Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-22 01:53:56

Description: รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

Search

Read the Text Version

- เข้ารับการกักตวั ยังสถานทที่ ี่รัฐก�ำ หนดเป็นเวลา 14 วนั เจา้ หน้าท่ที ี่ได้รบั มอบหมายเขา้ ดูแล อย่างใกล้ชิด - งดการจดั งานที่มีการรวมตวั กนั ของคนจำ�นวนมาก - หนว่ ยงาน/ภาคีเครอื ขา่ ยให้ความรแู้ ก่ประชาชน - คนในชุมชนร่วมกันสงั เกตบุคคลท่เี ขา้ มาอยู่ในชุมชน - มกี ารคัดกรอง/สมุ่ ตรวจ ผมู้ คี วามเส่ยี ง โดย เจ้าหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย 3.3.9 การขับเคลื่อนงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 ตามมาตรการ ดังนี้ ❖ ด้านการสาธารณสุข หน่วยงานในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.6 ได้ผลิต Infographic ข้อมูลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�แก่ประชาชนและเจ้าหน้าท่ี ของหน่วยงาน ในการปฏบิ ตั ติ นในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เชน่ การใชห้ นา้ กากอนามยั การล้างมืออยา่ งถกู วธิ ี การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ การทำ�ความสะอาดอุปกรณเ์ ครอ่ื งใช้ต่าง ๆ ไมส่ มั ผัสกบั เคส หรอื ผรู้ บั บรกิ ารโดยตรง เปน็ ตน้ และ สสว.6 ไดผ้ ลติ คลปิ วดี ีโอ สสว.6 รว่ มตา้ น Covid-19 https://youtu.be/daNxIxtJDHU และการเยยี วยาสภาพจติ ใจพรอ้ มทง้ั วิธีการ ใชช้ ีวิตประจ�ำ วันในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดย สสว.6 ไดผ้ ลติ คลิปวีดีโอ ทางเลือก ทางรอด https://youtu.be/0PaPM0V16TA และภยั โควดิ วิกฤติอารมณ์ https://youtu.be/JlRnN8oHi0Q และก�ำ ชบั ใหบ้ คุ ลากรของหนว่ ยงานปฏิบตั ติ ามประกาศของศูนย์ บรกิ ารการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.) และประกาศกรมควบคุมโรค อย่างเคร่งครดั ❖ ดา้ นเวชภัณฑป์ อ้ งกัน หน่วยงานในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 ได้ดำ�เนินการผลิตหน้ากากผ้า เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ พร้อมทง้ั แจกจ่ายแก่ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายในพื้นท่ี ❖ ดา้ นมาตรการป้องกัน หนว่ ยงานในเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบของ สสว.6 ไดด้ �ำ เนินการ ดังน้ี (1) มาตรการปอ้ งกนั ในการบริหาร ได้ออกคำ�ส่ังจัดตั้งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผอ.สสว.6 เป็นที่ปรึกษา พมจ.เป็นประธานกรรมการ หัวหน้าหน่วยงาน One Home เป็นกรรมการ หัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เป็นกรรมการและเลขานุการ ออกคำ�ส่ัง จัดต้ังทีมบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สสว.6 เพ่ือปฏิบัติงาน แทนกนั ในภาวะวิกฤตอิ อกค�ำ สัง่ ใหบ้ ุคลากรของหนว่ ยงานเหล่ือมเวลา ในการ เขา้ ปฏิบตั งิ านในสำ�นกั งาน ออกค�ำ สั่ง ใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏิบตั ิงานทีบ่ ้านได้ (Work form Home) (2) มาตรการป้องกนั ในหน่วยงาน ไดม้ คี �ำ สง่ั ใหบ้ คุ ลากรของหนว่ ยงาน เหลอ่ื มเวลาในการเขา้ ปฏบิ ตั งิ านในส�ำ นกั งาน ใหบ้ คุ ลากรสามารถ ปฏบิ ตั งิ านท่ีบา้ นได้ (Work from Home) ตั้งจดุ คัดกรองกอ่ นเขา้ ปฏิบตั ิงาน โดยการตรวจวัดอุณหภูมิ สวมหน้ากาก ลา้ งมือดว้ ยเจลแอลกอฮอลล์ ้างมอื จัดโตะ๊ ทำ�งานใหห้ า่ งกนั 1 เมตร และท�ำ ความสะอาดบริเวณส�ำ นกั งานเป็นประจำ� รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 37 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

(3) มาตรการป้องกันผูร้ บั บริการ ตง้ั จดุ คดั กรองผมู้ าตดิ ตอ่ ราชการ โดยการตรวจวดั อณุ หภมู ิ สวมหนา้ กาก ลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ ล้างมือ และเว้นระยะห่างในการเข้ารับบริการ มีการจัดทำ�หน้ากากแจกจ่ายให้แก่ประชาชนที่มาใช้บริการและจัดส่ง ใหต้ ามบา้ น ส�ำ หรบั ศนู ย/์ สถาน/บา้ น/นิคนทม่ี ีผูร้ บั บริการงดเข้าเยย่ี มและจัดกจิ กรรม จากบุคคลภายนอก หา้ มผู้ไมม่ ี ส่วนเกย่ี วขอ้ งเข้าในบริเวณของผ้รู บั บรกิ าร (4) ด้านมาตรการใหค้ วามชว่ ยเหลือเยียวยา หน่วยงานในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 ได้ดำ�เนินการลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้านผู้ได้รับผลกระทบ ใหค้ �ำ ปรกึ ษาแนะน�ำ และสอบขอ้ เทจ็ จรงิ เพ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เงนิ อดุ หนนุ สงเคราะหเ์ พ่อื แก้ไขปญั หา ความเดอื ดรอ้ น โดยใช้กลไกเงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน เงินสงเคราะห์ครอบครัว ผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน เงินสงเคราะห์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ และส่งเสริมด้านการประกอบอาชีพ เงินกู้ยืมเพื่อการประกอบอาชีพคนพกิ าร เงนิ กู้ยืมเพอ่ื การประกอบอาชพี ผ้สู งู อายุ พรอ้ มทั้ง ซ่อมแซมทอ่ี ยอู่ าศยั ให้แก่ ผู้พิการและผู้สงู อายุ สสว.6 ได้จัดเตรียมสถานทีพ่ ักพิงชัว่ คราว ในพ้ืนท่อี าคารเรอื นนอนของ สสว.6 เพอ่ื เตรียมพรอ้ ม กรณที มี่ เี หตจุ �ำ เปน็ เรง่ ดว่ น และจดั เจา้ หนา้ ทอ่ี �ำ นวยความสะดวก ณ สถานทพี่ กั พงิ ชวั่ คราวของจงั หวดั กาฬสนิ ธรุ์ ว่ มกบั ทมี One Home จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ แจกจา่ ย อาหารกลอ่ ง นมผง/นมกลอ่ ง และมอบถงุ ยงั ชพี พรอ้ มทงั้ จดั ตงั้ ตู้ พม.ปนั สขุ (5) ด้านอื่น ๆ เปิดรับบริจาคเวชภัณฑ์ป้องกันและเครื่องอุปโภคบริโภค เพ่ือไปแจกจ่ายช่วยเหลือ ประชาชนตามกล่มุ เปา้ หมาย 38 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพนื้ ท่รี บั ผิดชอบของส�ำ นักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,ุ์ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

สว นท่ี 4 การคาดการณแ นวโนม สถานการณทางสงั คมกลมุ จังหวัด (เปน การนาํ ขอมูลจากสว นท่ี 3 มาพยากรณใหเหน็ ถงึ อนาคตอีก 2 ปข า งหนา ) 4.1 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณท์ างสังคม 4.1.1 กลุ่มเด็ก จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจำานวนเด็กในเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริมและ สนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553-2562 ทที่ ราบแลว้ วา่ มลี กั ษณะแนวโนม้ ทล่ี ดลงในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพื่อหาสมการทำานายจำานวนเด็กในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบสำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ระหว่างปี พ.ศ. 2563- 2565 จึงมแี นวโน้มทีล่ ดลงตามรปู แบบของสมการทาำ นายทว่ี ิเคราะห์ได้ ดงั ตารางที่ 26 และแผนภาพท่ี 16 โดยพบว่า จำานวนเด็กในจังหวัดอุบลราชธานี จะมีอัตราการลดลงในแต่ละปีมากท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดเฉลี่ยลดลงปีละ 8,059 คน (b = -8059.16) รองลงมาคอื จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ จำานวยเด็กลดลงเฉล่ยี ปีละ 4453 คน (b = -4453.05) และจังหวัด ท่มี ีจำานวนเด็กลดลงในอตั ราต่อปีตาำ่ สดุ คอื จังหวัดมุกดาหาร จาำ นวนเดก็ ลดลงเฉลี่ยปีละ 1,213 คน (b = 1213.07) ทงั้ น้ีสมการทำานายที่ไดด้ งั ตารางที่ 23 สามารถใช้ทำานายสถานการณ์จำานวนเดก็ ไดแ้ มน่ ยาำ 94.2% - 99.8% (R2 = 0.942 - 0.998) ตารางท่ี 26 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ ำานวนเด็ก จำาแนกตามจงั หวดั รายปี (หน่วย : คน) จังหวดั สมการทำานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บงึ กาฬ จำานวนเด็กt = 109676.51 - 1437.18Xt 0.942 96,741.86 95,304.68 93,867.49 นครพนม จำานวนเด็กt = 184107.82 - 3194.05Xt 0.992 152,167.33 148,973.28 145,779.24 สกลนคร จาำ นวนเดก็ t = 287097.96 - 4353.17Xt 0.996 243,566.27 239,213.10 234,859.93 มกุ ดาหาร จำานวนเด็กt = 85820.73 - 1213.07Xt 0.988 73,690.00 72,476.93 71,263.85 กาฬสนิ ธุ์ จำานวนเดก็ t = 230678.75 - 4453.05Xt 0.998 186,148.20 181,695.15 177,242.09 อาำ นาจเจรญิ จำานวนเดก็ t = 91818.16 - 1796.76Xt 0.996 73,850.47 72,053.70 70,256.93 อบุ ลราชธานี จาำ นวนเด็กt = 476279.44 - 8059.16Xt 0.998 395,687.80 387,628.64 379,569.47 ปีเรมิ่ ตน้ (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเว้นจังหวดั บึงกาฬ เริม่ ตน้ ปี 2554 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้นื ทรี่ ับผิดชอบของสาำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 39 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ์, อำานาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

แผนภาพท่ี 16 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ ำ�นวนเดก็ จำ�แนกตามจงั หวัดและปี พ.ศ. 2563-2565 (หน่วย : คน) 4.1.2 กลุ่มเยาวชน จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจำ�นวนเยาวชนในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริม และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2562 ทท่ี ราบแลว้ วา่ มลี กั ษณะแนวโนม้ ทลี่ ดลง ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู เพอื่ หาสมการท�ำ นายจ�ำ นวนเยาวชนในเขตพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2563 - 2565 จงึ มแี นวโนม้ ทล่ี ดลงตามรปู แบบของสมการท�ำ นาย ทว่ี เิ คราะห์ได้ ดงั ตารางท่ี 24 และ แผนภาพที่ 16 โดยพบวา่ จ�ำ นวนเยาวชนในจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ จะมอี ตั ราการลดลงในแตล่ ะปมี ากทส่ี ดุ ในกลมุ่ จงั หวดั เฉลย่ี ปลี ะ 1,894 คน (b = -1894.44) รองลงมาคือ จังหวัดสกลนคร ลดลงเฉลย่ี ปีละ 356 คน (b = -356.53) ท้ังน้ีสมการทำ�นายท่ีได้ดังตารางท่ี 24 สามารถใช้ทำ�นายสถานการณ์จำ�นวนเยาวชนได้แม่นยำ�มากที่สุดคือ 95.2% (R2 = 0.952) ตารางที่ 27 แสดงการคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณจ์ ำ�นวนเยาวชนจ�ำ แนกตามจังหวดั รายป ี (หน่วย : คน) จงั หวัด สมการทำ�นาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บงึ กาฬ จำ�นวนเยาวชนt = 47287.31 + 84.62Xt 0.080 48,048.86 48,133.48 48,218.09 นครพนม จ�ำ นวนเยาวชนt = 82588.31 + 233.57Xt 0.362 84,924.07 85,157.64 85,391.22 สกลนคร จำ�นวนเยาวชนt = 135946.80 - 356.53Xt 0.237 132,381.47 132,024.93 131,668.40 มกุ ดาหาร จ�ำ นวนเยาวชนt = 40617.55 - 49.45Xt 0.058 40,123.00 40,073.55 40,024.09 กาฬสนิ ธ์ุ จำ�นวนเยาวชนt = 120666.96 - 1894.44Xt 0.952 101,722.60 99,828.16 97,933.73 อ�ำ นาจเจริญ จำ�นวนเยาวชนt = 46800.91 - 304.42Xt 0.474 43,756.67 43,452.24 43,147.82 อบุ ลราชธานี จ�ำ นวนเยาวชนt = 231957.51 - 306.42Xt 0.050 228,893.27 228,586.84 228,280.42 ปีเรมิ่ ต้น (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเว้นจังหวัดบงึ กาฬ เรม่ิ ตน้ ปี 2554       40 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จังหวดั ในเขตพนื้ ทรี่ ับผิดชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

แผนภาพท่ี 17 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ �ำ นวนเยาวชน จ�ำ แนกตามจงั หวดั พ.ศ. 2563-2565 (หนว่ ย : คน) 4.1.1 กลุ่มสตรี (สตรีทุกชว่ งวัย) จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจำ�นวนสตรีในเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและ สนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2562 ทที่ ราบแลว้ วา่ มลี กั ษณะแนวโนม้ ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู เพอื่ หาสมการท�ำ นายจ�ำ นวนสตรีในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2563 - 2565 จงึ มแี นวโนม้ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ ตามรปู แบบของสมการท�ำ นายทว่ี เิ คราะห์ได้ ดงั ตารางที่ 28 และแผนภาพที่ 18 โดยพบว่า จำ�นวนสตรีในจังหวัดอุบลราชธานี จะมีอัตราการเพ่ิมข้ึนในแต่ละปีมากที่สุดในกลุ่มจังหวัด เฉลี่ยปีละ 5,821 คน (b = +5821.44) รองลงมาคือ จงั หวัดสกลนคร เพ่มิ ขนึ้ เฉลย่ี ปลี ะ 2,775 คน (b = +2775.77) และจงั หวัด ทมี่ จี �ำ นวนเพมิ่ ขนึ้ ในอตั ราตอ่ ปตี ำ�่ สดุ คอื จังหวัดอ�ำ นาจเจริญ เพิม่ ขึ้นเฉลย่ี ปีละ 757 คน (b = +757) ทง้ั นส้ี มการท�ำ นายที่ไดด้ งั ตารางท่ี 25 สามารถใชท้ �ำ นายสถานการณจ์ �ำ นวนสตรไี ดแ้ มน่ ย�ำ สงู สดุ 96% (R2 = 0.960) ตารางที่ 28 แสดงการคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณ์จำ�นวนสตรจี �ำ แนกตามจงั หวัดรายป ี (หน่วย : คน) จังหวดั สมการท�ำ นาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บงึ กาฬ จ�ำ นวนสตรtี = 202495.16 + 1260.43Xt 0.898 213,839.06 215,099.49 216,359.92 นครพนม จำ�นวนสตรtี = 350448.47 + 1304.14Xt 0.907 363,489.87 364,794.01 366,098.15 สกลนคร จ�ำ นวนสตรtี = 556500.51 + 2775.77Xt 0.960 584,258.27 587,034.04 589,809.82 มกุ ดาหาร จำ�นวนสตรtี = 167204.45 + 1130.72Xt 0.960 178,511.67 179,642.39 180,773.11 กาฬสินธ์ุ จ�ำ นวนสตรtี = 489460.18 + 928.98Xt 0.849 498,750.00 499,678.98 500,607.96 อ�ำ นาจเจรญิ จ�ำ นวนสตรtี = 183928.24 + 757.84Xt 0.931 191,506.60 192,264.44 193,022.27 อบุ ลราชธานี จำ�นวนสตรtี = 892254.04 + 5821.44Xt 0.951 950,468.40 956,289.84 962,111.27 ปเี ร่ิมต้น (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเวน้ จงั หวัดบึงกาฬ เริ่มตน้ ปี 2554    รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพืน้ ทรี่ ับผดิ ชอบของสำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 41 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

แผนภาพท่ี 18 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จำ�นวนสตรี จ�ำ แนกตามจังหวดั และปี พ.ศ. 2563-2565 (หน่วย : คน) 4.1.1 สถานการณค์ รอบครัว จากข้อมูลท่ีรายงานแนวโน้มสถานการณ์ครอบครัวในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและ สนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2562 ทท่ี ราบแล้วว่ามลี กั ษณะแนวโนม้ ทเี่ พ่ิมขนึ้ และลดลงในบางปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาสมการทำ�นายสถานการณ์ครอบครัวในเขตรับผิดชอบสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุน วิชาการ 6 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2563 - 2565 จงึ มแี นวโน้มทเ่ี พิ่มขนึ้ และลดลงตามรูปแบบของสมการท�ำ นายท่ีวเิ คราะห์ได้ ดังตารางท่ี 29 และ แผนภาพท่ี 19 โดยพบวา่ สถานการณค์ รอบครัว จ�ำ นวนการจดทะเบยี นสมรส มจี งั หวัดบึงกาฬ จะมกี ารจดทะเบียนสมรสทเ่ี พิม่ ข้นึ เฉลี่ยปลี ะ 19 คู่ (b = +19.83) และจังหวัดท่มี อี ัตราการจดทะเบยี นสมรสลดลง มากที่สุด คอื จังหวดั อุบลราชธานี เฉล่ียปลี ะ 116 คู่ (b = -116.85) ทงั้ นสี้ มการท�ำ นายท่ีไดด้ งั ตารางที่ 26 สามารถใชท้ �ำ นายสถานการณค์ รอบครวั ไดแ้ มน่ ย�ำ สงู สดุ 64% (R2 = 0.644) ตารางที่ 29 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ �ำ นวนการจดทะเบยี นสมรส จ�ำ แนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย : ค)ู่ จังหวดั สมการทำ�นาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บึงกาฬ จ�ำ นวนการจดทะเบียนสมรสt = 1586.44 + 19.83Xt 0.084 1,764.94 1,784.78 1,804.61 นครพนม จ�ำ นวนการจดทะเบียนสมรสt = 2590.53 - 14.81Xt 0.173 2,442.47 2,427.66 2,412.85 สกลนคร จำ�นวนการจดทะเบยี นสมรสt = 4543.96 - 15.64Xt 0.059 4,387.60 4,371.96 4,356.33 มุกดาหาร จ�ำ นวนการจดทะเบียนสมรสt = 1376.69 - 0.64Xt 0.001 1,370.27 1,369.62 1,368.98 กาฬสินธ์ุ จ�ำ นวนการจดทะเบยี นสมรสt = 4188.09 - 46.64Xt 0.607 3,721.67 3,675.02 3,628.38 อำ�นาจเจรญิ จ�ำ นวนการจดทะเบียนสมรสt = 1607.62 - 49.98Xt 0.644 1,107.80 1,057.82 1,007.84 อุบลราชธานี จำ�นวนการจดทะเบียนสมรสt = 7899.55 - 116.85Xt 0.401 6,731.00 6,614.15 6,497.29 ปเี ริม่ ตน้ (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเวน้ จังหวดั บึงกาฬ เรมิ่ ตน้ ปี 2554    42 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผิดชอบของสำ�นกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์,ุ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

แผนภาพที่ 19 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จ�ำ นวนการจดทะเบยี นสมรส จ�ำ แนกตามจังหวดั และปี พ.ศ. 2563 - 2565 (หน่วย : คน) 4.1.1 สถานการณ์ผสู้ ูงอายุ จากขอ้ มลู ทร่ี ายงานสถานการณแ์ นวโนม้ จ�ำ นวนผสู้ งู อายใุ นเขตพนื้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2562 ทท่ี ราบแลว้ วา่ มลี กั ษณะแนวโนม้ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะห์ ข้อมูลเพ่ือหาสมการทำ�นายจำ�นวนผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ระหว่าง ปี พ.ศ. 2563 - 2565 จงึ มแี นวโนม้ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ตามรูปแบบของสมการท�ำ นาย ทวี่ ิเคราะห์ได้ ดังตารางที่ 30 และแผนภาพ ที่ 20 โดยพบวา่ จ�ำ นวนผสู้ ูงอายใุ นจงั หวดั อุบลราชธานี จะมอี ัตราการเพมิ่ ข้นึ ในแต่ละปีมากท่สี ุดในกลุม่ จงั หวดั เฉลย่ี ปีละ 11,234 คน (b = +11234.42) รองลงมาคอื จังหวัดสกลนคร เพม่ิ ขึน้ เฉลย่ี ปลี ะ 6,926 คน (b = +6926.32) และ จงั หวดั ทม่ี จี �ำ นวนผสู้ งู อายเุ พม่ิ ขนึ้ ในอตั ราตอ่ ปตี �่ำ สดุ คอื จงั หวดั มกุ ดาหาร เพม่ิ ขนึ้ เฉลยี่ ปลี ะ 2,095 คน (b = +2095.61) ทง้ั นสี้ มการท�ำ นายที่ไดด้ งั ตารางท่ี 30 สามารถใชท้ �ำ นายสถานการณจ์ �ำ นวนผสู้ งู อายไุ ดแ้ มน่ ย�ำ 99.4% - 99.8% (R2 = 0.994-0.998) ตารางที่ 30 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณ์จ�ำ นวนผูส้ งู อายุ จ�ำ แนกตามจังหวดั รายป ี (หน่วย : คน) จงั หวัด สมการท�ำ นาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บงึ กาฬ จำ�นวนผู้สูงอายุt = 40797.22 + 2169.25Xt 0.987 60,320.47 62,489.72 64,658.97 นครพนม จำ�นวนผูส้ ูงอายุt = 72196.93 + 3871.19Xt 0.998 110,908.87 114,780.06 118,651.25 สกลนคร จ�ำ นวนผสู้ งู อายุt = 105218.05 + 6926.32Xt 0.998 174,481.27 181,407.59 188,333.91 มกุ ดาหาร จำ�นวนผ้สู งู อายุt = 33996.95 + 2095.61Xt 0.995 54,953.07 57,048.68 59,144.29 กาฬสนิ ธุ์ จำ�นวนผู้สงู อายุt = 106160.51 + 6048.51Xt 0.997 166,645.60 172,694.11 178,742.62 อ�ำ นาจเจริญ จ�ำ นวนผู้สูงอายุt = 39893.13 + 2413.73Xt 0.996 64,030.40 66,444.13 68,857.85 อบุ ลราชธานี จำ�นวนผูส้ งู อายุt = 187821.22 + 11234.42Xt 0.994 300,165.40 311,399.82 322,634.24 ปีเรมิ่ ต้น (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเว้นจังหวดั บงึ กาฬ เรมิ่ ตน้ ปี 2554       รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 43 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธานี)

แผนภาพท่ี 20 ประมาณการแนวโน้มสถานการณจ์ ำ�นวนผสู้ ูงอายุ จำ�แนกตามจงั หวัดและปี พ.ศ. 2563 - 2565 (หน่วย : คน) 4.1.1 สถานการณ์คนพกิ าร จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจำ�นวนคนพิการในเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริม และสนับสนุนวิชาการ 6 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้มท่ีเพ่ิมข้ึน ในแต่ละปี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื หาสมการท�ำ นายจ�ำ นวนคนพกิ ารในเขตรบั ผดิ ชอบส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ระหว่างปี พ.ศ. 2563 - 2565 จงึ มีแนวโน้มท่ีเพม่ิ ขนึ้ ตามรปู แบบของสมการท�ำ นาย ทว่ี เิ คราะห์ได้ ดังตารางท่ี 31 และ แผนภาพที่ 21 โดยพบวา่ จ�ำ นวนคนพกิ ารในจงั หวดั อบุ ลราชธานี จะมอี ตั ราการเพม่ิ ขน้ึ ในแตล่ ะปมี ากทสี่ ดุ ในกลมุ่ จงั หวดั เฉลยี่ ปีละ 5,118 คน (b = 5118.33) รองลงมาคือ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ เพิ่มขน้ึ เฉลย่ี ปลี ะ 2,770 คน (b = +2770.75) และ จงั หวดั ที่มจี ำ�นวนคนพิการเพ่ิมขึ้นในอตั ราต่อปตี �่ำ สุด คือ จงั หวัดบงึ กาฬ เพ่มิ ขน้ึ เฉล่ยี ปีละ 554 คน (b = +554.27) ทงั้ นสี้ มการท�ำ นายที่ไดด้ งั ตารางที่ 31 สามารถใชท้ �ำ นายสถานการณจ์ �ำ นวนคนพกิ ารไดแ้ มน่ ย�ำ 84.2% - 98.1% (R2 = 0.842-0.981) ตารางท่ี 31 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ �ำ นวนคนพกิ ารทม่ี บี ตั รประจ�ำ ตวั คนพกิ าร จ�ำ แนกตามจงั หวดั รายปี (หน่วย : คน) จงั หวัด สมการท�ำ นาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 บงึ กาฬ จ�ำ นวนคนพิการt = 8087.16 + 554.27Xt 0.905 13,075.56 13,629.82 14,184.09 นครพนม จ�ำ นวนคนพกิ ารt = 16252.93 + 926.73Xt 0.842 25,520.20 26,446.93 27,373.65 สกลนคร จ�ำ นวนคนพิการt = 23776.24 + 1743.77Xt 0.946 41,213.93 42,957.70 44,701.47 มุกดาหาร จ�ำ นวนคนพิการt = 6549.29 + 605.62Xt 0.873 12,605.53 13,211.16 13,816.78 กาฬสนิ ธ์ุ จ�ำ นวนคนพกิ ารt = 12784.42 + 2770.75Xt 0.945 40,491.93 43,262.68 46,033.44 อ�ำ นาจเจรญิ จำ�นวนคนพิการt = 6293.95 + 1021.28Xt 0.965 16,506.73 17,528.01 18,549.29 อบุ ลราชธานี จ�ำ นวนคนพิการt = 26250.53 + 5118.33Xt 0.981 77,433.80 82,552.13 87,670.45 ปเี ร่ิมตน้ (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเว้นจังหวัดบึงกาฬ เริ่มต้นปี 2554    44 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดในเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์,ุ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

แผนภาพที่ 21 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ �ำ นวนคนพกิ ารทมี่ บี ตั รประจ�ำ ตวั คนพกิ าร จ�ำ แนกตามจงั หวดั และปี พ.ศ. 2563 - 2565 (หนว่ ย : คน) 4.1.1 สถานการณผ์ ู้ดอ้ ยโอกาส จากขอ้ มลู ทร่ี ายงานสถานการณแ์ นวโนม้ จ�ำ นวนยากจนในเขตพนื้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2561 ทท่ี ราบแลว้ วา่ มลี กั ษณะแนวโนม้ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู เพอ่ื หาสมการท�ำ นายจ�ำ นวนคนยากจนในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2563 - 2565 จึงมีแนวโนม้ ทเี่ พิ่มข้นึ และลดลงตามรูปแบบของสมการทำ�นายที่วเิ คราะห์ได้ ดังตารางที่ 32 และแผนภาพที่ 22 โดยพบวา่ จงั หวดั บึงกาฬจำ�นวนคนยากจนจะมอี ัตราการเพิ่มขึน้ ในแต่ละปมี ากทีส่ ดุ ในกลมุ่ จงั หวดั (b = + 4.00) รองลงมาคอื จังหวัดอำ�นาจเจริญ (b = +0.47) ทง้ั นส้ี มการท�ำ นายที่ไดด้ งั ตารางท่ี 32 สามารถใชท้ �ำ นายสถานการณจ์ �ำ นวนคนยากจนไดแ้ มน่ ย�ำ 01.4% - 71.8% (R2 = 0.014 - 0.718) ตารางท่ี 32 แสดงการคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณ์จำ�นวนคนยากจน จำ�แนกตามจังหวดั รายปี (หน่วย : พนั คน) จังหวดั สมการท�ำ นาย ณ เวลา t R2 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 บงึ กาฬ จ�ำ นวนคนยากจนt = 7.27 + 4.00Xt 0.569 35.30 39.30 43.31 นครพนม จำ�นวนคนยากจนt = 229.08 - 15.47Xt 0.616 89.82 74.35 58.88 สกลนคร จำ�นวนคนยากจนt = 281.96 - 23.81Xt 0.718 67.64 43.83 20.02 มกุ ดาหาร จ�ำ นวนคนยากจนt = 79.22 - 3.18Xt 0.104 50.57 47.39 44.21 กาฬสนิ ธุ์ จำ�นวนคนยากจนt = 358.48 - 18.17Xt 0.277 194.98 176.81 158.64 อ�ำ นาจเจริญ จำ�นวนคนยากจนt = 50.62 + 0.47Xt 0.014 54.82 55.29 55.76 อุบลราชธานี จำ�นวนคนยากจนt = 291.51 - 14.86Xt 0.164 157.76 142.90 128.04 ปีเริ่มต้น (t = 0) ณ ปี 2553 ยกเว้นจงั หวัดบงึ กาฬ เรมิ่ ตน้ ปี 2555    รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จงั หวดั ในเขตพ้ืนท่รี ับผดิ ชอบของสำ�นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 45 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

แผนภาพท่ี 22 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ �ำ นวนคนยากจน จ�ำ แนกตามจงั หวดั และปี พ.ศ. 2562 - 2564 (หน่วย : พนั คน) 46 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดในเขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์ุ, อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

สวนที่ 5 บทสรปุ และขอ เสนอแนะ 5.1 บทสรปุ การจัดทำารายงานสถานการณ์ทางสังคมและคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ตามการรับผิดชอบของสำานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 ทคี่ รอบคลุม 7 จังหวดั ไดแ้ ก่ บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำานาจเจรญิ อุบลราชธานี มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำารายงาน สถานการณท์ างสงั คมทเี่ กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทกี่ ลมุ่ จงั หวดั เพอ่ื คาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณท์ างสงั คมและผลกระทบ รวมทง้ั ข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริม และสนับสนนุ วิชาการ 6 สรุปสถานการณ์ที่สำาคญั ดงั น้ี 1. ข้อมลู พ้ืนฐานกล่มุ จังหวดั ประชากรกลุ่มจงั หวัดในเขตพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว.6 มปี ระชากรทั้งสน้ิ 7,272,405 คน แบง่ เปน็ เพศชาย 4,323,549 คน คิดเป็นร้อยละ 59 ของประชากรในกลุ่มจังหวัด เป็นเพศหญิง 2,948,856 คน คิดเป็นร้อยละ 41 ของประชากรในกล่มุ จงั หวดั มีจำานวนประชากรช่วงอายุ 26-59 ปี มากทสี่ ุด จาำ นวน 3,075,393 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 42 รองลงมาคือช่วงอายุ 0-17 ปี จาำ นวน 2,640,607 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 36 ชว่ งอายุ 60 ปขี ้นึ ไป จำานวน 888,389 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 และชว่ งอายุ 18-25 ปี จาำ นวน 668,016 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.1 ของประชากรในกลุม่ จงั หวัด ด้านสาธารณสุข จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก (WHO) กำาหนดมาตรฐานจำานวนแพทย์ไว้ท่ี 1 คน ตอ่ ประชากร 1,000 คน ดงั นนั้ เมอ่ื พจิ ารณาสดั สว่ นประชากรตอ่ แพทยข์ องพนื้ ทจ่ี งั หวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของสาำ นกั งาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 มี 4 จังหวัดมีสัดส่วนประชากรต่อแพทย์เกินกว่าจำานวนเกณฑ์ที่ WHO กำาหนด ซึ่งอาจทำาให้ประชาชนในพ้ืนที่เข้าใช้บริการทางการแพทย์ไม่สะดวก ได้แก่ จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดนครพนม จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ จงั หวัดบงึ กาฬ ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้ เม่ือเปรยี บเทยี บอตั ราการขยายตัว GPP ปี 2560 กับ ปี 2561 พบวา่ มี 4 จังหวัด มีอัตรา GPP เพม่ิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ จงั หวดั นครพนม จงั หวัดสกลนคร จังหวดั กาฬสินธ์ุ และจงั หวัดอาำ นาจเจริญ มี 3 จงั หวัด มีอตั รา GPP ลดลง ได้แก่ จงั หวัดบึงกาฬ จงั หวัดมุกดาหาร และจงั หวดั อบุ ลราชธานี ส่วนหนีส้ ินเฉล่ียต่อครัวเรือน รายจงั หวดั จำาแนกตามวตั ถุประสงค์ของการกู้ยมื พ.ศ. 2552 - 2560 ของจงั หวัดในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบของ สสว.6 พบว่า แนวโนม้ ของหน้สี ินมีทิศทางเพม่ิ ขน้ึ และเมื่อเปรียบเทยี บปี 2558 กบั ปี 2560 พบว่า หนส้ี นิ ท่ีเพ่มิ ขึ้นมากที่สดุ ไดแ้ กห่ นสี้ นิ เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในครัวเรอื น รองลงมาได้แกห่ นีส้ นิ เพื่อทำาการเกษตรและเพื่อใช้ซ้อื /เช่าซื้อบ้านและที่ดนิ ขอ้ มูลภาคเี ครอื ขา่ ย ดา้ นองคก์ รส่วนใหญเ่ ป็นองคก์ รผู้สูงอายุ รองลงมา ศนู ย์พัฒนาครอบครวั สภาองค์กร ชมุ ชน สาำ หรบั ดา้ นอาสาสมคั ร ประเภทอาสาสมคั รทม่ี ากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ (อพม.) รองลงมาคือสภาเด็กและเยาวชน 2. จากขอ้ มลู สว่ นที่ 3 สถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวดั และสว่ นท่ี 4 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์ ทางสงั คมกลุม่ จังหวดั ซง่ึ มสี ถานการณ์ทางสังคมของกลุม่ เปา้ หมาย 7 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลมุ่ เด็ก กล่มุ เยาวชน กลมุ่ สตรี กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ในการจัดทำารายงานสถานการณ์ทางสังคม กลุ่มจงั หวัด ประจาำ ปี 2563 ไดด้ าำ เนนิ การรวบรวมข้อมูลย้อนหลังเปน็ ระยะเวลา 10 ปี ในช่วงปี พ.ศ. 2553 - 2562 จากเว็บไซต์ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (www.dopa.go.th) และสำานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวัดในเขตพ้นื ทีร่ ับผิดชอบของสำานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 47 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อาำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

ดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม (www.nso.go.th) พบวา่ กลุ่มเดก็ และเยาวชน มีทศิ ทางแนวโนม้ ท่ีลดลงอย่างต่อเน่อื ง กลมุ่ สตรี กลมุ่ ผสู้ งู อายุ กลมุ่ ผพู้ กิ าร มที ศิ ทางแนวโนม้ ทเี่ พม่ิ ขนึ้ การทป่ี ระชากรในวยั สงู อายมุ จี �ำ นวนทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ประกอบกบั การที่ประชากรในวยั เดก็ เรม่ิ มีจำ�นวนลดลง ส่งผลต่อภาระการพง่ึ พงิ 3. สถานการณ์เชิงประเดน็ ความรุนแรงในครอบครวั จากการรวบรวมขอ้ มลู จาก กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั www.violence.in.th ในปี พ.ศ. 2563 พบวา่ เหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครัวในกลุ่มจงั หวดั จ�ำ นวน 54 เหตกุ ารณ์ ผู้ชาย เปน็ ผ้กู ระท�ำ มากท่ีสดุ จ�ำ นวน 45 ราย ผู้หญิงเป็นผู้กระทำ�จำ�นวน 9 ราย สำ�หรับจำ�นวนผู้ถูกกระทำ�มีท้ังสิ้น 53 ราย ผู้หญิงเป็นผู้ถูกกระทำ�มากที่สุด จ�ำ นวน 41 ราย ผู้ชายถกู กระท�ำ จ�ำ นวน 12 ราย เหตุการณ์ความรนุ แรงท่เี กิดขึน้ มากท่สี ุด ได้แก่ การทำ�ร้ายรา่ งกาย รองลงมาคอื ดดุ า่ /ดถู กู และ หยาบคาย/ตะคอก/ประจาน/ข่/ู บงั คับ สาเหตทุ สี่ �ำ คญั อันดับ 1 คอื เมาสรุ า/ยาเสพติด จำ�นวน 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 51 รองลงมาคือสาเหตุจากสุขภาพกาย/จิต จำ�นวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 18 เศรษฐกจิ /ตกงาน จำ�นวน 12 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 16 นอกใจ/หึงหวง จ�ำ นวน 8 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 11 และสาเหตุ อืน่ ๆ จ�ำ นวน 3 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 4 ตามลำ�ดบั 4. สถานการณท์ างสงั คมทเ่ี กิดจากสถานการณ์การแพรเ่ ช้อื ไวรัสโควดิ -19 การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 เร่ิมตน้ ท่ีประเทศจีน ตั้งแตว่ ันที่ 30 ธนั วาคม 2562 ต่อมาได้พบ ผ้ปู ว่ ยยนื ยนั ในหลายประเทศทัว่ โลก วนั ท่ี 11 มีนาคม 2563 องคก์ ารอนามัยโลกประกาศ โรค COVID-19 ระบาดใหญ่ (Pandemic) มจี ำ�นวนผู้ป่วย และผ้เู สยี ชีวิตเพม่ิ ขนึ้ เปน็ จ�ำ นวนมาก อยา่ งรวดเร็ว อตั ราการเสียชวี ติ จากโรคประมาณ ร้อยละ 4.6 กลุม่ ผ้ปู ่วยที่มอี าการรนุ แรงสว่ นมากเปน็ ผ้สู ูงอายุ และผทู้ ีม่ ีโรคประจ�ำ ตัว เชน่ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ซ่ึงขอ้ มลู จากศูนยป์ ฏิบัติการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 21019 กระทรวงมหาดไทย (สบค.มท.) ณ วนั ท่ี 25 สงิ หาคม 2563 พบว่า มผี ู้ติดเช้ือทวั่ โลก จ�ำ นวน 23,801,729 คน เสยี ชีวิต 816,552 คน รักษาหาย 16,349,839 คน และในประเทศไทย พบวา่ มผี ูต้ ดิ เชอ้ื จำ�นวน 3,402 คน เสยี ชีวติ 58 คน รักษาหาย 3,229 คน อายุของผูต้ ิดเชอื้ อายุ นอ้ ยสุด 1 เดอื น อายมุ ากสดุ 97 ปี อายุเฉลยี่ 37 ปี และสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของ 7 จงั หวดั ในเขตพื้นที่รับผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 พบวา่ มผี ู้ตดิ เช้ือ จำ�นวน 27 ราย รักษาหาย 27 ราย ไม่มีผเู้ สียชีวิต 5.1 ขอ้ เสนอแนะ 1) จากสถานการณท์ แ่ี นวโนม้ เดก็ และเยาวชนมจี �ำ นวนลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จงึ ควรมกี จิ กรรมเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชน โดยครอบครัว ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม 2) จากสถานการณแ์ นวโนม้ ผสู้ งู อายทุ เ่ี พมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ควรจดั ระบบการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ความเขม้ แขง็ ของผสู้ ูงอายุ ภมู ปิ ัญญาผสู้ ูงอายุ ซ่งึ เป็นกลไกในการพบปะ ช่วยเหลอื เกือ้ กูลกันของผู้สงู อายแุ ละคนในชุมชน 3) การลดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ควรส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำ�คัญของการอยู่ร่วมกัน เปน็ ครอบครวั ท่สี ามารถพงึ่ พาอาศยั ดูแลซึ่งกันและกันได้ 4) ควรจัดทำ�การส�ำ รวจขอ้ มูลผู้ประสบปญั หาทางสงั คมในระดับพื้นที่ เพือ่ การวางแผนการดแู ลร่วมกับก�ำ นนั ผู้ใหญ่บา้ น ผู้นำ�ชุมชน และอาสาสมคั รตา่ ง ๆ ในชุมชน 5) เนอื่ งจากสถานการณก์ ารแพรเ่ ชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 มผี ลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ รายได้ วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ จงึ ควร ให้ความรู้ในการวางแผนด้านการเงินและการออม การจัดการความเครียดในภาวะวิกฤต สำ�หรับผทู้ ี่ไดร้ ับผลกระทบ 48 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบของสำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

บรรณานุกรม กรมการปกครอง.ระบบสถิติทางทะเบียน (Online) http://www.bora.dopa.go.th/index.php/th/,สบื ค้นขอ้ มลู ณ วันที่ 16 มนี าคม 2563 กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั , (2562) (online) ขอ้ มลู ตามระบบฐานขอ้ มลู ความรนุ แรง ในครอบครวั ภายใต้ http://www.violence.in.th สืบค้นขอ้ มูล ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2563 กรมควบคุมโรค.รายงานสถานการณ์ โควดิ -19. (Online) https://covid19.ddc.moph.go.th สืบค้นข้อมลู ณ วันที่ 25 สงิ หาคม 2563 กรมสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร. (online) จ�ำ นวนคนพกิ ารท่มี บี ัตรประจำ�ตัวคนพกิ าร. สบื ค้นขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 มถิ ุนายน 2563 กระทรวงสาธารณสุข. หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครัฐ และภาคเอกชน. (Online) HDC REPORT สบื ค้นข้อมูล ณ วันที่ 26 มถิ นุ ายน 2563 กลุ่มงานบริหารยทุ ธศาสตร์กลมุ่ จังหวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 2. แผนพฒั นากลุม่ จังหวัด ภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื ตอนบน 2. (online).http://www.osmnortheast-n2.moi.go.th สบื คน้ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 26 มถิ นุ ายน 2563 กลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนล่าง 2. แผนพฒั นากลุ่มจงั หวัด ภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื ตอนล่าง 2. (online). http://www.osmnortheast-s2.moi.go.th สบื คน้ ข้อมลู ณ วนั ที่ 26 มิถนุ ายน 2563 ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ.ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร.(online) สบื ค้นขอ้ มลู ณ วันท่ี 7 สิงหาคม 2563 สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2561 (online) (https://www.nesdc.go.th/) สืบค้นข้อมูล ณ วันท่ี 26 มถิ ุนายน 2563 ส�ำ นักงานจงั หวัด 7 จงั หวัด. (online) (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อ�ำ นาจเจริญ อบุ ลราชธาน)ี , สบื คน้ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 26 มถิ ุนายน 2563 สืบค้นส่ือออนไลน์ เรื่อง ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และชาติพันธ์ รายจังหวัด. http://th.wikipedia.org/wiki ณ วันท่ี 26 มิถนุ ายน 2563 สำ�นกั งานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม. รายได้โดยเฉล่ียต่อเดอื นต่อ ครวั เรอื นรายจงั หวดั (online). http://www.nso.go.th/), สบื คน้ ข้อมลู วันที่ 26 มถิ ุนายน 2563 สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. หนี้สินเฉล่ียต่อเดือนรายจังหวัด จำ�แนกตาม วัตถุประสงคข์ องการกยู้ ืม (online). http://www.nso.go.th/), สืบค้นขอ้ มลู ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2563 ส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 7 จงั หวดั . ขอ้ มลู เครอื ขา่ ย. (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธาน)ี ข้อมูล ณ 7 สิงหาคม 2563 สบื คน้ ออนไลน.์ รายงานสถานการณจ์ ากทว่ั โลก จ�ำ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ 2019 (Novel Coronavirus 2019-nCoV) หรอื COVID-19 https://travel.trueid.net/detail/EpwDxDy0Jd17 ประจ�ำ วนั ที่ 25 สงิ หาคม 2563 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 49 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์ุ, อำ�นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

ทปี่ รกึ ษา คณะผู้จดั ท�ำ 1. นางอบุ ลทพิ ย์ เพชรชู ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 2. นางสาวศรวี รรณ์ สระแก้ว หัวหน้ากลมุ่ นโยบายและยุทธศาสตร์ กลมุ่ นโยบายและยทุ ธศาสตร์ 1. นายเทพกร บุญเทียบ เจ้าพนักงานพฒั นาสงั คมชำ�นาญงาน 2. นางสาวปิน่ แก้ว นาใจคง นักพัฒนาสังคมปฏิบตั ิการ นักพัฒนาสงั คมปฏบิ ัติการ 3. นายนาวิน เรอื งมนตรี นกั พฒั นาสงั คมปฏบิ ัตกิ าร 4. นางสาวปภิญญา ฮวดศรี เจา้ หนา้ ที่ศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการพฒั นาสังคมและจัดสวสั ดกิ าร ผอู้ อกแบบปก นางสาวชฎารัตน์ ไชยสิงห์ พิมพ์ที่ : หจก.กาฬสินธ์กุ ารพมิ พ์ โทร. 08 1057 8118, 09 3446 5777 50 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพนื้ ท่รี บั ผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ์, อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook