Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวม pdf ผส พิการ 2558

รวม pdf ผส พิการ 2558

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-22 01:57:07

Description: รวม pdf ผส พิการ 2558

Search

Read the Text Version

ตารางท่ี 4.30 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดกิ ารสงั คมในดา้ นบรกิ ารทางสังคมท่ัวไป สําหรับผูส้ งู อายุพิการ ความต้องการไดร้ บั การบริการ ระดบั ความต้องการไดร้ บั บริการ ในด้านบริการทางสังคมท่ัวไป นอ้ ย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล ทีส่ ุด กลาง ทส่ี ดุ ผล 1. การไดร้ ับการเชดิ ชยู กย่อง 123 22 67 227 282 3.73 1.44 มาก จากสังคม (17.06) (3.05) (9.29) (31.48) (39.11) 2. การไดร้ บั การลดหย่อน 129 28 70 168 326 3.74 1.50 มาก ทางดา้ นภาษี (17.89) (3.88) (9.71) (23.3) (45.21) 3. การได้สทิ ธิในการกู้ยืมเงินทุน 110 24 64 143 380 3.91 1.46 มาก เพ่ือประกอบอาชพี ทบี่ ้าน (15.26) (3.33) (8.88) (19.83) (52.7) 4. ได้รบั การสนบั สนนุ ขอ้ มูล 83 27 68 161 382 4.02 1.35 มาก ตา่ ง ๆ จากสหวิชาชีพ (11.51) (3.74) (9.43) (22.33) (52.98) 5. มชี มรมในการแลกเปล่ยี น 77 27 44 185 388 4.08 1.31 มาก เรียนรรู้ ่วมกันในกลุ่มผู้ดแู ล (10.68) (3.74) (6.1) (25.66) (53.81) ผสู้ ูงอายุ 6. สมาชิกในครอบครวั จะช่วย 56 20 42 146 457 4.29 1.19 มาก หาแนวทางในการแก้ไขปญั หาที่ (7.77) (2.77) (5.83) (20.25) (63.38) ท่สี ุด เกดิ ข้นึ ร่วมกนั 7. สมาชกิ ในครอบครัว 61 13 27 129 491 4.35 1.20 มาก ชว่ ยเหลอื ดแู ลสนับสนนุ ดา้ น (8.46) (1.8) (3.74) (17.89) (68.1) ท่สี ุด อนื่ ๆ แกผ่ ู้ดูแลผูส้ ูงอายุพกิ าร รวม 4.02 1.12 มาก จากตารางที่ 4.30 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน บรกิ ารทางสังคมท่วั ไปสําหรับผู้สูงอายุพิการจากทัศนะของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความ ต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =4.02) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า มีความต้องการให้ สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือดูแลสนับสนุนด้านอ่ืน ๆ แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการผู้สูงอายุพิการมีค่าเฉลี่ยมาก ทสี่ ุด (  = 4.35) รองลงมามีความตอ้ งการให้สมาชิกในครอบครัวจะช่วยหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน รว่ มกัน (  = 4.29) และมีความตอ้ งการให้มชี มรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ (  = 4.08) ตามลําดับ ส่วนข้อมีความต้องการให้ได้รับการเชิดชูยกย่องจากสังคมมีความต้องการเฉล่ียน้อยท่ีสุด (  =3.73) โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ ิการ 86

ตารางที่ 4.31 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดกิ ารสงั คมในด้านสขุ ภาพอนามัย สาํ หรับผูส้ ูงอายุพิการ ความต้องการได้รบั การบรกิ าร ระดับความต้องการได้รับบริการ ในด้านสขุ ภาพอนามัย น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล 1. การมีเวลาในการออกกําลัง- ทสี่ ุด กลาง ทีส่ ุด ผล กาย 68 52 84 261 256 3.81 1.26 มาก 2. การมเี วลาในการพักผอ่ นที่ เพยี งพอ (9.43) (7.21) (11.65) (36.2) (35.51) 3. การได้ความรักและความ 62 22 50 229 358 4.11 1.21 มาก ห่วงใยและการใหก้ ําลงั ใจจาก ครอบครัว (8.60) (3.05) (6.93) (31.76) (49.65) 4. มอี าสาสมคั รมาพบปะ พดู คุยเพือ่ ให้กาํ ลงั ใจ 62 13 25 146 475 4.33 1.20 มาก 5. การไดร้ บั คําแนะนาํ ด้าน สขุ ภาพจติ และการจดั การ (8.60) (1.8) (3.47) (20.25) (65.88) ทส่ี ุด ความเครียด 60 18 40 179 424 4.23 1.20 มาก (8.32) (2.50) (5.55) (24.83) (8.32) ท่สี ุด 63 24 48 188 398 4.16 1.23 มาก (8.74) (3.33) (6.66) (26.07) (55.2) รวม 4.13 1.10 มาก จากตารางที่ 4.31 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการในด้านสุขภาพอนามัยจากการจัด สวัสดิการสังคมและการจัดบริการด้านสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุพิการจากทัศนะของ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผสู้ ูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =4.13) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็น พบว่า มีความต้องการการได้ความรักและความห่วงใยและการให้กําลังใจจากครอบครัวผู้สูงอายุพิการมีค่าเฉล่ีย มากทสี่ ดุ (  = 4.33) รองลงมามีความต้องการมีอาสาสมัครมาพบปะพูดคุยเพื่อให้กําลังใจ (  = 4.23) และ มีความต้องการการได้รับคําแนะนําด้านสุขภาพจิตและการจัดการความเครียด (  = 4.16) ตามลําดับ ส่วนมี ความตอ้ งการการมเี วลาในการออกกําลงั กายมีความตอ้ งการเฉล่ียน้อยทส่ี ุด (  = 3.81) โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ กิ าร 87

ตอนท่ี 3 นาเสนอรปู แบบการจดั บริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ ิการ จากข้อมูลการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อกําหนดรูปแบบการจัดบริการด้านสุขภาพท่ี สอดคลอ้ งกับผู้สูงอายุพิการ โดยผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานด้านสวัสดิการสังคม สําหรับผู้สูงอายุจากส่วนราชการ เช่น สถานสงเคราะห์คนชรา สถานสงเคราะห์คนพิการ สถานสงเคราะห์ คนไรท้ ีพ่ ึ่ง ศนู ยบ์ ริการสวสั ดกิ ารสงั คมผูส้ งู อายุ เจ้าหน้าทโ่ี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจําตําบล เจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ อาํ เภอ เปน็ ต้น ผลการศกึ ษาพบวา่ ตารางท่ี 4.32 แสดงประเด็นขอ้ ค้นพบจากการสนทนากลมุ่ ประเดน็ ศึกษา ข้อค้นพบ 1. ปญั หาของผสู้ ูงอายุพิการ 1. ปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย ผู้สูงอายุพิการมีสุขภาพร่างกายไม่ แข็งแรง มีโรคประจําตัว โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคอัลไซเมอร์ การได้ยนิ และปญั หาดา้ นโรคกระดกู 2. ปัญหาด้านสุขภาพจิต ผสู้ ูงอายพุ กิ ารมีสุขภาพจิตที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่ ดูแลจากครอบครัวส่งผลทําให้เป็นโรคซึมเศร้า การเอาแต่ใจตัวเอง และน้อยใจ 3. ด้านการทํางานและการมรี ายได้ เน่ืองจากไม่สามารถประกอบอาชีพ ได้ ทําให้รายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่ายในชีวิตประจําวัน ผู้สูงอายุ พิการบางรายที่มีศักยภาพต้องการประกอบอาชีพตามความ เหมาะสมจะได้หารายได้มาชว่ ยแบ่งเบาภาระให้แกค่ รอบครวั 4. ปัญหาด้านสิ่งอํานวยความสะดวกและกายอุปกรณ์ท่ีมีความจําเป็นใน การดําเนินชีวิตประจําวันของผู้สูงอายุพิการ เช่น รถเข็น กระโถน ผา้ ออ้ มสาํ หรบั ผใู้ หญ่ เปน็ ตน้ 5. ปัญหาการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุ หรือ ผู้พิการ 6. ปัญหาจากการดูแล ผู้ดแู ลไมม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจในการดูแลผู้สูงอายุ พิการท่ถี กู ต้องและไม่ไดร้ ับการเอาใจใสจ่ ากครอบครวั 7. ปญั หาด้านท่อี ยอู่ าศัย บ้านของผู้สูงอายุพิการบางรายจะมีลักษณะท่ี ไมถ่ ูกสขุ ลกั ษณะและเหมาะสมสําหรับผู้สงู อายุพิการ 8. ปัญหาการให้บริการต่าง ๆ ช่องทางพิเศษในการบริการทางด่วน สิ่งอํานวยความสะดวกในสถานท่ีต่าง ๆ โครงการศึกษาวิจัยรปู แบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ ิการ 88

ตารางท่ี 4.32 แสดงประเดน็ ข้อคน้ พบจากการสนทนากลมุ่ (ต่อ) ประเดน็ ศึกษา ข้อค้นพบ 2. การได้รับบรกิ ารจาก 1. สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดให้บริการ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ กองทุนสําหรับผู้พิการ การข้ึนทะเบียนผู้พิการ มีล่ามภาษามือ ผู้ช่วยคนพิการ กายอุปกรณ์ การปรับปรุงสภาพท่ีอยู่อาศัย จัด ฝึกอบรมผู้ช่วยคนพิการ ส่งเสริมการจัดต้ังศูนย์บริการผู้พิการ สนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคล่ือนไหวต่าง ๆ สําหรับผู้พิการ จัดอบรมอาสาสมัครดแู ลผสู้ ูงอายุและผพู้ ิการ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้บริการการฝึกอาชีพ เบี้ยยังชีพ การ จัดสิ่งอํานวยความสะดวก เช่น การจดทะเบียนผู้พิการ ต่อบัตร ประจําตัวผู้พิการ จัดทําทางลาด แจกถุงยังชีพ การเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุพิการ จัดตั้งศูนย์บริการผู้พิการ จัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล ของผู้พิการในตําบล โครงการผู้สูงอายุสัญจรเสริมสร้างภูมิปัญญา จัดกจิ กรรมต่าง ๆ ทส่ี ่งเสริมใหผ้ สู้ งู อายุพกิ ารไดม้ สี ว่ นร่วมในชมุ ชน 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ให้บริการการเตรียม ความพร้อมเมื่อเข้าสู่วัยทอง การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย และโรค ศูนย์ให้ความรู้และคําแนะนําเร่ืองสวัสดิการ การดูแล สขุ ภาพและการฟ้ืนฟูสมรรถภาพของผู้พิการ ชุดสิทธิประโยชน์ของ ผู้สูงอายุถ้ามีความเสี่ยง แนะนําการปฏิบัติตัว การบริการเชิงรุก การตรวจเยย่ี มโดยทมี สหวชิ าชพี 4. อาสาสมัคร (อผส. อสม. อพมก.) ให้บริการการเยี่ยมบ้านให้ กําลังใจ ตรวจวัดความดัน ลงตรวจเยี่ยมและร่วมกิจกรรมกับ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล 5. ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมคนพิการให้บริการในการประสานความ ช่วยเหลือและจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ 6. กลมุ่ ต่าง ๆ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน กลุ่มออมทรัพย์ กาชาด กองทุนบทบาทสตรี มีการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกตามระเบียบ ของแตล่ ะแหง่ โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ ิการ 89

ตารางท่ี 4.32 แสดงประเดน็ ข้อคน้ พบจากการสนทนากลุ่ม (ตอ่ ) ประเดน็ ศึกษา ขอ้ คน้ พบ 3. ปัญหาจากการรับบริการจาก หนว่ ยงานตา่ ง ๆ 1. ไม่สามารถให้บริการผู้สูงอายุพิการในชุมชนได้อย่างทั่วถึง เนื่องจาก หน่วยงานต่าง ๆ มีข้อจํากัดในเรื่องของบุคลากรท่ีไม่เพียงพอในการ 4. รปู แบบการจัดบริการท่ี ดําเนินงาน เหมาะสมสําหรบั ผูส้ งู อายพุ ิการ 2. ไม่มีทีมสหวิชาชีพท่ีให้บริการแก่ผู้สูงอายุพิการได้อย่างท่ัวถึงและ ครอบคลุมทุกกิจกรรม เช่น ไม่มีนักกายภาพบําบัด ไม่มีนัก กจิ กรรมบําบัด เปน็ ต้น 3. ไม่มีสถานให้บริการท่ีเป็นการเฉพาะ หรือห้องบริการพิเศษท่ีให้บริการ แก่ผ้สู ูงอายุพิการ 4. ปัญหาจากการจัดหารถเข็นสําหรับผู้สูงอายุพิการที่มีความซ้ําซ้อนของ การให้บรกิ ารจากหน่วยงานตา่ ง ๆ 5. ไม่มีสถานที่ หรอื เวทจี ดั กิจกรรมของผู้สงู อายพุ กิ าร 6. อาสาสมัครที่ดูแลไม่สามารถทํางานได้เต็มท่ี เพราะขาดงบประมาณ หรือคา่ ตอบแทนและมีภาระต้องดแู ลครอบครัว 1. รูปแบบการบรกิ ารที่จัดโดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน - องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ มคี วามใกล้ชิดประชาชนทําให้เข้าใจและ เข้าถึงปัญหาของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว แต่จะต้องขยายบทบาท ของหน่วยงานให้มากข้ึนตามโครงสร้างการกระจายอํานาจใหม่และ การจัดสรรทรัพยากรใหม่ สุดท้ายภาคประชาชนจะเป็นผู้ท่ีต้องดูแล สวัสดิการพื้นฐานของตนเอง คุ้มครองรักษาประโยชน์ของตนและทํา หน้าท่ีตรวจสอบการจัดบริการและจัดสรรทรัพยากรขององค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ไปพรอ้ มกัน - การดูแลผู้สูงอายุพิการนั้นมีองค์ประกอบจํานวนมากและหลาย อย่าง เปน็ ส่งิ ท่ีมีอยู่ในชุมชน ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือ เป็นแหล่งทุนท่ีสําคัญรวมทั้งทรัพยากรต่าง ๆ ในพ้ืนที่ เช่น โรงพยาบาลชุมชน บุคลากร ซึ่งการท่ีจะพัฒนารูปแบบการ จัดบริการท่ีเหมาะสมจะต้องมีเครื่องมือที่สําคัญ คือ เครื่องมือเชิง สถาบนั โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในระดับองค์การบริหารส่วน ตาํ บล หรือเทศบาลเปน็ เคร่ืองมือที่ทรงพลงั ในการประสานทรัพยากร ที่มีอยู่ในท้องถิ่น การดําเนินการต้องอยู่ในรูปของการรวมกลุ่ม โดย อาศัยฐานเงินและฐานอํานาจ คอื องค์การบริหารส่วนตาํ บล หรอื โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ ิการ 90

ตารางที่ 4.32 แสดงประเด็นข้อคน้ พบจากการสนทนากลุ่ม (ต่อ) ประเดน็ ศึกษา ขอ้ คน้ พบ 4. รปู แบบการจัดบรกิ ารที่ เทศบาลเป็นหน่วยงานสนับสนุน เพ่ือขับเคล่ือนให้ชุมชนเกิดเข้มแข็ง เหมาะสมสาํ หรับผสู้ งู อายุพิการ และสามารถดําเนินงานไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน (ตอ่ ) - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องเป็นเจ้าภาพหลักในการดึงทุกภาค สว่ น เช่น วัด โรงเรียน หน่วยงานสาธารณสุขเข้าร่วมจัดเวทีเป็นเวที นโยบาย เร่ิมตั้งแต่การสํารวจชุมชน การสร้างความตระหนักร่วม การจดั ทาํ ขอ้ บญั ญตั ิขององคก์ ารบริหารสว่ นตําบล หรือเทศบาลในการ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุพิการ การจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟู สมรรถภาพผสู้ ูงอายพุ ิการและการใหก้ ารสนบั สนุนด้านตา่ ง ๆ - การดูแลสุขภาพคนพิการในเชิงระบบ ต้องทํางานลงไปให้ถึงชุมชน ท้องถิ่น คําว่า “ชุมชนท้องถ่ิน” ไม่ได้หมายถึง องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ชาวบ้าน หรือจิตอาสา แต่หมายถึงกระบวนการเพื่อนช่วย เพื่อน ฉะนั้น จึงต้องมีการส่งเสริมองค์กรคนพิการในระดับต่าง ๆ โดยเปูาหมายต้องการจะให้มีองค์กรคนพิการประจําตําบล เพ่ือ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ส่วนบทบาทของเจ้าหน้าที่ภาครัฐเป็นพ่ีเลี้ยง เพ่ือให้คาํ ปรกึ ษา แนะนาํ ในเชิงวิชาการเทา่ นนั้ - ข้อจํากัดในการให้บริการ คือ การขาดความรู้ ความเข้าใจต่องาน สวัสดิการสังคม ส่วนใหญ่ใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติของกรมพัฒนา สังคมและสวสั ดกิ ารเป็นหลกั ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพความจริง แต่มี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งสามารถจัดสวัสดิการได้ตาม แนวทางของชุมชนตนเอง ซึ่งขึ้นกับวิสัยทัศน์ของผู้นําและ คณะกรรมการขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ เป็นหลกั - การทาํ งานขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ได้แก่ 1) สาํ รวจชุมชน คดั กรองกล่มุ ผูส้ งู อายุพิการ 2) จดั ทําข้อบญั ญตั ิขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บล หรือเทศบาล 3) จัดทําแผนตาํ บล 4) จัดสวสั ดกิ ารสนับสนุนงบประมาณ 5) จัดหาอปุ กรณ์ 6) จัดหา หรอื สรา้ ง หรือปรับปรุงสถานที่ 7) สร้างภาคเี ครอื ขา่ ยและอาสาสมัคร 8) สร้างอาชีพและจัดหาตลาด โครงการศึกษาวิจยั รปู แบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรบั ผูส้ งู อายพุ ิการ 91

ตารางท่ี 4.32 แสดงประเดน็ ข้อคน้ พบจากการสนทนากลุ่ม (ตอ่ ) ประเด็นศึกษา ข้อค้นพบ 4. รูปแบบการจัดบรกิ ารท่ี 9) ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาและวิถีชุมชนในการดูแล เหมาะสมสาํ หรบั ผู้สงู อายพุ ิการ ผู้สูงอายพุ กิ าร (ตอ่ ) 10) เกือ้ หนุนให้เกิดสงั คมเอ้ืออาทร 2. รูปแบบการบริการโดยชุมชนแบบพหภุ าคี หรือพหุลกั ษณ์ - การจัดการใช้หลักการมีส่วนร่วมเป็นหลักการพ้ืนฐานท่ีสําคัญของ การให้บริการแบบพหุภาคี หรือพหุลักษณ์ ท่ีมีการเกิดขึ้นแบบค่อย เป็นค่อยไป ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ปัญหา เพื่อวิเคราะห์หา รูปแบบทางเลือกใหม่ ๆ ที่จะทําให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน การจัดทํา สวัสดิการรูปแบบใหม่ ๆ โดยการทดลองและมีการปรับปรุงแก้ไข รู ป แ บ บ ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง กลุ่มเปูาหมายให้มากที่สุด มิติการทํางานจึงเป็นแนวราบมากกว่า แนวด่ิง การเปิดโอกาสให้ทุกคนท่ีเกี่ยวข้องกับสวัสดิการเข้าร่วมแสดง ความคิดเห็น ร่วมโต้แย้ง ร่วมรับรู้และร่วมวิพากษ์วิจารณ์ มีการหา ประชามติร่วมกันจากทุกภาคส่วนในการใหบ้ รกิ าร หากการให้บริการท่ี จดั ไม่เหมาะสมก็จะใชป้ ระชามติร่วมกนั ปรับปรุง แก้ไขกฎและระเบียบ เพ่ือให้เกิดสิทธิประโยชน์ร่วมกัน และมีการพัฒนาการให้บริการไปสู่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของกลุ่มเปาู หมายมากข้นึ - รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุพิการมีหน่วยงาน หรือศูนย์บริการหลัก ภายในชุมชน โดยรัฐเข้ามาหนุนเสริมเพื่อความยั่งยืน เป็นระบบ พหุภาคีที่มีการร่วมดําเนินการทุกภาคส่วน หน่วยงานรัฐ ท้องถิ่น กลมุ่ หรือองคก์ รชุมชน อาสาสมัครต่าง ๆ ผ่านการจัดต้ังเป็นกองทุน การส่งเสริมและดแู ลทางด้านสขุ ภาพจติ สําหรับผสู้ งู อายุพกิ ารและผู้ดูแล ผู้สูงอายพุ กิ าร หรือการบูรณาการศูนยบ์ ริการผู้พิการในชุมชนและศูนย์ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสง่ เสริมอาชพี - ข้อจํากัดในการให้บริการ คือ การขาดความรู้ ความเข้าใจต่องาน สวัสดิการสังคม ส่วนใหญ่ใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติของกรมพัฒนา สังคมและสวสั ดกิ ารเปน็ หลกั ซง่ึ ไม่สอดคล้องกับสภาพความจริง แต่มี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินบางแห่งสามารถจัดสวัสดิการได้ตาม แนวทางของชมุ ชนตนเอง ซึง่ ขนึ้ กับวิสัยทัศน์ของผู้นําและคณะกรรมการ โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายพุ ิการ 92

ตารางท่ี 4.32 แสดงประเด็นขอ้ คน้ พบจากการสนทนากลมุ่ (ตอ่ ) ประเดน็ ศึกษา ขอ้ คน้ พบ 4. รูปแบบการจัดบรกิ ารท่ี เหมาะสมสาํ หรับผู้สูงอายพุ ิการ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เป็นหลัก (ตอ่ ) - การทํางานของชมุ ชนแบบพหุภาคี ไดแ้ ก่ 5. กลไกนโยบาย กลไกการ 1) มีเปาู หมายร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุพิการ บริหารจัดการและกลไกการ 2) การเปดิ โอกาสใหค้ นทุกคนทเี่ ก่ยี วขอ้ งเข้ามาร่วม ดําเนนิ การ 3) มีมตริ ่วมกันจากทุกภาคสว่ นในการดําเนนิ การ 4) เปน็ ระบบพหุภาคีท่ีมีการร่วมดําเนินการทุกภาคส่วน หน่วยงาน รัฐ ท้องถิ่น กลุ่ม หรือองค์กรชุมชน อาสาสมัครต่าง ๆ โดย ผา่ นการจดั ต้งั เปน็ กองทุนชุมชน 5) มีหนว่ ยงาน หรอื ศูนยบ์ รกิ ารหลกั ภายในชุมชน 6) มีการรว่ มกลุ่มเพ่อื สรา้ งอาชีพและรายได้ 7) รัฐบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เข้ามาหนุนเสริมเพื่อความ ยง่ั ยืน 8) หน่วยงานเอกชนเขา้ มารว่ มสนับสนนุ งบประมาณ 9) มกี ารขับเคลือ่ นกิจกรรมโดยภาคเี ครือขา่ ยในชุมชน 10) พหุภาคีดําเนินงานแบบสังคมเอ้อื อาทร 1. กลไกนโยบาย - หนว่ ยงานของรัฐทที่ าํ หน้าทีใ่ นการกําหนดนโยบาย วางแผน กํากับ ติดตามและตรวจสอบการดําเนินงานด้านการให้บริการผู้สูงอายุ พกิ าร - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทําหน้าท่ีในการ ขับเคล่ือนกลไกนโยบาย กลไกการบริหารจัดการและกลไกการ ดําเนนิ งาน 2. กลไกการบรหิ ารจัดการและกลไกการดาํ เนนิ งาน - กลไกการบริหารจัดการและกลไกการดําเนินงานในระบบพหุภาคี หรือพหุลักษณ์ ประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ภาคทอ้ งถ่ินและภาคประชาชน 1) กลไกภาครัฐส่วนกลางมีงบประมาณ มีบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ แต่มีข้อจํากัดเก่ียวกับกฎระเบียบอันเคร่งครัด และข้ันตอนอนั ย่งุ ยาก ส่งผลใหก้ ารดําเนินงานลา่ ช้า โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรบั ผู้สงู อายพุ ิการ 93

ตารางท่ี 4.32 แสดงประเด็นขอ้ คน้ พบจากการสนทนากล่มุ (ตอ่ ) ประเดน็ ศึกษา ข้อค้นพบ 5. กลไกนโยบาย กลไกการ 2) กลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถเข้าถึงประชาชนได้ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร ง่าย มีงบประมาณของรัฐสนับสนุนการให้บริการ แต่มีข้อจํากัด ดาํ เนินการ (ตอ่ ) ดา้ นบุคลากรท่ีมีความรคู้ วามสามารถ 3) กลไกภาคเอกชน ส่วนใหญ่มีข้อจํากัดด้านบุคลากรและ งบประมาณมีน้อย แต่มีศักยภาพในการทํางานเชิงลึก สามารถ สรา้ งกระบวนการเรียนรแู้ ละเขา้ ถงึ ประชาชนได้รวดเรว็ 4) กลไกภาคประชาชนมีทุนทางสังคม ศาสนา วัฒนธรรมชุมชนท่ี เอื้อต่อการให้บริการ แต่สามารถจัดบริการสวัสดิการสังคมได้ใน ขอบเขตจาํ กดั เฉพาะกลมุ่ เปูาหมายและเฉพาะพน้ื ที่ - เอกภาพของหน่วยงานที่ทําหน้าที่การจัดบริการสวัสดิการสังคมไม่ เพยี งพอ - ความคลุมเครือของอํานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มี ผลต่อการตดั สินใจในการดาํ เนินงาน - กฎระเบียบไม่เอ้ือต่อการดาํ เนินงาน - ขัน้ ตอนการดําเนินงานมากเกินไป ยุ่งยากซับซ้อน - งบประมาณไม่เพียงพอต่อการให้บริการผู้สูงอายุพิการเพื่อให้ ครอบคลุมกลุ่มเปูาหมายท่ีเดอื ดรอ้ น - บุคลากรไม่เพียงพอและบุคลากรขาดการพัฒนาความรู้ ทักษะการ ให้บรกิ ารผู้สงู อายพุ ิการให้มีคุณภาพ - ขาดการตดิ ตามและตรวจสอบการให้บริการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ - ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดบรกิ ารในรูปแบบของจิตอาสา 6. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน 1. จดุ แขง็ ปัญหาอุปสรรคและทางเลือกของ - สังคมไทยเป็นสังคมพุทธศาสนา ทําให้มีความเอ้ืออาทร จิต รูปแบบการให้บริการผู้สูงอายุ สาธารณะ จิตบริการ พุทธศาสนาเป็นรากฐานการให้บริการผู้สูงอายุ พกิ ารที่เหมาะสม พกิ าร - มีผู้นําองค์กรและชุมชนต้นแบบในการให้บริการผู้สูงอายุพิการ ซึ่ง เป็นแหล่งเรียนรู้และผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการให้บริการผู้สูงอายุ พิการใหแ้ กผ่ อู้ น่ื ไดน้ ําไปทดลองและขยายผลตอ่ ไป - วัฒนธรรมชุมชนและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินมีส่วนส่งเสริมและสร้างความ เขม้ แข็งในการใหบ้ รกิ ารผสู้ ูงอายพุ กิ าร โครงการศึกษาวิจยั รูปแบบการบริการทเี่ หมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ ิการ 94

ตารางที่ 4.32 แสดงประเด็นข้อคน้ พบจากการสนทนากลุม่ (ตอ่ ) ประเดน็ ศกึ ษา ข้อค้นพบ 6. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน - มกี ฎหมายและแผนแมบ่ ทที่ชนี้ าํ การจดั สวัสดิการสําหรับประชาชน ปัญหาอุปสรรคและทางเลือกของ โดยเฉพาะผดู้ อ้ ยโอกาส รูปแบบการให้บริการผู้สูงอายุ - มีชมรมผู้สงู อายุและชมรมผพู้ กิ ารท่มี ีความเข้มแขง็ พิการท่เี หมาะสม - มอี าสาสมัครทุกหมู่บา้ นครอบคลมุ ทุกตําบล - มีกลุ่มชมรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นภาคประชาชน เช่น จิตอาสา อสม. อผส. ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมผู้พิการ กองทุนสวัสดิการชุมชนและ กลุ่มออมทรัพย์ เป็นตน้ ทม่ี ีความเข้มแขง็ 2. จุดออ่ น - ขาดกลไกหลักที่ประสานเช่ือมโยงงานการให้บริการผู้สูงอายุพิการ อย่างมีประสิทธิภาพ - กลไกการบริหารและกลไกการดําเนินงานขาดประสิทธิภาพทุก ระดบั - ความไม่ตอ่ เนอื่ งของนโยบายภาครัฐ - กฎระเบียบขาดความยดื หย่นุ และเปน็ อุปสรรคในการดาํ เนนิ งาน - บุคลากรมีไม่เพียงพอและบุคลากรท่ีมีอยู่จําเป็นต้องได้รับการ พฒั นาคณุ ภาพ - ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในสิทธิ หน้าท่ีและการเข้าถึง สทิ ธขิ องตน - งบประมาณมีจํากัดและการบริหารงบป ระมาณยังไม่มี ประสิทธภิ าพ - ขาดระบบข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพอันจะเป็นประโยชน์ต่อการ กาํ หนดนโยบาย วางแผนและดาํ เนนิ งาน - การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด สวสั ดกิ ารสงั คมมีไมเ่ พียงพอ 3. ปัญหาอปุ สรรค - ผู้สูงอายุพิการไม่ได้รับรู้เร่ืองสิทธิและทําให้ไม่เข้าถึงการให้บริการ ตา่ ง ๆ - ผสู้ ูงอายพุ กิ ารไมไ่ ดร้ ับความเปน็ ธรรมในการรับบรกิ าร - บริการในปัจจุบันไม่เพียงพอและไม่ครอบคลุมความต้องการของ ผู้สงู อายุพิการ โครงการศึกษาวิจยั รูปแบบการบริการทีเ่ หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ ิการ 95

สรปุ รปู แบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ รูปแบบการบริการผู้สูงอายุพิการท่ีเหมาะสมจากผลการศึกษาประกอบด้วย 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการบริการที่จัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบการบริการโดยชุมชนแบบพหุภาคี หรือ พหุลักษณ์และรูปแบบการบริการทางเลือก ได้แก่ รูปแบบการบริการโดยภาคธุรกิจ เอกชน รูปแบบการ บริการโดยองคก์ รสาธารณกุศลและรูปแบบการบริการโดยครอบครัว 1. รูปแบบการบริการท่ีจดั โดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ ศนู ย์ ผสู้ งู อายพุ ิการ เอกชน รฐั บาล สาธารณกุศล ภาคีเครือขา่ ย ผู้สงู อายพุ กิ าร ผู้ดูแลผู้สูงอายุพกิ าร องค์กรชมุ ชน อพม. อสม. อผส.รพสต. ชมรมผู้สงู อายุ ชมรมผู้พกิ าร แผนภาพท่ี 4.1 รปู แบบการบรหิ ารท่ีจัดโดยองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ การทํางานในรูปแบบการบริการที่จัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนตําบล หรือเทศบาลเป็นเจ้าภาพหลักในการดําเนินงาน เพ่ือเป็นการยกระดับและพัฒนา รูปแบบการจัดบริการและสวัสดิการสังคมเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุส่งเสริมให้เกิดการระดม ทรัพยากรและความร่วมมือจากหน่วยงานท้ังภายในและภายนอกให้มีส่วนร่วมในก ารจัดกิจกรรมและบริการ สําหรับผสู้ ูงอายุ มกี ารเชอ่ื มโยงคนทุกวัยให้ได้รับประโยชน์จากการดาํ เนินงานศูนย์ผู้สูงอายุพิการ เป็นรูปแบบ การให้บริการท่ีมีข้อกําหนดรูปแบบที่เป็นทางการ ชัดเจนตามกฎหมายและมีแผนพัฒนาตามนโยบายของ รฐั บาล มกี ารปฏบิ ัตติ ามกฎหมายที่เกยี่ วข้องโดยมีเจ้าหน้าท่ีในการปฏิบัติงานเป็นหลัก มีหน่วยงานสํานักงาน ท่ชี ดั เจน ซง่ึ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ มีการดาํ เนนิ งาน ดงั น้ี 1) สาํ รวจชุมชน คัดกรอง คน้ หากล่มุ เสยี่ งและกลมุ่ ผู้สงู อายุพิการ 2) จัดทาํ ข้อบัญญัตขิ ององคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล หรอื เทศบาล 3) จดั ทาํ แผนตําบล 4) จดั สวัสดิการและสนับสนนุ งบประมาณ โครงการศกึ ษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ ิการ 96

5) จัดหาอปุ กรณ์ 6) จัดหา หรือสรา้ ง หรือปรับปรงุ สถานที่ 7) สร้างภาคีเครอื ขา่ ยและอาสาสมัคร 8) สรา้ งอาชีพและจดั หาตลาด 9) สง่ เสริมสนบั สนนุ การใช้ภูมิปัญญาและวถิ ีชมุ ชนในการดแู ลผูส้ งู อายพุ ิการ 10) เกอื้ หนุนใหเ้ กิดสังคมเออื้ อาทร 2. รปู แบบการบรกิ ารโดยชมุ ชนแบบพหภุ าคี หรือพหลุ ักษณ์ พหุภาคี ภาคีเครือข่ายในพืน้ ที่ ผู้สูงอายพุ ิการ ผดู้ ูแลผ้สู ูงอายพุ ิการ องคก์ รชุมชน อพม. อสม. อผส. รพ.สต. ชมรมผู้สงู อายุ ศูนย์ ชมรมผู้พกิ าร ผู้สูงอายุ เอกชน รฐั บาล อปท. แผนภาพท่ี 4.2 รูปแบบการบริหารที่จดั โดยชุมชนแบบพหุภาคี หรอื พหุลกั ษณ์ การทํางานในรูปแบบการบริการโดยชุมชนแบบพหุภาคี เป็นภาคีเครือข่ายในชุมชนที่มี ความเขม้ แข็ง สาํ หรับกลไกภาคประชาสังคม ได้แก่ กลุม่ ผ้สู ูงอายุพกิ าร ผ้ดู ูแลผู้สูงอายุพิการ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมผู้พิการ องค์กรชุมชน อาสาสมัครกลุ่มต่าง ๆ เช่น อสม. อพม. อผส. และ รพ.สต. โดยมีการ ดาํ เนินงาน ดังน้ี 1) มีเปูาหมายรว่ มในการพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ งู อายพุ ิการ 2) การเปิดโอกาสใหค้ นทกุ คนท่ีเกี่ยวขอ้ งเข้ามาร่วม 3) การหาประชามติรว่ มกันจากทุกภาคสว่ นในการดําเนินการ 4) เป็นระบบพหุภาคีท่ีมีการร่วมดําเนินการทุกภาคส่วน หน่วยงานรัฐ ท้องถิ่น กลุ่ม หรือองค์กรชุมชน อาสาสมคั รต่าง ๆ โดยผา่ นการจดั ตั้งเปน็ กองทนุ ชมุ ชน 5) มีหนว่ ยงาน หรอื ศนู ยบ์ ริการหลกั ภายในชุมชน 6) มีการรว่ มกลมุ่ เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ 7) รัฐบาลและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เข้ามาหนนุ เสริมเพื่อความยั่งยืน 8) หน่วยงานเอกชนเข้ามารว่ มสนบั สนนุ งบประมาณ 9) มกี ารขบั เคล่อื นกจิ กรรมโดยภาคเี ครือข่ายในชมุ ชน โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรบั ผ้สู ูงอายพุ ิการ 97

10) พหภุ าคีดําเนนิ งานแบบสังคมเออ้ื อาทร 3. รูปแบบการบรกิ ารทางเลอื ก เชน่ รูปแบบการบริการโดยภาคธรุ กิจเอกชน รูปแบบการ บรกิ ารโดยองคก์ รสาธารณกศุ ลและรูปแบบการบรกิ ารโดยครอบครวั เปน็ ตน้ 3.1 รปู แบบการบรกิ ารโดยภาคธรุ กจิ เอกชน เป็นบริการทางเลือกสาํ หรบั ผูท้ ม่ี รี ายได้ค่อยข้างสูง เพราะเป็นการบริการที่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งค่อนข้างสูง รัฐไม่มีการกําหนดมาตรฐานกลางและการดูแลกํากับท่ีเป็นท่ียอมรับของทุกฝุายที่เกี่ยวข้อง ชัดเจน ดังน้ัน เพื่อให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการคุ้มครองจากภาครัฐ จะต้องมีระเบียบ หรือมาตรการต่าง ๆ ในการควบคมุ เช่น สถานบริการผู้สงู อายพุ กิ ารจะตอ้ งจดทะเบียนกบั รัฐและดแู ลผู้สูงอายุพิการให้เป็นไปอย่าง มีคุณภาพ ควรมีการกําหนดมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุพิการ สําหรับสถานบริการให้ครอบคลุมท้ังด้าน โครงสร้างทางกายภาพของสถานบริการ การบริหารจัดการการดูแล ประเภทและคุณลักษณะบุคลากร ทีมสหสาขา และระบบการตรวจสอบคณุ ภาพการให้บรกิ ารทตี่ อ้ งได้มาตรฐานตามท่ีรัฐบาลกําหนด ค่าบริการ ท่ชี ําระต้องมีความเหมาะสม เป็นต้น 3.2 รปู แบบการบรกิ ารโดยองคก์ รสาธารณกศุ ล เป็นบริการทางเลือกท่ีช่วยแบ่งเบาการให้บริการจากภาครัฐ ซ่ึงอาจจะมีค่าใช้จ่ายใน การรับบริการอยู่บ้างแต่ไม่สูงมากนัก สามารถเข้าถึงบริการได้ไม่ยากมาก รัฐบาลควรต้องพัฒนาและกําหนด นโยบายท่ีเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุพิการเพื่อให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการคุ้มครองจากภาครัฐ โดยอาจจะมี ระเบียบ หรือมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเช่นเดียวกับการให้บริการโดยภาคธุรกิจเอกชน สถานบริการ ผู้สูงอายุพิการจะต้องจดทะเบียนกับรัฐบาลในรูปแบบของการให้บริการโดยองค์กรสาธารณกุศลท่ีไม่หวังผล กําไร เพื่อให้รัฐบาลสามารถควบคุมได้ในเร่ืองการจัดตั้ง มาตรฐานด้านผู้บริหารสถานบริการดูแลผู้สูงอายุ พิการที่ควรเป็น บุคลากรทางด้านสุขภาพ คุณภาพการให้บริการท่ีต้องได้มาตรฐานตามที่รัฐบาลกําหนด คา่ บริการที่ชําระต้องมีความเหมาะสม เป็นตน้ นอกจากน้ีรัฐบาลตอ้ งให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ แก่สถาน บรกิ ารผูส้ ูงอายุพิการซึ่งเป็นองค์กรสาธารณกศุ ลเพือ่ เปน็ การแบ่งเบาภาระของรฐั 3.3 รูปแบบการบริการท่ีบา้ นโดยชมุ ชน เป็นระบบบริการปฐมภูมิท่ีมีข้อจํากัดด้านบุคลากรท้ังในแง่ของจํานวนและศักยภาพ ของบุคลากรในการให้บริการท่ีเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุพิการ โรงพยาบาลชุมชนหลายแห่งได้มีการจ้างนัก กายภาพบําบัดในการให้บริการในโรงพยาบาลและบริการเชิงรุก โรงพยาบาลส่วนใหญ่มีการจัดต้ังศูนย์ดูแล ผู้สูงอายุ หรือผู้พิการ มีการจัดทีมให้บริการเชิงรุกในการดูแลผู้ปุวยที่บ้าน (Home health care) เพื่อ รองรับการดูแลผู้สูงอายุพิการซ่ึงการให้บริการท่ีบ้านโดยชุมชนเป็นความสามารถของครอบครัวในการให้การ ดูแลผู้สูงอายุพิการซ่ึงต้องใช้ทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายที่สูง จึงเป็นภาระหนักสําหรับครอบครัว หากปราศจาก มาตรการเกื้อหนุนจากภาครัฐและชุมชนที่เหมาะสม ดังน้ัน การให้บริการที่บ้านโดยชุมชนต้องการให้บริการ การดูแลสุขภาพโดยคณะเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ท่ีไปตดิ ตามดูแลผู้สูงอายพุ กิ ารทบ่ี ้าน หรือให้คําแนะนําเรื่องการ ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ กป่ ระชาชนกลมุ่ ตา่ ง ๆ ในชุมชนหมู่บ้าน ซ่ึงทีมเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขประกอบด้วย บุคลากร กลุ่มสหวิชาชีพหลายด้าน ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบําบัด นักสังคมสงเคราะห์ นักอาชีวบําบัด เภสัชกร ผู้ช่วยฯ ดูแลสุขภาพที่บ้านและคนทํางานบ้าน เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขท่ีปฏิบัติงาน ในพน้ื ท่รี ูปแบบการดูแลผสู้ งู อายุพิการในชมุ ชน ไดแ้ ก่ โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบริการทเี่ หมาะสมสาหรบั ผูส้ งู อายพุ กิ าร 98

1) การเยี่ยมบ้าน (Home visit) ในผู้สูงอายุพิการควรมีการเยี่ยมบ้านท่ีมี ลักษณะเฉพาะเป็นการเยย่ี มบา้ นเพ่ือประเมนิ ผู้สูงอายุ 2) การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home health care) เป็นการดูแลสุขภาพที่มีแบบ แผนการดูแลให้บริการท่ีเป็นทางการ สม่าํ เสมอโดยบคุ ลากรทางการแพทยเ์ ช่นพยาบาลชมุ ชน 3) การบรกิ ารที่จัดในชมุ ชน โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายพุ ิการ 99

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัย เร่ือง “รูปแบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ” ในครั้งน้ีมี วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษารูปแบบการบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการท่ีมีในปัจจุบัน เพ่ือศึกษาสถานภาพ ผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการในด้านต่างๆ จากการจัด สวัสดิการสังคมเพื่อสนับสนุนการจัดสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุพิการ และเพื่อนาเสนอรูปแบบการ จัดบริการท่เี หมาะสมสาหรับผ้สู งู อายพุ กิ าร การวจิ ัยน้ีเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสาน วิธี (Mixed Methodology) การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดย เก็บขอ้ มูลเชิงปริมาณ จากผู้สูงอายุพิการ จานวน 720 คน และผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ จานวน 720 คน และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการศึกษาดูงานสถานบริการที่จัดสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุและผู้ พิการสูงอายุในประเทศไทย การจัดเวทีประชุมเพ่ือถอดบทเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้สูงอายุพิการ บุคคลซ่ึงดูแลผู้สูงอายุ ผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) แกนนา ชมุ ชน อาสาสมัคร และหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องในพ้ืนที่ต่อการจัดบริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุพิการ/ผู้ พิการสงู อายุ และจดั สนทนากลมุ่ (Focus Group) 5.1 ผลการศึกษาวิจัยมีประเด็นสาคัญเก่ียวกับสถานการณ์การจัดบริการสาหรับ ผู้สูงอายพุ ิการ ดังน้ี 1. รูปแบบการบรกิ ารสาหรบั ผสู้ ูงอายพุ ิการท่ีมใี นปัจจุบนั มี 5 รูปแบบหลักทส่ี าคญั ได้แก่ 1) รูปแบบการจัดบริการโดยภาครัฐ รูปแบบน้ีถือเป็นกลไกหลักหรือกระแสหลัก ของ การจัดบริการผู้สูงอายุพิการ โดยรัฐเป็นศูนย์กลาง ในรูปแบบสถาบันของรัฐท่ีบุคลากรของรัฐเป็น เจา้ ภาพหลัก เน่ืองจากภาครัฐมคี วามพร้อมด้านทรพั ยากรสงู ทั้งบุคลากร งบประมาณ ทรัพยากร พื้นที่ ดาเนินงานและต้นทุนความรเู้ ดิมในการบริหารจัดการ 2) รูปแบบการให้บริการท่ีจัดโดยภาคเอกชนและองค์การสาธารณกุศล ซ่ึงเกิดจากการ จัดต้ังกลุ่ม สร้างเสริมความเข้มแข็งแก่องค์กรชาวบ้าน องค์กรชุมชนกลุ่มต่างๆ มีการส่งเสริมให้จัดตั้ง เครือข่ายความร่วมมือในกลุ่มปัญหาต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้องค์กรพัฒนาเอกชนเข้าถึงปัญหาของ กลุ่มเป้าหมายได้ลึกซ้ึงกว่า เพราะวิธีการทางานจะมีลักษณะเกาะติดปัญหาอย่างเอาจริงเอาจัง เป็น การทางานที่มีเป้าหมายท้ังยกระดับความตระหนักรู้ของชุมชน ร่วมไปกับการรณรงค์และการ เคลอ่ื นไหวทางสังคม จะเน้นการให้ข้อมูลทางเลือกเพ่ือสร้างความเข้าใจแก่สังคม แต่ด้วยความจากัด ด้านทรพั ยากรและกาลังคน จึงทาให้ไม่สามารถขยายผลของงานได้อย่างกว้างขวางนกั 3) รูปแบบให้บริการที่จัดโดยภาคธุรกิจเอกชน ซ่ึงยังไม่มีกฎหมายที่ควบคุมอย่างเป็น ระบบ แต่ก็เป็นบริการทางเลือกสาหรับผู้ท่ีมีรายได้สูง ซ่ึงเริ่มเป็นท่ีนิยมมากข้ึนในเมืองใหญ่ๆ ท่ีมี สภาพทางเศรษฐกิจค่อนขา้ งดี

4) รูปแบบให้บริการท่ีจัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นผลจากการบังคับใช้ พระราชบญั ญัตกิ ารกระจายอานาจสูท่ ้องถ่ิน พ.ศ. 2542 ได้ส่งผลบังคับให้เกิดการกระจายอานาจ การ จดั การสวสั ดกิ ารและการดูแลดา้ นสาธารณประโยชน์ ของชุมชนผ่านองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือ เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) เป็นรูปแบบการ ให้บริการท่ีมีข้อกาหนดรูปแบบท่ีเป็นทางการ ชัดเจนตามกฎหมาย ท้ังนี้ภาครัฐมีภารกิจต้องเร่งสร้าง กระบวนการเรยี นร้ใู หก้ ับภาคท้องถน่ิ ท่จี ะเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะการ ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจต่อเรอ่ื งสวัสดกิ าร 5) รูปแบบให้บริการแบบพหุภาคี หรือ พหุลักษณ์ โดยมีหลักการมีส่วนร่วมถือเป็น หลักการพื้นฐานท่ีสาคัญ ซ่ึงจะเกดิ ข้นึ แบบค่อยเป็นคอ่ ยไป ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ปัญหา เพ่ือ วิเคราะห์หารูปแบบทางเลือกใหม่ๆ มิติการทางานจึงเป็นแนวราบมากกว่าแนวด่ิง การเปิดโอกาสให้ คนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมโต้แย้ง ร่วมรับรู้ ร่วม วิพากษ์วิจารณ์ซ่ึงกันและกัน การหาประชามติร่วมกันจากทุกภาคส่วนในการให้บริการ หากการ ให้บริการที่จัดไม่เหมาะสมก็จะใช้ประชามติร่วมกันปรับปรุง แก้ไข กฎ ระเบียบเพ่ือให้เกิดสิทธิ ประโยชนร์ ่วมกนั และมีการพัฒนาการใหบ้ รกิ ารไปสู่การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น 2. รปู แบบการบรกิ ารผูส้ ูงอายุพกิ ารทเ่ี หมาะสม รูปแบบการบริการผสู้ งู อายุพิการทีเ่ หมาะสม ในพ้ืนท่ี สามารถสรุปได้ 3 รปู แบบ 1. รปู แบบการบรกิ ารท่ีจดั โดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รูปแบบการบริการผู้สูงอายุพิการท่ีมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพหลักในการ ดาเนินงาน และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน ท้ังภายในและภายนอกให้มีส่วนร่วมในการจัด กจิ กรรมและบริการ อกี ทงั้ เช่ือมโยงคนทุกวยั ให้ไดร้ ับประโยชน์จากการดาเนินงานศูนย์ฯ เป็นรูปแบบ การให้บริการทีม่ ขี อ้ กาหนดรปู แบบท่ีเปน็ ทางการ ชัดเจนตามกฎหมาย และมีแผนพัฒนาตามนโยบาย ของรฐั บาล และปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง โดยมเี จา้ หน้าทีใ่ นการปฏิบตั ิงานเปน็ หลัก มีหน่วยงาน สานักงานท่ีชัดเจน 2. รูปแบบการบริการโดยชมุ ชนแบบพหภุ าคี หรือ พหลุ ักษณ์ รูปแบบการให้บริการผู้สูงอายุพิการโดยชุมชนแบบพหุภาคี ในลักษณะของเครือข่ายใน ชุมชน ซึ่งเป็นกลไกภาคประชาสังคมท่ีมีความเข้มแข็ง เช่น กลุ่มผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมผู้พิการ องค์กรชุมชน อาสาสมัครกลุ่มต่างๆ เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หม่บู ้าน อาสาสมคั รพฒั นาสังคม อาสาสมคั รดแู ลผสู้ งู อายุ และอาสาสมคั รดแู ลคนพิการ 3. รปู แบบการบรกิ ารทางเลอื ก 3.1 รูปแบบการบรกิ ารโดยภาคธุรกจิ เอกชน รูปแบบการบริการโดยภาคธุรกิจเอกชน เป็นบริการทางเลือกสาหรับผู้ที่มีรายได้ ค่อยข้างสูง เพราะเป็นการบริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง ซ่ึงรัฐยังไม่มีการกาหนดมาตรฐานกลาง และการ ดูแลกากับที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องชัดเจน ดังนั้นเพ่ือให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการคุ้มครอง จากภาครัฐ จึงควรมกี ารกาหนดระเบียบหรอื มาตรการตา่ งๆ ในการควบคมุ โครงการศึกษาวจิ ัยรูปแบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ ิการ 101

3.2 รูปแบบการบริการโดยองค์กรสาธารณกศุ ล รูปแบบการบริการโดยองค์กรสาธารณกุศล ถือเป็นบริการทางเลือกที่ช่วยแบ่งเบา การให้บรกิ ารจากภาครฐั ซึ่งอาจจะมีค่าใช้จ่ายในการรับบริการอยูบ่ ้าง แต่ไม่สูงมากนัก สามารถเข้าถึง บริการได้ไม่ยากมาก ซ่ึงรัฐบาลควรต้องพัฒนาและกาหนดนโยบายท่ีเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุพิการ เพ่ือให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการคุ้มครองจากภาครัฐ โดยอาจจะมีระเบียบหรือมาตรการต่างๆ ในการ ควบคุม เช่นเดียวกบั การให้บรกิ ารโดยภาคธุรกจิ เอกชน 3.3 รูปแบบการบริการท่บี า้ นโดยชุมชน รูปแบบการบริการท่ีบ้านโดยชุมชน ส่วนใหญ่มีการจัดต้ังศูนย์ดูแลผู้สูงอายุหรือผู้ พิการ จัดทีมให้บริการเชิงรุกในการดูแลผู้ป่วยท่ีบ้าน (Home health care) เพ่ือรองรับการดูแล ผสู้ ูงอายุพกิ าร ซง่ึ การใหบ้ รกิ ารท่บี ้านโดยชมุ ชนยังต้องอาศยั ความสามารถของครอบครัวในการให้การ ดูแลผู้สูงอายุพิการเป็นหลัก ซ่ึงสมาชิกครอบครัวต้องใช้ทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายท่ีสูง ซึ่งเป็นภาระหนัก สาหรับครอบครัว หากปราศจากมาตรการเกือ้ หนุนจากภาครฐั และชุมชนท่ีเหมาะสม 5.2 อภปิ รายผล จากการศึกษารูปแบบการบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการท่ีเหมาะสม สามารถอภิปราย ผลการวิจัยได้ดงั นี้ 1. รูปแบบการบรกิ ารสาหรบั ผ้สู ูงอายุพกิ ารทีม่ ใี นปัจจุบนั มี 5 รปู แบบหลักท่ีสาคัญ ได้แก่ 1) รูปแบบการจัดบริการโดยภาครัฐ 2) รูปแบบการให้บริการท่ีจัดโดยภาคเอกชนและองค์การสา ธารณกุศล 3) รูปแบบให้บริการท่ีจัดโดยภาคธุรกิจเอกชน 4) รูปแบบให้บริการท่ีจัดโดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และ 5) รูปแบบให้บริการแบบพหุภาคี หรือ พหุลักษณ์ สอดคล้องกับ ผลงานวิจัยของ ระพีพรรณ คาหอม และคณะ (2547) ท่ีได้ศึกษาเร่ืองทิศทางและรูปแบบการจัด สวัสดิการสังคมของประเทศไทย ซึ่งผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม มี 3 รูปแบบ รูปแบบแรก คือ สวัสดิการสังคมกระแสหลัก ได้แก่ รูปแบบสวัสดิการสังคมเชิงสถาบัน ซ่ึงรัฐเป็นผู้ ให้บริการประชาชน โดยความร่วมมือของภาคเอกชน องค์การสาธารณกุศล ภาคธุรกิจเอกชน และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นสวัสดิการท่ีจัดให้ตามสิทธิที่ประชาชนพึงได้รับเป็นสวัสดิการขั้น พื้นฐานครอบคลุมการสร้างหลักประกัน การบริการทางสังคม รูปแบบท่ีสอง คือ สวัสดิการสังคม กระแสรองหรือกระแสทางเลือก ในท่ีนี้หมายถึง รูปแบบสวัสดิการแบบพหุลักษณ์ (Pluralism Model) ทค่ี านงึ ถึงความหลากหลาย เนน้ วธิ กี ารทีต่ อ้ งผสมผสานกันจากหลายวชิ าชีพ หลายหน่วยงาน องค์กรภาคีทุกภาคส่วน ร่วมกันคิดแก้ไขปัญหาบนฐานความสาคัญที่เสมอภาคแบบหุ้นส่วนและการมี ส่วนรว่ มในฐานะ “เจ้าภาพรว่ ม” 2. สถานภาพผู้สงู อายุพกิ าร ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการ ในด้านต่างๆ จากการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมเพ่อื สนับสนุนการจัดสวัสดิการสาหรบั ผ้สู งู อายุพกิ าร 2.1 ปญั หาของผสู้ งู อายพุ ิการ โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ ิการ 102

จากการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุพิการประสบปัญหาด้านการรักษาพยาบาล มีปัญหา ขาดคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปรักษาพยาบาล ปญั หาขาดกายอุปกรณ์สาหรับคนพิการ ด้านที่อยู่อาศัย ไม่เอือ้ ตอ่ การดาเนินชีวิตประจาวัน และมปี ัญหาเตียงนอน ด้านสวัสดิการท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต มี ปญั หารายได้ไมเ่ พยี งพอแกก่ ารครองชพี และปญั หาไม่มอี าชีพ และปัญหาด้านการรักษาพยาบาล ส่วน ใหญ่ มีปัญหาโรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน โรคกระดูก ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ศิริวรรณ ศิริบุญ (2543) ท่ีได้ทาการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไปผู้นาชุมชน สมาชิกกลุ่มต่าง ๆ และครู ผลการวจิ ัยพบว่า ปัญหาท่สี าคัญของผู้สูงอายุคือปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาทางด้านจิตใจ ปญั หาครอบครวั และปัญหาอ่ืนๆ ท่ีสาคัญพบว่า มีผู้สูงอายเุ ปน็ สดั สว่ นที่ค่อนข้างสงู มีปัญหาเรื่องความ เหงา ความว้าเหว่ 2.2 ความต้องการในการได้รบั บริการในด้านตา่ งๆ จากการจัดสวัสดิการสังคม จากการศึกษาผู้สูงอายุพิการและผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ พบว่ามีความต้องการ การจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบริการ อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ความต้องการด้านสุขภาพ อนามัย โดยเฉพาะ ความต้องการด้านจิตใจ ในด้านการได้ความรัก ความห่วงใย และการให้กาลังใจ จากครอบครัว ซึ่งท้ังผู้สูงอายแุ ละผู้ดแู ลมีความตอ้ งการตรงกัน การมอี าสาสมัครมาพบปะพูดคุยเพ่ือให้ กาลังใจ การได้รับคาแนะนาด้านสุขภาพจิตและการจัดการความเครียด เป็นความต้องการของผู้ดูแล ผู้สูงอายุพิการ เนื่องจากผู้สูงอายุพิการ ต้องเผชิญกับปัญหาจากการดูแล ปัญหาการไม่มีเวลาว่าง ปญั หาภาวะเศรษฐกิจ จึงทาใหเ้ กดิ ภาวะความเครียดที่สูง จึงมีความต้องการคาแนะนาด้านสุขภาพจิต และการจัดการความเครียด ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทับทิม รัตนโกศล (2527) ท่ีพบว่า ความต้องการของผู้สูงอายุ มีความต้องการการสนับสนุนจากครอบครัว ผู้สูงอายุที่ถูกปล่อยให้อยู่โดด เด่ยี วจะขาดความมัน่ คงทางอารมณ์ จติ ใจ และเศรษฐกจิ จึงตอ้ งหนั ไปพึง่ การช่วยเหลือจากบุคคลหรือ องค์กรสังคมสงเคราะห์ภายนอกครอบครัว ผู้สูงอายุจึงมีความต้องการที่จะได้รับการสนับสนุนจาก ครอบครวั ของตนเองควบคู่ไปกบั การชว่ ยเหลือจากภายนอกครอบครัว เช่น กลุ่มอาสาสมัครทั้งองค์กร ภาครัฐและเอกชน ปัญหาด้านบริการทางสังคมทั่วไป ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการ ช่องทางพิเศษสาหรับผู้สูงอายุพิการในโรงพยาบาล การสนับสนุนค่าใช้จ่าย (เช่น ค่ารถ ค่าอาหาร เครื่องนุ่งหม่ หรือค่ารักษาพยาบาลเบ้ืองต้น และการอานวยความสะดวกในสถานที่ของรัฐ สอดคล้อง กบั ผลการวิจยั ของ นชุ นาฎ ยูฮันเงาะ และโสภา อ่อนโอภาส (2546) ได้ทาการวิจัยเร่ืองผู้สูงอายุ: ฟาง เส้นสดุ ท้ายของครอบครัวในชมุ ชนเมืองเขตกรงุ เทพมหานคร พบวา่ ผูส้ ูงอายุกลุ่มนี้ไม่ได้รับบริการจาก ภาครัฐและเอกชน โดยภาครัฐยังไม่สามารถให้บริการได้อย่างท่ัวถึงและครอบคลุม ส่วนแนวทางการ จัดสวัสดกิ ารสงั คมสาหรับผู้สูงอายุและครอบครัว ควรมีการเย่ียมเยียนให้กาลังใจ ให้บริการเบ้ียยังชีพ และสง่ เสริมเกียรตภิ มู ิของผู้ประกอบอาชีพท่ีสูงอายุ ตลอดจนผลักดันนโยบายลดภาษีให้แก่บุตรหลาน ผรู้ ับภาระเล้ยี งดูผู้สูงอายุ ด้านกระบวนการยุติธรรม ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการ การเข้าถึง บรกิ ารทรี่ ฐั จดั ให้ การเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุพิการ และการจดทะเบียนและการได้รับสิทธิประโยชน์ ทางกฎหมาย ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทับทิม รัตนโกศล (2527) ที่พบว่า ความต้องการทาง โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรบั ผูส้ งู อายพุ ิการ 103

สังคมของผู้สูงอายุ ได้แก่ ความต้องการเป็นส่วนหน่ึงของครอบครัวและกลุ่มสังคม ความต้องการการ ยอมรับและเคารพยกย่องนับถือจากบุคคลในครอบครัวและสังคม ความต้องการเป็นบุคคลท่ีมี ความสาคัญในสายตาของสมาชิกในครอบครัว ของกลุ่ม ของชุมชน และของสังคม ความต้องการมี ความสมั พันธอ์ ันดกี ับบุคคลภายในครอบครวั ชุมชน และสังคม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบุตรหลานใน ครอบครวั และสังคมได้ และความต้องการมโี อกาสทาในสิ่งท่ตี นเองปรารถนา ปัญหาดา้ นการศึกษา ผสู้ งู อายุพกิ ารมีความต้องการได้รับบริการ การได้รับข่าวสาร ดา้ นสิทธิและสวัสดกิ ารจากภาครฐั ความร้ทู างดา้ นสิทธิทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล และการ เรียนรู้ทักษะในการดาเนินชีวิตท่ีเหมาะสมกับความพิการ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทับทิม รัตนโกศล (2527) ที่พบว่า ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการลดการพ่ึงพาให้น้อยลง หากครอบครัวและ สังคมส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัวและสังคมแล้ว จะเป็นการช่วย ผสู้ ูงอายุให้สามารถพ่ึงตนเอง ไม่เป็นภาระแก่สงั คมในบ้ันปลายของชวี ิต ด้านทอ่ี ยอู่ าศัย ผ้สู งู อายพุ กิ ารมคี วามต้องการได้รับบริการ ปรับสภาพแวดล้อมของ ท่ีอยอู่ าศยั ให้มีความเหมาะสมกบั สภาพความพิการ บ้านท่ีอยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และห้อง ส้วมอยภู่ ายในบ้านและเป็นแบบนั่งห้อยเท้า ดา้ นการทางานและการมรี ายได้ โดยรวมผู้สงู อายพุ กิ ารมคี วามต้องการได้รับบริการ การสง่ เสริมการออมและการลงทุน การจัดหาอาชีพท่ีเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุพิการ และการจัดหาแหล่ง เงินทุนในการประกอบอาชีพ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทับทิม รัตนโกศล (2527) ท่ีพบว่า ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านการประกันรายได้ โดยเฉพาะการประกันสังคมประเภทประกันชราภาพ เมอ่ื เข้าสู่วัยชราและเลิกประกอบอาชีพแลว้ จะได้รับบานาญชราภาพเพอื่ ชว่ ยใหส้ ามารถดารงชีวิตอย่าง มีความสขุ และมัน่ คงปลอดภยั ตามควรแก่อตั ภาพในบ้ันปลายชีวติ ไม่เปน็ ภาระแก่บุตรหลานและสังคม ต้องการได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินจากบุตรหลานเพื่อสะสมไว้ใช้จ่ายในภาวะที่ตนเองเจ็บป่วย ตอ้ งการใหร้ ัฐช่วยจัดหาอาชพี เพอ่ื เป็นการเพ่ิมพูนรายได้ เพ่ือการมีบทบาททางเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับ ผลการศึกษาของ นุชนาฎ ยูฮันเงาะ และโสภา อ่อนโอภาส (2546) ได้ทาการวิจัยเรื่องผู้สูงอายุ: ฟาง เส้นสุดท้ายของครอบครัวในชุมชนเมืองเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้สูงอายุขาดการวางแผนในการ ดาเนินชีวิตท้ังเรื่องการมีบุตร การใช้จ่าย ให้บริการเบ้ียยังชีพ ตลอดจนผลักดันนโยบายลดภาษีให้แก่ บุตรหลานผรู้ บั ภาระเลยี้ งดูผ้สู งู อายุ ด้านนันทนาการ ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการ การเข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนา การใหค้ วามช่วยเหลอื ทางสังคมของผู้สูงอายุพิการ และการเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรมท้องถ่ิน ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทับทิม รัตนโกศล (2527) ท่ีพบว่า ผู้สูงอายุมี ความต้องการการมีส่วนรว่ มในชมุ ชน โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมในกิจกรรมบางประเภทในสังคม สังคม จึงควรให้โอกาสแก่ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในชุมชน ให้มีโอกาสได้เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ในการพัฒนาตนเอง ในการปรับตัวให้ทันสมัยกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ และในการรักษาสุขภาพท้ังทางร่างกายและจิตใจ ใหแ้ ขง็ แรงอยู่เสมอ 3. รปู แบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุพกิ าร โครงการศึกษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ กิ าร 104

รูปแบบการบริการผู้สูงอายุพิการที่เหมาะสม จากผลการศึกษา ประกอบด้วย 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการบริการท่ีจัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรูปแบบการบริการโดยชุมชนแบบ พหุภาคี หรือ พหุลักษณ์ และ รูปแบบการบริการทางเลือก เช่น รูปแบบการบริการโดยภาคธุรกิจ เอกชน รปู แบบการบรกิ ารโดยองค์กรสาธารณกศุ ล รูปแบบการบริการโดยครอบครัว 1) รปู แบบการบรกิ ารที่จดั โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ การทางานในรูปแบบการบริการที่จัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล หรือเทศบาล เป็นเจ้าภาพหลักในการ ดาเนนิ งาน เปน็ รปู แบบการให้บริการที่มีข้อกาหนดรูปแบบท่ีเป็นทางการ ชัดเจนตามกฎหมาย และมี แผนพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีเจ้าหน้าที่ในการ ปฏบิ ตั งิ านเปน็ หลกั มีหน่วยงานสานกั งานทช่ี ัดเจน โดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ดาเนินงาน ดังนี้ (1) สารวจชมุ ชน คดั กรอง คน้ หากลมุ่ เสยี่ ง กลุม่ ผสู้ ูงอายุพกิ าร (2) จดั ทาข้อบัญญตั ิของ อบต.หรือเทศบาล (3) จดั ทาแผนตาบล (4) จดั สวสั ดิการ สนับสนนุ งบประมาณ (5) จัดหาอุปกรณ์ (6) จดั หา/สร้าง/ปรับปรงุ สถานท่ี (7) สร้างภาคีเครอื ข่าย อาสาสมัคร (8) สร้างอาชีพ จัดหาตลาด (9) ส่งเสริมสนบั สนุนการใชภ้ มู ิปัญญาและวถิ ีชมุ ชนในการดแู ลผสู้ งู อายุพกิ าร (10) เกื้อหนุนใหเ้ กิดสงั คมเอื้ออาทร 2) รปู แบบการบริการโดยชุมชนแบบพหภุ าคี หรอื พหุลักษณ์ การทางานในรูปแบบการบริการโดยชมุ ชนแบบพหภุ าคี โดยภาคีเครือข่ายในชุมชน ซึ่ง มคี วามเข้มแข็ง โดยกลไกภาคประชาสงั คม มกี ารดาเนินงาน ดังนี้ (1) มเี ปา้ หมายรว่ มในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายพุ กิ าร (2) การเปิดโอกาสให้คนทกุ คนที่เก่ียวข้องเขา้ มารว่ ม (3) การหาประชามตริ ่วมกันจากทกุ ภาคสว่ นในการดาเนนิ การ (4) เป็นระบบพหุภาคี ท่ีมีการร่วมดาเนินการทุกภาคส่วน หน่วยงานรัฐ ท้องถ่ิน กลุ่ม/ องคก์ รชุมชน อาสาสมัครต่างๆ โดยผา่ นการจดั ต้ังเป็นกองทุนชมุ ชน (5) มีหนว่ ยงานหรือศูนย์บริการหลักภายในชมุ ชน (6) มีการรวมกล่มุ เพอ่ื สรา้ งอาชพี และรายได้ (7) รัฐบาลและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเข้ามาหนุนเสรมิ เพอ่ื ความย่งั ยืน (8) หน่วยงานเอกชนเขา้ มารว่ มสนบั สนุนงบประมาณ (9) มกี ารขบั เคล่ือนกจิ กรรมโดยภาคเี ครอื ข่ายในชมุ ชน โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบริการทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ ิการ 105

(10) พหุภาคีดาเนนิ งานแบบสงั คมเอือ้ อาทร 3. รูปแบบการบริการทางเลือก เช่น รูปแบบการบริการโดยภาคธุรกิจเอกชน รูปแบบ การบริการโดยองคก์ รสาธารณกศุ ล รปู แบบการบริการท่บี า้ นโดยชุมชน เปน็ ต้น 3.1 รปู แบบการบริการโดยภาคธุรกจิ เอกชน รูปแบบการบริการโดยภาคธุรกิจเอกชน เป็นบริการทางเลือกสาหรับผู้ท่ีมีรายได้ ค่อยข้างสูง เพราะเป็นการบริการที่มีค่าใช้จ่ายซึ่งค่อนข้างสูง ซ่ึงรัฐยังไม่มีการกาหนดมาตรฐานกลาง และการดูแลกากับท่ีเป็นท่ียอมรับของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการ คุ้มครองจากภาครัฐ โดยอาจจะมีระเบียบหรือมาตรการต่างๆ ในการควบคุม เช่น สถานบริการ ผู้สูงอายุพิการ จะต้องจดทะเบียนกับรัฐ และให้การดูแลผู้สูงอายุพิการเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ควรมี การกาหนดมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุพิการ สาหรับสถานบริการให้ครอบคลุมท้ังด้าน โครงสร้างทาง กายภาพของสถานบริการ การบริหารจัดการการดูแล ประเภทและคุณลักษณะบุคลากรทีมสหสาขา และระบบการตรวจสอบคุณภาพการให้บรกิ ารท่ีต้องได้มาตรฐานตามท่ีรัฐบาลกาหนด ราคาค่าบริการ ท่ตี ้องเหมาะสม เปน็ ตน้ 3.2 รปู แบบการบริการโดยองค์กรสาธารณกศุ ล รูปแบบการบริการโดยองค์กรสาธารณกุศล ถือเป็นบริการทางเลือกท่ีช่วยแบ่งเบา การให้บรกิ ารจากภาครัฐ ซง่ึ อาจจะมคี ่าใชจ้ า่ ยในการรับบริการอยบู่ ้าง แต่ไม่สูงมากนัก สามารถเข้าถึง บริการได้ไม่ยากมาก ซ่ึงรัฐบาลควรต้องพัฒนาและกาหนดนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ พกิ าร เพ่อื ใหผ้ สู้ งู อายุพิการไดร้ บั การค้มุ ครองจากภาครัฐ โดยอาจจะมีระเบียบหรือมาตรการต่างๆ ใน การควบคมุ เชน่ เดียวกบั การใหบ้ ริการโดยภาคธุรกิจเอกชน โดยสถานบริการผ้สู ูงอายุพิการ จะต้องจด ทะเบียนกับรัฐ ในรูปแบบของการให้บริการโดยองค์กรสาธารณกุศล ท่ีไม่หวังผลกาไร เพื่อให้รัฐบาล สามารถควบคุมได้ในเรอ่ื ง การจัดตั้ง มาตรฐานดา้ นผบู้ ริหารสถานบริการดูแลผู้สูงอายุพิการท่ีควรเป็น บุคลากรทางด้านสุขภาพ คุณภาพการให้บริการท่ีต้องได้มาตรฐานตามท่ีรัฐกาหนด ราคาค่าบริการท่ี ต้องเหมาะสม เป็นต้น และนอกจากนั้นรัฐบาลยังต้องให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ แก่สถานบริการ ผู้สงู อายพุ กิ าร ซง่ึ เป็นองคก์ รสาธารณกศุ ล เพือ่ เป็นการแบง่ เบาภาระของรัฐ 3.3 รปู แบบการบริการทบี่ ้านโดยชุมชน รูปแบบการบริการที่บ้านโดยชุมชน ซึ่งเป็นระบบบริการปฐมภูมิที่มีข้อจากัดด้าน บุคลากรท้ังในแง่ของจานวนและศักยภาพของบุคลากร ในการให้บริการท่ีเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุพิการ โรงพยาบาลชมุ ชนหลายแหง่ ไดม้ ีการจ้างนักกายภาพบาบัดในการให้บริการในโรงพยาบาลและบริการ เชิงรกุ และโรงพยาบาลชุมชนส่วนใหญ่มีการจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุหรือผู้พิการ จัดทีมเจ้าหน้าท่ีและ อาสาสมัครให้บริการเชิงรุกในการดูแลผู้ป่วยท่ีบ้าน (Home health care) เพื่อรองรับการดูแล โครงการศึกษาวจิ ยั รปู แบบการบริการทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ ิการ 106

ผู้สูงอายุพิการ ซ่ึงการให้บริการที่บ้านโดยชุมชนต้องอาศัยความสามารถของครอบครัวในการให้การ ดูแลผู้สูงอายุพิการด้วย ซ่ึงครอบครัวต้องใช้ท้ังเวลาและค่าใช้จ่ายที่สูง ซ่ึงเป็นภาระหนักสาหรับ ครอบครวั หากปราศจากมาตรการเก้ือหนนุ จากภาครฐั และชุมชน ทเ่ี หมาะสม 5.3 ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 1. กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ควรเร่งส่งเสริมการจัดต้ังศูนย์บริการคน พกิ าร โดยทาความเขา้ ใจกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เห็นความสาคัญของการจัดต้ังศูนย์บริการ คนพิการท่ัวไป โดยการประชุมสัมมนาผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือการทาข้อตกลงกับ สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จัดต้ังศูนย์บริการคนพิการท่ัวไป เพื่อให้เกิดความร่วมมืออย่างเต็มที่ขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ ดว้ ยการผลักดนั เป็นนโยบายหลกั ของท้องถน่ิ 2. ในการให้บริการผู้สูงอายุพิการ ควรมีการจัดประเภทตามความรุนแรง 3 ประเภท คือ 1) ผู้สูงอายุพิการท่ีมีภาวะสุขภาพไม่รุนแรง มีอาการเจ็บป่วยเล็กไม่มากที่ไม่เน้นการรักษาจากแพทย์ แต่ต้องได้รับการดูแลจากสมาชิกในครอบครัว และการช่วยเหลือจากชุมชนในด้านต่าง ๆ ให้สามารถ ดาเนินชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี 2) ผู้สูงอายุพิการท่ีติดบ้านไม่สะดวกในการออกไปทากิจกรรมนอก บ้าน จึงต้องมีบรกิ ารเขา้ ไปดแู ลเยีย่ มเยยี นท่ีบ้านในด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ 3) ผู้สูงอายุพิการที่ มีภาวะสุขภาพติดเตียง หรือเจ็บป่วยเรื้อรัง ท่ีต้องได้รับการดูแลจากแพทย์เป็นหลักและการบริการ ดูแลท่ีบ้าน (Home Care) การให้บริการตามประเภทความรุนแรง จึงเป็นประโยชน์ต่อการวางแผน ปฏบิ ตั กิ ารฟ้ืนฟูและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ที่ตรงกบั สภาพข้อเทจ็ จริงที่สุด 3. อาสาสมัครในชุมชนท่ีทางานเพื่อคนพิการ ควรได้รับความสาคัญและยกย่องว่าเป็นผู้ เสียสละเวลาและชวี ิตส่วนตัว ทุ่มเทท้งั กาลงั กาย กาลังใจอย่างแท้จริง แต่ถึงแม้จะทางานด้วยจิตอาสา ไม่หวังผลตอบแทน กลุ่มคนเหล่าน้ีก็ควรได้รับการดูแลจากคนในสังคมเช่นเดียวกันเพื่อให้สามารถ ดารงความเป็นอาสาสมัครได้อย่างยั่งยืน การยกย่องเชิดชูเกียรติเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ การได้รับค่าตอนแทนเป็นตวั เงินทเี่ หมาะสมเปน็ สงิ่ จาเปน็ ในสถานการณเ์ ศรษฐกิจปจั จบุ ัน ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิ 1. รูปแบบการบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ ไม่ว่าจะเลือกรูปแบบใดในการ ดาเนินการ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ คือ ตัวผู้สูงอายุพิการเอง ผู้ดูแลและ สมาชิกในครอบครัว กลา่ วคอื ตัวผู้สูงอายุพิการ ต้องมีการรับรู้และเข้าใจภาวะสุขภาพของตนเองและ ยอมรบั สภาพความพิการ มกี าลงั ใจทีจ่ ะต่อสู้และพร้อมท่ีจะรับการฟ้ืนฟูคุณภาพชีวิต ซ่ึงต้องได้รับการ โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการที่เหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ ิการ 107

พัฒนาจิตใจให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem) ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูสภาพร่างกาย ผ้ดู แู ล จะต้องตระหนักในภาระหน้าท่ี ที่อาจต้องทาอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน ทั้งการดูแลด้าน อาหาร การให้อาหารทางสายยาง การขับถ่าย การสวนอุจาระ การทาความสะอาดร่างกาย การพยุง เขา้ หอ้ งน้า การขยบั ตวั เพ่ือไม่ใหเ้ กิดแผลกดทบั การปฐมพยาบาลและกายภาพบาบัดเบ้ืองต้น การให้ ยา และการสังเกตอาการ งานเหล่านี้เป็นงานท่ีจาเจและอาจน่ารังเกียจ สร้างความเบ่ือหน่ายได้ง่าย ยิ่งกว่าน้ันยังต้องการความใส่ใจ ความละเอียดรอบคอบเป็นพิเศษ สมาชิกในครอบครัวที่ไม่ได้ปฏิบัติ หน้าท่ีดูแลผู้สูงอายุพิการโดยตรง จะต้องคอยให้กาลังใจท้ังผู้สูงอายุพิการและผู้ดูแล ไม่ปล่อยให้เป็น หนา้ ทขี่ องผู้ดูแลเพียงผู้เดยี ว แม้จะมีการให้ค่าตอบแทนกต็ าม 2. แนวคิดการให้บริการผู้สูงอายุพิการ ต้องเน้นให้เกิดการแก้ไขฟื้นฟูตนเองเป็นพ้ืนฐาน ให้ดารงชีวิตอยู่ได้เยี่ยงคนปกติมากที่สุดด้วยสภาพจิตใจที่ไม่ท้อแท้ในโชคชะตา อยู่อย่างมีความหวัง และเข้ารว่ มกิจกรรมกบั ชมุ ชนตามความเหมาะสมของสภาพร่างกายและโอกาส 3. องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ควรมีบทบาทหลักในการจัดทาฐานข้อมูลคนพิการในพ้ืนที่ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ อาทิเช่น ข้อมูลภาพรวม ลักษณะและประเภทความพิการ โดยเฉพาะ ข้อมูลคนสูงอายุพิการควรมีการสารวจถึงสาเหตุของความพิการ ความต้องการและปัญหา และนา ข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์เพื่อหารูปแบบการบริการท่ีเหมาะสม และวางแผนการดาเนินงาน โดยให้ ภาคเี ครือข่ายทเ่ี กย่ี วข้อง กลุ่มคนพิการและชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการวางแผน 4. ควรจัดให้มีการเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุเกิดความพิการ ด้วยการส่งเสริม ความรูเ้ กี่ยวกับดา้ นสุขภาพ โภชนาการ การจดั การภาวะความเครียด การเสริมสร้างความตระหนักใน คุณค่าของตนเอง การออกกาลังกายท่ีเหมาะสมและการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน สิ่งเหล่านี้สามารถ ชว่ ยใหผ้ ู้สงู อายมุ สี ภาพจิตใจทีเ่ ข้มแขง็ และชะลอความเสือ่ มของสุขภาพกาย 5. จากผลการวิจัยพบว่า มีผู้สูงอายุพิการบางส่วนต้องการมีรายได้เป็นของตนเอง ดังนั้น ควรมีการจัดกิจกรรมที่สร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุพิการหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการด้วย เพื่อสร้างความ ภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง โดยอาจเป็นกิจกรรมที่ไม่เกิดความเครียด เช่น การทาน้ายาล้าง จาน น้ายาอาบนา้ -สระผม เป็นต้น ซ่งึ ผลติ ภัณฑน์ อกจากจะไว้ใช้เองในครอบครัวแล้ว ที่เหลือองค์กรท่ี เกย่ี วขอ้ งควรรับซื้อเพอ่ื จาหนา่ ยเปน็ รายไดก้ ลับคืนสู่ผู้อายุพิการ หรือเก็บไว้เป็นของชาร่วยแจกในงาน ตา่ งๆ ของชุมชนตอ่ ไป 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือองค์กรเพ่ือคนพิการ ขอรับการสนับสนุน งบประมาณการฟื้นฟูและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนสงู อายพุ กิ าร จากกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ โดยมีชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนิน โครงการด้วย ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ัยคร้งั ตอ่ ไป 1. ในการศกึ ษารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุพิการ ควรศึกษาเป็นรายภาค เพื่อหารูปแบบการ บริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการในแต่ละบริบทเพื่อให้เกิดความหลากหลาย และสามารถเห็น โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายพุ ิการ 108

จุดเดน่ จุดด้อยของแตล่ ะภาค 2. ควรมีการศึกษาเจาะลึกรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุพิการ ที่จัดโดยองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน เพ่ือศึกษาปัญหาอุปสรรคในการจัดบริการให้แก่ผู้สูงอายุพิการและหารูปแบบท่ีเหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพในการจัดบรกิ ารดังกลา่ ว 3. ควรมีการศึกษาถอดบทเรียน รูปแบบการบริการผู้สูงอายุพิการในแต่ละรูปแบบท้ังท่ี ดาเนินการโดยรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน องค์กรเอกชน พหุภาคีและธุรกิจเอกชน ที่ประสบความสาเร็จ เพ่ือเป็นตัวแบบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ ได้ เรียนร้แู ละนาไปปรับใช้ให้เกิดประสทิ ธิภาพกับองคก์ รของตน โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ กิ าร 109

บรรณานกุ รม กมลพรรณ พันพง่ึ . (2551). ไอแอล: การดารงชีวติ อสิ ระของคนพิการ. นนทบุรี: สภาศูนย์การดารงชีวิตอิสระ ของคนพกิ ารประเทศไทย. กรรณิกา ขวัญอารีย์ และภุชงค์ เสนานุช. (2549). รูปแบบการจัดบริการสังคมสาหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ ในชุมชน : กลุ่มพ่ึงพา ( Group Home) และบริการดูแลที่บ้าน ( Home Care ). คณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกยี รติ. กรรณิกา ขวัญอารีย์ และภุชงค์ เสนานุช. (2549). “เอกสารประกอบการประชุมคณะทางานจัดทาแนว ทางการจัดบรกิ ารสังคมรูปแบบกล่มุ พึง่ พา ( Group Home) และบริการดูแลที่บ้าน (Home Care ) สาหรับผู้พิการและผู้สูงอายุในชุมชน” สานักพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการ พฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ โรงแรมปรินซ์พาเลช กรุงเทพมหานคร. กุลยา ตนั ตผิ ลาชวี ะ. (2524). การพยาบาลผสู้ ูงอาย.ุ กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พ์เจรญิ กจิ . จันทนา รณฤทธิ์วิชัย. (2533). คู่มือการพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ชมพูนุท พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. บทความวิชาการ 3(16). สานัก วิชาการ สานกั งานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา. นารรี ัตน์ จติ รมนตรี และสาวติ รี ทยานศลิ ป์. รายงานการวิจยั การทบทวนองคค์ วามร้แู ละแนวทางการ จัดระบบสวัสดกิ ารผูส้ งู อายใุ นประเทศไทย. นิตยา หมายเหน่ียวกลาง และคณะ. (2555). การพัฒนาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยแกนนาสุขภาพ บ้าน สุขสาราญ ตาบลหูทานบ อาเภอปะคา จังหวัดบุรีรัมย์. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้าน โคกไมแ้ ดงหวั กระสงั อาเภอปะคา จงั หวัดบุรีรัมย์. นุชนาฎ ยูฮันเงาะ และโสภา อ่อนโอภาส. (2546). ผู้สูงอายุ: ฟางเส้นสุดท้ายของครอบครัวในชุมชนเมืองเขต กรงุ เทพมหานคร. วารสาร มฉก. ฉบับสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์. 6(12). บรรลุ ศริ พิ านิช. (2542). ผสู้ ูงอายุไทย. กรงุ เทพมหานคร: หมอชาวบา้ น. ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมือง กาฬสินธ์ุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประชากรศึกษา บัณฑิต วทิ ยาลัย, มหาวทิ ยาลัยมหิดล. “พระราชบัญญตั ิผสู้ ูงอายุ พ.ศ. 2546”. ราชกจิ จานุเบกษา ุ . เล่ม 120 ตอนท ี่ 130 ก. (2546, 31 ธันวาคม): หนา้ 1. “พระราชบัญญัติสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550”. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 61 ก. (2550, 27 กันยายน) :หนา้ 8. พีรสทิ ธิ์ คานวณศิลป์ และคณะ. (2533). ความทันสมยั : ภาพพจน์ทเ่ี กีย่ วกบั ตนเองและ ปัญหาบางประการ ของคนชรา. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ . ภัทรพร อ่อนไว. (2548). ยุทธศาสตร์การเคล่ือนไหวการสร้างพลังศักยภาพของสตรีพิการใน ประเทศไทย. วิทยานพิ นธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าสตรีศกึ ษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ศูนย์ศตวรรษิกชน. (2553). ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย. นครปฐม : สถาบนั วจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.

มานพ ตันสุภายน.2553.รายงานการวจิ ัยประเมินมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ ผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมในชุมชนเทศบาลตาบลหนองตองพัฒนา อาเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่. มาลินี วงษ์สิทธ์ิ และศิริวรรณ ศิริบุญ. (2544). ประชาสังคมกับการเก้ือหนุนผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: วทิ ยาลัยประชากรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.).2555. รายงานประจาปีสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยพ.ศ. 2553. กรงุ เทพมหานครบรษิ ัท: ที คิว พี จากัด. ไมตรี ติยะรัตนกูร. (2536). ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตร มหาบณั ฑติ ,สาขาวิจัยประชากรและสงั คม, บณั ฑติ วทิ ยาลยั , มหาวิทยาลัยมหดิ ล. ระพีพรรณ คาหอม และคณะ. (2547). โครงการการประเมินผลการจ่ายเงนิ สงเคราะห์เพื่อการยังชีพสาหรับ ผ้สู ูงอาย.ุ กรงุ เทพมหานคร : คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ระพีพรรณ คาหอม และคณะ. (2547). รายงานการศึกษา ทิศทางและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของ ประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์. วณี ปิ่นประทีบ และคณะ (2550a) โรงพยาบาล 2 บาท ชุมชนบุ่งคล้า จริงที่ไม่ไกลเกินฝัน กรุงเทพมหานคร: เอม่ี เอ็นเตอร์ไพรส์ จากดั สริญญา ป่ินเพชร. (2555). การพัฒนารูปแบบการดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุด้วยการมีส่วนร่วมของ ครอบครัวและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ . กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาล หนองหงส์ จงั หวดั บรุ รี ัมย์. ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. พิมพ์คร้ังท่ี 7. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ ศศิพัฒน์ ยอดเพชร.2548. รายงานการวิจัยโครงการผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (2550) ศูนย์อเนกประสงค์สาหรับผู้สูงอายุในชุมชน: กลไกการดาเนินงานเพื่อความ ยัง่ ยืน กรงุ เทพ: มสิ เตอรก์ ๊อปป้ี ศริ ิพนั ธ์ุ สาสตั ย,์ ทศั นา ชวู รรธนะปกรณ์, และเพ็ญจันทร์ เลิศรตั น์. (2552). รูปแบบการปฏิบัติการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวในสถานบริการในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มิสเตอร์ก๊อปป้ี (ประเทศ ไทย). ศริ วิ รรณ ศิรบิ ญุ . (2543). การตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีตัวอย่างการ จัดต้ังศูนย์ บริการทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศรีทับทิม รัตนโกศล. 2527. “สัมพันธภาพท่ีดีในครอบครัว.” ประมวลบทความวิทยุ : กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. สานกั งานคณะกรรมการฟืน้ ฟสู มรรถภาพคนพิการ. (2540). พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรม โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร 111

ประชาสงเคราะห์. สานักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2544). คู่มือการส่งเสริมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ ในผู้สูงอายุ สาหรับบุคลกรสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แหง่ ประเทศไทย จากดั . สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557). สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ ปี ท่ี 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2557. หนา้ 73. สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงแรงงาน .2551. รายงานสรุปผลการจัดประชุมสัมมนา เร่ือง“การ สง่ เสริมการเตรยี มความพร้อมขององค์กรดา้ นแรงงานก่อนเขา้ สู่วัยสูงอายุ”.กรงุ เทพมหานคร : บางกอกบล็อก. สุภาณี อ่อนชืน่ จิตร และฤทยั พร ตรีตรง .2549 .การบริการสขุ ภาพที่บ้าน Home Health Care Service (พิมพค์ ร้ังท่ี 2 ) มปท. รายงานการวิจัย การจัดบริการสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุในระดับตาบลอย่างมีส่วนร่วม. สานักงาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนษุ ย์. 2555. รายงานการวจิ ยั โครงการสร้างและขยายโอกาสในการเข้าถงึ หลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐาน สาหรบั ผสู้ งู อายุ. กรุงเทพ: สานกั งานปลัดกระทรวงแรงงาน. คมู่ ือระบบหลักประกนั สขุ ภาพในระดบั ท้องถ่นิ หรอื พืน้ ที่ (กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหาร สว่ นตาบล/เทศบาล).กรงุ เทพ: บรษิ ัท ศรเี มืองการพิมพ์. “กองทนุ ผูส้ ูงอายุ” แผน่ พับประชาสมั พนั ธ์ สานักสง่ เสรมิ และพิทักษ์ผสู้ ูงอายุ. 2555. แผนกลยทุ ธ์. อรจิตต์ บารุงสกุลสวัสด์ิ, ชนาทิพย์ มารมย์ และกฤดาญชลี เพ็ญภาค .2550 .คู่มือระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพ้ืนที่ (กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล) กรุงเทพมหานคร: ศรเี มืองการพิมพ์. ประมวลสถิติด้านสังคม ประจาปี 2556 . เอกสารประมวลสถิติด้านสังคม 3/2556 . ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศแลการสอื่ สาร สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ Ebersole, P. & Hess, P. (1998). Toward healthy aging : Human need and nursing response. (5th) St. Louis. Toronto. London : The C. V. Mosby Company. Ferrini, A.F., & Ferrini, R.L. (1993). Health in the later years (2nd ed.). Madison, WI : Brown & Benchmark. Hammerman, S. and Maikowski, S. (1981). The economics of disability international perspection. New York. Holmes, T. H. and Rahe, R. H. (1967). The social readjustment rating scale, Journal of Psychosomatic research, 11(2), 213-21. โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ กิ าร 112

ภาคผนวก ก. แบบสอบถามสาหรบั ผู้สูงอายุพิการ ข. แบบสอบถามสาหรับผู้ดูแลผู้สงู อายุพิการ โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร 113

โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายุพกิ าร 114

/ / แบบสอบถาม (สาหรับผ้สู งู อายุพิการ) สสว./ตำบล/ลำดบั “รูปแบบการบรกิ ารด้านสุขภาพที่เหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพิการ” แบบสอบถามมีทั้งหมด 2 ตอน ขอให้ท่านตอบตรงกับความจริง หรือความคิดเห็นของท่าน เพ่ือเป็นข้อมูลในการพัฒนา รูปแบบการบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ ให้เกิด ประสทิ ธผิ ลสงู สุด โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงใน  หน้าคาตอบที่ท่านเลือกและหรือกรอกข้อความที่ตรงกับ ความเปน็ จรงิ เก่ียวกับตวั ท่านในช่องว่างต่อไปนี้ ส่วนท่ี 1 ลักษณะส่วนบคุ คล 1. ผใู้ หข้ ้อมลู (1) ผสู้ งู อายพุ ิการ (2) ผู้ดแู ลผ้สู ูงอายุพกิ าร 2. เพศ (1) ชาย หญิง 3. ปจั จุบนั อาย.ุ ...............................ปี 4.สถานภาพ โสด สมรสหรืออยดู่ ว้ ยกัน หมา้ ย หยา่ รา้ ง/ แยกกนั อยู่ 5. ศาสนา พุทธ คริสต์ อิสลาม อื่นๆ ระบุ………................… 6. ระดับการศึกษาสูงสดุ ไม่ไดเ้ รยี นหนงั สือ/เรียนแต่ไม่จบประถมศึกษา จบประถมศึกษา (3) จบมธั ยมศึกษาตอนต้น ) จบมธั ยมศกึ ษาปลาย/ปวช. ) จบอนปุ ริญญา/ปวส. ) จบปรญิ ญาตรี ) จบปริญญาโทหรือสูงกว่า ) อ่นื ๆ (ระบุ)............................ 7. สถานภาพการทางานปจั จุบัน ไมป่ ระกอบอาชพี ประกอบอาชพี ระบ.ุ ............................... 8. ประเภทความพกิ าร (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) ทางการเหน็ (1.1)ตาบอด (1.2) เห็นเลือนราง ทางการได้ยนิ หรือส่ือความหมาย (2.1) หูหนวก (2.2) หูตงึ (2.3) ความพกิ ารทางการสื่อความหมาย ทางการเคลื่อนไหวหรอื ทางรา่ งกายระบ.ุ ................................ ทางจิตใจหรือพฤติกรรม ทางสติปญั ญา ทางการเรียนรู้ (LD) ออทสิ ติก 9. สถานภาพการจดทะเบยี นคนพกิ าร จดทะเบยี นคนพกิ าร ไม่ไดจ้ ดทะเบียนคนพิการ เพราะ..........................................................

10. สาเหตุของความพิการ พกิ ารแต่กาเนดิ พิการเกดิ จากอบุ ัตเิ หตุ พกิ ารจากโรคภัยไข้เจ็บ พกิ ารจากความชรา อน่ื ๆ............................................ 11. อายุเมื่อแรกพบความพิการ..............................ปี 12.ผสู้ ูงอายุพิการเปน็ สมาชิกกลมุ่ /ชมรมในชมุ ชนหรอื ไม่ ไม่เปน็ (ข้ามไปตอบข้อ 14) เป็น (ระบุ) ชมรม.................................................. 13. ผสู้ งู อายุพิการเข้าร่วมกจิ กรรมของกลุ่ม/ชมรม ในรอบปีทีผ่ ่านมาบอ่ ยครงั้ แคไ่ หน ไมเ่ คยเข้ารว่ ม เขา้ รว่ มบ้างบางครงั้ เขา้ ร่วมบ่อยครง้ั 14. ผู้สงู อายพุ กิ ารใช้กายอปุ กรณ์ใดบา้ ง (0) ไม่ไดใ้ ช้เพราะ....................................................................................................................... 1) ใช้ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) 1.1) แว่นตา/แวน่ ขยาย 1.2) ไมเ้ ท้า/ไมเ้ ทา้ สามขา 1.3) คอกชว่ ยเดิน (1.4) เครอ่ื งชว่ ยฟัง 1.5) รถเข็น 1.6) อนื่ ๆ ระบุ........................................... 15. ผู้สงู อายพุ ิการอาศยั อยู่กับใครบ้าง (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) ลาพังคนเดยี ว คูส่ มรส บุตร.....................คน 4) เขย/สะใภ.้ ..................คน หลาน .....................คน พีน่ ้อง .....................คน บุคคลอ่นื ระบุ.................................................. 16. การช่วยเหลอื ตัวเองของผู้สูงอายพุ ิการ ชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้ ช่วยเหลือตัวเองไดบ้ ้าง ช่วยเหลือตวั เองได้ 17. ผ้ดู แู ลผสู้ งู อายพุ ิการในการใช้ชวี ติ ประจาวนั (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) ไม่มผี ู้ดแู ล คู่สมรส บุตร ญาติ ผู้ชว่ ยเหลอื คนพิการ (มีค่าตอบแทน) บคุ คลอนื่ ระบุ....................... 18. สทิ ธกิ ารรักษาพยาบาล บตั รทอง/30บาท ) ขา้ ราชการ/ลูกจา้ งประจา ) ประกันสังคม ) ทหารผ่านศึก ) บัตรผูพ้ กิ าร โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุพกิ าร 115

19. สทิ ธกิ ารรักษาพยาบาลด้วยกรมธรรม์ประกนั ชีวิต ไม่มี มี 20. ผู้สงู อายพุ ิการเคยไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ใดบ้าง 0) ไมเ่ คยไดร้ ับความชว่ ยเหลอื (1) เคยไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 1.1) ไดก้ ยู้ ืมเงนิ จากกองทนุ สวสั ดิการภาครัฐ/ชมุ ชน 1.2) ไดร้ ับเบีย้ ยงั ชีพคนพกิ าร 1.3) ได้รับการรกั ษาพยาบาลโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย 1.4) ได้รบั เงนิ สงเคราะห์หรอื เงนิ ช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (1.5) ได้รับแจกเครื่องอุปโภค บริโภคเปน็ ครงั้ คราว 1.6) ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ปรบั สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย 1.7) ไดร้ ับกายอปุ กรณ์สาหรบั คนพิการ เช่น รถเข็น,ไมเ้ ทา้ ,แวน่ ตา,ขาเทียม 1.8) อืน่ (ระบ)ุ ................................................................................................ 21. ปจั จุบันผสู้ งู อายุพิการประสบปัญหาดา้ นการรกั ษาพยาบาลหรือไม่ 0) ไม่มีปัญหา 1) มีปญั หา(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1.1) ขาดกายอปุ กรณส์ าหรบั คนพิการ 1.2) ไม่ได้รบั บริการฟืน้ ฟสู มรรถภาพโดยกระบวนการทางแพทย์ 1.3) ขาดค่าใชจ่ า่ ยในการเดนิ ทางไปรักษาพยาบาล (1.4) ไม่ไดร้ บั ความสะดวกในการเข้าถงึ การรักษาพยาบาล (1.5) ขาดยาและเวชภัณฑ์ อ่นื ๆ ระบุ .................................................................... 22.ปัจจบุ ันผ้สู ูงอายุพกิ ารประสบปัญหาทอ่ี ยู่อาศัยหรือไม่ ไม่มีปญั หา มปี ัญหาสภาพท่อี ยู่อาศยั ไมเ่ อื้อต่อการดาเนนิ ชีวิตประจาวัน ระบุ ..................................................................................................... โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายุพกิ าร 116

23. ปัญหาด้านสวัสดิการทีจ่ าเป็นตอ่ การดารงชีวิต ไม่มปี ัญหา มปี ญั หา(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1.1) ชว่ ยเหลือตวั เองไม่ไดใ้ นการดารงชีวติ ประจาวัน 1.2) ไม่มผี ูด้ ูแล 1.3) ไม่มีคนอุปการะ/ไรท้ พ่ี ่งึ พิง 1.4) ไมม่ ีทุนประกอบอาชพี 1.5) ไมม่ ีอาชีพ 1.6) มีหนส้ี ิน 1.7) รายได้ไมเ่ พยี งพอแกก่ ารครองชีพ 1.8) ไมส่ ามารถเล้ียงดูบุตรได้ 1.9) อนื่ ๆ ระบ.ุ ............................................. 24.ปัญหาทางดา้ นสุขภาพของผูส้ ูงอายพุ ิการ ไม่มีปัญหา มีปญั หา(ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) มีปญั หาทางการขับถา่ ย อัลไซเมอร์ พารก์ นิ สัน (1.4) หวั ใจ/ความดนั /เบาหวาน แผลกดทับ กระดกู อ่ืน ๆ ระบ.ุ ............................................. ส่วนที่ 2 ศึกษาความต้องการได้รับการบรกิ ารในด้านต่างๆ จากการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบรกิ าร ด้านสขุ ภาพ สาหรบั ผสู้ ูงอายุพกิ าร คาชแี้ จง โปรดพิจารณารายละเอยี ดของข้อความและทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งระดับความต้องการใน การได้รบั บริการด้านต่างๆ ทตี่ รงกับความคิดของท่านมากที่สุด ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ที่สุด กลาง ทส่ี ุด ความต้องการด้านการศกึ ษา 1. การจัดให้มกี ารทัศนศึกษาดงู านตามโอกาส 2. ได้รบั โอกาสในการศึกษาตามความเหมาะสม 3. การได้รับคาแนะนาวิธีปฏิบตั ิกรณเี ผชิญเหตฉุ ุกเฉิน 4. ความรเู้ กีย่ วกับการปรบั ตัวในการอยรู่ ว่ มกันทางสงั คม 5. ความรู้ทางดา้ นกฎหมายและสิทธิทางกฎหมาย 6. ความรู้ทางด้านสิทธิทางการแพทยแ์ ละการรักษาพยาบาล 7. การเรยี นรู้ทกั ษะในการดาเนนิ ชีวติ ท่ีเหมาะสมกบั ความพิการ 8. การไดร้ บั ข่าวสารด้านสทิ ธิและสวัสดกิ ารจากภาครฐั โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุพกิ าร 117

ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ทส่ี ดุ กลาง ทีส่ ุด ความต้องการด้านการศกึ ษา 9. การได้เรยี นรูเ้ กย่ี วกบั การถ่ายทอดและอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญา 10.การศึกษาด้านคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี ความต้องการเพิม่ เติมดา้ นการศกึ ษา................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ระดับความต้องการ ความตอ้ งการด้านท่อี ยู่อาศัย มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ท่สี ดุ กลาง ที่สดุ 11. การปรบั ปรุงบันไดบา้ น ทางเดนิ ให้มรี าวใหย้ ดึ เกาะ 12. ปรับพื้นทใ่ี ห้มที างลาดขนึ้ -ลง ภายในบ้าน 13. ห้องน้า/ห้องสว้ มอยูภ่ ายในบา้ นและเปน็ แบบนั่งหอ้ ยเท้า 14. ปรับทนี่ อนหรอื ห้องนอนใหม้ ีความเหมาะสม 15. บ้านที่อยูอ่ าศัยมอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก 16. บา้ นทอ่ี ยอู่ าศยั มแี สงสว่างท่ีเพยี งพอ 17. ปรับสภาพแวดลอ้ มของที่อยูอ่ าศยั ให้มีความเหมาะสมกับ สภาพความพิการ ความตอ้ งการเพม่ิ เติมด้านท่ีอยอู่ าศยั .................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ กิ าร 118

ระดบั ความต้องการ ความตอ้ งการด้านการทางานและการมีรายได้ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ 18. การจัดหาอาชพี ทเ่ี หมาะสมแกผ่ ้สู ูงอายุพิการ 19. การสง่ เสรมิ การออมและการลงทนุ 20. การพฒั นาทกั ษะในการประกอบอาชีพ 21. การชว่ ยเหลือสง่ เสริมในการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ 22. การจดั หาแหลง่ เงนิ ทนุ ในการประกอบอาชพี 23. การจดั หาวตั ถดุ บิ ในการประกอบอาชีพ 24.การจดั หาสถานทจ่ี าหน่ายผลิตภณั ฑ์และช่องทางการตลาด 25. การใหค้ วามรู้เก่ียวกบั อาชพี ความตอ้ งการเพิ่มเติมด้านการทางานและการมรี ายได้....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ระดบั ความต้องการ ความต้องการด้านนันทนาการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ท่ีสดุ กลาง ที่สดุ 26. การเข้าร่วมกิจกรรมรื่นเริงของชมุ ชน 27. การเข้ารว่ มในกจิ กรรมทางสังคม การเข้ากลุ่ม 28. การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา 29. การเข้ารว่ มกจิ กรรมตามประเพณี วัฒนธรรมทอ้ งถิ่น 30. การเขา้ รว่ มกิจกรรมด้านกีฬา การออกกาลังกาย 31. การไดท้ างานอดิเรกที่ชอบ เช่น งานศิลปะ ดนตรี 32. การถา่ ยทอดความรู้/ภูมิปญั ญา 33. การใหค้ วามช่วยเหลือทางสังคมของผ้สู งู อายุพิการ ความต้องการเพ่ิมเติมดา้ นนนั ทนาการ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารทีเ่ หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ กิ าร 119

ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ที่สุด กลาง ที่สดุ ความต้องการด้านกระบวนการยตุ ธิ รรม 34. การไม่ถูกเลือกปฏบิ ัติ 35. การชว่ ยเหลอื ทางกฎหมายโดยการจดั หาทนายความ ชว่ ยเหลอื ทางคดี และการเจรจาไกลเ่ กลย่ี 36. การได้รับการค้มุ ครองทางกฎหมายอยา่ งเสมอภาคและเป็น ธรรม 37. การเขา้ ถงึ สิทธิของผ้สู ูงอายุพกิ าร 38. การจดทะเบยี นและการไดร้ บั สิทธปิ ระโยชน์ทางกฎหมาย 39. การเข้าถึงบรกิ ารที่รัฐจัดให้ 40.มีตัวแทนของผู้สูงอายุพิการในการดาเนินทางดา้ นกฎหมาย ความตอ้ งการเพิ่มเติมด้านกระบวนการยุตธิ รรม................................................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ระดับความต้องการ ความต้องการดา้ นบริการทางสังคมท่ัวไป มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ุด กลาง ที่สดุ 41. มสี ่ิงอานวยความสะดวกของชุมชนท่เี หมาะสมแก่ผู้สูงอายุ พิการ 42. การอานวยความสะดวกในสถานที่ของรฐั 43. การได้รับการลดหย่อนทางดา้ นภาษี 44. การไดร้ บั สว่ นลดคา่ โดยสารขนส่งสาธารณะ 45. การบรกิ ารทางด่วนสาหรับผสู้ ูงอายุพิการในโรงพยาบาล 46. การสนับสนุนค่าใช้จ่าย (เช่น ค่ารถ ค่าอาหาร เครื่องนุ่งห่ม หรือค่ารักษาพยาบาลเบือ้ งต้น) 47. การใหบ้ รกิ ารกู้ยมื เงินจากกองทนุ ผสู้ ูงอายุและกองทุนผูพ้ กิ าร 48. การไดร้ บั การบริการอานวยความสะดวกในสถานทสี่ าธารณะ โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุพกิ าร 120

ความตอ้ งการเพมิ่ เติมด้านบริการทางสงั คมทั่วไป............................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ระดับความต้องการ ความตอ้ งการด้านสขุ ภาพอนามยั มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ที่สดุ กลาง ที่สุด 49. การไดร้ บั ความรเู้ ก่ียวกบั การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุพิการ 50. การไดร้ บั คาแนะนาในการออกกาลงั กายและกายภาพบาบัด ท่เี หมาะสมกับประเภทความพกิ าร 51. การไดร้ ับความรเู้ ก่ียวกบั โภชนาการทเ่ี หมาะสมกบั ความ พิการและวยั 52. การดแู ลการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวนั 53. การไดร้ ับยาและเวชภณั ฑ์(ผ้าอ้อม กระบอกปสั สาวะ) 54. การได้รับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางแพทย์ 55. การได้รบั เครือ่ งอานวยความสะดวก เช่น เตยี งปรบั เอน ที่ นอนกันแผลกดทับ 56. การกายอปุ กรณ์ เช่น ไมเ้ ทา้ เครือ่ งชว่ ยฟัง เคร่อื งช่วยพยงุ วีลแชร์ (รถเข็นนั่ง) และแขน/ขาเทยี ม เป็นตน้ 57. การตรวจเยย่ี มและให้คาปรึกษาโดยทมี สหวชิ าชีพ 58. การได้รบั คาปรกึ ษาด้านสุขภาพจติ ใจและความเครยี ด 59. การได้รบั การยอมรบั จากครอบครัวและชุมชน 60. การได้รบั การยอมรับในศักดิศ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ 61. การได้อยูพ่ ร้อมหน้าในหม่ลู กู หลาน 62. การไดร้ ับความรกั ความเอาใจใส่จากครอบครัวและสังคม 63. ความรสู้ กึ ปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ ิน ความตอ้ งการเพม่ิ เติมดา้ นสขุ ภาพกาย................................................................................................................. ......................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. .............................................. ความต้องการเพิม่ เติมด้านสขุ ภาพจิต................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................. โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุพกิ าร 121

25. ข้อคดิ เห็นอนื่ ๆ ต่อแนวทางในการให้บรกิ ารตา่ งๆ ของผู้สูงอายุพกิ าร ในประเดน็ เก่ยี วกบั (1) บทบาทของท้องถน่ิ ในการบรกิ ารด้านสขุ ภาพทีเ่ หมาะสมสาหรับผูส้ งู อายพุ ิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (2) บทบาทของสมาชิกในชมุ ชนในการบริการดา้ นสุขภาพทเ่ี หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายุพิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (3) บทบาทของครอบครัวในการบริการดา้ นสุขภาพท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุพกิ าร ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (4) บทบาทของผ้สู งู อายุพิการในการบริการด้านสุขภาพทเี่ หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ ิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ผเู้ ก็บแบบสารวจ / ............................./.......................... …………/…………./ส…ส…ว…./…ตำ…บ.ล/ลำดบั โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร 122

แบบสอบถามเรอ่ื ง (สาหรับผดู้ ูแลสงู อายุพิการ) “รูปแบบการบริการด้านสขุ ภาพท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร” แบบสอบถามมีท้ังหมด 2 ตอน ขอให้ท่านตอบตรงกับความจริงหรือความคิดเห็นของท่าน เพ่ือเป็นข้อมูลในการพัฒนารูปแบบการบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการให้เกิด ประสทิ ธิผลสูงสดุ โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงใน  หน้าคาตอบท่ีท่านเลือกและ/หรือกรอกข้อความท่ีตรงกับ ความเป็นจริงเกยี่ วกับตัวท่านในช่องว่างต่อไปนี้ สว่ นท่ี 1 ลักษณะส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย หญิง 2. ปจั จุบันอาย.ุ ...............................ปี 3. ทา่ นมีความเกีย่ วขอ้ งกบั ผู้สงู อายพุ ิการอย่างไร เปน็ คสู่ มรส เปน็ บุตร/หลาน เปน็ ญาติ ผู้ชว่ ยเหลอื คนพิการ (มีคา่ ตอบแทน) อื่น ระบ.ุ ................................................................................................ 4.สถานภาพ โสด สมรสหรอื อยู่ดว้ ยกนั หม้าย หยา่ รา้ ง/ แยกกันอยู่ 5. ศาสนา พุทธ ครสิ ต์ อิสลาม อนื่ ๆ ระบุ………................… 6. ระดบั การศึกษาสูงสดุ ไมไ่ ด้เรียนหนังสือ/เรียนแตไ่ มจ่ บประถมศึกษา จบประถมศึกษา (3) จบมัธยมศกึ ษาตอนต้น จบมธั ยมศึกษาปลาย/ปวช. จบอนปุ รญิ ญา/ปวส. จบปริญญาตรี จบปริญญาโทหรอื สงู กวา่ อื่นๆ (ระบ)ุ ............................ 7. อาชีพ ไมป่ ระกอบอาชีพ เกษตรกรรม รบั จา้ ง รับราชการ/รฐั วิสาหกิจ ค้าขาย บรษิ ัทเอกชน อืน่ ๆ (ระบุ)............................ 8. ความรทู้ ักษะเก่ียวกับการดูแลผ้สู งู อายพุ ิการ ไม่มี มีความรู้ทักษะ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ไดร้ บั การอบรมทางด้านการดูแลผสู้ งู อายุ/ผู้พิการ ผ่านหลกั สตู รการรักษาพยาบาลจากสถานศึกษา อื่นๆ..................................................................... โครงการศึกษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ กิ าร 123

10. ทา่ นไดด้ แู ลผ้สู งู อายพุ ิการคนปจั จุบันมาแล้ว............ปี 11. ผสู้ งู อายุพิการทท่ี า่ นดแู ลปจั จุบันเปน็ ผูพ้ ิการประเภท (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) ทางการเห็น (1.1)ตาบอด (1.2) เหน็ เลือนราง ทางการได้ยนิ หรอื ส่อื ความหมาย (2.1) หูหนวก (2.2) หูตึง (2.3) ความพิการทางการสอ่ื ความหมาย ทางการเคลื่อนไหวหรอื ทางร่างกายระบ.ุ ................................ ทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม ทางสตปิ ัญญา ทางการเรียนรู้ (LD) ออทิสติก 12.ทา่ นไดม้ ีโอกาสแลกเปล่ียนเรยี นรปู้ ระสบการณ์กบั ผ้ดู แู ลทา่ นอ่ืนหรอื ไม่ ไม่เคย เคย 13. ผู้สงู อายุพิการเขา้ รว่ มกิจกรรมของกล่มุ /ชมรม บอ่ ยครั้งแคไ่ หน ไม่เคยเข้ารว่ ม เขา้ รว่ มบา้ งบางครง้ั เข้าร่วมทกุ ครั้ง 14. ผ้สู ูงอายพุ กิ ารใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยเหลอื ใดบ้าง ไม่ไดใ้ ชเ้ พราะ......................................................................................................................... ใช้ (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) แวน่ ตา/แวน่ ขยาย ไมเ้ ท้า/ไมเ้ ท้าสามขา คอกช่วยเดนิ เครอ่ื งช่วยฟัง รถเข็น /รถโยก อื่นๆ ระบุ........................................... 15. ผสู้ ูงอายุพิการทีท่ ่านดูแลสามารถช่วยเหลอื ตัวเองได้มากเพียงไร ชว่ ยเหลือตวั เองไมไ่ ด้ ชว่ ยเหลือตวั เองได้บ้าง ชว่ ยเหลือตัวเองได้ 16.ชว่ งเวลาที่ทา่ นดูแลผู้สงู อายพุ ิการ กลางวนั กลางคนื ชงั่ โมง 17.ท่านได้รบั รายได้จากการดูแลผสู้ งู อายพุ ิการหรอื ไม่ ไม่ไดร้ บั ไดร้ ับประมาณ ……………………… บาท/เดือน 18. ทา่ นประสบปญั หาจากการดแู ลผสู้ งู อายพุ ิการในดา้ นใดบ้างดงั ต่อไปนี้ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 19.1) ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ/การประกอบอาชีพ 19.2) ปญั หาดา้ นสุขภาพจิต/ความเครยี ด โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายพุ กิ าร 124

19.3) ปัญหาดา้ นสขุ ภาพกาย/การพักผอ่ นไม่เพยี งพอ ปัญหาทางด้านสังคม ปัญหาขาดกายอุปกรณ/์ เวชภัณฑ์ ปญั หาทางด้านท่ีอยู่อาศยั ที่ไม่เหมาะสม อน่ื (ระบ)ุ ......................................................................................... ส่วนที่ 2 ศึกษาความต้องการได้รบั การบรกิ ารในด้านตา่ งๆ จากการจดั สวัสดกิ ารสงั คมและการ จดั บริการดา้ นสุขภาพ สาหรบั ผูส้ ูงอายุพิการ คาชีแ้ จง โปรดพจิ ารณารายละเอียดของขอ้ ความและทาเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งระดับความตอ้ งการใน การไดร้ ับบรกิ ารด้านต่างๆ ท่ีตรงกบั ความคิดของทา่ นมากทส่ี ุด ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ไม่ ท่สี ดุ กลาง ทส่ี ดุ ต้องการ ความต้องการด้านการศกึ ษา 1.การไดร้ ับความรเู้ ก่ียวกับการดแู ลสุขภาพผ้สู ูงอายุพิการ 2.การได้รับความร้เู ก่ยี วกับการสง่ เสรมิ การออกกาลงั กาย สาหรับผู้สงู อายุพิการ 3. การได้รบั ความรู้เกี่ยวกบั การทากายภาพบาบดั สาหรับ ผสู้ ูงอายพุ ิการ 4. การได้รับความรเู้ กย่ี วกบั โภชนาการของผ้สู ูงอายพุ ิการ 5. การไดร้ ับความรู้วธิ ปี ฏิบัตกิ รณีเผชญิ เหตุฉกุ เฉิน 6. การไดร้ บั ขา่ วสารดา้ นสทิ ธิและสวสั ดกิ ารจากภาครัฐ ความตอ้ งการเพ่มิ เติมด้านการศกึ ษา.................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .............................................................. โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ กิ าร 125

ระดับความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่ ทสี่ ดุ กลาง ทีส่ ุด ต้องการ ความต้องการด้านทอี่ ยู่อาศยั 7. การปรับปรงุ บันไดบ้าน ทางเดนิ ใหม้ ีราวให้ยดึ เกาะ 8. ปรบั พืน้ ที่ใหม้ ีทางลาดขนึ้ -ลง ภายในบ้าน 9. หอ้ งน้า/หอ้ งส้วมอยู่ภายในบา้ นและเป็นแบบนั่งหอ้ ยเทา้ 10. หอ้ งนอนหรือทน่ี อนของผู้สูงอายุพิการอยู่ชน้ั ลา่ ง/บ้านช้นั เดยี วมีห้องสาหรบั ผู้สูงอายุพกิ าร 11. ปรบั ทีน่ อนหรอื ห้องนอนใหม้ คี วามเหมาะสม 12. บ้านที่อยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก 13.บา้ นทอี่ ยู่อาศัยมแี สงสวา่ งที่เพียงพอ 14. ปรบั สภาพแวดลอ้ มของที่อยู่อาศยั มีความเหมาะสมกับ สภาพความพิการ ความต้องการเพม่ิ เติมดา้ นท่ีอยู่อาศัย................................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. .............................................................. ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ไม่ ท่ีสดุ กลาง ทีส่ ุด ตอ้ งการ ความต้องการดา้ นการทางานและการมีรายได้ 15. การใหค้ วามรู้ทักษะเกี่ยวกับการประกอบอาชีพท่ีบ้าน 16. การประกอบอาชพี เสรมิ ท่ีบา้ น 17. การสนับสนนุ เงินทุนในการประกอบอาชีพ 18. การจดั หาวัตถุดิบในการประกอบอาชีพ 19. การชว่ ยเหลือสง่ เสริมในการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ 20.การจัดหาสถานที่จาหน่ายผลติ ภณั ฑ์และช่องทางการตลาด ความตอ้ งการเพิม่ เติมด้านการทางานและการมีรายได้...................................................................................................... ....................................................................................... .................................................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................... โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ กิ าร 126

ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่ ทีส่ ดุ กลาง ทส่ี ุด ต้องการ ความตอ้ งการด้านนันทนาการ 21. การเข้ารว่ มกจิ กรรมรนื่ เริงของชมุ ชน 22. การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสงั คม การเขา้ กลุ่ม 23. การมสี ่วนรว่ มกิจกรรมทางศาสนา 24. การเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น 25. การเข้ารว่ มกิจกรรมด้านกีฬา การออกกาลังกาย 26. การได้ทางานอดเิ รกทช่ี อบ เช่น งานศลิ ปะ ดนตรี ความตอ้ งการเพม่ิ เติมด้านนันทนาการ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .............................................................. ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่ ที่สุด กลาง ท่สี ุด ตอ้ งการ ความต้องการดา้ นความยุติธรรม 27. ตอ้ งการใหผ้ ้สู งู อายุพิการได้รบั ความช่วยเหลือทางกฎหมาย 28. ต้องการให้ผสู้ งู อายุพิการไมถ่ ูกเลือกปฏิบัติจากสังคม 29. ต้องการใหผ้ สู้ ูงอายุพกิ ารไดร้ บั การช่วยเหลอื ทางคดี และ การเจรจาไกล่เกล่ีย 30. ต้องการใหผ้ สู้ งู อายุพิการไดเ้ ข้าถึงสทิ ธิของผสู้ งู อายุพิการ 31. ตอ้ งการให้ผสู้ ูงอายุพิการไดร้ ับการจดทะเบยี นและการ ได้รบั สทิ ธปิ ระโยชน์ทางกฎหมาย ความต้องการเพิ่มเติมด้านความยตุ ิธรรม........................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .............................................................. โครงการศึกษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร 127

ระดบั ความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ไม่ ทีส่ ุด กลาง ที่สุด ต้องการ ความต้องการด้านบรกิ ารทางสงั คมท่ัวไป 32.การไดร้ บั การเชิดชูยกย่องจากสังคม 33. การไดร้ บั การลดหย่อนทางด้านภาษี 34. การไดส้ ิทธใิ นการกู้ยืมเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพที่บา้ น 35. ได้รับการสนบั สนุนข้อมลู ตา่ งๆ จากสหวชิ าชีพ 36. มชี มรมในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ร่วมกนั ในกลุ่มผู้ดแู ล ผสู้ ูงอายุ 37. สมาชิกในครอบครวั จะช่วยหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ี เกดิ ข้ึนรว่ มกัน 38. สมาชกิ ในครอบครัวช่วยเหลือดูแลสนับสนนุ ด้านอ่นื ๆ แก่ ผูด้ ูแลผสู้ งู อายพุ ิการ ความตอ้ งการเพ่มิ เติมด้านทางสังคมทั่วไป......................................................................................................................... ...................................................................................................... ................................................................................ ..... ............................................................................................................................. .............................................................. ระดับความต้องการ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่ ทสี่ ุด กลาง ที่สุด ตอ้ งการ ความต้องการด้านสขุ ภาพอนามัย 39. การมเี วลาในการออกกาลังกาย 40. การมเี วลาในการพกั ผ่อนทีเ่ พยี งพอ 41. การได้ความรกั และความห่วงใยและการให้กาลงั ใจจาก ครอบครวั 42. มอี าสาสมคั รมาพบปะพูดคยุ เพื่อใหก้ าลงั ใจ 43. การไดร้ ับคาแนะนาด้านสุขภาพจิตและการจัดการ ความเครยี ด ความต้องการเพิ่มเติมด้านสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................... โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพกิ าร 128

19. ขอ้ คดิ เห็นอืน่ ๆ ต่อแนวทางในการให้บรกิ ารต่างๆ ของผู้สูงอายุพกิ าร ในประเดน็ เก่ียวกับ (1) บทบาทของท้องถน่ิ ในการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ ิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (2) บทบาทของสมาชกิ ในชุมชนในการบรกิ ารดา้ นสุขภาพท่เี หมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (3) บทบาทของครอบครัวในการบริการดา้ นสุขภาพทเี่ หมาะสมสาหรับผ้สู งู อายุพิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. (4) บทบาทของผสู้ งู อายุพกิ ารในการบริการด้านสขุ ภาพทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ ิการ ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ………………………………………........................……………………………………….............................................................. ผูเ้ ก็บแบบสารวจ ....................................................... …………/…………./……………. โครงการศึกษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายพุ กิ าร 129

คณะผู้ดาเนินการวจิ ยั ที่ปรกึ ษาโครงการ ดร.วโิ รจน์ พรหมสดุ อาจารยป์ ระจามหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช นายณพล มหกรรมโกลา นักวชิ าการอิสระ คณะผ้วู จิ ัย เรืองดี สานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 1 นางชุลที พิ ย์ โลห่ ์สวุ รรณ สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 2 นายธนพล สนิ ธาราศิรกิ ลุ ชยั สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 3 นายณัฐวฒุ ิ นาคประชา สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 นายกติ พิ นธ์ ดีดพิมาย สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 นางสจุ ิตรา กีรติพงษไ์ พศาล สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 6 นางสาวกรี ตกิ า ฤทธิธาดา สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 7 นางสาวพรสดุ า แสงพทิ ูร สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 8 นายพงษภัทร จนั ทร์สวัสด์ิ สานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 9 นางสาววลยั ลักษณ์ โพธิพฤกษ์ สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 10 นางสาวเมษา อักษรเพ็ชร สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 11 นางสาวเพลินสุข ลิขติ ตระกาลกลุ สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 12 นายอริ ะณฏั ฐ์

ชือเรือง (ไทย) : โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทีเหมาะสมสาํ หรับผสู้ ูงอายพุ กิ าร ชือเรือง (องั กฤษ) : (Model of Healthcare Service For Elderly and Elderly disable) จดั ทาํ โดย : สาํ นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ B จงั หวดั ลพบุรี (สสว.B) เลขที EFG/I หมู่ที E ตาํ บลโคกตูม อาํ เภอเมือง จงั หวดั ลพบุรี โทรศพั ท/์ โทรสาร : M-IOOG-BEPB http://www.tpso8.m-society.go.th E-mail : tpso8@ m-society.go.th ครWังทีพิมพ์ : ครWังที 1 ปี ทีพิมพ์ : พ.ศ. 2558 พิมพท์ ี : ว.ี เอส.ยซู ท์ ก๊อปปWี แอนด์ ซพั พลาย EP ถนนสรศกั ด^ิ ตาํ บลท่าหิน อาํ เภอเมือง จงั หวดั ลพบุรี โทรศพั ท/์ โทรสาร : M-IO_E-O`G_ เอกสารวชิ าการเลขที : 8/2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook