Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-22 01:53:56

Description: รายงานสถานการณ์ทางสังคมฉบับโรงพิมพ์

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้สำานักงานส่งเสริมและสนับสนุน วชิ าการ 6 (สสว.6) ทาำ หนา้ ทเี่ ชอ่ื มโยงประสานนโยบายระหวา่ งหนว่ ยงานสว่ นกลางกบั สว่ นภมู ภิ าค ในเขตพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบ การแปลงนโยบาย ขอ้ มูลสารสนเทศ องคค์ วามรู้ และแผนตา่ ง ๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดการบรู ณาการการปฏิบัติงาน ของหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงฯ ในสว่ นภมู ภิ าคใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทพน้ื ที่ ทงั้ นเี้ พอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 จึงจัดทำารายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ครอบคลุม 7 จังหวัด ได้แก่ บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำานาจเจริญ และอุบลราชธานี โดยเปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู จิ ากแหลง่ ขอ้ มลู หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง อาทิ กรมการปกครอง สาำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน เพ่ือรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำารายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดข้ึนในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด การคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคม และผลกระทบพรอ้ มขอ้ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสงั คม ในพน้ื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั ในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของสาำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ซง่ึ รายงานประกอบดว้ ย 4 สว่ น ได้แก่ ส่วนท่ี 1 บทนำา ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 3 ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด เชิงกลุ่มเป้าหมายและเชิงประเด็น ส่วนที่ 4 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัด และส่วนท่ี 5 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ สำานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ขอขอบคณุ ขอ้ มูลจากหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง และหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ รายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์สำาหรับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายในการนำาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนงานป้องกัน และแก้ไขปญั หาทางสังคมให้สอดคล้องกับบรบิ ทพนื้ ที่ตอ่ ไป สาำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 สิงหาคม 2563 ก รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จังหวัดในเขตพื้นทีร่ บั ผิดชอบของสาำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,ุ์ อำานาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

สารบญั หนา้ ก คำานำา ข สารบญั ค สารบญั ตาราง จ สารบญั แผนภาพ ฉ บทสรปุ ผู้บรหิ าร 1 ส่วนที่ 1 บทนำา 1 2 1.1 หลักการและเหตผุ ล 3 1.2 วัตถุประสงค์ 3 สว่ นท่ี 2 ข้อมลู พ้นื ฐานของกลมุ่ จงั หวัด 6 2.1 ท่ีตงั้ และอาณาเขต 7 2.2 ข้อมลู การปกครอง 8 2.3 ข้อมลู ประชากร 9 2.4 ดา้ นการศกึ ษา 13 2.5 ด้านศาสนา และวฒั นธรรม 15 2.6 ดา้ นสาธารณสุข 18 2.7 ดา้ นเศรษฐกจิ และรายได้ 21 2.8 ขอ้ มลู ภาคเี ครือขา่ ย 21 ส่วนท่ี 3 ขอ้ มลู สถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัด 21 3.1 สถานการณ์ทางสงั คมเชงิ กล่มุ เปา้ หมาย 22 23 3.1.1 กลุ่มเด็ก 24 3.1.2 กลมุ่ เยาวชน 25 3.1.3 กลุม่ สตรี 26 3.1.4 กลุ่มครอบครวั 27 3.1.5 กลุ่มผสู้ งู อายุ 28 3.1.6 กล่มุ คนพิการ 32 3.1.7 กลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาส 39 3.2 สถานการณ์ทางสงั คมเชิงประเดน็ ความรนุ แรงในครอบครวั 47 3.3 สถานการณ์ทางสงั คมท่ีเกดิ จากสถานการณก์ ารแพรเ่ ชื้อไวรัสโควดิ -19 ส่วนที่ 4 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั 49 ส่วนที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ภาคผนวก บรรณานกุ รม รายงานสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จังหวัดในเขตพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบของสำานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ข (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,ุ์ อาำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงพืน้ ท่ีและความหนาแนน่ ประชากรของจงั หวัดในเขตพน้ื ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.6 3 2 แสดงจำานวนเขตการปกครองรายจงั หวัดในเขตพืน้ ทีร่ ับผิดชอบของ สสว.6 6 3 แสดงจำานวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำาแนกตามเพศรายจงั หวัด 7 4 แสดงจำานวนสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จาำ แนกรายสงั กดั รายจังหวัด ปี 2562 8 5 แสดงจำานวนหนว่ ยบริการสาธารณสขุ ภาครฐั ภาคเอกชน จาำ แนกรายจังหวัด ในเขตพืน้ ท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว.6 13 6 แสดงสดั สว่ นจาำ นวนประชากรตอ่ แพทย์รายจงั หวดั ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.6 14 7 แสดงอตั ราการขยายตวั ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดในเขตพ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบของ สสว.6 15 8 แสดงผลติ ภณั ฑจ์ งั หวดั ต่อหวั (GPP per capita) ปี 2561 ในเขตพืน้ ทร่ี ับผิดชอบของ สสว.6 15 9 แสดงรายได้โดยเฉลยี่ ต่อเดอื นตอ่ ครวั เรือนรายจังหวดั พ.ศ. 2552 - 2560 16 10 แสดงหนี้สนิ เฉลีย่ ต่อครวั เรือนรายจังหวดั จำาแนกตามวัตถุประสงคข์ องการก้ยู ืม พ.ศ. 2552 - 2560 16 11 แสดงจำานวนองคก์ รภาคเี ครอื ขา่ ยในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบของ สสว.6 18 12 แสดงจำานวนภาคีเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รในเขตพน้ื ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.6 19 13 แสดงจาำ นวนเดก็ จำาแนกตามจังหวดั รายปี พ.ศ. 2553-2562 21 14 แสดงจาำ นวนเยาวชนจำาแนกตามจงั หวัดรายปี พ.ศ. 2553-2562 22 15 แสดงจำานวนสตรจี าำ แนกตามจังหวดั รายปี พ.ศ. 2553-2562 23 16 แสดงจาำ นวนการจดทะเบยี นสมรสจำาแนกตามจังหวดั รายปี พ.ศ. 2553-2562 24 17 แสดงจาำ นวนผู้สูงอายุจาำ แนกตามจงั หวัดรายปี พ.ศ. 2553-2562 25 18 แสดงจำานวนคนพกิ ารท่มี ีบัตรประจาำ ตวั คนพกิ าร จาำ แนกตามจงั หวดั รายปี พ.ศ. 2553-2562 26 19 แสดงจาำ นวนคนยากจน จาำ แนกตามรายจงั หวัดรายปี พ.ศ. 2553-2561 27 20 แสดงเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครัว ปี 2563 ของจงั หวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.6 29 21 แสดงจำานวนเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงในครอบครวั จาำ แนกตามประเภทเหตกุ ารณ์ความรนุ แรง ปี 2563 ในเขตพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.6 30 22 แสดงจำานวนเหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครวั จาำ แนกตามสาเหต/ุ ปัจจัย ในเขตพ้นื ทีร่ ับผิดชอบ ของ สสว.6 31 23 ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 35 24 อาชพี ของผู้ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 35 25 การต้องการความชว่ ยเหลือในสถานการณ์โควดิ -19 36 26 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณจ์ าำ นวนเดก็ จาำ แนกตามจงั หวัดรายปี 39 27 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณ์จำานวนเยาวชนจำาแนกตามจังหวดั รายปี 40 28 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์จำานวนสตรีจำาแนกตามจงั หวดั รายปี 41 29 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์จาำ นวนการจดทะเบยี นสมรส จำาแนกตามจงั หวดั รายปี 42 ค รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบของสาำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์,ุ อำานาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

สารบัญตาราง หนา้ 43 ตารางที่ 30 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์จาำ นวนผู้สูงอายุ จำาแนกตามจงั หวัดรายปี 44 31 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณจ์ าำ นวนคนพิการทมี่ ีบตั รประจำาตัวคนพกิ าร 45 จาำ แนกตามจงั หวัดรายปี 32 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ ำานวนคนยากจน จำาแนกตามจงั หวัดรายปี รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบของสาำ นักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 ง (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,ุ์ อำานาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หน้า 1 แสดงความหนาแน่นของประชากร 7 จงั หวัดในเขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ของของ สสว.6 3 2 แสดงพ้ืนที่ 7 จังหวดั ในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบของ สสว.6 4 3 แสดงจาำ นวนประชากรรวมของ 7 จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผิดชอบของ สสว.6 7 4 แสดงจำานวนประชากรตามช่วงอายุ 7 จงั หวดั ในเขตพ้ืนทร่ี บั ผดิ ขอบของ สสว.6 7 5 แสดงแนวโน้มจำานวนเด็ก จาำ แนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553-2562 22 6 แสดงแนวโน้มจำานวนเยาวชน จำาแนกตามรายจังหวดั พ.ศ. 2553-2562 23 7 แสดงแนวโนม้ จำานวนสตรี จำาแนกตามรายจงั หวัด พ.ศ. 2553-2562 24 8 แสดงแนวโน้มจาำ นวนการจดทะเบียนสมรส จำาแนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553-2562 25 9 แสดงแนวโน้มจาำ นวนผสู้ ูงอายุ จาำ แนกตามรายจงั หวัด พ.ศ. 2553-2562 26 10 แสดงแนวโนม้ จำานวนคนพิการท่มี ีบตั รประจาำ ตวั คนพิการ จาำ แนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553-2562 27 11 แสดงแนวโน้มจำานวนยากจนจาำ แนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553-2562 28 12 แสดงเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครัวปี 2563 ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผดิ ชอบของ สสว.6 29 13 แสดงจาำ นวนเหตุการณ์ความรุนแรงจาำ แนกตามประเภทเหตุการณ์ความรุนแรงในเขตพน้ื ที่ รับผิดชอบของ สสว.6 30 14 แสดงจาำ นวนสาเหตุ/ปจั จยั ความรนุ แรงในเขตพนื้ ที่รบั ผิดชอบของ สสว.6 31 15 แสดงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โควิด-19 33 16 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ าำ นวนเดก็ จาำ แนกตามจังหวดั และปี พ.ศ. 2563-2565 40 17 ประมาณการแนวโน้มสถานการณจ์ าำ นวนเยาวชน จำาแนกตามจงั หวดั และปี พ.ศ. 2563-2565 41 18 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จำานวนสตรี จำาแนกตามจงั หวดั และปี พ.ศ. 2563-2565 42 19 ประมาณการแนวโน้มสถานการณจ์ ำานวนการจดทะเบยี นสมรส จาำ แนกตามจงั หวัด และปี พ.ศ. 2563-2565 43 20 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ าำ นวนผู้สงู อายุ จาำ แนกตามจงั หวัดและปี พ.ศ. 2563-2565 44 21 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จาำ นวนคนพิการท่ีมีบตั รประจาำ ตัวคนพิการ จำาแนกตามจังหวดั และปี พ.ศ. 2563-2565 45 22 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จาำ นวนคนยากจนจำาแนกตามจังหวดั และปี พ.ศ. 2562-2564 46 จ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพ้นื ทร่ี ับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ์, อาำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

บทสรุปผบู รหิ าร รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของสาำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 จัดทาำ ขึน้ เพ่ือรวบรวมข้อมลู สถานการณท์ างสงั คมทีส่ ำาคัญ โดยการรวบรวมขอ้ มลู ทตุ ิยภมู ิ จากแหล่งข้อมูลหนว่ ยงาน ทเ่ี กีย่ วข้อง อาทิ กรมการปกครอง สำานกั งานสถิติแห่งชาติ สำานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ เพอ่ื วเิ คราะหส์ ถานการณท์ างสงั คมทเี่ กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณท์ างสงั คม ของกลมุ่ เปา้ หมายในพนื้ ทกี่ ลมุ่ จงั หวดั โดยการใชข้ อ้ มลู สถติ ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ยอ้ นหลงั 10 ปี ระหวา่ งปี 2553-2562 ซงึ่ รายงาน ฉบบั นี้ ประกอบด้วย 5 สว่ น คอื สว่ นที่ 1 บทนาำ สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพื้นฐานกลมุ่ จงั หวดั สว่ นท่ี 3 ข้อมลู สถานการณ์ ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ทงั้ เชงิ กลุ่มเป้าหมายและเชิงประเดน็ ส่วนท่ี 4 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณท์ างสงั คม กลุ่มจังหวัด สว่ นที่ 5 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ โดยมเี นอื้ หาสรุปได้ดังน้ี 1. ขอ้ มลู พืน้ ฐานของกลมุ่ จังหวดั กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ไดแ้ ก่ จงั หวดั บงึ กาฬ จงั หวดั นครพนม จงั หวดั สกลนคร จงั หวดั มกุ ดาหาร จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ จงั หวดั อาำ นาจเจรญิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี มพี นื้ ที่รวมทั้งส้นิ 48,267 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 27,475,026 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเปน็ 95 อาำ เภอ 737 ตาำ บล 8,686 หมบู่ า้ น องคก์ รปกครอง สว่ นท้องถิน่ จาำ นวน 834 แหง่ ได้แก่ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 7 แหง่ เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมือง 7 แห่ง เทศบาลตำาบล 279 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำาบล 539 แห่ง จังหวัดที่มีพ้ืนท่ีทางการปกครองมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี มีจำานวนทั้งสิ้น 25 อำาเภอ 737 ตำาบล 8,727 หมูบ่ ้าน และจงั หวดั ท่มี พี ื้นทที่ างการปกครองน้อยท่สี ุด ได้แก่ จังหวัดมุกดาหาร มจี ำานวน 7 อาำ เภอ 53 ตาำ บล 526 หมบู่ า้ น ประชากรในกลุม่ จงั หวดั มีจาำ นวนรวมทงั้ สนิ้ 7,272,405 คน แบ่งเปน็ เพศชาย 4,323,549 คน คดิ เป็น ร้อยละ 59 เปน็ เพศหญงิ 2,948,856 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 41 ของประชากรในกลุม่ จงั หวดั มีจาำ นวนประชากรชว่ งอายุ 26-59 ปี มากท่ีสดุ จาำ นวน 3,075,393 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42 รองลงมาคอื ช่วงอายุ 0-17 ปี จำานวน 2,640,607 คน คิดเป็นร้อยละ 36 ช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป จำานวน 888,389 คน คิดเป็นร้อยละ 12 และช่วงอายุ 18-25 ปี จำานวน 668,016 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.1 ของประชากรในกล่มุ จังหวัด ความหนาแน่นของประชากร 151:1 คน/ตร.กม. ความหนาแน่นของประชากร พบว่า จังหวัดกาฬสินธ์ุ มีความหนาแน่นของประชากร มากท่ีสุด 341 คน/ตร.กม. รองลงมา คอื จงั หวัดมุกดาหาร 277 คน/ตร.กม. 2. ขอ้ มูลสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัด เชงิ กล่มุ เปา้ หมายและเชงิ ประเดน็ ❖ สถานการณท์ างสงั คมของกลมุ่ เปา้ หมาย 7 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ เดก็ กลมุ่ เยาวชน กลมุ่ สตรี กลมุ่ ครอบครวั กลมุ่ ผสู้ งู อายุ กลมุ่ คนพกิ าร และกลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส ในการจดั ทาำ รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ประจาำ ปี 2563 ไดด้ าำ เนนิ การรวบรวมขอ้ มลู ยอ้ นหลงั เปน็ ระยะเวลา 10 ปี ในชว่ งปี พ.ศ. 2553-2562 จากเวบ็ ไซตข์ องกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (www.dopa.go.th) และ สำานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (www.nso.go.th) โดยมีผลจากการวิเคราะห์สถานการณท์ างสงั คมของแต่ละกล่มุ เปา้ หมาย ดงั ตอ่ ไปนี้ ➢ ประชากรเด็ก หรือบคุ คลทมี่ อี ายตุ าำ่ กวา่ 18 ปีบรบิ รู ณ์ ของกล่มุ จังหวดั ในปี พ.ศ. 2562 มีจาำ นวน รวม 1,247,159 คน และจากข้อมูลประชากรเด็กโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่า จำานวนประชากรเด็กลดลงอยา่ งต่อเนื่อง รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบของสำานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 ฉ (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อำานาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

➢ ประชากรท่ีเป็นเยาวชน หรือบุคคลที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ของกลุ่มจังหวัด ในปี พ.ศ. 2562 มีจ�ำ นวนรวม 664,612 คน และจากขอ้ มูลประชากรเยาวชนโดยรวมระหวา่ งปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโน้มวา่ จำ�นวนประชากรเยาวชนลดลงอย่างต่อเนื่อง ➢ ประชากรท่ีเป็นสตรี (เพศหญิงทุกช่วงวัย) ของกลุ่มจังหวัด ในปี พ.ศ. 2562 มีจำ�นวนรวม 2,952,026 คน และจากข้อมูลประชากรสตรีโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจำ�นวน ประชากรสตรเี พม่ิ ข้ึน ➢ สถานการณค์ รอบครวั ของกลุม่ จังหวดั ในปี พ.ศ. 2562 มีการจดทะเบยี นสมรส 22,985 คู่ และ จากข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงใหเ้ ห็นแนวโน้มวา่ มกี ารจดทะเบียนสมรส ทง้ั เพม่ิ ข้ึนและลดลงในบางปี ดังตารางท่ี 16 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด 3 ปี (พ.ศ. 2560-2562) พบว่า จังหวัดมุกดาหาร มีการจดทะเบียนสมรสทล่ี ดลง สำ�หรบั อีก 6 จงั หวดั (บึงกาฬ นครพนม สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อ�ำ นาจเจริญ อุบลราชธาน)ี มีทิศทางการจดทะเบยี นสมรสเพ่มิ ข้ึน ➢ ประชากรสงู อายขุ องกลมุ่ จงั หวดั ในปี พ.ศ. 2562 มจี �ำ นวนรวม 897,150 คน และจากขอ้ มลู ประชากร ผู้สูงอายุโดยรวมระหวา่ งปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงให้เหน็ แนวโนม้ วา่ จ�ำ นวนประชากรผสู้ งู อายุเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งต่อเน่อื ง ➢ ประชากรคนพกิ ารของกลมุ่ จงั หวดั ในปี พ.ศ. 2562 มีจำ�นวนรวม 203,752 คน และจากขอ้ มลู ประชากรคนพิการโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจำ�นวนประชากรคนพิการเพิ่มขึ้น และเม่อื พจิ ารณาเปรียบเทียบรายจงั หวดั ปี 2562 พบว่า จงั หวดั มุกดาหาร มปี ระชากรคนพิการต�่ำ ทีส่ ดุ ในกลุ่มจงั หวดั จ�ำ นวน 11,247 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.51 ของประชากรคนพิการในกล่มุ จังหวัด และจังหวดั อบุ ลราชธานีเป็นจังหวัดที่มี ประชากรคนพกิ ารสงู สดุ ในกลมุ่ จงั หวดั จ�ำ นวน 68,116 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.43 ของประชากรคนพกิ ารในกลมุ่ จงั หวดั ➢ จำ�นวนคนยากจนที่อยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ในปี พ.ศ. 2561 มีจ�ำ นวนรวม 746,000 คน และจากขอ้ มูลจำ�นวนคนยากจนโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553-2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ วา่ จ�ำ นวนคนยากจนลดลง และเมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บรายจงั หวดั ปี 2562 พบวา่ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มีจำ�นวนคนยากจนสูงที่สุดในกลุ่มจังหวัด จ�ำ นวน 251,500 คน และจังหวัดบึงกาฬเป็นจังหวัดที่มีจ�ำ นวนคนยากจน ต่ำ�ที่สุดในกล่มุ จงั หวัด จ�ำ นวน 41,400 คน ❖ สถานการณ์เชงิ ประเด็นความรุนแรงในครอบครวั จากการรวบรวมขอ้ มลู จาก กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั www.violence.in.th ในปี พ.ศ. 2563 พบว่า เหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวในกลุ่มจังหวัด จำ�นวน 54 เหตุการณ์ ผู้ชาย เป็นผู้กระทำ�มากท่ีสุด จำ�นวน 45 ราย ผหู้ ญงิ เป็นผกู้ ระท�ำ จ�ำ นวน 9 ราย ส�ำ หรับจำ�นวนผู้ถกู กระทำ�มีทัง้ ส้ิน 53 ราย ผูห้ ญงิ เป็นผ้ถู กู กระท�ำ มากท่สี ุด จำ�นวน 41 ราย ผ้ชู ายถูกกระทำ�จ�ำ นวน 12 ราย เหตุการณค์ วามรุนแรงที่เกดิ ขนึ้ มากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ การท�ำ รา้ ย ร่างกาย รองลงมาคอื ดดุ า่ /ดูถกู และ หยาบคาย/ตะคอก/ประจาน/ขู่/บังคับ สาเหตทุ สี่ �ำ คญั อันดับ 1 คอื เมาสรุ า/ ยาเสพตดิ จ�ำ นวน 38 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51 รองลงมาคอื สาเหตจุ ากสขุ ภาพกาย/จติ จ�ำ นวน 13 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18 เศรษฐกจิ /ตกงาน จ�ำ นวน 12 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16 นอกใจ/หงึ หวง จ�ำ นวน 8 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11 และสาเหตอุ น่ื ๆ จ�ำ นวน 3 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 4 ตามล�ำ ดบั ช รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดในเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 ซ (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

❖ สถานการณท์ างสงั คมทเ่ี กิดจากสถานการณก์ ารแพร่เชอ้ื ไวรัสโควดิ -19 การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เร่ิมต้นท่ีประเทศจีน ต้ังแต่วันท่ี 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาไดพ้ บผู้ป่วยยืนยนั ในหลายประเทศทวั่ โลก วันท่ี 11 มีนาคม 2563 องคก์ ารอนามยั โลกประกาศ โรค COVID-19 ระบาดใหญ่ (Pandemic) มีจำ�นวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมาก อย่างรวดเร็ว อัตราการเสียชีวิต จากโรคประมาณรอ้ ยละ 4.6 กลุม่ ผ้ปู ่วยท่ีมอี าการรุนแรงส่วนมากเปน็ ผูส้ งู อายุ และผทู้ ี่มีโรคประจ�ำ ตวั เชน่ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ซง่ึ ขอ้ มลู จากศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย (สบค.มท.) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2563 พบว่า มีผู้ติดเชื้อทัว่ โลก จ�ำ นวน 23,801,729 คน เสยี ชวี ิต 816,552 คน รักษาหาย 16,349,839 คน และในประเทศไทย พบว่า มีผ้ตู ิดเชื้อจำ�นวน 3,402 คน เสยี ชวี ิต 58 คน รกั ษาหาย 3,229 คน อายขุ องผตู้ ดิ เชอ้ื อายนุ อ้ ยสดุ 1 เดอื น อายมุ ากสดุ 97 ปี อายเุ ฉลย่ี 37 ปี และสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ของ 7 จงั หวดั ในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 พบวา่ มผี ตู้ ดิ เชอ้ื จำ�นวน 27 ราย รักษาหาย 27 ราย ไม่มผี เู้ สยี ชวี ติ ฌ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จงั หวัดในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ,์ อำ�นาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

5.1 ข้อเสนอแนะ 1) จากสถานการณท์ แ่ี นวโนม้ เดก็ และเยาวชนมจี �ำ นวนลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จงึ ควรมกี จิ กรรมเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน โดยครอบครัว ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม 2) จากสถานการณแ์ นวโนม้ ผสู้ งู อายทุ เี่ พม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ควรจดั ระบบการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ความเขม้ แขง็ ของผ้สู งู อายุ ภูมปิ ัญญาผสู้ ูงอายุ ซึ่งเป็นกลไกในการพบปะ ช่วยเหลือเกอื้ กูลกนั ของผูส้ ูงอายแุ ละคนในชุมชน 3) การลดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ควรส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำ�คัญของการอยู่ร่วมกัน เป็นครอบครวั ทสี่ ามารถพง่ึ พาอาศัย ดแู ลซึง่ กนั และกันได้ 4) ควรจัดทำ�การส�ำ รวจขอ้ มูลผู้ประสบปัญหาทางสงั คมในระดับพน้ื ที่ เพอ่ื การวางแผนการดแู ลรว่ มกบั กำ�นัน ผู้ใหญบ่ ้าน ผู้นำ�ชมุ ชน และอาสาสมัครตา่ ง ๆ ในชมุ ชน 5) เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่เชื้อไวรัสโควิด-19 มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ รายได้ วิถีการดำ�เนินชีวิต จึงควรให้ความรู้ ในการวางแผนด้านการเงินและการออม การจัดการความเครียดในภาวะวิกฤต สำ�หรับผู้ที่ได้รับ ผลกระทบ รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ญ (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ์, อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี



สว นที่ 1 บทนาํ 1.1 หลกั การและเหตุผล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มีสาระสำาคัญ เกย่ี วขอ้ งกบั การบรู ณาการ โดยกาำ หนดวา่ “ในกรณีทีภ่ ารกจิ ใดมคี วามเก่ียวข้องกบั หลายสว่ นราชการหรือเปน็ ภารกจิ ที่ใกลเ้ คยี งหรอื ตอ่ เนอื่ งกนั ใหส้ ว่ นราชการทเี่ กย่ี วขอ้ งนน้ั กาำ หนดแนวทางปฏบิ ตั ริ าชการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การบรหิ ารราชการ แบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ” (มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่า จะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจ ท่ีมีความสำาคัญหลายเร่ือง แต่ยังเกิดปัญหาความซำ้าซ้อน ในการปฏิบัติในหลายๆภารกิจ เป็นผลให้เป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากรเป็นอย่างมาก การปฏิรูปงบประมาณประเทศ จาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์” สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพ้ืนท่ี” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซง่ึ เปน็ แนวคดิ ของการทาำ งบประมาณแบบ มสี ว่ นรว่ ม (Participatory Budgeting) โดยมกี ารฟงั เสยี งประชาชนในพนื้ ที่ มกี ระบวนการทาำ แผนพฒั นา จากลา่ งขนึ้ บนตงั้ แตแ่ ผนชมุ ชนจนถงึ แผนจงั หวดั และใหห้ นว่ ยงานทงั้ ภมู ภิ าคและทอ้ งถน่ิ ร่วมกันกลั่นกรอง ทำาให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพ้ืนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากข้ึน ซึ่งเปน็ ท้ังกระบวนการเพม่ิ ประสิทธิภาพประสทิ ธผิ ลการใชง้ บประมาณแผน่ ดิน การมสี ่วนรว่ มของประชาชน ในการบรหิ ารจดั การตนเอง การสรา้ งความโปรง่ ใสและธรรมาภบิ าล การควบคมุ พฤตกิ รรมนกั การเมอื ง โดยประชาชน ในพืน้ ที่และการบูรณาการการทาำ งานของหน่วย Function และหน่วย Area ทีอ่ ยู่ในพนื้ ทร่ี ่วมกนั ซ่งึ ตามแผนปฏริ ปู กาำ หนดให้เริม่ ตงั้ แต่ปีงบประมาณ 2548 สำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 (สสว.) เป็นส่วนราชการส่วนกลางท่ีต้ังอยู่ในส่วนภูมิภาค โดยมอี าำ นาจหนา้ ท่ี คอื ขอ้ 1 พฒั นางานดา้ นวชิ าการเกย่ี วกบั การพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ใหส้ อดคลอ้ ง กบั พื้นทีแ่ ละเปา้ หมาย ข้อ 2 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ งานดา้ นวิชาการองคค์ วามรขู้ ้อมลู สารสนเทศใหค้ าำ ปรกึ ษาแนะนาำ แกห่ นว่ ยงานบรกิ ารกลมุ่ เปา้ หมายในพน้ื ที่ใหบ้ รกิ ารในความรบั ผดิ ชอบของกระทรวง รวมทง้ั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง องคก์ รภาคเอกชนและประชาชน ขอ้ 4 ศกึ ษาวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละสภาพแวดลอ้ มเพอื่ คาดการณ์ แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและการจัดยุทธศาสตร์ ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ข้อ 5 สนับสนุน การนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดำาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและ ภารกิจของกระทรวงในพื้นที่ กลุ่มจังหวัด มีหน้าที่เป็นกลไกขับเคล่ือนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ นอกจากน้ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้สำานักงาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ทำาหน้าที่เชื่อมโยงประสานนโยบายระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค ในการแปลงนโยบาย ขอ้ มลู สารสนเทศ องคค์ วามรู้ และแผนตา่ ง ๆ ของกระทรวงฯ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ การปฏบิ ตั งิ าน ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงฯ ในส่วนภูมิภาค ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นท่ี และมีการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงตระหนักถึงความจำาเป็นท่ีจะต้องขับเคลื่อนให้เกิดการบูรณาการโครงการ ด้านสังคมเชิงพ้ืนที่ในระดับพ้ืนที่จังหวัด และกลุ่มจังหวัด ท้ังในส่วนของแผนปฏิบัติงานและแผน คำาของบประมาณเชิงพ้ืนที่ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในการบูรณาการ การดำาเนินงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมที่สอดคล้องกับพ้ืนที่ และยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ เปน็ ทม่ี าของการจดั ทาำ รายงานสถานการณท์ างสงั คม และคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณท์ างสงั คมในพนื้ ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั ตามการรบั ผดิ ชอบของสาำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ทคี่ รอบคลมุ 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อาำ นาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุม่ จงั หวัดในเขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบของสำานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 1 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ,์ อาำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพอื่ รวบรวม วเิ คราะห์ และจดั ท�ำ รายงานสถานการณท์ างสงั คมทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพน้ื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบ ของสำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 1.2.2 เพื่อคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคม และผลกระทบในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 1.2.3 เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคม ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ของสำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 1.3 วิธกี ารด�ำ เนนิ งาน กิจกรรมการจัดท�ำ รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัด มขี ัน้ ตอน ดังนี้ 1.3.1 ประชมุ ก�ำ หนดกรอบการจดั ท�ำ รายงานสถานการณท์ างสงั คมประจ�ำ ปี 2563 ผา่ นระบบประชมุ ทางไกล ออนไลน์ Web Conference 1.3.2 รวบรวมขอ้ มลู สถานการณท์ างสังคมจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง 1.3.3 จัดทำ�รายงานสถานการณ์ทางสังคม เพ่ือการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้หน่วยงานด้านสังคมน�ำ ไปใช้ ประโยชน์ 1.3.4 การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารถอดบทเรยี นการจดั ท�ำ รายงานสถานการณท์ างสงั คม ประจ�ำ ปี 2563 ผา่ นระบบ ประชุมทางไกลออนไลน์ Web Conference 1.4 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1.4.1 มขี อ้ มลู สถานการณท์ างสงั คมระดบั พน้ื ทท่ี คี่ รอบคลมุ ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถใชป้ ระโยชน์ ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาสงั คม 1.4.2 หนว่ ยงานระดบั ทอ้ งถน่ิ และระดบั จงั หวดั สามารถน�ำ ขอ้ มลู ในพนื้ ท่ีไปใช้ในการก�ำ หนดนโยบาย แผนงาน โครงการ ในการคมุ้ ครอง ป้องกนั และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดบั พ้นื ท่ี และหนว่ ยงานระดับกระทรวงสามารถนำ�ขอ้ มลู ในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณป์ ญั หาทางสังคมทีส่ ำ�คัญ และก�ำ หนดนโยบาย แผนงานในการป้องกนั และแก้ไขปญั หาสังคมภาพรวมตอ่ ไป 2 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกล่มุ จังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

สว นท่ี 2 ขอมลู พน้ื ฐานของกลมุ จงั หวดั 2.1 ทต่ี ั้งและอาณาเขต ตารางที่ 1 แสดงพนื้ ทแี่ ละความหนาแน่นประชากรของจังหวดั ในเขตพ้นื ทีร่ ับผิดชอบของ สสว. 6 พน้ื ที่ จาำ นวนประชากร ความหนาแน่นของประชากร (คน) (คน/ตร.กม.) จังหวดั ตาราง ไร่ กโิ ลเมตร บึงกาฬ 4,306 2,690,62 423,031 98:1 นครพนม 4,340 2,712,394 719,135 166:1 สกลนคร 9,606 6,003,602 349,474 36:1 มุกดาหาร 4,162 2,601,040 1,153,390 277:1 กาฬสนิ ธุ์ 6,947 4,341,716 2,370,792 341:1 อาำ นาจเจริญ 3,161 1,975,748 378,438 120:1 อุบลราชธานี 15,745 9,840,526 1,878,145 119:1 รวม 48,267 27,475,026 7,272,405 151:1 ท่มี า : ระบบสถติ ิทางทะเบยี น กรมการปกครอง ณ ธันวาคม 2562 แผนภาพที่ 1 แสดงความหนาแนน่ ของประชากร 7 จงั หวดั ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผิดชอบของ สสว.6 จากตารางท่ี 1 และแผนภาพท่ี 1 พบวา่ 7 จังหวดั ในเขตพืน้ ท่ีรับผดิ ชอบของสำานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุน วิชาการ 6 มพี ้ืนทีท่ ้ังหมด 48,267 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 27,475,026 ไร่ และมีประชากรทง้ั หมด 7,272,405 คน โดยจังหวดั ทม่ี ีพ้นื ทีม่ ากเป็นอนั ดับ 1 คือ จงั หวดั อบุ ลราชธานี มพี ้นื ท่ี 15,745 ตารางกิโลเมตร หรอื 9,840,526 ไร่ รองลงมา คือ จังหวัดสกลนคร มพี ้ืนท่ี 9,606 ตารางกโิ ลเมตร 6,003,602 ไร่ และจังหวดั ทม่ี พี น้ื ทนี่ อ้ ยทสี่ ุด คือ จังหวดั รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบของสาำ นักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 3 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อาำ นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

อ�ำ นาจเจริญ มีพื้นท่ี 3,161 ตารางกิโลเมตร 1,975,748 ไร่ และ ความหนาแน่นของประชากร พบว่า จงั หวัดกาฬสินธุ์ มคี วามหนาแนน่ ของประชากรมากท่ีสุด 341 คน/ตร.กม. รองลงมา คือ จงั หวัดมุกดาหาร 277 คน/ตร.กม. ❖ ท่ีต้งั แผนภาพที่ 2 แสดงพืน้ ท่ี 7 จงั หวัดในเขตพืน้ ท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว. 6 จากแผนภาพที่ 2 จงั หวัดในเขตพ้ืนท่รี บั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำ�นาจเจริญ อบุ ลราชธานี โดยมีทตี่ ้ังและอาณาเขต ดังน้ี จงั หวดั บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร และกาฬสนิ ธ์ุ ตงั้ อยู่ในกลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน โดยจังหวัดบึงกาฬ มีที่ต้ังอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 765 กิโลเมตร จังหวัดนครพนม มีท่ีต้ังอยู่ห่างจาก กรงุ เทพมหานคร 740 กโิ ลเมตร เปน็ จงั หวดั ชายแดนของประเทศไทย มลี กั ษณะเปน็ แนวยาวตามฝงั่ แมน่ �ำ้ โขงประมาณ 153 กิโลเมตร ต้งั อยู่ระหว่างละติจดู ที่ 16-18 องศาเหนือ และลองติจดู ท่ี 104-105 องศาตะวนั ออก จังหวัดมกุ ดาหาร เปน็ จังหวัดชายแดนมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยมีแมน่ �้ำ โขงเป็นเสน้ กนั้ พรมแดน ตง้ั อยู่เส้นรงุ้ ที่ 16-17 องศาเหนือ และ เส้นแวงท่ี 104 - 105 องศาตะวันออก อยหู่ ่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 642 กิโลเมตร จงั หวดั กาฬสินธ์ุ ตั้งอยรู่ ะหวา่ งเส้นรุ้งท่ี 16 - 17 องศาเหนอื และเสน้ แวงท่ี 103 - 104 องศา ตะวนั ออก อยหู่ า่ งจากกรงุ เทพมหานคร ประมาณ 520 กโิ ลเมตร จังหวัดอำ�นาจเจริญและอุบลราชธานี เป็นจังหวัดที่ต้ังอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยจังหวัดอำ�นาจเจรญิ ตั้งอย่รู ะหว่างเส้นรงุ้ ที่ 15 - 16 องศาเหนอื และเสน้ แวงที่ 104 - 105 องศาตะวนั ออก อย่หู า่ งจากกรงุ เทพมหานคร ระยะทาง 568 กโิ ลเมตร และจงั หวดั อุบลราชธานี ตั้งอยู่ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจงั หวดั แรกท่ีไดเ้ ห็นดวงอาทิตยก์ ่อนพนื้ ทอี่ ืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ ❖ อาณาเขตของกลุม่ จังหวัดในเขตพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบของ สสว.6 มีดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ แขวงบอลิคาไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้ำ�โขง เป็น เส้นกั้นพรมแดน ทิศตะวันออก ติดต่อ กับแขวงคำ�ม่วน และแขวงบลิคำ�ไช แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สปป.ลาว โดยมีแมน่ ำ�้ โขงเป็นเส้นก้ันพรมแดน 4 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวดั ในเขตพนื้ ทีร่ บั ผดิ ชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธาน)ี

ทิศตะวันตก ติดต่อ จังหวดั ศรีสะเกษ จงั หวัดยโสธร จงั หวดั สารคาม จังหวัดขอนแกน่ ทศิ ใต ้ ติดต่อ จังหวัดศรสี ะเกษ และราชอาณาจกั รกมั พชู า ❖ ลักษณะภูมปิ ระเทศ ดงั นี้ จังหวัดบึงกาฬ มีลักษณะภูมิประเทศของจังหวัด โดยทั่วไปเป็นท่ีราบสูง แยกได้เป็น 3 บริเวณคือ (1) พื้นที่เป็นคล่ืนลอนลาด กระจายอยู่ทุกอำ�เภอเป็นหย่อม ๆ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ทำ�นาส่วนใหญ่ และ ปลูกพืชไร่ พืชสวน และป่าธรรมชาติ (2) พนื้ ทเี่ ป็นคลน่ื ลอนชนั และเป็นเขาเป็นปา่ ธรรมชาติ เชน่ ปา่ ไมเ้ ตง็ รงั เบญจพรรณ (3) สภาพพื้นทีเ่ ป็นภูเขาทีม่ ีความสูงชัน จากระดับน�ำ้ ทะเลตั้งแต่ 200 เมตร เปน็ บรเิ วณเทือกเขา ต่าง ๆ ในเขตอ�ำ เภอเมืองบึงกาฬ อ�ำ เภอบงุ่ คล้า อำ�เภอเซกา และอำ�เภอบึงโขงหลง จงั หวดั นครพนม เปน็ ทรี่ าบลมุ่ มที ร่ี าบสงู และภเู ขาอยบู่ า้ งมแี มน่ �้ำ สายสน้ั ๆ เปน็ สาขายอ่ ยแยกจากแมน่ �ำ้ โขงมาหล่อเล้ียงความอุดมสมบูรณ์ภายในพื้นท่ี พ้ืนที่ส่วนใหญ่มีแม่น้ำ�โขงไหลผ่าน นครพนม จึงนับว่าเป็นจังหวัดท่ีมี แหลง่ น�ำ้ ทสี่ มบรู ณม์ าก ดา้ นตะวนั ออกมแี มน่ �ำ้ โขงทอดยาวกนั้ พรมแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั ลาว และจงั หวดั นครพนม มจี ุดผา่ นแดนไปประเทศลาว รวม 6 จดุ เป็นจุดผา่ นแดนถาวร 2 จุด และจดุ ผ่อนปรน 4 จุด จุดผา่ นแดนท่ีสำ�คญั และ เปน็ สากล คอื ดา่ นสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งท่ี 3 ซึ่งเป็นประตูไปสู่อินโดจีน จังหวัดมุกดาหาร ทางทิศเหนือและทิศใต้ของจังหวัดเป็นที่ราบสูง ทางทิศตะวันตกมีเทือกเขา ภูพาน มลี กั ษณะเป็นป่าไม้ บางแห่งเปน็ ปา่ ทึบ ส่วนทิศตะวนั ออกเป็นทรี่ าบสลับปา่ ไม้ และมแี มน่ �ำ้ โขง เป็นเส้นก้นั พรมแดน ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีความยาวประมาณ 72 กม.มีพื้นที่ราบ ร้อยละ 20 ของพื้นท่ีทง้ั จงั หวดั ทรัพยากรธรรมชาติมีความอดุ มสมบรู ณม์ ีพนื้ ทีป่ า่ ไมป้ ระมาณ 953,300 ไร่คิดเป็นรอ้ ยละ 35.15 ของพนื้ ทจี่ ังหวัด จงั หวดั สกลนคร โดยทว่ั ไปเปน็ ทรี่ าบสงู สงู กวา่ ระดบั น�้ำ ทะเลโดยเฉลยี่ ประมาณ 172 เมตร ดา้ นทศิ เหนอื ของจงั หวดั (บรเิ วณอ�ำ เภอบา้ นมว่ ง อ�ำ เภอค�ำ ตากลา้ อ�ำ เภอสวา่ งแดนดนิ อ�ำ เภออากาศอ�ำ นวย และอ�ำ เภอเจรญิ ศลิ ป)์ มลี ักษณะภูมิประเทศเปน็ ทีร่ าบลุ่มลอนคลนื่ ไมส่ มำ่�เสมอกัน ใชน้ ้ำ�จากล�ำ ห้วยสาขา ในการทำ�นา ทศิ เหนือของอำ�เภอ อากาศอ�ำ นวยเปน็ ทร่ี าบน�้ำ ทว่ มถงึ เนอื่ งจากตดิ กบั แมน่ �้ำ สงคราม ท�ำ ใหเ้ หมาะ แกก่ ารท�ำ นากวา่ พน้ื ที่โดยรอบ แตพ่ น้ื ท่ี สว่ นใหญเ่ ปน็ ปา่ ทาม ทข่ี น้ึ รมิ น�ำ้ และปลอ่ ยรกรา้ งวา่ งเปลา่ สว่ นทางตอนใตม้ ลี กั ษณะเปน็ แอง่ กระทะขนาดใหญ่ เรยี กวา่ แอง่ สกลนคร จุดต�ำ่ สดุ ของแอง่ คอื ทะเลสาบ หนองหาน อ�ำ เภอเมอื งสกลนคร และหนองญาติ อำ�เภอเมอื งนครพนม นอกจากนยี้ งั มที วิ เขาภพู านทางดา้ น ทศิ ตะวนั ตกและทศิ ใตบ้ รเิ วณอ�ำ เภอภพู านและอ�ำ เภอกดุ บากมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศ แบบภเู ขาสูงสลับกับ ท่ีราบลูกคล่ืนทอี่ ยู่ช่วงกลางระหวา่ งทวิ เขาภูพานในเขตจังหวดั กาฬสินธ์แุ ละจังหวัดสกลนคร จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ (1) ลกั ษณะพ้ืนทตี่ อนบน ไดแ้ ก่ บรเิ วณอำ�เภอทา่ คันโท อำ�เภอคำ�มว่ ง อำ�เภอสามชัย อำ�เภอนาคู และอำ�เภอเขาวง ซ่งึ เปน็ บริเวณแนวเทอื กเขาภูพาน มีภูเขาสลับซับซอ้ น และมีทรี่ าบในบริเวณระหว่าง หบุ เขาสลับ กบั ปา่ ทึบ ได้แก่ ป่าดงมลู และปา่ ดงแม่เผด บริเวณดงั กล่าวเป็นแหลง่ ตน้ น้�ำ ลำ�ธารหล่อเลยี้ งจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ที่สำ�คญั ไดแ้ ก่ ลำ�นำ�้ ปาว และล�ำ น้ำ�พาน มเี ขอื่ นล�ำ ปาวเพ่อื เก็บกักน�ำ้ ไว้ใช้ในการเพาะปลกู ทง้ั ในฤดฝู นและฤดูแลง้ (2) ลกั ษณะพน้ื ทตี่ อนกลาง ไดแ้ ก่ บรเิ วณอ�ำ เภอหนองกงุ ศรี อ�ำ เภอสหสั ขนั ธ์ อ�ำ เภอสมเดจ็ อ�ำ เภอ หว้ ยผง้ึ อ�ำ เภอนามน อ�ำ เภอกฉุ นิ ารายณ์ และอ�ำ เภอหว้ ยเมก็ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ เนนิ เขาสลบั กบั ปา่ โปรง่ และทงุ่ ราบ (3) ลักษณะพื้นที่ตอนล่าง ได้แก่ บริเวณอำ�เภอยางตลาด อำ�เภอเมืองกาฬสินธุ์ อำ�เภอร่องคำ� อำ�เภอกมลาไสย อำ�เภอดอนจาน และอ�ำ เภอฆ้องชยั ลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปน็ ท่ีราบต�่ำ เป็นแหล่งเพาะปลูก ที่สำ�คญั ของ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 5 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ,์ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นบริเวณท่ีรับน้ำ�ชลประทาน จากโครงการชลประทานลำ�ปาว และมีลำ�น้ำ�ชี ลำ�น้ำ�พาน ลำ�ห้วย บึง และหนองนำ�้ ท่วั ไป จังหวัดอ�ำ นาจเจรญิ โดยทวั่ ไปเป็นที่ลมุ่ มีเนินเขาเต้ีย ๆ ทอดยาวไปจรดจังหวดั อุบลราชธานี ทีอ่ ำ�เภอ ชานุมาน ตัง้ อยู่สงู จากระดบั นำ้�ทะเลปานกลางเฉลีย่ ประมาณ 68 เมตร (227 ฟตุ ) สภาพดินโดยท่ัวไป เป็นดนิ ร่วน ปนทรายและดนิ ลูกรงั บางส่วน มลี �ำ น้ำ�สายใหญ่ไหลผ่าน ไดแ้ ก่ ลำ�เซบก และล�ำ เซบาย จังหวดั อบุ ลราชธานี ตง้ั อย่บู รเิ วณท่เี รียกวา่ แอ่งโคราช (Korat basin) สูงจากระดับนำ้�ทะเลปานกลาง เฉลีย่ 68 เมตร (227 ฟตุ ) ลกั ษณะโดยท่ัวไป เป็นทร่ี าบสงู ต�ำ่ สลับกนั ลาดเอยี งไปทางตะวันออก มีแมน่ ้�ำ มูลไหลผ่าน กลางจังหวดั จากทศิ ตะวนั ตกมายงั ทิศตะวันออก ไหลลงสแู่ มน่ ้ำ�โขงทอ่ี �ำ เภอโขงเจยี ม มลี ำ�น้ำ�สำ�คัญ ไดแ้ ก่ ล�ำ เซบก ลำ�เซบาย ลำ�โดมใหญ่ ลำ�โดมน้อย และมีภูเขาซับซ้อนหลายแห่งบริเวณชายแดนทางตอนใต้มีเทือกเขาท่ีสำ�คัญ คือ เทือกเขาบรรทดั และเทอื กเขาพนมดงรัก ซ่งึ ก้ันอาณาเขตระหวา่ งจังหวดั อบุ ลราชธานี กบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา 2.2 ข้อมลู การปกครอง ตารางที่ 2 แสดงจำ�นวนเขตการปกครองรายจังหวัดในพ้นื ท่ีรบั ผดิ ชอบของ สสว.6 (หนว่ ย : แห่ง) องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ จงั หวดั อ�ำ เภอ ต�ำ บล หมบู่ า้ น อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต นคร เมือง ตำ�บล บงึ กาฬ 8 53 617 1 0 0 18 41 นครพนม 12 99 1,128 1 0 1 22 81 สกลนคร 18 125 1,520 1 1 0 65 74 มกุ ดาหาร 7 53 526 1 0 1 25 29 กาฬสนิ ธุ์ 18 135 1,584 1 0 0 72 76 อ�ำ นาจเจรญิ 7 56 607 1 0 1 23 39 อุบลราชธานี 25 216 2,704 1 1 4 54 199 รวม 95 737 8,686 7 2 7 279 539 ท่ีมา : ระบบสถติ ิทางทะเบียน กรมการปกครอง ขอ้ มลู ณ 31 ธันวาคม 2562 จากตารางที่ 2 แสดงจ�ำ นวนเขตการปกครองรายจงั หวดั ในเขตพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 ประกอบด้วย 95 อ�ำ เภอ 737 ต�ำ บล 8,686 หมูบ่ า้ น องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ จำ�นวน 834 แหง่ ได้แก่ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 7 แหง่ เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมอื ง 7 แหง่ เทศบาลตำ�บล 279 แหง่ และองค์การ บริหารส่วนตำ�บล 539 แห่ง จังหวัดท่ีมีพื้นท่ีทางการปกครองมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี มีจำ�นวนท้ังส้ิน 25 อ�ำ เภอ 737 ต�ำ บล 8,727 หมบู่ า้ น และจงั หวัดทมี่ พี น้ื ที่ทางการปกครอง นอ้ ยทีส่ ุด ไดแ้ ก่ จงั หวดั มุกดาหาร มจี �ำ นวน 7 อำ�เภอ 53 ตำ�บล 526 หมู่บา้ น 6 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวัดในเขตพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์,ุ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

2.3 ข้อมลู ประชากร ตารางท่ี 3 แสดงจำ�นวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จ�ำ แนกตามเพศ และรายจังหวัด (หนว่ ย : คน) ท่มี า : ระบบสถติ ิทางทะเบยี นกรมการปกครอง ขอ้ มลู ณ 31 ธันวาคม 2562 แผนภาพที่ 3 แสดงจ�ำ นวนประชากรรวมของ 7 จงั หวดั ในเขตพ้ืนทรี่ ับผดิ ชอบของ สสว.6 ทม่ี า : ระบบสถิตทิ างทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2562 แผนภาพท่ี 4 แสดงประชากรตามช่วงอายุ 7 จงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของ สสว.6 ทีม่ า : ระบบสถิตทิ างทะเบียนกรมการปกครอง ข้อมูล ณ 31 ธนั วาคม 2562 7 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดในเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบของส�ำ นกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ์, อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

จากตารางที่ 3 แผนภาพที่ 3 และ 4 พบว่า ในปี 2563 ประชากรกลมุ่ จงั หวัดในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบของ สสว.6 มีประชากรทั้งสิ้น 7,272,405 คน แบ่งเป็นเพศชาย 4,323,549 คน คิดเป็นร้อยละ 59 ของประชากร ในกลมุ่ จงั หวดั เปน็ เพศหญงิ 2,948,856 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 41 ของประชากรในกลมุ่ จงั หวดั มจี �ำ นวนประชากรชว่ งอายุ 26-59 ปี มากทีส่ ดุ จำ�นวน 3,075,393 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 42 รองลงมาคือช่วงอายุ 0-17 ปี จ�ำ นวน 2,640,607 คน คิดเป็นร้อยละ 36 ช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำ�นวน 888,389 คน คิดเป็น ร้อยละ 12 และช่วงอายุ 18-25 ปี จำ�นวน 668,016 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.1 ของประชากรในกล่มุ จังหวัด 2.4 ด้านการศึกษา ตารางที่ 4 แสดงจ�ำ นวนสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จ�ำ แนกรายสังกัด รายจงั หวดั ปกี ารศึกษา 2562 (หนว่ ย : แหง่ ) รายการสถานศึกษา จังหวัด ในระบบ นอกระบบ สพฐ. เอกชน อาชีวศกึ ษา ท้องถิ่น ส�ำ นักพุทธ กศน. รวม ศาสนาแหง่ ชาติ อำ�เภอ ตำ�บล บงึ กาฬ 227 16 7 4 - 8 53 254 นครพนม 481 20 12 11 - 12 99 524 สกลนคร 848 123 31 44 - 18 125 778 มกุ ดาหาร 274 11 6 5 - 7 53 296 กาฬสนิ ธ์ุ 589 53 18 25 - 18 135 685 อ�ำ นาจเจริญ 274 10 5 6 - 7 56 981 อุบลราชธานี 1,119 81 27 31 - 25 216 1,258 รวม 3,812 314 106 126 - 95 737 4,358 ทม่ี า : ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารขอ้ มลู สบื คน้ ณ วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2563 จากตารางที่ 4 แสดงจ�ำ นวนสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จ�ำ แนกรายจังหวดั ปกี ารศึกษา 2562 พบว่า สถานศึกษาในพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาในระบบ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) จ�ำ นวน 3,812 แหง่ รองลงมาสงั กัดเอกชน จำ�นวน 314 แหง่ ทอ้ งถ่นิ 126 แหง่ อาชีวศึกษา 106 แหง่ ตามล�ำ ดบั อกี ทัง้ มีสถานศึกษานอกระบบ (กศน.) ในระดับอ�ำ เภอ 95 แหง่ ระดบั ตำ�บล 737 แห่ง 8 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จงั หวดั ในเขตพน้ื ทรี่ ับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อ�ำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

2.5 ข้อมลู ดา้ นศาสนา และวฒั นธรรม ❖ จังหวดั บงึ กาฬ เป็นจังหวัดท่องเท่ียวเมืองรอง ที่ สำ � คั ญ ข อ ง จั ง ห วั ด แ ถ บ ลุ่ ม แ ม่ น้ำ � โ ข ง มีสภาพแวดล้อม ที่สมบูรณ์ แวดล้อมไปด้วย ภูเขาและน้ำ�ตกท่ีสวยงาม โดยมีประเพณีท่ี ส�ำ คญั คอื เทศกาลบญุ บงั้ ไฟ เทศกาลสงกรานต์ ประเพณีแข่งขันเรือยาว วันยางพาราบึงกาฬ ดงั ค�ำ ขวญั ของจงั หวดั “ภทู อกแหลง่ พระธรรม คา่ ลำ้�ยางพารา งามตาแกง่ อาฮงบงึ โขงหลง เพลินใจ นำ้�ตกใสเจ็ดสี ประเพณีแข่งเรือ เหนอื สุดแดนอสี าน นมัสการองค์พระใหญ่” ❖ จงั หวดั นครพนม เปน็ เมอื งชายแดนทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ ความสวยงามของทวิ ทศั น์ และมคี วามหลากหลายของวฒั นธรรม และชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีองค์พระธาตุพนม ซึ่งเป็นพระธาตุเจดีย์ อันศักดิ์สิทธ์ิ ภายในบรรจุ พระอรุ งั คธาตุ เปน็ ทส่ี กั การะ ศนู ยร์ วมจติ ใจ ความศรทั ธาของชาวจงั หวดั นครพนม ถอื เปน็ สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธคิ์ เู่ มอื งนครพนม มาแต่โบราณกาลกวา่ 2,500 ปี นอกจากน้ี ยงั มพี ระธาตอุ น่ื ๆ ทชี่ าวจงั หวดั นครพนมเคารพนบั ถอื ไดแ้ ก่ พระธาตปุ ระสทิ ธิ์ พระธาตทุ ่าอุเทน พระธาตเุ รณู พระธาตศุ รคี ณุ พระธาตนุ คร และพระธาตุมหาชัย เปน็ ตน้ ซึง่ ถอื เป็นเมืองพระธาตุ โดยแท้ และเปน็ จงั หวดั ชายแดนริมโขง ตรงขา้ มกบั เมอื งทา่ แขกของลาว เป็นเมอื งเกา่ แกเ่ คียงคู่กับอาณาจกั รศรีโคตร บูรณ์ โดยมคี �ำ ขวัญของจงั หวัด “พระธาตพุ นมค่าล�้ำ วฒั นธรรมหลากหลาย เรณผู ู้ไท เรือไฟโสภา งามตาฝ่งั โขง” ❖ จังหวดั มกุ ดาหาร เปน็ จงั หวดั ชายแดน อยู่ในแอง่ สกลนคร เปน็ จงั หวดั ทอ่ งเทย่ี วส�ำ คญั ของภาคอสี าน ภมู ปิ ระเทศตดิ กบั แมน่ �ำ้ โขง มหี อแกว้ มกุ ดาหารและมสี ถานทที่ อ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตมิ ากมาย เชน่ อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ผู าเทบิ ภสู ระดอกบวั วดั ภมู โนรมย์ เปน็ ตน้ ประชาชนจงั หวดั มกุ ดาหาร มถี งึ 8 ชนเผา่ อนั ไดแ้ ก่ ชาวผู้ไท ชาวไทยญอ้ ชาวไทยขา่ ชาวไทยโซ่ ชาวไทยกะเลงิ ชาวไทยแสก ชาวไทยกุลา และชาวไทยอีสาน ดังคำ�ขวัญของจังหวัด “หอแก้วสูงเสียดฟ้าภูผาเทิบแก่งกะเบา รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวดั ในเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบของสำ�นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 9 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ์, อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

แปดชนเผ่าพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กองโบราณล้ำ�เลศิ ถ่ินก�ำ เนดิ ลำ�ผญา ตระการ ตาชายโขง เชือ่ มโยงอนิ โดจนี ” ชาวมกุ ดาหาร ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มีขนบธรรมเนียม ประเพณที สี่ �ำ คญั และยงั คงถอื ปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มา คอื “ฮตี สบิ สอง ครองสบิ ส”ี่ และยงั คงมวี ฒั นธรรม ประเพณขี องชนเผา่ ทค่ี วรอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟแู ละยงั คง มีอยู่ คือ ถ่ังบั้ง พิธีเหยา พิธีบายศรีสู่ขวัญ การร�ำ เตย้ หวั ดอนตาล การร�ำ วงผู้ไท การล�ำ ผญา เปน็ ตน้ งานประเพณที ส่ี �ำ คญั ไดแ้ ก่ งานประเพณี แข่งเรือออกพรรษาระหว่างจังหวัดมุกดาหารกับ แขวงสะหวันนะเขต จัดขึ้นในวันข้ึน 13-15 ค่ำ� เดอื น 11 ของทกุ ปี งานกาชาดและงานประจำ�ปี จังหวัดมุกดาหาร จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปีในช่วง เดือนมกราคม ❖ จังหวดั สกลนคร มีประวัติศาสตร์มายาวนาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการขุดพบฟอสซิลไดโนเสาร์บริเวณ แนวทิวเขาภูพาน อำ�เภอวาริชภูมิ ภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณในพ้ืนที่จังหวัดสกลนครอยู่ร่วมสมัย เดียวกับอารยธรรมบ้านเชียงในจังหวัดอุดรธานี จากการสำ�รวจแหล่งชุมชนโบราณในพ้ืนที่ แอ่งสกลนคร บริเวณ ลมุ่ แม่น�ำ้ สงครามครอบคลุมพ้ืนทีบ่ างส่วนของอ�ำ เภอบา้ นดงุ อำ�เภอหนองหาน จังหวดั อุดรธานี อ�ำ เภอสว่างแดนดนิ อำ�เภอวาริชภูมิ อำ�เภอพงั โคน อ�ำ เภอวานรนวิ าส อำ�เภอพรรณานิคม และรอบ ๆ หนองหาน อำ�เภอเมืองสกลนคร พบแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์จำ�นวน 83 แห่ง ชุมชนโบราณของ แอ่งสกลนครน้ีมีอายุประมาณ 600 ปี กอ่ นพุทธกาลจนถึงพทุ ธศตวรรษท่ี 8 (ระหว่าง 3,000-1,800 ปมี าแล้ว) จากหลักฐานการค้นพบตา่ ง ๆ ของท่ีนพี่ บวา่ ชุมชนโบราณในแอ่งสกลนครได้มีการรวมตัวกันเป็นสังคม ขนาดใหญ่และอาจจะพัฒนาเป็นสังคมเมืองในสมัยต่อมา 10 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพ้นื ทร่ี ับผิดชอบของส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธานี)

สกลนครเปน็ แหลง่ ธรรมะ(ดนิ แดนแหง่ ธรรม) มปี ชู นยี สถานทส่ี �ำ คญั ทางพระพทุ ธศาสนาหลายแหง่ เชน่ พระธาตเุ ชงิ ชมุ พระธาตดุ มู พระธาตนุ ารายณเ์ จงเวง พระธาตศุ รมี งคล พระธาตภุ เู พก็ และมพี ระเกจอิ าจารยด์ งั ทเี่ ปน็ ทร่ี จู้ กั ของคนทง้ั ประเทศ อาทิ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต, พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร, หลวงปู่หลุย จันทสาโร, พระอาจารย์วัน อุตตโม และหลวงปเู่ ทสก์ เทสกร์ งั สี เปน็ ตน้ ดงั ค�ำ ขวญั ของจงั หวดั “พระธาตเุ ชงิ ชมุ คบู่ า้ น พระต�ำ หนกั ภพู านคเู่ มอื ง งามลอื เลอื่ ง หนองหาน แลตระการปราสาทผง้ึ สวยสดุ ซงึ้ สาวภไู ท ถน่ิ มนั่ ในพทุ ธธรรม”ประเพณที สี่ �ำ คญั ไดแ้ ก่ เทศกาลนมสั การ องคพ์ ระธาตเุ ชงิ ชุมและหลวงพอ่ องคแ์ สนเทศกาลตรษุ ไทสกล คนจนี เวยี ดนาม งานรวมนำ้�ใจไทสกล และงานกาชาด จังหวัดสกลนคร เทศกาลโส้รำ�ลึก บุญข้าวจี่ เซิ้งผีโขน วันวิสาขบูชา ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง ลอยพระประทีป พระราชทาน สิบสองเพง็ ไทสกล ประเพณแี หด่ าว เทศกาลครสิ ตม์ าส จงั หวัดสกลนคร ❖ จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวดั กาฬสินธุ์มีการสบื สานประเพณที ้องถนิ่ อีสาน “ฮตี สบิ สอง คองสิบสี”่ เช่น งานมหกรรม โปงลาง แพรวา และงานกาชาด งานมหกรรมวิจิตรแพรวาราชินีแห่งไหม งานบุญบ้ังไฟตะไลล้าน บ้านกุดหว้า งานสรงน้ำ� พระธาตยุ าคู งานประเพณตี ักบาตรเทโวโรหณะ งานบญุ คณู ลาน และมหกรรม เสง็ กลองกงิ่ ประเพณที ้องถิ่นอีสาน “ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี” คำ�ว่า “ฮีต” คือ “จารีต และ “สิบสอง” หมายถึง สิบสองเดือน ดังน้ัน “ฮีตสิบสอง” จงึ หมายถงึ ประเพณที ชี่ าวลาวในภาคอสี านปฏบิ ตั กิ นั มาในโอกาสตา่ ง ๆ ทง้ั สบิ สองเดอื นของแตล่ ะปเี ปน็ การผสมผสาน พธิ กี รรมท่เี กยี่ วกับเรือ่ งผแี ละพธิ ีกรรมทางการเกษตรเขา้ กับพิธกี รรมทางพทุ ธศาสนา ขณะท่ี “คองสิบส่ี” เปน็ ค�ำ และ ข้อปฏบิ ตั ิคกู่ บั “ฮีตสิบสอง” คำ�วา่ “คอง” แปลว่า แนวทาง หรือ ครรลอง ธรรมเนยี มประเพณี และ “สิบส”่ี หมายถึง ข้อวัตรหรอื แนวทางปฏิบตั ิสิบสี่ข้อ ดงั น้ัน “คองสิบสี”่ จงึ หมายถึง ข้อวตั รหรือแนวทางท่ปี ระชาชนทุกระดับ นับต้ังแต่ พระมหากษัตรยิ ์ ผมู้ ีหนา้ ทปี่ กครองบา้ นเมือง พระสงฆ์ และ คนธรรมดาสามัญพงึ ปฏิบัตสิ ิบสี่ข้อ นอกนี้ยังมีวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น และเปน็ เอกลกั ษณอ์ ยา่ ง “วฒั นธรรมภไู ท” หรือ “วัฒนธรรม ผู้ ไท” ชาวผู้ ไท เป็น ชนกลุ่มน้อยที่อพยพมาจากเมืองวัง และเมอื งตะโปน ซง่ึ อย่ทู าง ทิศตะวันออก ของเมอื งสะหวนั นะเขต ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน และแยกย้ายกันตั้งหลักแหล่งอยู่บริเวณ เทือกเขาภูพานในเขต 3 จังหวัด คือ จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดสกลนคร และ จงั หวดั นครพนม โดยชาวผู้ไทจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ อาศัยอยู่ในเขตอำ�เภอเขาวง อ�ำ เภอกฉุ นิ ารายณ์ อำ�เภอสหัสขันธอ์ ำ�เภอค�ำ มว่ ง ชาวผู้ไทจะมอี ตั ลักษณเ์ ฉพาะตัว เชน่ วัฒนธรรมการแตง่ กาย การฟ้อน ลกั ษณะการสร้างบ้านเรือน ลักษณะทางสงั คม และวถิ ชี ีวติ เปน็ ตน้ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุม่ จังหวดั ในเขตพนื้ ทีร่ ับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 6 11 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

❖ จงั หวัดอ�ำ นาจเจรญิ อ�ำ นาจเจรญิ เปน็ จงั หวดั มปี ระวตั ศิ าสตรม์ าอยา่ งยาวนานจากการคน้ พบแหลง่ ชมุ ชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวตั ถตุ ามทกี่ รมศลิ ปากรคน้ พบและสนั นษิ ฐานไวต้ ามหลกั ฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายรุ าว 1,000 ป)ี และ ได้ตัง้ เป็นเมืองมานานหลายร้อยปี คำ�ว่าอำ�นาจเจรญิ เป็นค�ำ ยืมจากภาษาเขมร มคี วามหมายตามตัว คือ อำ�นาจเจริญ เมืองท่ีมีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถ่ินเสมาพันปี โดยชาวอำ�นาจเจริญ ปฏิบัติสืบเน่ืองต่อมาจนปัจจุบัน คือ ฮีตสิบสอง ซง่ึ เป็นจารตี ประเพณีทีป่ ระชาชนนำ�มาปฏบิ ตั ปิ ระจ�ำ เดือน ท้ัง 12 เดอื นในรอบปี เป็นประเพณีการท�ำ บญุ ประจ�ำ เดอื นทเี่ กย่ี วเนอื่ งกบั พทุ ธศาสนาโดยจดั งานฮตี สบิ สองและงานกาชาดใหเ้ ปน็ งานประจ�ำ ปี ในวนั ท่ี 1-10 ธนั วาคม ของทุกปี และมีงานประเพณีประจำ�ปี ท่ีสำ�คัญ ได้แก่ งานนมัสการพระมงคลม่ิงเมือง (พระใหญ่) งานนมัสการ พระเหลาเทพนมิ ิต งานบญุ คูนลาน งานบุญบงั้ ไฟ งานแข่งเรือยาวล่องนำ้�โขง งานครสู ลามายามบ้าน (งานมหรสรรพ) งานบญุ ข้าวจี่ และมพี ธิ ีกรรมท้องถิ่น ได้แก่ การละเลน่ พืน้ บ้าน การเสง็ กลองกิง่ วิถชี ีวิตชนเผา่ ภไู ท พิธีกรรม ร�ำ ผีไท้ ดังค�ำ ขวญั จงั หวดั “พระมงคลมิง่ เมือง แหล่งรงุ่ เรอื งเจด็ ลุม่ นำ้� งามล้ำ�ถำ้�ศักด์สิ ิทธ์ิ เทพนมิ ติ พระเหลา เกาะแกง่ เขาแสนสวย เลอคา่ ดว้ ยผา้ ไหม ราษฎร์เลือ่ มใสใฝ่ธรรม” ❖ จังหวัดอุบลราชธานี มีภาษาถ่ินวัฒนธรรมและประเพณีท่ีโดดเด่น คือประเพณีแห่เทียนพรรษาทุ่งศรีเมืองอุบลราชธานี และสถานท่ที อ่ งเท่ียวทางธรรมชาติอกี มากมายไม่ว่าจะเปน็ ผาแตม้ ผาชนะได สามพนั โบก เสาเฉลยี ง นำ้�ตกแสงจนั ทร์ และความงามตามธรรมชาติของแมน่ ้�ำ โขง ดงั คำ�ขวญั ของจงั หวัด “เมืองดอกบัวงาม แม่นำ้�สองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถ่ินไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ไฝ่ธรรม งามล้ำ� เทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์” ความพเิ ศษอกี อยา่ งหนงึ่ คอื เปน็ จงั หวดั ทแ่ี มน่ �้ำ สายส�ำ คญั ทง้ั หมดของภาคอสี านทง้ั โขงชมี ลู ไหลมาบรรจบกนั โดยแมน่ �ำ้ ชี และแม่นำ้�มูลไหลมารวมกันท่ีอำ�เภอวารินชำ�ราบ ซ่ึงเป็นสถานที่ต้ังของสถานีรถไฟหลักที่ไม่ได้ต้ังอยู่ในอำ�เภอเมือง เช่นจังหวัดอ่ืน ๆ ทั่วไป ส่วนสถานท่ีราชการ ศาลากลางประจำ�จังหวัด สนามบินอุบลราชธานีอยู่ฝ่ังอำ�เภอเมือง ซ่ึงเชื่อมกับอำ�เภอวารินด้วยสะพานรัตนโกสินทร์ 200 ปี และสะพานเสรีประชาธิปไตย โดยมีแม่น้ำ�มูลไหลกั้น ทุ่งศรเี มอื งและอำ�เภอวารินช�ำ ราบ ก่อนจะไหลไปรวมกบั แมน่ �้ำ โขงบริเวณจุดชมววิ ทางธรรมชาติ โขงสปี ูน มลู สีคราม 12 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จงั หวดั ในเขตพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อ�ำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธานี)

อำ�เภอโขงเจยี มตอ่ ไป และจังหวัดอบุ ลราชธานเี ป็นเมอื งใหญร่ ิมฝ่ังแมน่ ำ้�มลู ท่ีมีประวตั ศิ าสตร์ทีย่ าวนานมากว่า 200 ปี และแหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลืองยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบ้านก้านเหลือง ตำ�บลขามใหญ่ ในตวั อ�ำ เภอเมอื ง กรมศลิ ปากรไดท้ �ำ การขดุ คน้ เมอ่ื ปี 2539 พบโบราณวตั ถตุ า่ ง ๆ มากมาย เชน่ ลกู ปดั เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา การทำ�โลหะผสม กระพรวนส�ำ ริด ขวานเหลก็ และแกลบขา้ วจำ�นวนมาก แตไ่ ม่พบโครงกระดูกมนุษย์ สันนษิ ฐานวา่ ชมุ ชนโบราณแหง่ นเี้ ป็นแหลง่ โบราณคดีที่มีอายรุ ะหว่าง 2,500-2,800 ปมี าแลว้ อยู่ในยุคโลหะตอนปลาย 2.6 ด้านสาธารณสขุ ตารางที่ 5 แสดงจ�ำ นวนหน่วยบริการสาธารณสุข ภาครฐั ภาคเอกชน จ�ำ แนกรายจงั หวดั ในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ สสว.6 (หนว่ ย : แหง่ ) ภาครัฐ จังหวดั โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล ศูนยส์ ขุ ภาพ ภาคเอกชน ศนู ย์ (รพศ.) ทัว่ ไป (รพท.) ชุมชน (รพช.) ส่งเสริมสขุ ภาพ ชุมชน ตำ�บล (รพ.สต.) บึงกาฬ 0 1 7 61 2 1 นครพนม 0 1 11 151 1 1 สกลนคร 1 1 15 168 3 1 มุกดาหาร 0 1 6 78 0 1 กาฬสนิ ธ์ุ 0 1 17 156 1 2 อำ�นาจเจรญิ 0 1 6 77 2 1 อบุ ลราชธานี 1 3 22 317 19 3 รวม 2 9 84 1008 28 10 ทีม่ า : HDC Report กระทรวงสาธารณสุข สืบคน้ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 26 มถิ ุนายน 2563 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้นื ท่รี บั ผิดชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 13 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ์, อำ�นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

จากตารางที่ 5 แสดงจำ�นวนหน่วยบริการสาธารณสุข ภาครัฐ ภาคเอกชน จำ�แนกตามจังหวัดในเขตพ้ืนท่ี รบั ผดิ ชอบ สสว.6 พบว่า มีหน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครฐั ท้ังสนิ้ จ�ำ นวน 1,131 แห่ง แบง่ เป็น โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) จำ�นวน 2 แห่ง โรงพยาบาลทวั่ ไป (รพท.) จ�ำ นวน 9 แห่ง โรงพยาบาลชมุ ชน (รพช.) 84 แห่ง โรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพต�ำ บล (รพ.สต.) 1,008 แหง่ ศนู ยส์ ขุ ภาพชมุ ชน จ�ำ นวน 28 แหง่ และ มหี นว่ ยบรกิ ารภาคเอกชน 10 แหง่ ตารางท่ี 6 แสดงสดั สว่ นจ�ำ นวนประชากรตอ่ แพทย์รายจังหวดั ในเขตพื้นท่รี ับผิดชอบ สสว.6 (หน่วย : คน) จงั หวัด แพทย์ ประชากร ประชากรต่อแพทย์ บึงกาฬ 353 423,031 1,198:1 นครพนม 371 719,135 1,938:1 สกลนคร 1,032 349,474 339:1 มกุ ดาหาร 316 1,153,390 3,649:1 กาฬสินธุ์ 877 2,370,792 2,703:1 อำ�นาจเจริญ 451 378,438 839:1 อุบลราชธานี 4,998 1,878,145 376:1 รวม 8,398 7,272,405 866:1 ที่มา : ระบบสถติ ทิ างการทะเบยี น กรมการปกครอง, HDC Report กระทรวงสาธารณสขุ สบื คน้ ขอ้ มลู ณ 26 มถิ นุ ายน 2563 จากตารางที่ 6 แสดงสัดสว่ นประชากรต่อแพทย์รายจังหวดั พบวา่ จังหวดั ทม่ี ีแพทย์มากท่ีสุด ไดแ้ กจ่ งั หวัด อบุ ลราชธานี จ�ำ นวน 4,998 คน รองลงมา คอื จงั หวดั สกลนคร จ�ำ นวน 1,032 คน จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ 877 คน ตามล�ำ ดบั แต่เม่ือดูสัดส่วนประชากรต่อแพทย์พบว่า จังหวัดมุกดาหารมีสัดส่วนประชากรต่อแพทย์มากท่ีสุด จำ�นวนประชากร 3,649 คน ต่อแพทย์ 1 คน รองลงมาคอื จงั หวัดกาฬสินธ์ุ จ�ำ นวนประชากร 2,703 คน ต่อแพทย์ 1 คน จังหวดั นครพนม จำ�นวนประชากร 1,938 คนตอ่ แพทย์ 1 คน ซึ่งจากขอ้ มูลองค์การอนามัยโลก (WHO) กำ�หนดมาตรฐานจำ�นวนแพทย์ ไว้ท่ี 1 คน ตอ่ ประชากร 1,000 คน ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาสัดสว่ นประชากรต่อแพทย์ของพื้นท่จี ังหวดั ในเขตรบั ผิดชอบ ของส�ำ นกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 มี 4 จังหวัดมสี ดั ส่วนประชากรตอ่ แพทยเ์ กนิ กวา่ จ�ำ นวนเกณฑ์ท่ี WHO กำ�หนด ซ่ึงอาจท�ำ ใหป้ ระชาชนในพื้นทเ่ี ขา้ ใชบ้ รกิ ารทางการแพทย์ไมส่ ะดวก ได้แก่ จงั หวดั มุกดาหาร จังหวดั นครพนม จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดบึงกาฬ 14 รายงานสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จังหวดั ในเขตพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของสำ�นกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,ุ์ อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

2.7 ด้านเศรษฐกิจและรายได้ ตารางที่ 7 แสดงอัตราการขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบ สสว.6 จงั หวดั อัตราการขยายตวั GPP (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 บงึ กาฬ 8.2 -1.1 นครพนม 0.5 2.2 สกลนคร 1.1 3.1 มุกดาหาร 7.4 1.0 กาฬสนิ ธุ์ 1.4 10.3 อำ�นาจเจริญ 4.1 4.9 อบุ ลราชธานี 5.3 -0.7 ทม่ี า : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สบื ค้นข้อมูล ณ เมษายน 2563 จากตารางท่ี 7 แสดงการขยายตวั ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดในเขตพนื้ ทีร่ บั ผดิ ชอบของ สสว.6 เมือ่ เปรยี บเทยี บ อตั ราการขยายตัว GPP ปี 2560 กบั ปี 2561 พบว่า มี 4 จังหวดั มีอตั รา GPP เพ่ิมขน้ึ ได้แก่ จังหวัดนครพนม มีการขยายตัวของ GPP เพิ่มขึ้น จาก 0.5 เป็น 2.2 จังหวัดสกลนคร การขยายตัวของ GPP เพ่ิมขึ้น จาก 1.1 เปน็ 3.1 จงั หวัดกาฬสินธ์ุ มกี ารขยายตวั ของ GPP เพิ่มขน้ึ จาก 1.4 เปน็ 10.3 และจงั หวดั อ�ำ นาจเจริญ การขยายตัว ของ GPP เพม่ิ ขนึ้ จาก 4.1 เป็น 4.9 มี 3 จงั หวัดมอี ตั รา GPP ลดลง ไดแ้ ก่ จังหวดั บึงกาฬ การขยายตัวของ GPP ลดลง จาก 8.2 เป็น -1.1 จังหวดั มุกดาหาร การขยายตวั ของ GPP ลดลง จาก 7.4 เป็น 1.0 และจังหวัดอุบลราชธานี มีการขยายตัวของ GPP ลดลง จาก 5.3 เปน็ -0.7 ตารางท่ี 8 แสดงผลติ ภัณฑ์จังหวดั ต่อหวั (GPP per capita) ปี 2561 ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.6 (หน่วย : บาท/ป)ี จงั หวัด บาทตอ่ ปี บงึ กาฬ 67,476 นครพนม 78,802 สกลนคร 64,084 มกุ ดาหาร 62,766 กาฬสนิ ธุ์ 73,998 อำ�นาจเจริญ 65,742 อุบลราชธานี 71,469 ท่มี า : ผลิตภัณฑ์ภาคและจงั หวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2561 สำ�นกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และ สงั คมแห่งชาติ สืบค้นขอ้ มลู ณ เมษายน 2563 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จงั หวัดในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบของส�ำ นักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 15 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,ุ์ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

จากตารางที่ 8 แสดงผลิตภัณฑจ์ ังหวดั ตอ่ หัว (GPP per capita) ปี 2561 ในเขตพื้นที่รับผดิ ชอบ ของ สสว.6 พบว่า จังหวัดนครพนมมีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงท่ีสุด จำ�นวน 78,802 บาทต่อปี รองลงมาคือจังหวัดกาฬสินธ์ุ จ�ำ นวน 73,998 บาทตอ่ ปี จงั หวดั อบุ ลราชธานี จ�ำ นวน 71,469 บาทตอ่ ปี ตามล�ำ ดบั และจงั หวดั มกุ ดาหาร มผี ลติ ภณั ฑ์ จังหวดั ตอ่ หวั ตำ่�ท่ีสดุ จ�ำ นวน 62,766 บาทตอ่ ปี ตารางที่ 9 แสดงรายได้โดยเฉล่ยี ต่อเดือนต่อครวั เรอื นรายจงั หวัด พ.ศ. 2552-2560 (หนว่ ย : บาท) 2560 จังหวดั 2552 2554 2556 2558 22,668 15,834 บึงกาฬ - - 20,207 23,767 17,820 20,440 นครพนม 12,859 14,053 14,310 15,804 14,264 18,231 สกลนคร 16,679 15,326 16,854 19,281 24,380 มกุ ดาหาร 17,370 19,048 16,494 22,870 กาฬสินธุ์ 11,748 17,293 13,921 15,452 อำ�นาจเจริญ 14,763 15,975 17,273 21,173 อบุ ลราชธานี 16,747 21,660 22,344 20,453 ท่ีมา : สำ�นักงานสถติ ิแหง่ ชาติ สบื ค้นข้อมลู ณ 26 มิถุนายน 2563 ตารางที่ 9 แสดงรายได้โดยเฉลย่ี ตอ่ เดอื นต่อครวั เรอื นรายจังหวดั พ.ศ. 2552-2560 พบว่า รายได้โดยเฉล่ีย ต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ส่วนใหญ่ มรี ายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นลดลง และเมอ่ื เปรยี บเทยี บปี 2558 กบั ปี 2560 จงั หวดั ทม่ี รี ายได้โดยเฉลย่ี ตอ่ เดอื น ตอ่ ครัวเรอื นลดลง 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ 1) จงั หวัดอำ�นาจเจริญ จาก 21,173 บาท ลดลงเหลอื 18,231 บาท 2) จังหวดั มกุ ดาหาร จาก 22,870 บาท ลดลงเหลอื 20,440 บาท 3) จงั หวดั สกลนคร จาก 19,281 บาท ลดลงเหลอื 17,820 บาท ในขณะที่จงั หวดั ที่มีรายได้โดยเฉล่ียตอ่ เดือนตอ่ ครวั เรือนเพม่ิ ข้ึน ไดแ้ ก่ จงั หวัดอบุ ลราชธานี จาก 20,453 บาท เพิ่มขน้ึ เป็น 24,380 บาท ตารางที่ 10 แสดงหนส้ี นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นรายจงั หวดั จ�ำ แนกตามวัตถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื พ.ศ. 2552 - 2560 (หน่วย : บาท) จังหวดั วัตถปุ ระสงค์ของการกยู้ ืม 2552 2554 2556 2558 2560 หนีส้ ินท้งั สิน้ - - 69,432 257,989 212,781 เพ่อื ใช้จา่ ยในครัวเรือน - - 27,282 108,967 133,947 เพื่อใชท้ �ำ ธรุ กจิ ท่ีไม่ใช่การเกษตร - - 9,591 75,485 14,493 บงึ กาฬ เพอ่ื ใช้ท�ำ การเกษตร - - 28,103 31,695 40,337 เพื่อใช้ ในการศึกษา - - 843 5,054 8,369 เพ่ือใช้ซอ้ื /เช่าซอื้ บา้ นและที่ดนิ - - 3,614 36,362 15,635 อ่นื ๆ - 0 426 0 16 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ที่รับผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,ุ์ อ�ำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธาน)ี

จังหวัด วัตถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื 2552 2554 2556 2558 2560 นครพนม หนี้สินทงั้ ส้ิน มกุ ดาหาร เพอ่ื ใช้จา่ ยในครวั เรอื น 92,430 76,338 90,411 102,816 192,868 สกลนคร เพื่อใช้ท�ำ ธรุ กจิ ท่ีไม่ใช่การเกษตร กาฬสินธุ์ เพือ่ ใชท้ ำ�การเกษตร 29,130 29,348 43,509 58,182 96,150 เพื่อใช้ ในการศึกษา เพ่อื ใชซ้ อื้ /เชา่ ซื้อบ้านและทดี่ นิ 17,971 7,601 7,029 7,966 10,586 อ่ืน ๆ หนสี้ ินทัง้ ส้ิน 17,908 16,107 8,844 11,419 21,888 เพ่อื ใช้จา่ ยในครัวเรอื น เพื่อใชท้ �ำ ธุรกจิ ที่ไม่ใชก่ ารเกษตร 2,208 877 731 1,379 13,733 เพ่อื ใช้ท�ำ การเกษตร เพอ่ื ใช้ในการศกึ ษา 23,781 21,052 28,978 21,554 44,151 เพือ่ ใช้ซ้ือ/เช่าซ้อื บ้านและที่ดิน อืน่ ๆ 1,432 1,353 1,321 2,315 6,360 หน้ีสินทงั้ สิ้น เพอื่ ใชจ้ ่ายในครัวเรอื น 161,441 138,725 157,855 164,190 197,078 เพ่ือใช้ท�ำ ธรุ กจิ ท่ีไม่ใชก่ ารเกษตร เพอ่ื ใช้ทำ�การเกษตร 61,836 65,573 69,890 71,377 84,899 เพ่อื ใช้ในการศกึ ษา เพ่ือใช้ซอื้ /เช่าซ้ือบ้านและที่ดิน 12,082 10,512 8,246 25,120 19,273 อ่ืน ๆ หนี้สนิ ทั้งส้ิน 20,195 24,810 29,132 27,829 51,186 เพอื่ ใชจ้ า่ ยในครวั เรือน เพอ่ื ใช้ทำ�ธรุ กจิ ท่ีไม่ใชก่ ารเกษตร 4,196 1,079 4,921 1,216 1,855 เพอ่ื ใชท้ ำ�การเกษตร เพ่อื ใช้ในการศกึ ษา 60,070 36,385 45,630 37,537 39,866 เพอื่ ใช้ซือ้ /เช่าซอ้ื บา้ นและท่ดี นิ อ่ืน ๆ 3,061 366 37 1,111 0 129,737 182,411 123,125 184,067 171,992 44,088 85,253 62,740 87,682 83,662 16,462 11,991 20,619 42,348 8,758 18,226 11,413 18,926 19,345 28,988 6,035 4,438 4,031 5,739 5,268 28,221 65,942 16,685 28,800 45,086 16,705 3,375 125 152 229 97,711 154,871 124,725 131,577 134,002 34,478 86,766 66,534 56,519 47,550 14,563 16,990 15,288 16,586 18,575 17,592 17,528 29,672 33,068 40,676 2,692 5,449 2,512 413 5,514 27,852 28,138 10,719 24,991 21,687 533 0 0 0 0 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพ้นื ท่ีรบั ผดิ ชอบของส�ำ นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 17 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ์, อำ�นาจเจรญิ , อุบลราชธาน)ี

จงั หวดั วัตถปุ ระสงค์ของการกูย้ มื 2552 2554 2556 2558 2560 หนี้สินท้ังส้นิ 159,633 145,074 134,560 173,276 226,033 เพ่อื ใช้จ่ายในครัวเรือน 65,138 78,256 57,590 63,775 89,496 เพอ่ื ใช้ทำ�ธรุ กจิ ที่ไม่ใชก่ ารเกษตร 39,867 21,169 11,896 19,005 24,344 อ�ำ นาจเจริญ เพ่อื ใชท้ �ำ การเกษตร 19,230 15,241 24,054 49,761 57,249 เพอื่ ใช้ในการศกึ ษา 2,989 3,094 3,186 4,496 6,419 เพอื่ ใช้ซือ้ /เชา่ ซ้ือบ้านและท่ดี นิ 32,408 27,147 37,813 36,208 46,790 อื่น ๆ 0 167 21 31 1,736 หน้สี ินท้งั สิ้น 116,045 173,065 166,222 136,208 195,122 เพื่อใชจ้ า่ ยในครัวเรือน 60,319 104,807 111,163 77,425 116,714 เพื่อใชท้ �ำ ธรุ กจิ ที่ไม่ใชก่ ารเกษตร 17,027 12,011 15,600 22,412 8,058 อุบลราชธานี เพื่อใช้ทำ�การเกษตร 21,907 21,474 25,989 16,589 38,157 เพอื่ ใช้ในการศึกษา 645 2,103 828 1,563 2,156 เพอ่ื ใชซ้ ือ้ /เชา่ ซ้อื บา้ นและทีด่ ิน 16,147 31,744 12,642 18,219 30,038 อ่ืน ๆ 0 925.80 0 0 0 ท่มี า : การสำ�รวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรือน สำ�นักงานสถิติแหง่ ชาติ กระทรวงดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม สบื ค้นขอ้ มลู เมื่อวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2563 หมายเหตุ : หนอ้ี นื่ ๆ ไดแ้ ก่ หนี้จากการค�้ำ ประกันบุคคลอ่ืน หนีค้ ่าปรบั หรอื จา่ ยชดเชยคา่ เสียหายเป็นตน้ จากตารางท่ี 10 แสดงหนสี้ นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นรายจงั หวดั จ�ำ แนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื พ.ศ. 2552 - 2560 ของจงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของ สสว.6 พบว่า แนวโนม้ ของหนส้ี นิ มีทิศทางเพิม่ ขน้ึ และเมอ่ื เปรียบเทียบปี 2558 กบั ปี 2560 พบวา่ หนสี้ นิ ทเี่ พม่ิ ขนึ้ มากทส่ี ดุ ไดแ้ กห่ นส้ี นิ เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น รองลงมาไดแ้ กห่ นสี้ นิ เพอื่ ท�ำ การเกษตร และเพอ่ื ใชซ้ อ้ื /เช่าซอ้ื บ้านและที่ดนิ ตามล�ำ ดบั 2.5 ข้อมลู ภาคีเครอื ขา่ ย ตารางที่ 11 แสดงจำ�นวนองค์กรภาคีเครอื ข่ายในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบของ สสว.6 (หน่วย : แห่ง) องคก์ ร องค์กรสวสั ดกิ าร องค์กรสาธารณะ กองทนุ สภาองคก์ ร ศพอส. ศพค. จงั หวัด ชมุ ชน ประโยชน์ สวสั ดกิ ารชมุ ชน ชุมชน 12 45 บึงกาฬ 17 14 33 57 30 101 29 179 นครพนม 61 26 74 105 สกลนคร 63 45 91 60 18 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพืน้ ทีร่ ับผิดชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ์, อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

องค์กร องคก์ รสวัสดิการ องค์กรสาธารณะ กองทนุ สภาองคก์ ร ศพอส. ศพค. จังหวัด ชุมชน ประโยชน์ สวสั ดิการชุมชน ชมุ ชน มุกดาหาร 32 56 47 54 11 53 กาฬสนิ ธุ์ 110 95 128 135 24 150 อำ�นาจเจริญ 54 96 53 63 10 63 อุบลราชธานี 91 115 91 189 2,813 176 รวม 428 447 517 663 2,929 767 ที่มา : สำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัด ขอ้ มูล ณ วันที่ 7 สงิ หาคม 2563 หมายเหตุ : ศพอส. หมายถงึ ศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และสง่ เสรมิ อาชพี ผสู้ งู อายุ /ศพค.หมายถงึ ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั ตารางท่ี 12 แสดงจำ�นวนภาคีเครอื ขา่ ยอาสาสมัครในเขตพืน้ ท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 (หนว่ ย : คน) องคก์ ร สภาเดก็ และเยาวชน อพม. อพมก. คลงั ปญั ญาผสู้ ูงอายุ จังหวดั บงึ กาฬ 68 4,936 - 90 นครพนม 2,461 3,183 19 354 สกลนคร 539 4,616 80 750 มุกดาหาร 1,134 1,250 24 880 กาฬสินธ์ุ 3,150 6,480 200 531 อ�ำ นาจเจริญ 1,176 2,200 11 90 อบุ ลราชธานี 238 13,506 4,998 680 รวม 8,766 36,171 5,332 3,375 ทีม่ า : ส�ำ นกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 20 สิงหาคม 2563 หมายเหตุ : อพม. หมายถงึ อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ อพมก. หมายถึง อาสาสมัครดแู ลผูพ้ ิการ จากตารางท่ี 11 และ 12 แสดงจำ�นวนองคก์ รภาคเี ครือขา่ ยและเครือข่ายอาสาสมคั รของจังหวดั ในเขตพ้นื ท่ี รับผดิ ชอบของ สสว.6 สว่ นใหญเ่ ปน็ องค์กรผูส้ ูงอายุศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวติ และสง่ เสรมิ อาชพี ผสู้ งู อายุ 2,929 แหง่ รองลงมา ศูนย์พัฒนาครอบครัว 767 แห่ง และจำ�นวนเครือข่ายอาสาสมัครในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.6 สว่ นใหญเ่ ป็นอาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (อพม.) จำ�นวน 36,171 คน รองลงมา คือ สภาเด็ก และเยาวชน จำ�นวนคน ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ว่ากลมุ่ จังหวัดในเขตพ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว.6 มคี วามเขม้ แขง็ ดา้ นองค์กร ผ้สู ูงอายุสำ�หรบั การเตรียมความพรอ้ มสสู่ งั คมผสู้ ูงอายุ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพื้นทรี่ ับผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 6 19 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ,์ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธานี)



สวนท่ี 3 สถานการณท างสงั คมกลุม จงั หวัด 3.1 ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั พื้นท่ีความรับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ครอบคลุมจำานวน 7 จังหวัด ได้แก่ จงั หวดั บงึ กาฬ จงั หวัดนครพนม จังหวดั มกุ ดาหาร จงั หวัดสกลนคร จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ จงั หวดั อาำ นาจเจริญ และจังหวดั อุบลราชธานี มีสถานการณ์ทางสังคมของกลุม่ เปา้ หมาย 7 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลมุ่ เดก็ กลุ่มเยาวชน กลมุ่ สตรี กลุ่มครอบครัว กลมุ่ ผสู้ งู อายุ กล่มุ ผู้พิการ และกล่มุ ผู้ด้อยโอกาส ในการจดั ทำารายงานสถานการณ์ ทางสงั คมกลุ่มจังหวดั ประจาำ ปี 2563 ได้ดำาเนินการรวบรวมข้อมูลย้อนหลังเป็นระยะเวลา 10 ปี ในช่วงปี พ.ศ. 2553 - 2562 จากเว็บไซต์ของ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (www.dopa.go.th) และ สาำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม (www.nso.go.th) โดยมีผลจากการวเิ คราะหส์ ถานการณท์ างสงั คมของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย ดังต่อไปนี้ 3.1.1 กลุม่ เด็ก ประชากรเด็ก หรือบุคคลท่ีมีอายุตำ่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสำานักงานส่งเสริม และสนับสนุนวชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มจี าำ นวนรวม 1,247,159 คน และจากข้อมูลประชากรเด็กโดยรวมระหว่าง ปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ วา่ จาำ นวนประชากรเดก็ ลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดงั ตารางที่ 13 และถา้ พจิ ารณา รายจังหวัด พบว่า ประชากรเด็กลดลงในทุก ๆ ปีทง้ั 7 จงั หวดั เชน่ เดยี วกับภาพรวม ดงั ตารางท่ี 13 และแผนภาพท่ี 5 นอกจากนน้ั เมอื่ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บรายจงั หวดั ปี 2562 พบวา่ จงั หวดั สกลนครมปี ระชากรเดก็ ตาำ่ ทสี่ ดุ ในกลมุ่ จงั หวดั จำานวน 75,546 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.06 ของประชากร เดก็ ในกล่มุ จงั หวัด และ จังหวดั อุบลราชธานเี ป็นจงั หวัดท่ีมี ประชากรเดก็ สงู สุดในกลุ่มจังหวัด จาำ นวน 404,322 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.4 ของประชากรเด็กในกลมุ่ จงั หวดั ตารางที่ 13 แสดงจำานวนเดก็ จำาแนกตามจังหวดั รายปี พ.ศ. 2553 - 2562 (หนว่ ย : คน) จงั หวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 บึงกาฬ - 107,727 108,298 107,903 106,482 104,645 102,657 101,005 99,340 97,293 นครพนม 182,553 180,532 178,202 175,710 172,463 168,588 164,877 161,699 157,963 154,759 มกุ ดาหาร 285,635 282,184 279,165 275,272 270,666 265,629 260,864 256,414 251,788 247,470 สกลนคร 85,885 84,685 83,864 82,306 80,713 79,310 77,908 77,104 76,298 75,546 กาฬสนิ ธุ์ 230,704 226,290 222,385 217,612 212,723 207,604 203,224 199,173 195,105 191,580 อาำ นาจเจรญิ 92,007 90,236 88,305 86,457 84,460 82,446 80,476 79,114 77,637 76,189 อุบลราชธานี 474,691 467,936 461,090 453,936 444,898 435,972 427,038 418,781 411,468 404,322 รวมกลมุ่ 1,351,475 1,439,590 1,421,309 1,399,196 1,372,405 1,344,194 1,317,044 1,293,290 1,269,599 1,247,159 จงั หวัด ทม่ี า : กรมการปกครอง ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 หมายเหตุ : เด็ก หมายถึง บุคคลท่มี ีอายุตำา่ กวา่ 18 ปบี รบิ รู ณ์ (ทม่ี า พรบ.ค้มุ ครองเดก็ ปี พ.ศ. 2546) รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพื้นท่รี ับผิดชอบของสำานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 21 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธุ,์ อาำ นาจเจรญิ , อุบลราชธาน)ี

แผนภาพท่ี 5 แสดงแนวโนม้ จำ�นวนเดก็ จำ�แนกตามรายจังหวดั พ.ศ. 2553 - 2562 (หนว่ ย : คน) 3.1.2 กลุ่มเยาวชน ประชากรท่ีเป็นเยาวชน หรือบุคคลท่ีมีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ ของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มจี �ำ นวนรวม 664,612 คน และจากข้อมลู ประชากร เยาวชนโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ วา่ จำ�นวนประชากรเยาวชนลดลงอย่างต่อเน่อื ง ดังตารางท่ี 14 และแผนภาพที่ 6 และเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด ปี 2562 พบว่า จังหวัดอำ�นาจเจริญ มีประชากรเยาวชนตำ่�ท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด จำ�นวน 42,361 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.37 ของประชากรเยาวชน ในกลุ่มจังหวัด และจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่มีประชากรเยาวชนสูงสุดในกลุ่มจังหวัด จำ�นวน 222,111 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.41 ของประชากรเยาวชนในกลุ่มจงั หวดั ตารางท่ี 14 แสดงจ�ำ นวนเยาวชนจำ�แนกตามจงั หวัดรายปี พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คน) จงั หวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 บงึ กาฬ 0 46528 46721 47641 47963 48,652 48,686 48,233 47,387 46,821 นครพนม 82750 82193 82400 82867 83559 85,008 85,434 85,021 84,036 83,126 สกลนคร 135702 134077 133274 134949 136134 137,371 135,933 134,074 132,175 129,735 มุกดาหาร 41043 40248 39777 40088 40488 40,919 41,242 40,780 40,115 39,250 กาฬสนิ ธุ์ 119037 118436 117336 114882 113700 112,637 110,767 108,450 104,967 101,208 อำ�นาจเจริญ 45635 45901 46191 46422 46369 46,370 46,087 45,158 43,816 42,361 อบุ ลราชธานี 228521 228880 229625 232993 234076 235,579 234,677 232,204 227,120 222,111 รวมกลมุ่ 652,688 696,263 695,324 699,842 702,289 706,536 702,826 693,920 679,616 664,612 จงั หวัด ที่มา : กรมการปกครอง ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 หมายเหตุ : เยาวชน หมายถึง บคุ คลทมี่ อี ายุตั้งแต่ 18 ปีบรบิ ูรณ์ ถงึ 25 ปีบรบิ ูรณ์ (ท่ีมา : พ.ร.บ.ส่งเสรมิ การพัฒนา เดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550) 22 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบของสำ�นกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,ุ์ อ�ำ นาจเจริญ, อบุ ลราชธานี)

แผนภาพท่ี 6 แสดงแนวโนม้ จำ�นวนเยาวชน จำ�แนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คน) 3.1.3 กลุ่มสตรี ประชากรท่ีเป็นสตรี (เพศหญิงทุกช่วงวัย) ที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุน วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มีจำ�นวนรวม 2,952,026 คน และจากขอ้ มูลประชากรสตรีโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจำ�นวนประชากรสตรีเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ดังตาราง ที่ 15 และแผนภาพที่ 7 และ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด ปี 2562 พบว่า จังหวัดมุกดาหาร มีประชากรสตรีต่ำ�ท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด จำ�นวน 176,466 คน คิดเป็นร้อยละ 5.97 ของประชากรสตรี ในกลุ่มจังหวัด และจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัด ท่ีมปี ระชากรสตรีสูงสุดในกลมุ่ จังหวดั จำ�นวน 939,092 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.81 ของประชากรสตรีในกลุม่ จงั หวดั ตารางท่ี 15 แสดงจ�ำ นวนสตรจี ำ�แนกตามจงั หวดั รายปี พ.ศ. 2553 - 2562 (หนว่ ย : คน) จังหวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 บงึ กาฬ 0 200514 203187 206406 207545 208,520 209,193 210,226 211,009 211,232 นครพนม 349139 350641 352480 355907 357229 358,390 359,053 359,716 360,201 360,415 สกลนคร 555087 557624 560844 567443 569652 571,900 573,986 576,126 578,205 579,048 มกุ ดาหาร 166707 167686 168850 171554 172563 173,703 174,302 175,133 175,963 176,466 กาฬสนิ ธุ์ 487921 489392 491274 493954 494322 495,156 495,615 496,235 496,570 495,967 อ�ำ นาจเจริญ 183310 184259 184953 187177 187636 188,276 188,747 189,370 189,851 189,806 อบุ ลราชธานี 889361 894833 900205 914898 919193 926,679 929,881 933,581 936,782 939,092 รวมกลมุ่ 2,631,525 2,844,949 2,861,793 2,897,339 2,908,140 2,922,624 2,930,777 2,940,387 2,948,581 2,952,026 จังหวดั ท่ีมา : กรมการปกครอง ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 หมายเหตุ : สตรี หมายถงึ ขอ้ มูลทเี่ ปน็ เพศหญิงทกุ ชว่ งวัย รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบของสำ�นกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 23 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

แผนภาพท่ี 7 แสดงแนวโน้มจ�ำ นวนสตรี จำ�แนกตามรายจังหวัด พ.ศ. 2553 - 2562 (หนว่ ย : คน) 3.1.4 กลมุ่ ครอบครัว สถานการณค์ รอบครวั ทอ่ี ยู่ในพนื้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มกี ารจดทะเบยี นสมรส 22,985 คู่ และจากขอ้ มลู ระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ วา่ มกี ารจดทะเบยี นสมรส ท้ังเพิ่มข้ึนและลดลงในบางปี ดังตารางที่ 16 และแผนภาพที่ 8 และเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด 3 ปี (พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า จงั หวัดมกุ ดาหาร มีการจดทะเบียนสมรสทีล่ ดลงอย่างต่อเนอื่ ง ส�ำ หรับอีก 6 จงั หวัด (บงึ กาฬ นครพนม สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำ�นาจเจรญิ อุบลราชธาน)ี มที ิศทางการจดทะเบียนสมรสเพมิ่ ข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตารางท่ี 16 แสดงจำ�นวนการจดทะเบียนสมรสจ�ำ แนกตามจงั หวัดรายปี พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คู)่ จงั หวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 1,713 1,753 บึงกาฬ 0 1,245 1,878 1,688 1,736 1,825 1,543 1,611 2,568 2,522 4,309 4,643 นครพนม 2,530 2,682 2,695 2,447 2,444 2,519 2,496 2,336 1,337 1,328 3,733 3,861 สกลนคร 4,520 4,530 4,474 4,520 4,496 4,748 4,471 4,025 1,205 1,344 6,974 7,534 มุกดาหาร 1,262 1,393 1,463 1,378 1,327 1,496 1,399 1,355 21,839 22,985 กาฬสนิ ธุ์ 4,072 4,172 4,141 4,249 3,853 3,995 3,972 3,734 อ�ำ นาจเจรญิ 1,570 1,612 1,575 1,440 1,423 1,445 1,128 1,085 อุบลราชธานี 7,941 8,245 7,653 7,268 7,073 7,791 6,830 6,428 รวมกล่มุ 21,895 23,879 23,879 22,990 22,352 22,352 21,839 20,574 จงั หวดั ทีม่ า : กรมการปกครอง ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2562 24 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผดิ ชอบของสำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ,์ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

แผนภาพท่ี 8 แสดงแนวโน้มจำ�นวนการจดทะเบียนสมรส จ�ำ แนกตามรายจงั หวัด พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : ค)ู่ 3.1.5 กลุ่มผสู้ ูงอายุ ประชากรสงู อายุ ทอี่ ยู่ในพนื้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มีจำ�นวนรวม 897,150 คน และจากข้อมูลประชากรผู้สูงอายุโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงให้เห็น แนวโนม้ วา่ จ�ำ นวนประชากรผสู้ งู อายเุ พมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดงั ตารางท่ี 17 และแผนภาพท่ี 9 และเมอื่ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บ รายจงั หวัด ปี 2562 พบว่า จังหวัดอุบลราชธานี มีประชากรสูงอายสุ งู ทีส่ ดุ ในกลุ่มจังหวัด จ�ำ นวน 288,746 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.18 ของประชากรผสู้ งู อายใุ นกลมุ่ จงั หวดั และจงั หวดั มกุ ดาหารเปน็ จงั หวดั ทม่ี ปี ระชากรผสู้ งู อายตุ �่ำ สดุ ในกลมุ่ จังหวัด จ�ำ นวน 52,925 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.89 ของประชากรผสู้ ูงอายใุ นกลุ่มจงั หวัด ตารางที่ 17 แสดงจ�ำ นวนผสู้ ูงอายุจ�ำ แนกตามจังหวัดรายปี พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คน) จงั หวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 54,301 56,738 56,744 บงึ กาฬ 0 40,475 42,337 45,612 47,496 49,571 51,994 99,047 102,935 107,366 153,389 160,508 168,863 นครพนม 72,605 75,843 78,952 84,645 87,804 91,705 95,271 48,498 50,535 52,925 147,902 154,372 160,764 สกลนคร 106,708 112,052 117,372 126,836 132,836 139,194 146,107 56,608 59,043 61,742 265,383 276,516 288,746 มกุ ดาหาร 34,225 35,769 37,358 41,104 42,673 44,578 46,607 825,128 860,647 897,150 กาฬสนิ ธ์ุ 106,628 111,426 116,330 126,284 131,429 136,690 141,963 อำ�นาจเจริญ 40,082 42,064 43,896 48,004 49,900 51,903 54,307 อุบลราชธานี 188,423 196,750 205,581 226,690 235,723 245,327 254,622 รวมกลมุ่ 548,671 614,379 641,826 699,175 727,861 758,968 790,871 จงั หวัด ทม่ี า : กรมการปกครอง ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2562 หมายเหตุ : ผูส้ งู อายุ หมายถึง บคุ คลทมี อี ายุ 60 ปขี ึน้ ไป รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพน้ื ท่รี ับผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 6 25 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธานี)

แผนภาพที่ 9 แสดงแนวโนม้ จ�ำ นวนผู้สงู อายุ จ�ำ แนกตามรายจงั หวัด พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คน) 3.1.6 กลมุ่ ผูพ้ ิการ ประชากรคนพกิ ารทอ่ี ยู่ในพน้ื ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2562 มีจำ�นวนรวม 203,752 คน และจากขอ้ มูลประชากรคนพิการโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ ว่าจำ�นวนประชากรคนพิการเพ่ิมขึ้น ดังตารางที่ 18 และแผนภาพท่ี 10 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด ปี 2562 พบวา่ จังหวดั มกุ ดหาร มีประชากรคนพกิ ารต�่ำ ท่ีสุด ในกลมุ่ จังหวดั จำ�นวน 11,247 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.51 ของประชากรคนพิการในกลุ่มจังหวัด และจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดท่ีมีประชากรคนพิการสูงสุดในกลุ่มจังหวัด จ�ำ นวน 68,116 คน คดิ เป็น ร้อยละ 33.43 ของประชากรคนพกิ ารในกลุม่ จังหวดั ตารางที่ 18 จ�ำ นวนคนพกิ ารทีม่ บี ัตรประจ�ำ ตวั คนพิการจำ�แนกตามจงั หวัด พ.ศ. 2553 - 2562 (หน่วย : คน) จงั หวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 บึงกาฬ - 7,498 8,235 9,467 10,403 11,148 10,735 11,338 11,777 12,137 นครพนม 14,191 16,871 18,214 20,149 21,613 22,602 21,585 22,629 23,024 23,354 สกลนคร 21,898 25,039 27,176 29,984 32,457 34,457 34,060 36,166 37,028 37,967 มุกดาหาร 5,365 6,894 7,979 8,890 9,819 10,630 10,259 10,708 10,955 11,247 กาฬสินธ์ุ 11,486 14,868 18,284 21,670 25,365 27,957 29,603 32,792 34,417 36,086 อำ�นาจเจริญ 5,238 7,301 8,479 9,592 11,304 12,085 12,440 13,533 14,080 14,845 อุบลราชธานี 25,256 29,842 35,658 41,603 47,922 54,830 58,597 64,482 66,524 68,116 รวม 83,434 108,313 124,025 141,355 158,883 173,709 177,279 191,648 197,805 203,752 ทม่ี า : กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 มิถุนายน 2563 หมายเหตุ : คนพกิ าร คอื คนทีจ่ ดทะเบียนเป็นผ้พู ิการหรอื ทพุ พลภาพ ตามความหมายของ พรบ.สง่ เสรมิ และพัฒนา คณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 26 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อ�ำ นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

แผนภาพที่ 10 แสดงแนวโนม้ จ�ำ นวนคนพิการทมี่ ีบัตรประจ�ำ ตวั คนพิการ จำ�แนกตามจงั หวดั (หน่วย : คน) 3.1.7 กลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส จ�ำ นวนคนยากจนทอี่ ยู่ในพน้ื ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 ในปี พ.ศ. 2561 มจี ำ�นวนรวม 746 พนั คน และจากขอ้ มลู จำ�นวนคนยากจนโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโน้ม ว่าจำ�นวนคนยากจนลดลง ดังตารางท่ี 19 และแผนภูมิท่ี 11 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด ปี 2562 พบวา่ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ มจี ำ�นวนคนยากจนสงู ท่สี ดุ ในกลมุ่ จงั หวัด จำ�นวน 251,500 คน และจังหวัดบึงกาฬเปน็ จังหวดั ท่มี จี ำ�นวนคนยากจนต่�ำ ทีส่ ดุ ในกลมุ่ จังหวัด จำ�นวน 41,400 คน ตารางท่ี 19 แสดงจ�ำ นวนคนยากจน จ�ำ แนกตามรายจังหวดั รายปี พ.ศ. 2553 - 2561 (หน่วย : พันคน) จังหวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 19.5 41.4 บึงกาฬ 0 0 13.9 10.7 14.6 8.3 26.6 156.8 98.4 72.7 107.5 นครพนม 270.9 186.5 204 179.2 142.5 94.9 171.5 48.8 40.5 266.2 251.5 สกลนคร 238.3 228.9 320.1 209 218.5 158.6 126.8 39.0 64.8 181.0 141.4 มุกดาหาร 64 35.5 109 103 83.3 44.5 69.8 784 746 กาฬสินธุ์ 486.3 235 326.8 254.1 348.4 144.7 259.3 อ�ำ นาจเจริญ 54.1 41.9 62.4 54.3 49.5 39.8 66.6 อบุ ลราชธานี 375.1 128.6 181.1 419.6 228.7 198.5 234.6 รวม 1,488.7 856 1,217 1,230 1,086 689 955 ท่มี า : ส�ำ นักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นข้อมูล ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2563 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวัดในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 27 (บงึ กาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์ุ, อำ�นาจเจรญิ , อบุ ลราชธานี)

แผนภาพท่ี 11 แสดงแนวโนม้ จำ�นวนคนยากจน จำ�แนกตามจงั หวดั พ.ศ. 2553-2562 (หนว่ ย : คน) 3.2 สถานการณ์ทางสังคมเชงิ ประเด็นความรุนแรงในครอบครวั ❖ สถานการณ์ความรนุ แรงในครอบครัว นยิ ามศัพท์ ตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำ ความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2560 ความรนุ แรงในครอบครัว หมายความว่า การกระท�ำ ใด ๆ โดยม่งุ ประสงค์ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกร่ า่ งกาย จิตใจ หรอื สุขภาพ หรือกระท�ำ โดยเจตนาในลกั ษณะท่ีน่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย จิตใจ หรือสขุ ภาพของบคุ คล ในครอบครัว หรือบังคบั หรอื ใชอ้ �ำ นาจครอบงำ�ผิดคลองธรรมใหบ้ ุคคลในครอบครวั ตอ้ งกระท�ำ การ ไม่กระทำ�การ หรอื ยอมรับการกระทำ�อย่างหนงึ่ อยา่ งใดโดยมิชอบ แต่ไม่รวมถงึ การกระทำ�โดยประมาท การถูกกระทำ�รนุ แรง แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ➢ การกระท�ำ รนุ แรงทางกาย หมายถึง การใชก้ �ำ ลงั และ/หรอื อปุ กรณ์ใด ๆ เป็นอาวธุ ท�ำ รา้ ยร่างกาย เกนิ กวา่ เหตมุ ีผลทำ�ใหร้ า่ งกายได้รับบาดเจ็บ ➢ การกระท�ำ รนุ แรงทางจติ หมายถงึ การกระท�ำ ใด ๆ ทมี่ ผี ลใหผ้ ถู้ กู กระท�ำ ไดร้ บั ความกระทบกระเทอื น ดา้ นจิตใจหรอื เสยี สิทธเิ สรีภาพ ไดแ้ ก่ การทอดทิ้ง การดูถกู เหยียดหยาม หรือดุดา่ การกกั ขงั หน่วงเหน่ยี ว ➢ การกระทำ�รุนแรงทางเพศ หมายถึง การกระท�ำ ทีม่ ีผลใหผ้ ู้ถูกกระท�ำ ไดร้ ับ ความกระทบกระเทือน หรอื เสยี หายเกี่ยวขอ้ งกับเร่อื งเพศ ไดแ้ ก่ การถูกข่มขนื การถูกลวนลาม อนาจาร และการถูกบังคบั คา้ ประเวณี 28 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวดั ในเขตพื้นทรี่ บั ผิดชอบของส�ำ นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธุ,์ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธานี)

ตารางที่ 20 แสดงเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครัว ปี 2563 ของจังหวดั ในเขตพื้นท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.6 จำ�นวนผูก้ ระทำ� จำ�นวนผู้ถกู กระทำ� (ราย) (ราย) จังหวดั รวมเหตุการณ์ ชาย หญงิ ไมร่ ะบุ ชาย หญงิ ไม่ระบุ บึงกาฬ 5 2 3 0 2 3 0 นครพนม 4 40 310 มกุ ดาหาร 11 8 3 0 1 10 0 สกลนคร 13 12 1 0 4 9 0 กาฬสินธุ์ 3 210020 อ�ำ นาจเจริญ 5 500050 อุบลราชธานี 13 12 1 0 2 11 0 รวม 54 45 9 0 12 41 0 ทีม่ า : www.violence.in.th สืบค้นข้อมูล ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2563 แผนภาพที่ 12 แสดงเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงในครอบครวั ปี 2563 รายจังหวดั ในเขตพ้นื ท่รี บั ผิดชอบของ สสว.6 จากตารางที่ 20 และแผนภาพที่ 12 แสดงเหตุการณค์ วามรุนแรงในครอบครวั ปี 2563 ของ จงั หวดั ในเขต พน้ื ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.6 พบว่า ความรนุ แรงในครอบครวั ปี 2563 มจี ำ�นวน 54 เหตกุ ารณ์ ผ้ชู ายเปน็ ผกู้ ระท�ำ มากทีส่ ุด จ�ำ นวน 45 ราย ผหู้ ญิงเป็นผูก้ ระทำ� จ�ำ นวน 9 ราย สำ�หรบั จำ�นวนผู้ถูกกระทำ�มีทง้ั ส้ิน 53 ราย ผู้หญงิ เปน็ ผถู้ กู กระท�ำ มากทสี่ ดุ จ�ำ นวน 41 ราย ผชู้ ายถกู กระท�ำ จ�ำ นวน 12 ราย เมอื่ พจิ ารณารายจงั หวดั พบวา่ จงั หวดั สกลนคร และจังหวดั อบุ ลราชธานี พบเหตุการณค์ วามรุนแรงมากที่สดุ จำ�นวน 13 เหตุการณ์ รองลงมาคอื จังหวดั มุกดาหาร จำ�นวน 11 เหตกุ ารณ์ และจงั หวัดทีพ่ บเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงนอ้ ยทสี่ ดุ คอื จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ จำ�นวน 3 เหตกุ ารณ์ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 29 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธาน)ี

ตารางที่ 21 แสดงจำ�นวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวจำ�แนกตามประเภทเหตุการณ์ความรุนแรงของ จังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.6 ประเภทเหตกุ ารณ์ จ�ำ นวนเหตุการณ์ จงั หวัด ความรนุ แรง 7 จังหวดั บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อ�ำ นาจเจรญิ อุบลราชธานี กักขัง/หน่วงเหนี่ยว 2 00 0 1 1 0 0 การละเลย/ทอดทงิ้ 4 00 3 0 0 1 0 ขม่ ขืน 1 00 0 0 0 0 1 ดุดา่ /ดูถกู 19 0 2 10 3 1 0 3 ทำ�ร้ายร่างกาย 43 5 1 9 9 1 5 13 ลอ่ ลวง 0 00 0 0 0 0 0 หยาบคาย/ตะคอก/ 15 01 6 4 2 0 2 ประจาน/ขู/่ บังคับ อนาจาร 0 00 0 0 0 0 0 ไม่ระบุ 0 00 0 0 0 0 0 ทม่ี า : www.violence.in.th สืบคน้ ขอ้ มลู ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2563 แผนภาพท่ี 13 แสดงจ�ำ นวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงจ�ำ แนกตามประเภทเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงของ 7 จังหวดั ในเขตพ้ืนท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว.6 ท่ีมา : www.violence.in.th ณ สบื คน้ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 7 สิงหาคม 2563 จากตารางท่ี 21 และแผนภาพที่ 13 แสดงจ�ำ นวนเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครัวจำ�แนก ตามประเภท เหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงของจงั หวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.6 ปี 2563 พบวา่ มจี �ำ นวนทง้ั สนิ้ 84 เหตกุ ารณ์ เหตกุ ารณ์ ความรนุ แรงทเ่ี กิดข้ึนมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ การท�ำ รา้ ยรา่ งกาย จำ�นวน 43 เหตุการณ์ รองลงมาคอื ดดุ ่า/ดูถกู จ�ำ นวน 19 เหตุการณ์ และหยาบคาย/ตะคอก/ประจาน/ขู่/บังคบั จ�ำ นวน 15 เหตุการณ์ 30 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

ตารางท่ี 22 แสดงจำ�นวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครัวจำ�แนกตามสาเหตุ/ปัจจัยของจงั หวัดในเขตพนื้ ที่ รับผิดชอบของ สสว.6 (หนว่ ย : ราย) สาเหตุ/ปจั จยั นอกใจ/หึงหวง เมาสุรา/ เศรษฐกิจ/ สาเหตุอน่ื ๆ สือ่ ลามก สุขภาพ ไมร่ ะบุ จังหวัด ยาเสพตดิ ตกงาน กาย/จิต บึงกาฬ 0 2 0 2 0 1 0 นครพนม 0 3 0 0 0 00 มกุ ดาหาร 4 8 7 0 0 11 0 สกลนคร 1 9 4 0 0 00 กาฬสินธุ์ 0 1 0 0 0 00 อำ�นาจเจรญิ 1 41 0 0 00 อบุ ลราชธานี 2 11 0 1 0 10 รวม 8 38 12 3 0 13 0 ที่มา : www.violence.in.th ณ วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2563 แผนภาพท่ี 14 แสดงจ�ำ นวนสาเหต/ุ ปจั จยั ความรุนแรงของ 7 จงั หวดั ในเขตพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบของ สสว.6 ท่ีมา : www.violence.in.th สบื ค้นขอ้ มลู ณ วันท่ี 7 สิงหาคม 2563 จากตารางท่ี 22 และแผนภาพท่ี 14 แสดงสาเหตุ/ปัจจัยการกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว ปี 2563 ของจังหวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผดิ ชอบของสสว.6 พบว่า มสี าเหตุที่ส�ำ คัญอันดบั 1 คอื เมาสุรา/ยาเสพตดิ จำ�นวน 38 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51 รองลงมาคอื สาเหตจุ ากสขุ ภาพกาย/จิต จ�ำ นวน 13 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 18 เศรษฐกจิ /ตกงาน จำ�นวน 12 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 16 นอกใจ/หงึ หวง จำ�นวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 11 และสาเหตุอ่นื ๆ จำ�นวน 3 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 ตามล�ำ ดบั รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ท่รี ับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 31 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อำ�นาจเจริญ, อุบลราชธานี)

3.3 สถานการณท์ างสังคมที่เกิดจากสถาณการณก์ ารแพร่เชือ้ ไวรสั โควดิ -19 3.3.1 ไวรัสโคโรนา หรอื โควดิ -19 คอื อะไร ? ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 เป็นตระกูลของไวรสั ทก่ี ่อใหม้ อี าการปว่ ยตง้ั แต่โรคไขห้ วดั ธรรมดา ไปจนถึง โรคท่ีมีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลันรนุ แรง (SARS-CoV) เปน็ ตน้ ซึง่ เป็นสายพันธุ์ใหมท่ ่ีไมเ่ คยพบมากอ่ นในมนษุ ย์กอ่ ใหเ้ กดิ อาการปว่ ยระบบ ทางเดนิ หายใจในคน และสามารถแพรเ่ ชอื้ จากคนส่คู นได้ โดยเชื้อไวรสั นพ้ี บครง้ั แรกในการระบาดในเมืองอฮู่ น่ั มณฑล หเู ปย่ ์ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ในช่วงปลายปี 2019 3.3.2 อาการของผ้ปู ่วยไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ 2019 อาการทว่ั ไป ไดแ้ ก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ หายใจถี่ หายใจลำ�บาก ในกรณที อ่ี าการรนุ แรงมาก อาจท�ำ ให้เกดิ ภาวะแทรกซ้อน เชน่ ปอดบวม ปอดออกั เสบ ไตวาย หรอื อาจเสียชวี ิต 3.3.3 กลุ่มเสีย่ งตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควดิ -19 • เด็กเลก็ (แต่อาจไม่พบอาการรนุ แรงเทา่ ผสู้ งู อายุ) • ผู้สูงอายุ • คนทมี่ ีโรคประจ�ำ ตวั อย่แู ลว้ เชน่ โรคหัวใจ เบาหวาน โรคปอดเรอื้ รัง • คนทภ่ี มู คิ ุม้ กนั ผิดปกติ หรอื กินยากดภมู ิต้านทานโรคอยู่ • คนที่มนี ้�ำ หนกั เกินมาตรฐานมาก (คนอว้ นมาก) • ผทู้ ี่เดินทางไปในประเทศเสย่ี งตดิ เช้ือ เชน่ จีน เกาหลีใต้ ญ่ีปุน่ ไตห้ วนั ฮอ่ งกง มาเก๊า สิงคโปร์ มาเลเซยี เวยี ดนาม อติ าลี อหิ รา่ น ฯลฯ • ผู้ท่ีต้องทำ�งาน หรือรักษาผู้ป่วย ติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 อย่างใกล้ชิด ผู้ทที่ ำ�อาชีพที่ต้องพบปะชาวต่างชาตจิ �ำ นวนมาก เชน่ คนขับแทก็ ซ่ี เจา้ หน้าที่ในโรงพยาบาล ลูกเรือสายการบนิ ต่าง ๆ เป็นต้น 3.3.4 ความรนุ แรงของการตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ หรือ โควดิ -19 ผทู้ ี่ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ 2019 มีอาการคลา้ ยไข้หวดั อาการทางเดินหายใจ เช่น มีไข้ ไอ มีน�ำ้ มกู ในผู้ป่วยบางรายอาจมอี าการรนุ แรงท�ำ ใหเ้ กิดภาวะแทรกซอ้ น เชน่ ปอดบวม ปอดออักเสบ ไตวาย หรอื อาจเสียชีวิต แมว้ า่ อาการหลายอยา่ งจะคลา้ ยคลงึ แตเ่ นอื่ งจากเกดิ จากเชอ้ื ไวรสั ทแี่ ตกตา่ งกนั จงึ เปน็ เรอ่ื งยากทจี่ ะสามารถระบโุ รค ตามอาการเพยี งอยา่ งเดียว จงึ ต้องอาศัยการทดสอบทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื ยนื ยนั เชอื้ 3.3.5 การแพรก่ ระจายและการระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ หรอื โควดิ -19 ไวรสั ชนดิ นม้ี คี วามเปน็ ไปไดท้ ม่ี สี ตั วเ์ ปน็ แหลง่ รงั โรค สว่ นใหญแ่ พรก่ ระจายผา่ นการสมั ผสั กบั ผตู้ ดิ เชอื้ ผา่ นทาง ละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำ�มกู น้�ำ ลาย ปัจจบุ นั ยังไมม่ หี ลกั ฐานสนบั สนุนการแพร่กระจายเชอื้ ผา่ นทางการพืน้ ผิว สมั ผัสท่ีมีไวรสั แล้วมาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพรเ่ ช้ือผ่านทาง Fexo-oral route ได้ดว้ ย การระบาดคร้ังแรก ท่ตี ลาด South China Seafood เมืองอู่ฮ่ัน มณฑลหูเป่ย ประเทศจนี จากนนั้ แพรร่ ะบาดไปหลาย ๆ พนื้ ท่ีในประเทศจนี และประเทศอ่ืน ๆ และสำ�หรับประเทศไทยพบผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 รายแรกเป็นนักท่องเที่ยวหญิงชาวจีน อายุ 61 ปี และพบผตู้ ดิ เชอื้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจากนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวจนี ทเ่ี ดนิ ทางมาจากเมอื งอฮู่ นั่ และชาวไทยทเ่ี ดนิ ทางกลบั จากประเทศญ่ีป่นุ อิหรา่ น อิตาลีและชาตอิ ื่น ๆ (ทมี่ า : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php) 32 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,์ุ อำ�นาจเจรญิ , อบุ ลราชธานี)

แผนภาพท่ี 15 แสดงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัส โควดิ -19 การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มต้นท่ีประเทศจีน ตั้งแต่วันท่ี 30 ธันวาคม 2562 ต่อมา ได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศท่ัวโลก วันท่ี 11 มีนาคม 2563 องค์การอนามัยโลกประกาศ โรค COVID-19 ระบาดใหญ่ (Pandemic) มีจำ�นวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมาก อย่างรวดเร็ว อัตราการเสียชีวิต จากโรคประมาณร้อยละ 4.6 กลุ่มผปู้ ว่ ยทีม่ ีอาการรุนแรงสว่ นมากเป็นผู้สงู อายุ และผ้ทู ม่ี ีโรคประจำ�ตวั เช่น โรคหวั ใจ โรคเบาหวาน ซึ่งจากรายงานสถานการณ์โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ณ วนั ท่ี 25 สิงหาคม 2563 พบว่า มีผตู้ ิดเช้ือ ท่ัวโลก จำ�นวน 23,801,729คน เสียชีวิต 816,552 คน รักษาหาย 16,349,839 คน และในประเทศไทย พบว่า มีผู้ติดเชื้อจำ�นวน 3,402 คน เสียชีวิต 58 คน รักษาหาย 3,229 คน อายุของผู้ติดเช้ือ อายุน้อยสุด 1 เดือน อายมุ ากสดุ 97 ปี อายุเฉลยี่ 37 ปี และสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของ 7 จังหวัด ในเขตพ้นื ท่ีรบั ผดิ ชอบของส�ำ นักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 6 พบวา่ มีผ้ตู ดิ เชือ้ จ�ำ นวน 27 ราย รักษาหาย 27 ราย ไม่มผี เู้ สียชวี ติ ดงั แผนภาพที่ 15 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวัดในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบของสำ�นักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 33 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์ุ, อ�ำ นาจเจรญิ , อุบลราชธาน)ี

3.3.6 ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จากผลการสำ�รวจคนเมืองในภาวะวิกฤต โควดิ -19 พบว่าสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบ เปน็ วงกว้างในดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม การหยุดงาน ของท้งั ภาคอุตสาหกรรม รวมไปถงึ การขยายตัวของ ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 18.87 นายจ้างใหห้ ยดุ งาน หรือเลิกจ้าง ร้อยละ 18.44 อาชีพอิสระและไม่มี ผู้ว่าจ้าง หรือมีผู้ ใช้บริการลดลง ร้อยละ 18.22 อาชีพคา้ ขาย คา้ ขายได้น้อยลง ร้อยละ 18 นายจ้าง ใหล้ ดเวลาท�ำ งาน และร้อยละ 8.24 ผลกระทบอืน่ ๆ นอกจากส่งผลกระทบต่อการทำ�งานแล้ว ยังส่งผลให้รายได้ของประชาชนลดลงตามไปด้วย ร้อยละ 60.24 รายได้ลดลงเกือบท้ังหมด ร้อยละ 31.21 รายไดล้ ดลงกง่ึ หนงึ่ รอ้ ยละ 8.55 รายไดเ้ ทา่ เดมิ จะเหน็ ไดว้ า่ ประชาชนเกนิ ครงึ่ หนงึ่ มรี ายไดล้ ดลงจาก ผลกระทบของสถานการณ์โควดิ -19 จากการทม่ี รี ายได้ ลดลงส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อนเรื่องการไม่มีเงิน ส่งหน้ีสิน หนี้รถยนต์ หนี้ผ่อนบ้าน ร้อยละ 54.41 ต้องกู้หน้ียืมสิน ร้อยละ 33.82 ต้องนำ�เงินออม ออกมาใช้ รอ้ ยละ 29.83 ไมม่ เี งนิ จา่ ยคา่ เชา่ ทอี่ ยอู่ าศยั ร้อยละ 26.02 ไม่มีเงินสำ�หรับรายจ่ายที่จำ�เป็น ของครัวเรือน เช่น ดูแลผู้ป่วย ผู้สูงอายุ และต้อง เอาขา้ วของไปจ�ำ นำ� รอ้ ยละ 20.80 ท่มี า : http://thestandard.co 34 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จังหวดั ในเขตพ้ืนที่รบั ผิดชอบของสำ�นกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ์,ุ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี

3.3.7 การสำ�รวจข้อมลู ผู้ได้รบั ผลกระทบการแพร่ระบาดในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด จากการสำ�รวจข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดในพื้นที่กลุ่มจังหวัด โดยสำ�นักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ณ วันที่ 30 เมษายน 2563 กลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ของ สสว.6 ที่ได้รบั ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โควิด-19 พบวา่ กลุ่มที่ท�ำ การสำ�รวจ สว่ นใหญ่ ได้รับผลกระทบในส่วนของรายได้ลดลง จ�ำ นวน 17,090 คน รองลงมาคอื ว่างงาน 6,756 ราย ถกู เลกิ จา้ ง 952 ราย และอ่นื ๆ 4,536 ราย ดงั ตารางท่ี 23 ตารางที่ 23 ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด (หน่วย : ราย) ผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 กลุม่ กลมุ่ เสย่ี ง ติดเชื้อ COVID-19 ถูกเลกิ จ้าง วา่ งงาน รายได้ลดลง อน่ื ๆ เด็ก 0 0 21 157 279 147 ผู้สูงอายุ 2 0 58 1301 3646 1036 เยาวชน 0 0 139 307 609 114 สตรี 1 0 483 1915 6753 1275 ผู้พกิ าร 0 0 46 729 1138 633 คนยากจน 1 0 205 2347 4665 1331 รวม 4 0 952 6756 17090 4536 ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด-19 ในกลุ่มจังหวัดท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของ ส�ำ นักงานส่งเสริม และสนบั สนนุ วิชาการ 6 พบว่าสว่ นใหญ่ ไมม่ ีอาชีพ/วา่ งงาน 5,442 ราย คดิ เป็น 32.02% รองลงมา ประกอบอาชีพ รบั จา้ ง 4,331 ราย คดิ เปน็ 25.48% และประกอบอาชพี เกษตรกร (ท�ำ ไร/่ ท�ำ นา/ ท�ำ สวน/เลยี้ งสตั ว/์ ประมง 3,527 ราย คดิ เปน็ 20.75% ดังตารางท่ี 24 ตารางท่ี 24 อาชพี ของผู้ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ โควดิ -19 (หน่วย : ราย) รอ้ ยละ อาชีพของผู้ไดร้ ับผลกระทบ จำ�นวน 32.02 3.36 ไมม่ ีอาชพี /ว่างงาน 5,442 12.05 0.04 นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 571 20.75 25.48 ค้าขาย/ธรุ กจิ สว่ นตัว 2,048 0.25 0.07 ภิกษ/ุ สามเณร/แมช่ ี 7 เกษตรกร (ท�ำ ไร/่ นา/สวน/เลยี้ งสัตว/์ ประมง) 3,527 รบั จ้าง 4,331 ข้าราชการ/พนักงานของรฐั 44 พนักงานรฐั วสิ าหกจิ 12 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบของสำ�นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 35 (บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, สกลนคร, กาฬสินธ,์ุ อ�ำ นาจเจรญิ , อบุ ลราชธานี)

อาชพี ของผู้ได้รบั ผลกระทบ จำ�นวน รอ้ ยละ พนกั งานบรษิ ัท 229 1.34 อื่น ๆ 781 4.59 รวม 16,992 จากผลกระทบของสถานการณ์ โควดิ -19 ในกลมุ่ จงั หวดั รบั ผดิ ชอบของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 6 พบวา่ ผู้ไดร้ บั ผลกระทบมคี วามตอ้ งการชว่ ยเหลอื มากทส่ี ดุ คอื ตอ้ งการเงนิ อดุ หนนุ /เงนิ สงเคราะห์ จ�ำ นวน 26,803 ราย รองลงมา ตอ้ งการเงนิ ซอ่ มแซมบา้ น 6,277 ราย ตอ้ งการการประกอบอาชพี 5,811 ราย ตอ้ งการการจา้ งงาน 5,028 ราย และตอ้ งการการจัดหาทอี่ ยู่อาศัย 937 ราย ดังตารางท่ี 25 ตารางท่ี 25 การต้องการความชว่ ยเหลือ (หน่วย : คน)  จำ�นวนผตู้ ้องการความชว่ ยเหลอื   กลมุ่ เงินอุดหนนุ / การประกอบ การจา้ งงาน เงนิ ทนุ ประกอบ เงนิ ซอ่ มแซม การจดั หา เงินสงเคราะห์ อาชพี อาชีพ ปรบั ปรุง ทีพ่ ักอาศยั ที่อยูอ่ าศัย เด็ก 551 125 88 93 109 19 1,121 1,364 178 ผสู้ ูงอายุ 5,487 1,054 988 144 167 35 1,755 1,874 334 เยาวชน 1,085 280 198 593 758 97 1,459 2,005 274 สตรี 9,427 2,092 1,708 5,165 6,277 937 ผูพ้ กิ าร 2,308 492 497 คนยากจน 7,945 1,768 1,549 รวม 26,803 5811 5,028 3.3.8 กระบวนการท�ำ งานในระดับพน้ื ท่ีในเขตรบั ผิดชอบของสำ�นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6 ในภาวะวิกฤตภิ ายใต้สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ✓ ออกค�ำ สงั่ จงั หวดั ท่สี อดคลอ้ ง กับ พ.ร.ก.ฉกุ เฉนิ /พ.ร.บ.โรคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 ✓ มาตรการควบคุมการด�ำ เนินงานของกจิ การต่าง ๆ - งดจำ�หนา่ ยสรุ า ควบคุมราคาสินคา้ และการกกั ตนุ สนิ คา้ - ปดิ /ลดเวลา การดำ�เนนิ งานของกิจกรรมบางประเภท - ให้งดเวน้ การบริการท่ีมีการรวมตวั กนั ของคนจำ�นวนมาก - ปดิ สถานศกึ ษาทกุ ประเภท สถานพัฒนาเด็กเลก็ และสถานรับเล้ียงเดก็ ✓ มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดในชมุ ชน - มาตรการเดนิ ทางขา้ มจังหวัด/ประเทศ - ขออนญุ าตเดินทางขา้ มจงั หวดั /ประเทศ - เข้ารับการตรวจคดั กรองโรคโดย จนท.ท่ีไดร้ บั มอบหมาย 36 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบของสำ�นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, กาฬสนิ ธ,ุ์ อำ�นาจเจริญ, อบุ ลราชธาน)ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook