขยะโผลข่ นึ้ มาทางซา้ ย ใสค่ ลปิ ลงใน Timeline หลายๆ คลปิ ตรงชว่ งระหวา่ ง คลิปจะมีช่องสเ่ี หล่ียมสเี ทาขึ้นมาสำ�หรบั ใส่ Transition หรอื เอฟเฟค็ ทเ์ วลาเปลี่ยน ซ่ึงมีให้เลือกจ�ำ นวนมาก

สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 47 ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ภาพที่ 7 การเลือกเพลงหรอื เสียงประกอบ สว่ นตัวเลอื กอื่นๆ กจ็ ะมี Audio คอื เลือกเพลงหรอื เสยี งประกอบ, Voice จะเปน็ การอัดเสียงใหม่ดว้ ยไมค์ของมือถอื สำ�หรับพากย์เสียงหรือทำ� Voice over เสียงบรรยายก็ได้, Layer เป็นการเพ่ิม Timeline อีกชั้นนึง (หรือมากกว่าน้ัน) เพือ่ ใส่ภาพวดิ ีโอซอ้ น ใสเ่ อฟเฟค็ ท์ หรือตัวหนังสือต่างๆ ส่วนป่มุ แดง ใชส้ �ำ หรับถา่ ยภาพหรอื วิดีโอด้วยกลอ้ งมือถอื ภาพท่ี 8 ปุ่มการเลือกใส่เอฟเฟ็คทต์ า่ งๆ การตดั ตอ่ ถ้าหากว่าเราต้องการจะตัดคลิปให้สั้นลง หรือต้องการตัดเอาเฉพาะส่วนที่ต้องการก็ให้แตะไปที่คลิปด้านล่างนั้น จะมกี รอบสเี หลอื งขนึ้ มา จากนน้ั ใหเ้ ราแตะทข่ี อบเหลอื งทางซา้ ยหรอื ขวาและเลอ่ื นเพอ่ื ตดั คลปิ ให้ไดช้ ว่ งเวลาทต่ี อ้ งการ หรอื ถ้าอยากจะเลอ่ื นเพอื่ ดูคลปิ เฉยๆ ก็ใหแ้ ตะไปตรงพน้ื ทีว่ ่างด้านลา่ งและเลือ่ นน้ิวซ้าย-ขวา ไปมา

48 สรปุ ผลการดำ�เนินงานจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) สำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ภาพท่ี 9 การตดั ต่อคลิป แตถ่ า้ ตอ้ งการตดั คลปิ เพอื่ แบง่ เปน็ สว่ นๆ ก็ใหเ้ ลอื่ นเสน้ สแี ดงไปตรงบรเิ วณทเ่ี ราตอ้ งการตดั จากนนั้ กดท่ี เครอ่ื งหมาย กรรไกร ก็จะมตี วั เลือกลงมา 5 อย่างคือ ภาพที่ 10 การตัดคลปิ ออกเปน็ สว่ นๆ Trim to left of playhead : ตดั คลปิ ทางดา้ นซา้ ยของ playhead ทิ้ง (playhead คือเสน้ สแี ดง) Trim to right of playhead : ตัดคลิปทางดา้ นขวาของ playhead ท้งิ Split at playhead : ตดั คลิปตรง playhead ออกเปน็ 2 ส่วน Extract Audio : แยกเสยี งออกจากคลปิ (เมอ่ื กดแลว้ จะมคี ลปิ เสยี งเปน็ แถบสเี ขยี วเพม่ิ มาตรงดา้ นลา่ งของคลปิ ) Split and Insert Freeze Frame : ตัดคลิปออกเปน็ 2 สว่ น และใสภ่ าพน่ิงของคลปิ ตรง playhead เขา้ ไป แทรกกลาง

สรุปผลการด�ำ เนนิ งานจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 49 สำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ภาพท่ี 11 การชมภาพ ถดั จากกรรไกร เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั Crop หรอื ซมู วดิ ีโอสว่ นทต่ี อ้ งการ มลี กู เลน่ ใหเ้ ลอื ก 2 แบบ คอื ซมู ภาพ (ใช้ 2 นวิ้ ถา่ งเพอ่ื ซมู / แตะ 2 คร้ังเพื่อหดกลับ) จากจดุ เรม่ิ ตน้ คลิป Start Position ให้ไปจดุ ท่ตี อ้ งการตอนจบคลิป End Position หรอื จะซูมเป็นจดุ เดียวนงิ่ ๆ ทงั้ คลปิ ก็ให้กดทเี่ คร่ืองหมาย = ภาพที่ 12 การยดื หรอื ขยายภาพ ภาพท่ี 13 การปรับลดเสียง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook