Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวม pdf ผส พิการ 2558

รวม pdf ผส พิการ 2558

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-22 01:57:07

Description: รวม pdf ผส พิการ 2558

Search

Read the Text Version

เป็นชนบทมากกว่าเป็นชุมชนเมือง ซ่ึงน่าจะมีส่วนช่วยลดความจาเป็นในการหาแหล่งที่พึ่งพาให้กับผู้สูงอายุ กล่าวคือ ในชนบทไม่มีความความแออัดของการอยู่อาศัย สภาพแวดล้อมยังไปมาสะดวก ไม่ต้องเผชิญกับ ปัญหารถติด หรือมีความเร่งรีบในการเดินทาง ค่าครองชีพต่ากว่าและการพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่าง ผู้สูงอายุ หรือครอบครัวกับเพื่อนบ้านในชุมชนเดียวกันมีมากกว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวงและจากความเชื่อ วัฒนธรรมการดูแลผู้สูงอายุโดยเฉพาะภาคอีสานที่ได้รับการปลูกฝังมาตามบรรทัดฐานทางสังคม เก่ียวกับการ ดูแลผู้สูงอายุเป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูและการดูแลยามเจ็บปุวยเป็นการแสดงถึงสถานภาพทางสังคม อย่างอ่ืน การมีญาติ พี่น้อง มิตรสหาย บริวารมาเกี่ยวข้องมากถือว่าได้รับการยอมรับทางสังคมสูง ส่วนการอยู่อย่างโดดเดี่ยวถือเป็นความยากจนไร้ญาติขาดมิตร รวมท้ังความเช่ือในเร่ืองการยกย่องผู้อาวุโส ในขณะท่ผี สู้ งู อายุในเมืองหลวงมักได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยตรง จึงไม่สามารถพึ่งพาตนเอง ได้ท้ังหมด ปัญหาความยากจนของผู้สูงอายุและภาวะเศรษฐกิจท่ีไม่เอ้ืออานวยให้ครอบครัวส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องเข้ารับการดูแลจากสถานบริบาล โดยเฉพาะอย่างย่ิงสถานบริบาลขององค์กรเอกชน ซ่ึงมีค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูงหากเป็นการดูแลระยะยาว สาหรับสถานที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีอยู่ในภาครัฐ จะเป็นสถานสงเคราะห์ คนชราซง่ึ เนน้ การช่วยเหลอื ผูส้ ูงอายทุ ่ไี ม่มีทอี่ ยูห่ รอื ไร้ท่ีพ่งึ เท่านัน้ อยา่ งไรกต็ ามสถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวใน ภาคเหนอื ทม่ี เี พียงไมก่ ่ีแหง่ แตล่ ้วนเปน็ ของภาคเอกชน ซึ่งมีค่าบริการทาให้ผู้รับบริการ หรือครอบครัวมีภาระ ในค่าใชจ้ ่ายมากข้นึ ผ้สู งู อายุส่วนใหญ่จึงไม่สามารถรับภาระน้ีได้ทาให้สถานบริบาลโดยเอกชนในต่างจังหวัดท่ี เคยรับผู้สูง อายุได้หลา ยคนอาจต้อ งประสบกับ การขาดทุ นและปิดกิจ การเมื่อไม่ สามารถหา เพ่ิมจานว น ผู้รับบรกิ ารได้ นอกจากน้ีวัฒนธรรมการดูแลผู้สูงอายุยังมีความเคร่งครัดในหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อ ผู้สูงอายุที่เป็นบุพการี คือ พ่อแม่ หรือปูุย่า ตายายยังไม่เปลี่ยนแปลงจากอดีตมากนัก และผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่กับสมาชิกในครอบครัวและได้รับการดูแลจากสมาชิกในครอบครัว ความต้องการสถาน ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในภาคเหนือจงึ ยังมีไมม่ ากนักหากเทยี บกับสังคมเมือง สภาพสังคมในกรุงเทพมหานครมี ความเร่งรบี ครอบครวั มีเวลาอยกู่ ับผสู้ ูงอายนุ อ้ ยกวา่ ในตา่ งจังหวดั เพราะบุตรหลานต้องออกจากบ้านตั้งแต่เช้า และกลับจากท่ีทางานมืดค่าจึงทาให้มีเวลาอยู่กับผู้สูงอายุน้อยกว่า หรือผู้สูงอายุมีเวลาที่ต้องอยู่ตามลาพัง มากกวา่ ผู้สงู อายใุ นตา่ งจังหวดั โอกาสท่ีจะเกิดปัญหาความไม่ปลอดภัยจากสังคมเมืองก็มีสูงกว่า หากผู้สูงอายุมีปัญหา สุขภาพ ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยจะยิ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายเพิ่มมากขึ้น ภาวะความจาเป็นเหล่านี้ ทาให้ความต้องการสถานบริบาลในกรุงเทพมหานครมีมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จานวนสถานบริการดูแล ระยะยาวที่เพ่ิมข้ึนอาจสะท้อนให้เห็นถึงจานวนของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพและและมีภาว ะพ่ึงพาท่ี ต้องการใช้บริการ 2. การแบง่ ประเภทสถานบรกิ าร สถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทั่วทุกภาคของประเทศพบว่า มีความไม่ชัดเจนใน วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์การรับผู้สูงอายุและขอบเขตของบริการท่ีให้ สถานดูแลผู้สูงอายุส่วนใหญ่ให้บริการ ผสู้ ูงอายบุ นหลกั การกวา้ ง ๆ มีหลกั เกณฑก์ ารรบั ผ้สู งู อายุที่ไม่เฉพาะเจาะจงมากนัก สถานดูแลแต่ละแห่งจึงมี บริการท่ีซ้าซ้อนและคาบเก่ียวกันระหว่างสถานดูแลประเภทต่าง ๆ เช่น สถานสงเคราะห์คนชรามีการดูแล ผู้สูงอายุในระยะยาวที่มีความเจ็บปุวยเรื้อรังแฝงอยู่ด้วย ซ่ึงในประเทศไทยยังไม่มีสถานบริการใดท่ีตรงกับ สถานที่ให้การช่วยเหลือในการดารงชีวิต (assisted living) อย่างแท้จริง ในส่วนของบ้านพักคนชรา ซึ่งใน โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรับผ้สู งู อายุพกิ าร 37

ประเทศไทยต้ังข้ึนเพ่ือช่วยสงเคราะห์คนชราท่ียากไร้จึงใช้ชื่อว่า “สถานสงเคราะห์คนชรา” ซึ่งเป็นสถาน บริการท่ีดูแลให้ที่อยู่อาศัย อาหารท้ัง 3 มื้อ แต่มีบางส่วนที่ให้บริการคล้ายคลึงกับสถานที่ให้การช่วยเหลือ ในการดารงชีวิต คือ มีการช่วยเหลือด้านกิจวัตรประจาวัน สาหรับบ้านพักคนชราพบว่า มีหลักเกณฑ์และ วัตถุประสงค์ในการรับผู้สูงอายุเข้าพักอาศัยแตกต่างกับในประเทศตะวันตก คือ สถานสงเคราะห์คนชราใน ประเทศไทยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือรับดูแลผู้สูงอายุท่ีไม่มีผู้ดูแล ไม่มีที่อยู่อาศัย หรืออยู่กับครอบครัวไม่มีความสุข แต่ในประเทศตะวันตกมีหลักเกณฑ์การรับก็คือ ต้องเป็นผู้สูงอายุท่ีไม่มีปัญหาสุขภาพที่ต้องการการพยาบาล โดยพยาบาลวิชาชีพ อย่างไรก็ตามในสถานการณ์จริงพบว่า สถานสงเคราะห์คนชราไม่สามารถปฏิเสธการรับ ผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสุขภาพบางรายได้และเมื่อผู้สูงอายุมีอายุมากข้ึนมีปัญหาสุขภาพท่ีต้องการการดูแลเพิ่มข้ึน นอกจากนี้พบว่า สถานบริบาล (nursing home) ในประเทศไทยส่วนใหญ่พบในเมืองใหญ่ ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีลักษณะพิเศษ คือ มีการผสมผสานระหว่างสถานท่ีดูแล ช่วยเหลือในชวี ติ ประจาวันและสถานท่ีให้การดแู ลสาหรับผทู้ ตี่ อ้ งการการพยาบาล สริญญา ปิ่นเพชร (2555) ได้ศึกษาเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการดูแลระยะยาวสาหรับ ผู้สูงอายุด้วยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพ่ือ พัฒนารูปแบบของการดูแลระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุด้วยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและองค์กรปกครอง ท้องถิ่น และเปรียบเทียบผลการดาเนินงานระหว่างก่อนกับหลังนารูปแบบใหม่มาดาเนินการ ประชากร คือ ผสู้ ูงอายุในเขตตาบลสระแก้ว อาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรทั้งหมดใน ชว่ งเวลาหนงึ่ จานวน 719 คน ระหวา่ งเดอื นตลุ าคม 2553 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 เปรียบเทียบผลการ ดาเนินงานระหว่างก่อนกับหลังนารูปแบบใหม่ไปดาเนินการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและ เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ paired t-test ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบใหม่ประกอบด้วย 1) การสนับสนุน งบประมาณและร่วมในการดาเนินงานเย่ียมบ้านและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน 2) การจัดระบบการดูแลตามการประเมินศักยภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง 3) การพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว 4) การจัดตั้งชมรม ผู้สูงอายุตน้ แบบ 5) การมอบรางวัลให้แก่ผู้สูงอายุในเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้และคลังปัญญาของผู้สูงอายุ หลัง การนารูปแบบใหมไ่ ปดาเนินการพบว่า ผู้สูงอายทุ ุกกลุม่ ไดร้ ับการคดั กรองสุขภาพครบทุกคน กลุ่มติดบ้านและ กล่มุ ติดเตยี งไดร้ บั การเย่ยี มบา้ นทุกรายแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ (p=0.05) สรุปได้ว่า รูปแบบใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบที่ดีเหมาะสมกับบริบทของหน่วยบริการ ปฐมภูมิท่ีควรได้รับการมีสว่ นร่วมจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ โดยสามารถนาไปปฏิบัติได้จริงจึงเสนอแนะ ให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุกแห่ง นาผลท่ีได้จากการวิจัยไปเป็นแนวทางเบ้ืองต้นในการประยุกต์ให้ เหมาะสมกบั แตล่ ะพ้ืนทโี่ ดยให้ผู้สูงอายุและครอบครัวศนู ยก์ ลาง นิตยา หมายเหน่ียวกลาง และคณะ (2555) ได้ศึกษาเร่ือง “การพัฒนาการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุโดยแกนนาสุขภาพบ้านสุขสาราญ ตาบลหูทานบ อาเภอปะคา จังหวัดบุรีรัมย์” ซ่ึงเป็นการวิจัย พัฒนาเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานการดูแลผู้สูงอายุโดยแกนนาสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุแบบบูรณาการ เพื่อการสร้างสุขภาพในชุมชน ประชากรกลุ่มตัวอย่างจากอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมูบ่ า้ นสขุ สาราญ จานวน 13 คน และแกนนาสขุ ภาพประจาครวั เรอื นที่มผี สู้ ูงอายุ จานวน 43 คน ดาเนินกิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านสุขสาราญ ตาบลหูทานบ อาเภอปะคา จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 482 คน ระหวา่ งวันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2554-31 พฤษภาคม 2555 เปรียบเทียบผลก่อนการดาเนินงาน วิเคราะห์ โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทีเ่ หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายพุ ิการ 38

ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เน้ือหา ใช้สถิติพรรณนาด้วยค่าเฉล่ีย จานวน ร้อยละและสถิติเชิงอนุมาน ด้วยค่า ไคร์สแควร์ทร่ี ะดับแอลฟาุ 0.05 รปู แบบที่พัฒนาขึ้นน้ันเน้นการศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหารวมถึงกิจกรรม สร้างอนาคตร่วมกัน ระหว่างองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กาหนดรูปแบบการ ดาเนินงาน ดาเนินงานตามแผนและมกี ารติดตามประเมินผลโดยใช้กระบวนการมีส่วนรว่ ม (PAR) ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 78.18 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.001) จานวนผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงลดลงร้อยละ 0.81 โดยสรุป การดูแล สุขภาพผู้สูงอายุโดยแกนนาสุขภาพเป็นการพัฒนางานที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ทาให้ผู้สูงอายุมี คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนได้อย่างมีความสุขและสามารถการนาแนวทางการดาเนินงาน ของแกนนาสุขภาพไปใช้ร่วมกับการดแู ลกลุ่มเปูาหมายอ่นื ๆ ได้อีกดว้ ย สดุ ารัตน์ สดุ สมบูรณ์ (2557) ไดท้ าการศกึ ษา “สวัสดิการสงั คมของผู้สงู อายุในประเทศไทย” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออธิบายความหมาย ความเป็นมาและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุใน ประเทศไทย ความหมายของ “สวสั ดกิ ารสงั คม” จากหลากหลายมุมมองพอสรุปได้ว่า เป็นระบบการบริการ ทางสังคมซึ่งเกี่ยวกับการปูองกัน การแก้ไขปัญหา การพัฒนาและการส่งเสริมความม่ันคงทางสังคม เพื่อ ตอบสนองความจาเป็นข้ันพ้ืนฐานของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ทั่วถึง เป็นธรรมและให้ เป็นไปตามมาตรฐานทั้งทางด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่อาศัย การทางานและการมีรายได้ นันทนาการ กระบวนการยุติธรรมและบริการทางสังคมท่ัวไป โดยคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิที่ ประชาชนจะต้องได้รับและมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ ซึ่งการจัดสวัสดิการสังคมของไทย เร่ิมต้นจากระบบการช่วยเหลือเกื้อกูลกันอย่างไม่เป็นทางการของครอบครัว เครือญาติและชุมชนต่อมามีการ เปลี่ยนแปลงท้ังทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองทาให้การจัดสวัสดิการสังคมมีการปรับเปล่ียนทิศทางไปสู่ สวสั ดกิ ารแบบบูรณาการและเป็นสังคมสวัสดกิ าร ปัจจุบันประเทศไทยมีรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับ ผู้สูงอายุ 4 รูปแบบ คือ การประกันสังคม การช่วยเหลือสาธารณะ การบริการสังคมและการช่วยเหลือ เก้อื กลู ของภาคประชาชน นอกจากนีจ้ ากการศึกษาพบว่า การจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทยยังมีปัญหาและ อุปสรรคหลายประการ เช่น 1) ขาดการบูรณาการและขาดความต่อเนื่อง ซ่ึงหมายถึง การดาเนินงานด้าน สวสั ดิการผู้สงู อายแุ ยกส่วนระหว่างงานด้านสุขภาพกับงานด้านสังคม กระจายความรับผิดชอบตามหน่วยงาน ต่าง ๆ ของภาครัฐ 2) ขาดการนานโยบายสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง 3) ความไม่พร้อมของงบประมาณและ การขาดแคลนบคุ ลากรท่มี ีความรู้ความสามารถในดา้ นผสู้ งู อายโุ ดยตรง และ 4) สวสั ดิการสังคมท่ีรัฐจัดให้กับ ผู้สูงอายุยังไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้สูงอายุ ไม่สามารถตอบสนองปัญหาได้อย่างแท้จริงและไม่ ครอบคลุมผ้สู ูงอายุได้ทัง้ หมด แตป่ ระเดน็ ทส่ี าคญั คือ บตุ รหลาน หรือคนในครอบครัวขาดความตระหนักถึง ความสาคัญของผู้สูงอายุ สรุปได้ว่า การจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุจะต้องมีการบูรณาการจากหลาย ภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนเพื่อรองรับจานวนผู้สูงอายุที่มีจานวนเพ่ิมมากขึ้นเรื่อย ๆ ท้ังน้ี เพอื่ ม่งุ เน้นใหผ้ ้สู ูงอายมุ ีคณุ ภาพชีวติ ที่ดีและเป็นผู้มีคุณค่าต่อสงั คมและประเทศชาติ 2.6 กรอบแนวคิดการวจิ ยั จากแนวคิดเก่ียวกับผู้สูงอายุและคนพิการ กฎหมาย นโยบายและมาตรการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ และคนพิการ รูปแบบการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการที่มีในปัจจุบันและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องสามารถสรุป เป็นกรอบแนวคดิ ในการวิจัย ไดด้ งั น้ี โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ 39

รปู แบบการจดั บริการสาหรบั รูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสม ผูส้ ูงอายพุ ิการทมี่ ีในปจั จุบัน สาหรบั ผู้สูงอายพุ กิ าร สถานภาพ - ผู้สูงอายพุ กิ าร - ผดู้ ูแลผูส้ ูงอายพุ ิการ ความตอ้ งการในการไดร้ บั บริการ ในด้านต่างๆ จากการจัด สวัสดิการสงั คม โครงการศึกษาวจิ ัยรูปแบบการบรกิ ารทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุพิการ 40

บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวิจัย การศึกษาวิจัยรูปแบบการบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา รปู แบบการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการที่มีในปัจจุบัน เพื่อศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ พิการและความต้องการในการได้รับบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อสนับสนุนการจัด สวัสดิการ และเพอ่ื นาเสนอรปู แบบการจัดบริการทเี่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุพิการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย ประยุกต์ (Applied Research) ศึกษาโดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methodology) การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยแบ่งตามเขตรับผิดชอบของสานักงาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 12 ซึ่งมีกระบวนการดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ข้อ ตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 3.1 ศกึ ษารูปแบบการจัดบริการสาหรบั ผสู้ ูงอายุพิการที่มใี นปัจจุบัน การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการศึกษาดูงาน เพื่อศึกษารูปแบบการ จดั บรกิ ารสาหรบั ผสู้ งู อายุพกิ ารที่มใี นปัจจบุ ันมีวธิ ีการศึกษา ดงั น้ี 1.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกบั รูปแบบการจัดบรกิ ารสาหรบั ผูส้ ูงอายุพิการท่ีมใี นปจั จุบัน 1.2 สงั เกตการจดั บรกิ ารแก่ผสู้ ูงอายุพิการจากการศกึ ษาดงู าน 1.3 วิเคราะห์หารูปแบบการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการที่มีในปัจจุบันจากเอกสารและ การศกึ ษาดูงาน 3.2 ศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการในด้าน ต่าง ๆ จากการจดั สวัสดิการสังคมเพือ่ สนับสนนุ การจัดสวสั ดกิ าร วิธีการศึกษาสถานภาพผสู้ งู อายุพกิ าร ผดู้ ูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการ ในด้านตา่ ง ๆ จากการจดั สวัสดกิ ารสงั คมเพือ่ สนับสนุนการจัดสวัสดิการ โดยวธิ กี ารดงั นี้ 3.2.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง การศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับ บริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อสนับสนุนการจัดสวัสดิการ สามารถแบ่งประชากร ออกเป็น 2 กลมุ่ ได้แก่ 3.2.1.1 ผู้สูงอายุพิการ ได้แก่ ผู้สูงอายุพิการ หรือผู้พิการสูงอายุ แยกเป็น 12 เขต โดยกาหนดกลุม่ ตัวอย่างเขตละ 60 คน รวมเป็น 720 คน 3.2.1.2 ผดู้ แู ลผู้สูงอายุพิการ ได้แก่ บุคคลที่มีหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุพิการ แยกเป็น 12 เขต โดยกาหนดกล่มุ ตัวอย่างเขตละ 60 คน รวมเป็น 720 คน 3.2.2 เทคนิควธิ ีการสุ่มตัวอยา่ ง ในการสุม่ ตวั อยา่ ง ผู้วจิ ัยทาการสมุ่ ตัวอย่างแบบหลายข้ันตอน (Multi–Stage Random Sampling) โดยมีขน้ั ตอนในการสมุ่ ดังต่อไปน้ี 3.2.2.1 แบ่งตามพ้ืนท่ีของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 12 กระทรวง การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

3.2.2.2 สุ่มจังหวัดท่ีเก็บข้อมูลโดยการจับฉลากจังหวัดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการละ 3 จงั หวดั 3.2.2.3 สุ่มอาเภอท่ีเก็บข้อมูลโดยการจับฉลากอาเภอในเขตของจังหวัดท่ีจับฉลากได้ตาม ข้อ 2.2.2 จงั หวดั ละ 1 อาเภอ 3.2.2.4 สุ่มตาบลทเ่ี กบ็ ข้อมลู โดยการจบั ฉลากตาบลในเขตของอาเภอท่ีจับฉลากได้ตามข้อ 2.2.3 อาเภอละ 1 ตาบล ดังนั้น จงึ เกบ็ ขอ้ มูลสานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการละ 3 ตาบล 3.2.2.5 เลือกผู้สูงอายุพิการที่สมัครใจในการให้ข้อมูลตาบลละ 20 คน และผู้ดูแล ผสู้ ูงอายุพกิ ารตาบลละ 20 คน 3.2.3 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย 2 แบบ ไดแ้ ก่ 3.2.3.1 แบบสอบถามสาหรบั ผู้สูงอายุพิการ ประกอบดว้ ย 3 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ลักษณะส่วนบุคคลของผ้ใู ห้ข้อมูลเกี่ยวกบั เพศ อายุ สถานภาพ ศาสนา ระดับการศึกษา สถานภาพการทางานปัจจุบัน ประเภทความพิการ สถานภาพการจดทะเบียนคนพิการ สาเหตขุ องความพิการ อายุเม่อื แรกพบความพกิ าร ผ้สู งู อายพุ กิ ารเปน็ สมาชิกกลุ่มชมรม การเข้าร่วมกิจกรรม ของกลุ่ม หรือชมรม ผู้สูงอายุพิการใช้กายอุปกรณ์ใดบ้าง ผู้สูงอายุพิการอาศัยอยู่กับใคร การช่วยเหลือ ตัวเอง การใช้ชีวิตประจาวัน สิทธิการรักษาพยาบาล การได้รับความช่วยเหลือ การประสบปัญหาด้านการ รักษาพยาบาล การประสบปัญหาที่อยู่อาศัย ปัญหาด้านสวัสดิการท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตและปัญหา ทางดา้ นสขุ ภาพ ซ่ึงข้อคาถามมีลักษณะเปน็ แบบตรวจรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านทอ่ี ยอู่ าศัย ด้านการทางานและการมรี ายได้ ดา้ นนันทนาการ ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านบริการทาง สังคมทั่วไปและด้านสุขภาพอนามัย จากการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการ ลักษณะคาถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ 1 – 5 คอื 5 หมายถึง มีระดบั ความตอ้ งการต่อการให้บรกิ ารมากท่สี ดุ 4 หมายถึง มรี ะดับความต้องการตอ่ การให้บริการมาก 3 หมายถงึ มีระดับความตอ้ งการตอ่ การใหบ้ รกิ ารปานกลาง 2 หมายถึง มรี ะดับความตอ้ งการตอ่ การใหบ้ รกิ ารนอ้ ย 1 หมายถงึ มีระดับความตอ้ งการตอ่ การให้บรกิ ารนอ้ ยท่ีสดุ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะต่อแนวทางในการให้บริการต่าง ๆ ของผูส้ งู อายพุ ิการในประเดน็ เกี่ยวกับบทบาทของท้องถิน่ บทบาทของสมาชกิ ในชุมชน บทบาทของครอบครัว และบทบาทของผู้สูงอายุพิการ เป็นลักษณะคาถามปลายเปิด (Open Ended) ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ ผ้ตู อบแบบสอบถามเสนอความคดิ เหน็ ได้อย่างอสิ ระ 3.2.3.2 แบบสอบถามสาหรบั ผูด้ ูแลสงู อายพุ ิการ ประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามเก่ียวกับเพศ อายุ ความ เกยี่ วข้องกบั ผู้สูงอายุพกิ าร สถานภาพ ศาสนา ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้ทักษะเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ พิการ ประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุพิการ ประเภทความพิการ โอกาสแลกเปล่ียนรู้ ประสบการณ์กับ การดูแล การเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม หรือชมรม การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ ความสามารถช่วยเหลือตัวเอง โครงการศกึ ษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ กิ าร 41

ช่วงเวลาในการดูแล รายได้จากการดูแล ปัญหาจากการดูแลผู้สูงอายุพิการ ซึ่งข้อคาถามมีลักษณะเป็นแบบ ตรวจรายการ (Check List) ตอนท่ี 2 ความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการศึกษา ดา้ นท่ีอย่อู าศัย ด้านการทางานและการมรี ายได้ ดา้ นนันทนาการ ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านบริการทาง สังคมท่ัวไปและด้านสุขภาพอนามัย จากการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการ ลกั ษณะคาถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ต้ังแต่ 1 – 5 คือ 5 หมายถึง มรี ะดับความตอ้ งการต่อการให้บรกิ ารมากท่ีสดุ 4 หมายถึง มีระดบั ความต้องการต่อการใหบ้ ริการมาก 3 หมายถงึ มรี ะดบั ความต้องการตอ่ การใหบ้ ริการปานกลาง 2 หมายถึง มีระดบั ความตอ้ งการต่อการให้บรกิ ารน้อย 1 หมายถึง มรี ะดับความตอ้ งการต่อการให้บริการน้อยท่ีสุด ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะต่อแนวทางในการให้บริการต่าง ๆ ของผูส้ ูงอายุพิการในประเด็นเกยี่ วกบั บทบาทของท้องถิน่ บทบาทของสมาชิกในชุมชน บทบาทของครอบครัว และบทบาทของผู้สูงอายุพิการ เป็นลักษณะคาถามปลายเปิด (Open Ended) ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ ผตู้ อบแบบสอบถามเสนอความคดิ เห็นได้อยา่ งอิสระ การสร้างและการหาคุณภาพของเครือ่ งมือในการวิจัย ดังน้ี 1) ศึกษาแนวคิด หลักการจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง โดยนาเนื้อหามา วิเคราะห์หาแนวทางในการสรา้ งแบบสอบถาม 2) นาข้อมลู ท่ีได้จากการศกึ ษามาเรียบเรียงและสร้างเป็นแบบสอบถามเป็นรายข้อ โดย ให้ครอบคลมุ การใหบ้ รกิ ารตอ่ ความตอ้ งการไดร้ บั การบริการในด้านต่าง ๆ 3) นาแบบสอบถามเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษางานวิจัย เพ่ือตรวจสอบสานวนภาษา และความถูกตอ้ งของเน้ือหา 4) นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามคาแนะนาของคณะกรรมการท่ีปรึกษางานวิจัยเสนอ ต่อผู้เช่ียวชาญจานวน 3 ท่าน เพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง เท่ียงตรงและความครอบคลุมตามเน้ือหาท่ี ต้องการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ แล้วนามาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถาม (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทกุ ข้ออย่รู ะหว่าง 0.67 – 1.00 5) นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เช่ียวชาญไปทดลองจัดเก็บข้อมูล (Try Out) จากประชากรทไี่ มไ่ ด้เปน็ กลุ่มตัวอยา่ งจานวน 30 คน นาข้อมูลหาค่าความเช่ือมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธสี มั ประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Method) ซ่ึงมีค่าความ เช่ือมนั่ เทา่ กบั 0.928 6) นาแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากกลุ่มตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ผู้สูงอายุพิการ จานวน 720 คน และผูด้ ูแลผู้สูงอายพุ กิ าร จานวน 720 คน 3.2.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.2.4.1 ข้ันตอนการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลเพ่ือการวิจัยในคร้ังนี้ผู้วิจัยได้ ดาเนินการ ดงั น้ี 1) คณะผู้วิจัยนาแบบสอบถามจัดเก็บข้อมูลจากผู้สูงอายุพิการจานวน 720 คน และผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ จานวน 720 คน ซ่ึงเป็นกลุ่มตัวอย่างครอบคลุมสานักงานส่งเสริมและ โครงการศกึ ษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ กิ าร 42

สนบั สนนุ วิชาการ 12 แห่งท่วั ประเทศชว่ งเดือนมกราคมถึงมีนาคม 2558 2) ตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณข์ องแบบสอบถาม เพ่ือนาไปวิเคราะห์ข้อมูล ในขน้ั ตอนต่อไป 3.2.4.2 พน้ื ทก่ี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ พน้ื ท่กี ารจดั เกบ็ ข้อมูลเชิงปริมาณประกอบด้วย 1.1) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ไดแ้ ก่ - เทศบาลลาสามแก้ว อาเภอธญั บรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี - ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี - ตาบลหนองนา้ ใหญ่ อาเภอผักไห่ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา 1.2) สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 2 ไดแ้ ก่ - ตาบลเกาะหวาย อาเภอปากพลี จังหวัดนครนายก - ตาบลบางนา้ ผงึ้ อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ - ตาบลไผ่ชะเลอื ด อาเภอศรีมโหสถ จังหวดั ปราจนี บุรี 1.3) สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 3 ไดแ้ ก่ - ตาบลหนองเหยี ง อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี - เทศบาลตาบลสานักท้อน อาเภอบ้านฉาง จงั หวัดระยอง - เทศบาลตาบลหนองบัว อาเภอเมอื ง จังหวัดจนั ทบรุ ี 1.4) สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4 ได้แก่ - ตาบลปากชอ่ ง อาเภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบรุ ี - ตาบลธงชยั อาเภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบุรี - ตาบลสวนหลวง อาเภออัมพวา จงั หวดั สมุทรสงคราม 1.5) สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 ไดแ้ ก่ - ตาบลบา้ นแทน่ อาเภอบา้ นแทน่ จงั หวัดชยั ภูมิ - ตาบลหลุ่งประดู่ อาเภอหว้ ยแถลง จงั หวัดนครราชสมี า - ตาบลหนองแวง อาเภอบ้านใหมไ่ ชยพจน์ จังหวดั บรุ รี ัมย์ 1.6) สานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ได้แก่ - ตาบลปากปวน อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย - ตาบลหัวเรอื อาเภอวาปปี ทุม จังหวดั มหาสารคาม - ตาบลเหลา่ หลวง อาเภอเกษตรวสิ ัย จงั หวดั ร้อยเอด็ 1.7) สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 7 ไดแ้ ก่ - ตาบลบงึ แก อาเภอมหาชนะชยั จงั หวัดยโสธร - ตาบลหนองฮี อาเภอปลาปาก จังหวดั นครพนม - ตาบลวาริชภูมิ อาเภอวาริชภมู ิ จงั หวดั สกลนคร 1.8) สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 8 ไดแ้ ก่ - ตาบลพยหุ ะ อาเภอพยหุ ะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ - ตาบลหนองทรายขาว อาเภอบา้ นหม่ี จังหวดั ลพบรุ ี - ตาบลงิว้ ราย อาเภออินทร์บุรี จังหวดั สิงหบ์ รุ ี โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ ิการ 43

1.9) สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 9 ได้แก่ - ตาบลตากตก อาเภอบ้านตาก จงั หวดั ตาก - ตาบลไกรกลาง อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสโุ ขทยั - ตาบลทา่ มะเฟอื ง อาเภอพชิ ยั จงั หวัดอุตรดติ ถ์ 1.10) สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 10 ได้แก่ - ตาบลม่วงนอ้ ย อาเภอป่าซาง จงั หวัดลาพนู - ตาบลปงยางคก อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง - ตาบลบ้านปนิ อาเภอดอกคาใต้ จงั หวดั พระเยา 1.11) สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 11 ไดแ้ ก่ - ตาบลวชิ ิต อาเภอเมอื ง จงั หวดั ภูเกต็ - ตาบลปากพนัง อาเภอปากพนงั จังหวัดนครศรธี รรมราช - ตาบลน้าผุด อาเภอเมือง จังหวัดตรงั 1.12) สานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 12 ได้แก่ - ตาบลเบตง อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา - ตาบลนาเกตุ อาเภอโคกโพธ์ิ จงั หวดั ปัตตานี - ตาบลเขาขาว อาเภอละงู จังหวดั สตูล 2) การเก็บขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ พน้ื ทก่ี ารจัดเกบ็ ข้อมลู เชงิ ปริมาณประกอบดว้ ย 1.1) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ได้แก่ เทศบาลลา สามแกว้ อาเภอธญั บุรี จงั หวัดปทมุ ธานี 1.2) สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 2 ได้แก่ - ตาบลเกาะหวาย อาเภอปากพลี จงั หวัดนครนายก - ตาบลไผช่ ะเลอื ด อาเภอศรมี โหสถ จังหวดั ปราจีนบุรี 1.3) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ได้แก่ เทศบาลตาบล สานกั ทอ้ น อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 1.4) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้แก่ ตาบลปากช่อง อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 1.5) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 ได้แก่ ตาบลหนองแวง อาเภอบา้ นใหมไ่ ชยพจน์ จังหวดั บุรีรัมย์ 1.6) สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 ได้แก่ ตาบลเหล่าหลวง อาเภอเกษตรวิสยั จงั หวดั ร้อยเอ็ด 1.7) สานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 7 ไดแ้ ก่ - ตาบลบงึ แก อาเภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร - ตาบลหนองฮี อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม - ตาบลวาริชภมู ิ อาเภอวารชิ ภมู ิ จงั หวัดสกลนคร 1.8) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 ได้แก่ ตาบลหนอง ทรายขาว อาเภอบ้านหม่ี จังหวดั ลพบุรี 1.9) สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 9 ได้แก่ ตาบลท่ามะเฟือง โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทีเ่ หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุพิการ 44

อาเภอพิชัย จงั หวัดอุตรดิตถ์ 1.10) สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 10 ได้แก่ ตาบลปงยางคก อาเภอห้างฉตั ร จังหวดั ลาปาง 1.11) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 11 ได้แก่ ตาบลปากพนัง อาเภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช 1.12) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ได้แก่ ตาบลนาเกตุ อาเภอโคกโพธิ์ จงั หวัดปัตตานี 3.2.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผู้วิจัยดาเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรปู เพอื่ วิเคราะหค์ ่าสถิติต่าง ๆ และ นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลาดับ ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจง ความถ่แี ละรอ้ ยละ นาเสนอเปน็ ตารางประกอบคาบรรยาย ขน้ั ตอนที่ 2 ความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านท่ีอยู่ อาศัย ด้านการทางานและการมีรายได้ ด้านนันทนาการ ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านบริการทางสังคม ทั่วไปและดา้ นสุขภาพอนามัยจากการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบริการด้านสุขภาพ สาหรับผู้สูงอายุพิการ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาคา่ เฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และแปลผลโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลีย่ ดังน้ี - ค่าเฉล่ยี 4.21 – 5.00 หมายความว่า มีความตอ้ งการอยใู่ นระดบั มากที่สุด - ค่าเฉลย่ี 3.41 – 4.20 หมายความว่า มีความตอ้ งการอยใู่ นระดับมาก - ค่าเฉล่ีย 2.61 – 3.40 หมายความวา่ มคี วามตอ้ งการอยใู่ นระดบั ปานกลาง - ค่าเฉล่ีย 1.81 – 2.60 หมายความว่า มีความต้องการอยู่ในระดับน้อย - คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.80 หมายความว่า มีความตอ้ งการอยูใ่ นระดับนอ้ ยท่สี ุด โดยนาเสนอในรปู แบบตารางประกอบคาบรรยาย ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลจากข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการให้บริการในด้านต่าง ๆ และนาเสนอโดยแจกแจงคา่ ความถี่ 3.2.6 สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิจัย การวิจยั คร้งั น้ไี ดน้ าหลักสถิตมิ าใชใ้ นการวจิ ัย ดังน้ี 3.2.6.1 การวิเคราะหข์ ้อมูลหาคา่ ร้อยละ (Percentage) จากสูตร รอ้ ยละ = N100 Na เมือ่ N แทน จานวนสมาชิกทีส่ ุม่ ตวั อย่าง Na แทน จานวนสมาชกิ ทงั้ หมด 3.2.6.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู หาคา่ เฉล่ีย (Mean) จากสตู ร โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรบั ผู้สงู อายุพกิ าร 45

X = fx n เมื่อ X แทน คา่ เฉลยี่ ของกลุ่มตวั อย่าง f แทน ความถขี่ องคะแนนแตล่ ะตวั n แทน จานวนข้อมลู ของกลุ่มตวั อยา่ ง 3.2.6.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลหาคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) SD = NX2  X2 nn -1 เมอ่ื SD แทน คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน X แทน คา่ คะแนนแต่ละตัว N หรอื n แทน จานวนข้อมูล X2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวยกกาลังสอง 3.2.6.4 ค่า IOC สาหรบั ค่าความเที่ยงตรงเชงิ เนอื้ หาของแบบสอบถาม IOC = R N เมอื่ IOC แทน ค่าดชั นีความสอดคลอ้ ง R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ ของผ้เู ชย่ี วชาญ N แทน จานวนผู้เช่ยี วชาญ 3.2.4.5 การหาค่าความเชื่อม่ันของแบบสอบถาม โดยวิธีสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Method)  = n  - SS2ti2   n-1 1    เม่อื  แทน สัมประสิทธิค์ วามเช่อื ม่นั ของเคร่ืองมอื วดั n แทน จานวนข้อคาถาม Si2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนเปน็ รายข้อ S2t แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทงั้ ฉบบั 3.3 นาเสนอรปู แบบการจัดบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายุพกิ าร 46 โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผู้สงู อายพุ ิการ

การนาเสนอรูปแบบแนวทางการจัดบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุพิการผู้วิจัยได้ดาเนินการ โดยวธิ กี าร ดงั นี้ 3.3.1 ศึกษาดูงานสถานบริการที่จัดการจัดสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุและผู้พิการสูงอายุในประเทศ ไทย 3.3.2 การจัดเวทีประชุมเพื่อถอดบทเรียนและแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุพิการ บุคคลซึ่งดูแลผู้สูงอายุ ผู้บริหาร อปท. แกนนาชุมชน อาสาสมัครและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีต่อการ จดั บริการแก่ผู้สงู อายพุ กิ าร หรือผู้พกิ ารสูงอายุ 3.3.3 จัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพ่ือกาหนดรูปแบบการจัดบริการที่สอดคล้องกับ ผสู้ งู อายุพิการโดยผเู้ ขา้ ร่วมสนทนากลมุ่ ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานด้านสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุ จากส่วนราชการ เช่น สถานสงเคราะห์คนชรา สถานสงเคราะห์คนพิการ สถานสงเคราะห์คนไร้ที่พ่ึง ศนู ย์บริการสวสั ดิการสังคมผสู้ งู อายุ เจ้าหนา้ ทโ่ี รงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพประจาตาบล เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข อาเภอ เป็นตน้ 3.3.4 การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ข้อมลู การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยประยุกต์ด้วยวิธีวิทยาผสานวิธี (Mixed-Methodology) ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจึงมีทั้งการวิเคราะห์เชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงปริมาณใช้การประมวลผลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปและการวิเคราะห์ เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อกาหนดแบบแผนโครงสร้าง ความสัมพันธ์ของข้อมูลชุดต่าง ๆ รวมถึงการกาหนดประเด็นการนาเสนอข้อมูลให้สอดคล้องกับประเด็น และวัตถุประสงค์ของการวิจัย โครงการศึกษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุพกิ าร 47

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการศกึ ษาวิจัยครัง้ น้ีมุ่งศกึ ษาเรอื่ ง “รูปแบบการบริการดา้ นสขุ ภาพที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ พกิ าร” ผู้วจิ ยั นาํ เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ศึกษารปู แบบการจดั บรกิ ารด้านสุขภาพสําหรบั ผู้สูงอายพุ ิการท่ีมใี นปจั จุบัน ตอนที่ 2 ศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับ บรกิ ารในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดกิ ารสังคมเพื่อสนบั สนนุ การจัดสวสั ดิการ 1) สถานภาพผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวสั ดิการสงั คม 2) สถานภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดกิ ารสังคม ตอนที่ 3 นาํ เสนอรปู แบบการจดั บรกิ ารด้านสุขภาพทีเ่ หมาะสมสาํ หรับผสู้ งู อายพุ ิการ ตอนที่ 1 ศกึ ษารปู แบบการจดั บริการดา้ นสุขภาพสาหรบั ผูส้ งู อายพุ กิ ารทมี่ ีในปัจจบุ ัน จากข้อมูลศึกษาดูงานสถานบริการที่จัดสวัสดิการสําหรับผู้สูงอายุและผู้พิการสูงอายุในประเทศ ไทย พบว่า การใหบ้ รกิ ารสาํ หรบั ผู้สงู อายพุ ิการมี 3 รปู แบบ ได้แก่ 1. รูปแบบการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการโดยชุมชนกรณีศึกษาวัดห้วยเก๋ียง ตาบล หนองหาร อาเภอสันทราย จงั หวดั เชยี งใหม่ การดําเนินงาน เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบชุมชนท่ีเกิดจากความต้องการของชุมชน และอาศัยความมีจิตอาสา โดยใช้คนในชมุ ชนเป็นผู้บริหารจัดการแต่ใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการดําเนินงานและ ประสานงานระหวา่ งชมุ ชนกับภาครัฐ แนวทางการดําเนินงาน 1) ต้องสร้างฐานให้แข็งแรง โดยการปรับแนวทางความคิดของทีมงานในวัด เช่น เจ้าอาวาส พระลูกวัด เด็กวัด หากต้องการจะทํากิจกรรมลักษณะนี้ทางวัดจะหาใครเข้ามามีส่วนร่วม จึงมี การประชุมกันในวัดเพื่อให้พระในวัดเข้าใจและอยากจะทํากิจกรรมร่วมกันก่อน เพ่ือไปตอบคําถามที่ว่า ทํา อย่างไรให้คนเข้าวัดจากน้ันจึงใช้ทุนที่มีอยู่ต่อยอด ได้แก่ หมอนวดแผนโบราณซึ่งเป็นสิ่งที่ทางวัดดําเนินการ มาก่อนอยู่เป็นทุนเดิมแล้ว 2) ประสานความร่วมมือเช่ือมพลัง (กาย-ปัญญา) + เช่ือมทุน ประสานงานขอความ ร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในลักษณะของบวร (บ้าน หรือชุมชน ร่วมกับวัด และโรงพยาบาล หรือโรงเรียน หรือหนว่ ยงานอ่ืน ๆ ขา้ ราชการ) โดยมีวดั เปน็ ศนู ยก์ ลางให้เจ้าหน้าทจ่ี ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ กับผู้ปุวยมาพบกัน ท่ีวัดแต่คนท้ัง 2 กลุ่มจะมาได้ ทางวัดจึงมีการทําให้วัดเป็นสถานที่ท่ีคนอยากจะมาก่อน โดยการทําให้ บุคลากรภายในวดั และทมี งานเปน็ ทเ่ี ชอื่ ม่นั เช่ือถือของคนทม่ี ารับการรักษา 3) ปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง คือ ต้องมีการประเมินผลการทํางานของเจ้าหน้าที่ และคนปวุ ย จากน้นั จึงหาสว่ นท่จี ะพฒั นาเพ่ิมเตมิ โดยการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมซึ่งหมายถึง กลุ่มจิตอาสา และอาสาสมัครท่ีได้กล่าวถึงไปและต้องทํางาน 2 ระบบท้ังในเชิงรุกและเชิงรับ ตอนเช้าทํางานเชิงรับ คือ คนปุวยในชุมชนสามารถเดินทางมายังวัดได้ ส่วนตอนบ่ายทํางานในเชิงรุกท้ังจิตอาสา อาสาสมัครและ เจา้ หน้าทีโ่ รงพยาบาลออกสู่ชมุ ชนการดําเนินการแก้ไข ทางวัดมีเงื่อนไขท่ีต้ังไว้สําหรับคนปุวยที่จะมาอาศัยอยู่

ในวัดว่า คนปุวย 1 คนจะตอ้ งมีญาตมิ าดูแลด้วยถา้ ไมม่ ญี าตดิ แู ลทางวัดไม่สามารถรับให้อาศัยอยู่ในวัดได้โดย พจิ ารณาตามสภาวะสุขภาพและเมอื่ มาแล้วญาตติ อ้ งมาฝึกกับเจ้าหน้าท่ีของวัด รูปแบบกิจกรรม ประกอบด้วย ศูนย์ฝึกอาชีพคนหลายวัย ศูนย์ฝึกอาชีพคนพิการ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุพิการ ลักษณะการให้บริการ มี 2 ประเภท ได้แก่ 1) ภายในศูนย์ฯ เป็นการบําบัดฟ้ืนฟูสมรรถภาพสุขภาพ ประกอบด้วย กิจกรรมบําบัด และกิจกรรมฟ้ืนฟูด้านร่างกายจากนักกิจกรรมบําบัดและนักกายภาพบําบัด คิดค่าบริการแบบไป-กลับ 50 บาท อยู่ประจํา 100 บาท ส่วนด้านจิตใจมีการฟังเทศน์ นอกจากนี้มีการฝึกอาชีพให้แก่ผู้มาใช้บริการ ซึ่ง เปิดทุกวันไม่มีระบบจองคิว มีอุปกรณ์ท่ีมีการจัดทําและดัดแปลงจากวัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่นเพ่ือใช้ในการ กายภาพแก่ผูม้ าขอรบั บริการ พ้ืนทใ่ี หบ้ ริการกว้างขวาง มีเจา้ หนา้ ที่ดแู ลประจาํ 2) ภายนอกศูนย์ฯ มีการออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมพยาบาลนักกายภาพบําบัด นัก กิจกรรมบําบัดและอาสาสมัครสาธารณสุขประจาํ หมบู่ ้าน งบประมาณ จากการรับบริจาคและได้รับทุนต่อยอดโครงการจากภาครัฐและเอกชน รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น ดอกไม้จันทน์ ยาสมุนไพรและการให้บริการแก่ผู้ท่ีสนใจรักสุขภาพ เชน่ การนวดประคบและแชเ่ ทา้ ด้วยนํา้ สมนุ ไพร ปจั จยั แห่งความสาํ เรจ็ 1) เป็นความตอ้ งการของชาวบา้ น 2) ทาํ จริง 3) รัฐหนุนเสรมิ 4) หาแนวรว่ ม 5) มีจติ อาสา 6) ผู้นําชาวบ้าน คือ พระสงฆ์และผู้นําภาครัฐ เช่น ผู้อํานวยการโรงพยาบาลอําเภอ สันทรายมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ประเด็นทีน่ ่าสนใจ 1) วัดกับโรงพยาบาลจะบริหารจัดการโดยไม่ได้พึ่งพาอาศัยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เน่ืองจากนโยบายของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอาจจะไม่เล็งเห็นถึงความสําคัญ จึงทําใ ห้ยุ่งยาก ในการดําเนินงานหากจะต้องใช้บริการจากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 2) ความต้องการของวัด คือ ให้คนเข้าวัดมากขึ้น ทําให้วัดเป็นศูนย์รวม ส่วนความ ต้องการของโรงพยาบาล คือ อยากให้บริการได้ท่ัวถึงและเป็นความต้องการของชุมชนเอง เมื่อมาพูดคุยกัน ตกลงกนั ทาํ ให้เกดิ งานขนึ้ เป็นประโยชนท์ ้ังสองฝุาย 3) วัดรู้ถึงศักยภาพของคนในชุมชนและดึงเข้ามาช่วยงานได้ตรงจุดและเป็นงานท่ี เหมาะสมกบั คนนนั้ 4) วดั มเี ทคนคิ ในการเผยแพร่ผลงานผ่านตัวผู้นํา หรือประธานในงาน และกลุ่มคนที่เข้า มาร่วมกิจกรรมในวดั 5) แรกเริ่มวัดมองถึงต้นทุนเดิมที่มีในวัดก่อน เช่น หมอนวด การปรับความคิดของ โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ ิการ 49

ทีมงาน การปรับปรุงสถานที่ให้มีมาตรฐานรับรองผู้ให้การบําบัดฟื้นฟู เช่น หมอนวด นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบาํ บัดและพยาบาลเมอ่ื ในชมุ ชนต้องการจะเหน็ ความสําคัญ 6) การคิดค่าบริการจากผู้มาขอรับบริการเพื่อนําไปเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ โครงการ คา่ ไฟให้แกว่ ดั และคา่ ตอบแทนใหแ้ ก่อาสาสมคั ร 2. รูปแบบการจัดบริการสาหรับผู้สูงอายุพิการโดยภาครัฐ กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผสู้ ูงอายุบา้ นธรรมปกรณ์ เชียงใหม่ รูปแบบการดําเนินงาน เป็นบริหารจัดการในรูปแบบภาครัฐ เนื่องจากเป็นหน่วยงาน ภาครัฐที่มีการดําเนินการตามนโยบายในลักษณะจากบนลงล่าง มีนโยบายและภารกิจชัดเจน กลุ่มเปูาหมาย ชดั เจน ลกั ษณะการใหบ้ รกิ าร มี 2 แบบ ได้แก่ 1) ภายในศูนย์ 1.1) บ้านพักฉุกเฉนิ บริการทพ่ี กั อาศยั แก่ผ้สู งู อายชุ ว่ั คราวไม่เกิน 15 วัน 1.2) จัดท่ีพักอาศัยรูปแบบสถานสงเคราะห์ ดูแลตามปัจจัย 4 เสริมสร้างด้าน สุขภาพ รักษาพยาบาลบําบัด ฟื้นฟู ให้คําปรึกษาแนะนําและแก้ไขแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว รวมถึง ฌาปนกิจเมื่อผสู้ ูงอายถุ งึ แก่กรรม 1.3) โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุให้มีความสุขและมีคุณค่า เช่น อาชีวบําบัด กายภาพบาํ บัด ศลิ ปะบําบัด จิตสปาบาํ บดั กิจกรรมบําบัด บนั เทงิ บําบัดและภูมิทศั นบ์ ําบัด 1.4) สําหรับที่พักภายในศูนย์จะมีการจองคิว เนื่องจากไม่เพียงพอต่อความต้องการ ผดู้ แู ลมนี อ้ ยและมีจติ อาสานอ้ ย 2) ภายนอกศนู ย์มีศูนยบ์ ริการผู้สูงอายุกลางวนั ปยิ มาลย์ (แบบไป-กลับ) งบประมาณ จากรฐั บาล เอกชนและการรับบรจิ าค ปจั จยั แหง่ ความสาํ เร็จ 1) มีแนวนโยบายทช่ี ดั เจนสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน 2) มีการบูรณาการการทํางานร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มานานกว่า 30 ปี ในการ ดูแลผู้มาขอรบั บรกิ าร 3) มีงบประมาณชดั เจน 4) มีกระบวนงานทชี่ ดั เจน 5) มจี ติ อาสา ประเด็นทีน่ า่ สนใจ 1) การให้เอกชนมาดําเนินกิจการบริการด้านผู้สูงอายุ ควรมีกฎหมายรองรับเพื่อ สนับสนนุ ให้มกี ารบริการทม่ี ากข้นึ หลากหลายทําใหเ้ กิดอาสาสมัครทสี่ นใจงานดา้ นนี้มากขึน้ 2) การนาํ กิจกรรมไปจดั ให้ถงึ ในตึกทผี่ ู้รบั บริการอยู่อาศัยทําให้ผูร้ ับรู้สกึ ถึงความเปน็ กันเอง 3) การพัฒนาศักยภาพท่ผี ้สู งู อายมุ ีใหเ้ ต็มศกั ยภาพเพื่อศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ 4) การมกี ิจกรรมบาํ บัดเสริม ทาํ ใหเ้ กิดพัฒนาการมากขน้ึ 5) ผู้สูงอายุมีความสุขตามอัตราภาพ แต่ขาดชีวิตชีวาเนื่องจากการตัดขาดจากครอบครัว หรือการละเลยจากครอบครวั ขาดความอบอนุ่ โครงการศึกษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ ิการ 50

3. รปู แบบการจดั บริการสาหรับผู้สูงอายุพิการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กรณีศึกษา องค์การบริหารสว่ นตาบลดอนแกว้ ตาบลดอนแกว้ อาเภอแมร่ มิ จงั หวดั เชียงใหม่ รปู แบบการดําเนินงาน เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบท่ีดําเนินการโดยท้องถ่ิน เกิดจาก การรวมเป็นกลุ่มจิตอาสาของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลดอนแก้ว และผลจากการเข้าร่วมอบรม อาสาสมัครฟื้นฟูคุณภาพชีวิตคนพิการ ทําให้เกิดโครงการต่าง ๆ เพื่อผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส จนเป็น รูปธรรมและนําไปสู่การคัดเลือกใหเ้ ป็นตําบลนําร่องในการดูแลผ้สู ูงอายุในระยะยาว รูปแบบการทํางานขององค์การบริหารส่วนตําบลดอนแก้วเน้นการบูรณาการร่วมกันกับภาคี เครือข่าย เป็นผลให้ไม่ว่าจะขอ หรืออยากได้อะไรก็มักจะได้ส่ิงที่ต้องการ เพราะ 1) องค์การบริหารส่วน ตําบลและกลุ่มอาสาสมัครคอยทําหน้าที่เป็นตัววิ่ง ตัวประสานในเร่ืองราวต่าง ๆ ของชุมชน และ 2) เรา ไม่ได้ทํางานคนเดียว แต่มีหน่วยงานที่ช่วยสนับสนุนในพื้นที่ ซึ่งเราดึงมาทํางานร่วมกัน เช่น ส่วนของภาค ราชการ เนือ่ งจากผพู้ กิ ารในตําบลของเรามีหลายประเภท ทางสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ก็จะช่วยดูแลผู้ พกิ ารดา้ นการเคลื่อนไหวในการขอรถวีลแชร์ (Wheelchair) หรือไม้เท้า ทางมูลนิธิขาเทียมฯ ก็ให้ความกรุณา ช่วยทําแขน-ขาเทียมให้กับผู้พิการในพ้ืนที่ หรือทางวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีเชียงใหม่ เม่ือรู้ว่าทาง องค์การบริหารส่วนตําบลดอนแก้ว ทํางานเรื่องนี้ก็มีการนําเรื่องการดูแลผู้พิการและสูงอายุเข้าไปบรรจุไว้ใน หลกั สตู รและนํานักศึกษาพยาบาลลงมาช่วยดูแลเรื่องสุขภาพจิตของผู้พิการ รวมทั้งเก็บข้อมูลต่าง ๆ และนํา ข้อมูลกลับมาให้องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาในแต่ละกรณีว่าจะช่วยกันดูแลและฟื้นฟูผู้ปุวยอย่างไร นอกจากน้ียังมีมูลนิธิผลิช่อมูลนิธิบ้านสมานใจ องค์การพีเอช-เจแปน (PH-JAPAN) และหน่วยงานต่าง ๆ ช่วยกนั ในการทาํ งาน งบประมาณ จากรฐั บาล ภาคเอกชน มูลนิธแิ ละการรับบริจาค รปู แบบกิจกรรม ตรวจสุขภาพและเย่ียมให้กําลังใจ ปรับปรุงและซ่อมแซมบ้าน ฝึกอาชีพ เสริมรายได้ ทางดา้ นกจิ กรรมในศูนยฟ์ ื้นฟูฯ โดยปกติในแต่ละเดือนทางองค์การบริหารส่วนตําบลดอนแก้วจะ กําหนดให้มีการจัดวันเติมสุขทุกวันพฤหัสบดีท่ีสํานักสงฆ์สันเหมืองประชาราม ซ่ึงจะมีท้ังกิจกรรมนันทนาการ และการฝึกอาชีพต่าง ๆ ให้ผู้พิการได้หัวเราะ มีความสุข แต่ผู้พิการและผู้สูงอายุซ่ึงมาจากท้ัง 10 หมู่บ้าน อยากใหม้ ีการจดั กิจกรรมทห่ี ม่บู ้านของตนเองบ้าง จึงกําหนดให้มีวันพฤหัสบดี 1 วัน สําหรับจัดกิจกรรมวัน เตมิ สขุ สญั จรเวยี นไปยังวัดต่าง ๆ ในตาํ บลเดือนละครัง้ ผพู้ ิการและผู้สูงอายุจากแต่ละทจี่ ะได้มีโอกาสออกมาจัด กิจกรรมรว่ มกัน ลักษณะการใหบ้ ริการ แบ่งเปน็ 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) เชิงรุก บริการทําทะเบียนประวัติ ทําสมุดบันทึกประจําตัวผู้พิการ การตรวจเย่ียม ผู้สูงอายแุ ละผูด้ อ้ ยโอกาสในพน้ื ที่อยา่ งสมํา่ เสมอ 2) เชิงรับ มีการจัดตั้งโรงเรียนฮอมสุข การให้บริการฮอมสุขสัญจร หลักสูตรอบร ม นักจิตอาสา ฝึกอาชีพ เบีย้ ยังชพี กองทนุ กายอุปกรณ์ชว่ ยเหลอื ในชวี ิตประจาํ วัน ปจั จัยแหง่ ความสาํ เรจ็ 1) จิตอาสาของผูน้ ําทอ้ งถนิ่ 2) จิตอาสาของชาวบา้ น 3) เครอื ข่ายมคี วามเขม็ แขง็ 4) มรี ะบบการจดั หารายได้ โครงการศึกษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผูส้ ูงอายพุ ิการ 51

5) เปน็ ชุมชนใกลเ้ มอื ง 6) มีแผนงานในการดแู ลที่ชัดเจน 7) ความกตญั ญู เอ้ือเฟ้ือ แบ่งปัน 8) การได้รบั ความร่วมมอื จากหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและมูลนธิ ใิ นการสนับสนุนการ ดําเนินงานและงบประมาณ ประเดน็ ที่น่าสนใจ 1) เป็นองค์การบริหารส่วนตําบลที่มีขนาดใหญ่ มีศักยภาพเพิ่มข้ึนในการบริหารจัดการ เม่ือมีการรับโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตําบลเข้ามาอยู่ในสังกัด การมีสถานะเป็นองค์การบริหาร สว่ นตาํ บลมผี ลต่องบประมาณและการบรหิ ารจัดการทําใหค้ ล่องตัวและกระจายงบไดท้ วั่ ถึง 2) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ใช้วิธีจัดงานถักทอสายใย ร้อยดวงใจคนพิการ เพ่ือเปิด โอกาสให้คนพิการแสดงความคิดเห็นจนเกิดเป็นข้อบัญญัติตําบล เรื่องการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการข้ึน สว่ นชุมชนได้ทํากจิ กรรมร่วมกัน 3) ผู้สูงอายุมีความสุข มีชีวิตชีวามากกว่าบ้านธรรมปกรณ์ แสดงว่าการอยู่ร่วมกันเป็น ครอบครวั มีผลต่อความสขุ ดา้ นจติ ใจ ตารางที่ 4.1 แสดงความแตกต่างของการดําเนินงานดูแลผู้สูงอายุพิการที่ดําเนินการโดยชุมชน ภาครัฐและ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ลาดับ ประเภท วดั หว้ ยเกี๋ยง บา้ นธรรมปกรณ์ อบต. ดอนแกว้ 1 รู ป แ บ บ ก า ร ชุมชน ภาครฐั สว่ นทอ้ งถ่ิน ดําเนินงาน 2 งบประมาณ การรับบริจาค ไ ด้ รั บ จ า ก รั ฐ บ า ล ไ ด้ รั บ จ า ก รั ฐ บ า ล เ อ ก ช น แ ล ะ ก า ร รั บ ภาคเอกชน มูลนิธิและ บริจาค การรบั บริจาค 3 การบูรณาการ หน่ ว ย งา น ปร ะเ ภ ท ค ณ ะ ต่ า ง ๆ ใ น หน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ สาธารณสุขในจังหวัด มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ใ น จั ง ห วั ด เชยี งใหม่ เชียงใหม่ 4 ก า ร ส นั บ ส นุ น โรงพยาบาลอําเภอ กรมพัฒนาสังคมและ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ ด้ า น ก า ร สั น ท ร า ย จั ง ห วั ด ส วั ส ดิ ก า ร แ ล ะ ภาคเอกชนและมูลนิธิต่าง ดําเนินงาน เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ๆ 5 การให้บริการ ให้บริการในลักษณะ ให้บริการในลักษณะ ให้บริการในลักษณะการ ไปเช้า-เย็นกลับ และ ค้างคืน โดยไม่มีการ จัดกิจกรรมและการตรวจ พักค้างคืน แต่มีการ คิ ด ค่ า บ ริ ก า ร แ ต่ เยี่ยมให้แก่ประชาชนใน คิดค่าบริการไม่ต้อง จ ะ ต้ อ ง จ อ ง คิ ว เ พื่ อ พื้ น ที่ ไ ม่ มี ก า ร คิ ด จ อ ง คิ ว เ พ่ื อ ข อ รั บ ขอรับบรกิ าร ค่าบรกิ าร บริการ โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ ิการ 52

ลาดับ ประเภท วัดหว้ ยเกีย๋ ง บ้านธรรมปกรณ์ อบต. ดอนแกว้ 6 ระยะเวลาในการ ไม่มีกําหนดระยะเวลา มีการกําหนดระยะเวลา ไม่มีกําหนดระยะเวลา ขอรบั บริการ ในการขอรบั บริการ ในการขอรบั บริการ ในการขอรับบรกิ าร 7 ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ต้องการให้ครอบครัวเข้า ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ของครอบครัวผู้ ครอบครัวมีส่วนร่วมใน มามีส่วนร่วมในการดูแล ครอบครัวมีส่วนร่วมใน มาขอรับบริการ การ ดูแล ผู้มา ขอรั บ ผู้มาขอรับบริการ แต่มี ก า ร ดู แ ล ผู้ ม า ข อ รั บ บรกิ าร จํานวนน้อยครอบครัวท่ี บริการ ให้ความสําคัญในการมี ส่วนร่วมในการดูแลผู้มา ขอรบั บริการ จากตารางที่ 4.1 พบว่า จากการศึกษาดูงานรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุพิการใน 3 รูปแบบ สรปุ ได้ดังน้ี 1) วัดหว้ ยเกยี๋ ง เปน็ รูปแบบการดําเนินงานโดยชมุ ชน ซึ่งมีวัดเป็นศูนย์กลางในการดําเนินงาน งบประมาณไดร้ บั จากการบรจิ าคเปน็ หลกั โดยมหี นว่ ยงานดา้ นสาธารณสุขมาร่วมบูรณาการดําเนินการ ได้รับ การสนับสนุนจากโรงพยาบาลอําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ให้บริการในลักษณะเช้าไป-เย็นกลับและพัก คา้ งคนื โดยมกี ารคิดคา่ บรกิ าร ไมต่ อ้ งมีการจองควิ เพ่ือขอรับบริการ ไม่มีกําหนดระยะเวลาในการขอรับบริการ และมีการสง่ เสรมิ ให้ครอบครวั มสี ว่ นร่วมในการดแู ลผมู้ าขอรับบริการ 2) บ้านธรรมปกรณ์ เป็นรูปแบบการดําเนินงานโดยภาครัฐ งบประมาณได้รับการจัดสรรจาก รฐั บาล เอกชนและการรบั บริจาค ดาํ เนนิ การโดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ มีการบูรณาการการทํางาน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการจัดกิจกรรมให้แก่ผู้มาขอรับบริการ ให้บริการในลักษณะค้างคืนโดยไม่มี การคิดค่าบริการ จะต้องจองคิวเพื่อขอรับบริการ ไม่มีกําหนดระยะเวลาในการให้บริการ ต้องการให้ ครอบครวั เข้ามามีสว่ นรว่ มในการดูแลผมู้ าขอรับบริการแต่มีจํานวนน้อยครอบครัวที่ให้ความสําคัญในการมีส่วน รว่ มในการดแู ลผู้มาขอรับบริการ 3) องค์การบริหารส่วนตําบลดอนแก้ว เป็นรูปแบบการดําเนินงานโดยองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน งบประมาณได้รับการจัดสรรจากรัฐบาล ส่วนท้องถิ่น เอกชนและการรับบริจาค หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและมูลนิธิต่าง ๆ ในพ้ืนที่ร่วมสนับสนุนการดําเนินงาน ให้บริการในลักษณะการจัดกิจกรรมและ การตรวจเย่ียมให้แก่ประชาชนในพื้นท่ี ไม่มีการคิดค่าบริการและมีการส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการ ดแู ลผู้มาขอรบั บรกิ าร โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ ิการ 53

ตอนที่ 2 ศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการและความต้องการในการได้รับบริการใน ดา้ นตา่ ง ๆ จากการจดั สวัสดกิ ารสงั คม 1) สถานภาพผู้สูงอายพุ ิการและความต้องการในการได้รับบรกิ ารในดา้ นต่าง ๆ จากการจัด สวสั ดิการสงั คม 1.1) ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เกย่ี วกบั ข้อมูลทัว่ ไปของผู้สูงอายุพิการ ตารางท่ี 4.2 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ผูส้ งู อายพุ ิการจาํ แนกตามขอ้ มูลทวั่ ไป ข้อมูลท่ัวไป จานวน ร้อยละ 1. เพศ 327 45.42 (1.1) ชาย 393 54.58 (1.2) หญงิ 283 39.31 2. ปจั จุบนั อายุ 262 36.39 (2.1) อายุ 60–70 ปี 175 24.31 (2.2) อายุ 71–80 ปี (2.3) อายุ 81 ปขี นึ้ ไป 68 9.44 347 48.19 อายุตาํ่ สดุ 60 ปี อายสุ ูงสุด 103 ปี อายเุ ฉลีย่ 74.17 ปี 286 39.72 19 2.64 3. สถานภาพ (3.1) โสด 669 92.92 (3.2) สมรส หรอื อยดู่ ว้ ยกนั 15 2.08 (3.3) หม้าย 36 5.00 (3.4) หยา่ ร้าง หรือแยกกนั อยู่ 178 24.72 4. ศาสนา 463 64.31 (4.1) พทุ ธ 44 6.11 (4.2) คริสต์ 18 2.50 (4.3) อิสลาม 7 0.97 10 1.39 5. ระดบั การศึกษาสงู สุด - (5.1) ไมจ่ บประถมศึกษา - (5.2) จบประถมศึกษา (5.3) จบมัธยมศึกษาตอนตน้ (5.4) จบมัธยมศึกษาปลาย หรอื ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (5.5) จบอนปุ ริญญา หรอื ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สงู (5.6) จบปรญิ ญาตรี (5.7) จบปรญิ ญาโทหรือสงู กว่า โครงการศกึ ษาวิจัยรปู แบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ กิ าร 54

ตารางที่ 4.2 แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่าง ผู้สงู อายพุ กิ ารจําแนกตามขอ้ มูลทัว่ ไป (ต่อ) ข้อมูลท่ัวไป จานวน ร้อยละ 6. สถานภาพการทางานปัจจุบนั 600 83.33 (6.1) ไม่ประกอบอาชีพ 76 10.56 (6.2) ประกอบอาชพี เกษตรกรรม 34 4.72 (6.3) ประกอบอาชีพรับจา้ ง 10 1.39 (6.4) ประกอบอาชีพคา้ ขาย 720 100.00 รวม จากตารางท่ี 4.2 พบว่า ผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน เม่ือพิจารณาตามเพศ ส่วนใหญ่ เปน็ หญิง จาํ นวน 393 คน คิดเปน็ ร้อยละ 54.58 และเป็นชาย จํานวน 327 คน คิดเป็นร้อยละ 45.42 เม่อื พจิ ารณาตามอายุ ผูส้ งู อายุพิการสว่ นใหญอ่ ายุ 60–70 ปี จํานวน 283 คน คิดเป็นร้อยละ 39.31 รองลงมาอายุ 71–80 ปี จํานวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 36.39 โดยผู้สูงอายุพิการอายุตํ่าสุด 60 ปี อายุสงู สุด 103 ปี อายเุ ฉลีย่ 74.17 ปี เม่ือพิจารณาตามสถานภาพ ผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่สมรส หรืออยู่ด้วยกัน จํานวน 347 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.19 รองลงมาหมา้ ย จาํ นวน 286 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 39.72 เมอื่ พจิ ารณาตามศาสนา ผสู้ ูงอายพุ กิ ารส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 669 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 92.92 รองลงมานบั ถือศาสนาอิสลาม จาํ นวน 36 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.00 เมอื่ พจิ ารณาตามระดับการศึกษาสูงสุด ผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 463 คน คิดเป็นร้อยละ 64.31 รองลงมาไม่จบประถมศึกษา จํานวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 24.72 เมื่อพจิ ารณาตามสถานภาพการทาํ งานปัจจุบัน ผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ไม่ประกอบอาชีพจํานวน 600 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 รองลงมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม จํานวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 10.56 โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ กิ าร 55

ตารางท่ี 4.3 แสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุพิการจําแนกตามประเภทและสถานภาพการ จดทะเบียนผู้พกิ าร ประเภทและสถานภาพการจดทะเบยี นผพู้ ิการ จานวน ร้อยละ ประเภทความพิการ (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) (1) ทางการเห็น 173 24.03 (1.1) ตาบอด 96 13.33 (1.2) เหน็ เลอื นราง 77 10.69 (2) ทางการได้ยินหรือส่ือความหมาย 181 25.14 (2.1) หหู นวก 78 10.83 (2.2) หูตึง 87 12.08 (2.3) ความพิการทางการส่ือความหมาย 16 2.22 3. ทางการเคล่ือนไหวหรอื ทางร่างกาย 468 65.00 (3.1) การเคลอ่ื นไหว 239 33.19 (3.2) อมั พฤต 53 7.36 (3.3) กระดกู /ทับเส้น 13 1.81 (3.4) กลา้ มเนื้ออ่อนแรง 20 2.78 (3.5) แขนหรือขาพกิ าร 35 4.86 (3.6) เดินไม่ได้ 86 11.94 (3.7) ตดิ เตียง 13 1.81 (3.8) หลังคอ่ มงอ 9 1.25 4. ทางจิตใจหรอื พฤติกรรม 34 4.72 5. ทางสติปญั ญา 28 3.89 6. ทางการเรยี นรู้ (LD) 5 0.69 7. ออทิสติก 2 0.28 สถานภาพการจดทะเบยี นคนพิการ (1) จดทะเบียนคนพกิ าร 661 91.81 (2) ไม่ไดจ้ ดทะเบียนคนพิการ 42 5.83 (2.1) ไม่รู้ 2 0.28 (2.2) ไม่มผี พู้ าไป 5 0.69 (2.3) ช่วยตวั เองไมไ่ ด้ 2 0.28 (2.4) อย่รู ะหว่างรกั ษา 8 1.11 รวม 720 100.00 จากตารางที่ 4.3 พบว่า ผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน เม่ือพิจารณาจากประเภทความ พิการส่วนใหญ่พิการทางการเคล่ือนไหว หรือร่างกาย จํานวน 468 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 โดยความ พิการทางการเคลื่อนไหว หรือร่างกายส่วนใหญ่จะพิการจากการเคลื่อนไหว จํานวน 239 คน คิดเป็น โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผูส้ งู อายพุ ิการ 56

ร้อยละ 33.19 รองลงมาพิการจากการเดินไมไ่ ด้ จํานวน 86 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.94 ประเภทความพิการรองลงมาพกิ ารทางการได้ยิน หรือสื่อความหมาย จํานวน 181 คน คิดเป็น ร้อยละ 25.14 โดยความพิการทางการได้ยิน หรือส่ือความหมายส่วนใหญ่จะพิการจากหูตึง จํานวน 87 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.08 รองลงมาพิการจากหหู นวก จํานวน 78 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.83 เมื่อจําแนกตามสถานภาพการจดทะเบียนคนพิการส่วนใหญ่จดทะเบียนคนพิการ จํานวน 661 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 91.81 และที่ไมไ่ ด้จดทะเบียนคนพิการ จํานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 5.83 โดยให้ เหตผุ ลเพราะอยรู่ ะหวา่ งการรกั ษา ไมม่ ีผู้พาไป ไม่รแู้ ละช่วยตัวเองไมไ่ ด้ ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนและร้อยละของกลมุ่ ตวั อยา่ งผู้สูงอายุพกิ ารจําแนกตามสาเหตุและอายุเมือ่ แรกพบ ความพิการ สาเหตุและอายเุ มอ่ื แรกพบความพกิ าร จานวน รอ้ ยละ สาเหตขุ องความพิการ (1) พิการแต่กาํ เนิด 52 7.22 (2) พิการเกดิ จากอุบตั ิเหตุ 145 20.14 (3) พิการจากโรคภยั ไข้เจ็บ 280 38.89 (4) พิการจากความชรา 229 31.81 (5) อื่นๆ 4 0.56 อายุเม่ือแรกพบความพิการ (1) แรกเกดิ –1 ขวบ 91 12.64 (2) อายุ 2–30 ปี 154 21.39 (3) อายุ 31–60 ปี 192 26.67 (4) อายุ 61–80 ปี 239 33.19 (5) อายุ 80 ปีขึน้ ไป 44 6.11 อายุตา่ํ สดุ เมื่อแรกเกิด อายุสูงสุด 95 ปี อายเุ ฉลย่ี 44.90 ปี รวม 720 100.00 จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน สาเหตุของความพิการส่วนใหญ่ พิการจากโรคภัยไข้เจ็บ จํานวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 38.89 รองลงมา พิการจากความชรา จํานวน 229 คน คิดเป็นร้อยละ 31.81 และพิการจากอุบัติเหตุ จํานวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 20.14 ตามลําดบั เม่อื พิจารณาจากอายุเมื่อแรกพบความพกิ ารส่วนใหญ่พบเมื่ออายุ 61–80 ปี จํานวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 33.19 รองลงมาอายุ 31–60 ปี จํานวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67 และอายุ 2–30 ปี จาํ นวน 154 คน คดิ เป็นร้อยละ 21.39 โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับผ้สู ูงอายพุ ิการ 57

ตารางที่ 4.5 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่างผู้สูงอายุพกิ ารจําแนกตามการเข้ารว่ มกลมุ่ หรอื ชมรม การเข้ารว่ มกลุ่ม/ชมรม จานวน ร้อยละ ผู้สูงอายพุ ิการเป็นสมาชิกกลุ่ม/ชมรมในชุมชน 500 69.44 (1) ไมเ่ ปน็ สมาชิก 58 8.06 (2) เปน็ สมาชิกระบชุ มรม 41 5.69 (2.1) ชมรมผูพ้ กิ าร 87 12.08 (2.2) ชมรมผู้สูงอายุ 34 4.72 (2.3) ชมรมกองทนุ สวัสดิการชมุ ชน 494 68.61 เขา้ รว่ มกิจกรรมของกลุ่ม/ชมรม ในรอบปี 162 22.50 (1) ไมเ่ คยเข้าร่วม 64 8.89 (2) เข้ารว่ มบ้างบางครง้ั 720 100.00 (3) เขา้ รว่ มบ่อยครั้ง รวม จากตารางที่ 4.5 พบว่า ผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน เม่ือพิจารณาจากการเข้าร่วมกลุ่ม หรือชมรมส่วนใหญ่ไม่เป็นสมาชิก จํานวน 500 คน คิดเป็นร้อยละ 69.44 และท่ีเป็นสมาชิกลุ่มส่วนใหญ่ ระบชุ มรมผูส้ งู อายุ จํานวน 87 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.08 เม่ือพิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม หรือชมรมในรอบปีส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าร่วม จํานวน 494 คน คิดเป็นร้อยละ 68.61 รองลงมาเข้าร่วมบ้างบางคร้ัง จํานวน 162 คน คิดเป็นร้อยละ 22.50 และเข้าร่วมบ่อยครง้ั จํานวน 64 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.89 โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรับผูส้ งู อายพุ ิการ 58

ตารางท่ี 4.6 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ งผู้สูงอายพุ ิการจําแนกตามการใช้กายอุปกรณ์ การใชก้ ายอปุ กรณ์ จานวน ร้อยละ ผู้สูงอายุพิการไม่ได้ใช้กายอุปกรณเ์ พราะ 401 55.69 (1) ตาบอด หรือหหู นวก หรือเปน็ ใบ้ 174 24.17 (2) เดนิ ไม่ได้ 28 3.89 (3) ตดิ เตียง 39 5.42 (4) ช่วยเหลือตวั เองได้ 39 5.42 (5) ไมม่ เี งิน 5 0.69 (6) ไมส่ ะดวก หรือไมช่ นิ 9 1.25 (7) ไมม่ ี 6 0.83 (8) พกิ ารทางจติ 19 2.64 (9) ไมไ่ ด้ข้ึนทะเบียนผพู้ ิการ 61 8.47 ผูส้ งู อายพุ ิการใช้กายอปุ กรณ์ 202 28.06 (1) ใชแ้ ว่นตา หรอื แว่นขยาย 48 6.67 (2) ใช้ไมเ้ ท้า หรอื ไม้เทา้ สามขา 37 5.14 (3) ใชค้ อกช่วยเดิน 136 18.89 (4) ใช้เครอ่ื งชว่ ยฟัง 14 1.94 (5) รถเขน็ 9 1.25 (6) อน่ื ๆ 5 0.69 (6.1) เตียง 720 100.00 (6.2) ขาเทยี ม รวม จากตารางท่ี 4.6 พบว่า ผู้สงู อายุพิการทงั้ หมด 720 คน เมือ่ พิจารณาจากการใช้กายอุปกรณ์ พบวา่ ผูส้ ูงอายุพิการไมไ่ ดใ้ ช้กายอุปกรณ์ สว่ นใหญ่เพราะกายอุปกรณท์ ่ีแจกโดยรัฐไม่เหมาะสมกับความพิการ ได้แก่ ตาบอด หรือหูหนวก หรือเป็นใบ้ จํานวน 401 คน คิดเป็นร้อยละ 55.69 รองลงมาเพราะเดิน ไมไ่ ด้ จาํ นวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 24.17 และช่วยเหลือตัวเองไม่ได้และไม่มีเงินซื้อ จํานวน 39 คน เทา่ กนั ซึ่งคิดเปน็ ร้อยละ 5.42 เมื่อพิจารณาจากผู้สูงอายุพิการใช้กายอุปกรณ์ส่วนใหญ่ใช้ไม้เท้า หรือไม้เท้าสามขา จํานวน 202 คน คดิ เป็นร้อยละ 28.06 รองลงมารถเขน็ จํานวน 136 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.89 โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ กิ าร 59

ตารางท่ี 4.7 แสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุพิการจําแนกตามผู้ที่ผู้สูงอายุพิการอาศัย อยู่ด้วย ผู้ทผ่ี ูส้ ูงอายุพิการอาศัยอยู่ด้วย จานวน รอ้ ยละ ผสู้ งู อายพุ กิ ารอาศยั อย่กู ับใคร 43 5.97 (1) ลาํ พังคนเดียว 300 41.67 (2) คู่สมรส (3) บุตร 322 44.72 (3.1) 1 คน 122 16.94 (3.2) 2–3 คน 14 1.94 (3.3) มากกวา่ 3 คน (4) เขย/สะใภ้ 164 22.78 (4.1) 1-2 คน 18 2.50 (4.2) มากกวา่ 2 คน (5) หลาน 138 19.17 (5.1) 1 คน 108 15.00 (5.2) 2 คน 66 9.17 (5.3) 3 คน หรือมากกวา่ (6) พ่ีนอ้ ง 38 5.28 (6.1) 1 คน 13 1.81 (6.2) 2 คน 9 1.25 (6.3) 3 คน หรอื มากกว่า (7) บุคคลอ่ืน ๆ ระบุ 9 1.25 (7.1) บดิ ามารดา 13 1.81 (7.2) เหลน 9 1.25 (7.3) ผ้ดู แู ล 720 100.00 รวม จากตารางที่ 4.7 พบว่า ผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับบุตรซึ่งบุตรท่ี ดูแลมีจํานวน 1 คน จํานวน 322 คน คิดเป็นร้อยละ 44.72 จํานวน บุตรท่ีดูแลมีจํานวน 2-3 คน จาํ นวน 122 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.94 รองลงมาอาศัยอยู่กับคู่สมรส จํานวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 41.67 โครงการศึกษาวจิ ัยรูปแบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายพุ ิการ 60

ตารางท่ี 4.8 แสดงจาํ นวนและร้อยละของกล่มุ ตวั อยา่ งผู้สงู อายุพกิ ารจาํ แนกตามการดแู ลช่วยเหลอื การดแู ลชว่ ยเหลือ จานวน รอ้ ยละ การช่วยเหลือตัวเองของผูส้ ูงอายพุ ิการ 114 15.83 (1) ช่วยเหลือตวั เองไมไ่ ด้ 348 48.33 (2) ช่วยเหลอื ตัวเองได้บ้าง 258 35.83 (3) ช่วยเหลือตวั เองได้ 30 4.17 ผ้ดู ูแลผู้สงู อายพุ ิการในการใช้ชีวิตประจาวนั 282 39.17 (1) ไม่มีผดู้ ูแล 423 58.75 (2) คสู่ มรส 121 16.81 (3) บุตร 21 2.92 (4) ญาติ (5) ผชู้ ่วยเหลือคนพิการ (มีค่าตอบแทน) 313 43.47 (6) บคุ คลอ่ืน 47 6.53 5 0.69 สทิ ธกิ ารรักษาพยาบาล 4 0.56 (1) บัตรทอง หรือ บตั ร 30 บาท 351 48.75 (2) ข้าราชการ หรือลูกจ้างประจาํ (3) ประกันสังคม 68 9.44 (4) ทหารผา่ นศึก 652 90.56 (5) บัตรผู้พิการ 86 11.94 สทิ ธกิ ารรกั ษาพยาบาลดว้ ยกรมธรรม์ประกันชีวติ 57 7.92 (1) มี 636 88.33 (2) ไม่มี 332 46.11 87 12.08 การไดร้ ับความชว่ ยเหลือ 389 54.03 (1) ไม่เคยได้รับความชว่ ยเหลือ 23 3.19 (2) ได้กยู้ มื เงินจากกองทนุ สวัสดิการภาครัฐ หรอื ชุมชน 159 22.08 (3) ไดร้ บั เบย้ี ยังชีพคนพิการ (4) ไดร้ บั การรักษาพยาบาลโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย (5) ไดร้ บั เงินสงเคราะหห์ รือเงินช่วยเหลอื กรณฉี ุกเฉิน (6) ไดร้ บั แจกเคร่ืองอปุ โภค บริโภคเป็นครงั้ คราว (7) ได้รบั การชว่ ยเหลือปรับสภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยู่อาศัย (8) ไดร้ ับกายอปุ กรณ์สาํ หรับคนพกิ าร จากตารางที่ 4.8 พบว่า ผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน เม่ือพิจารณาจากการช่วยเหลือ ตัวเองของผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง จํานวน 348 คน คิดเป็นร้อยละ 48.33 รองลงมาช่วยเหลือตัวเองได้ จํานวน 258 คน คิดเป็นร้อยละ 35.83 และท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ ิการ 61

จํานวน 114 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.83 เม่ือพิจารณาจากผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการในการใช้ชีวิตประจําวันส่วนใหญ่ผู้ดูแลเป็นบุตร จํานวน 423 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.75 รองลงมาเป็นคสู่ มรส จาํ นวน 282 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 39.17 เมอ่ื พจิ ารณาจากสทิ ธิการรกั ษาพยาบาลส่วนใหญ่ใช้บัตรผู้พิการ จํานวน 351 คน คิดเป็นร้อยละ 48.75 รองลงมาใช้บตั รทอง หรอื บตั ร 30 บาท จาํ นวน 313 คน คิดเป็นร้อยละ 43.47 เมื่อพจิ ารณาจากสิทธกิ ารรักษาพยาบาลดว้ ยกรมธรรม์ประกันชีวิตส่วนใหญ่ไม่มี จํานวน 652 คน คิดเป็นร้อยละ 90.56 เมื่อพิจารณาจากการได้รับความช่วยเหลือส่วนใหญ่ใช้บัตรผู้พิการได้รับเบี้ยยังชีพคนพิการ จํานวน 636 คน คิดเป็นร้อยละ 88.33 รองลงมาได้รับแจกเคร่ืองอุปโภคบริโภคเป็นคร้ังคราว จํานวน 389 คน คิดเป็นร้อยละ 54.03 และได้รับการรักษาพยาบาลโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย จํานวน 332 คน คิด เปน็ ร้อยละ 46.11 1.2) ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเก่ยี วกบั ผสู้ ูงอายพุ ิการทีป่ ระสบปญั หาดา้ นต่าง ๆ ตารางท่ี 4.9 แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่างผู้สูงอายุพิการจําแนกตามปัญหาทป่ี ระสบ ปัญหาที่ประสบ จานวน ร้อยละ ผู้สูงอายุพิการประสบปัญหาดา้ นการรกั ษาพยาบาล 392 54.44 (1) ไม่มีปัญหา 113 15.69 (2) มีปญั หาขาดกายอปุ กรณ์สําหรับคนพิการ 90 12.50 (3) ไม่ได้รบั บริการฟนื้ ฟูสมรรถภาพการทางแพทย์ 187 25.97 (4) ขาดค่าใช่จ่ายในการเดนิ ทางไปรักษาพยาบาล 71 9.77 (5) ไม่ได้รับความสะดวกในการเข้าถึงการรักษาพยาบาล 40 5.56 (6) ขาดยาและเวชภัณฑ์ 3 0.42 (7) อืน่ (ระบ)ุ การเดินทางไปรกั ษาพยาบาล 584 81.11 ผ้สู ูงอายพุ ิการประสบปัญหาท่ีอยู่อาศัย (1) ไม่มปี ญั หา 20 2.78 (2) สภาพท่ีอยู่อาศยั ไม่เอื้อต่อการดาํ เนนิ ชีวิตประจาํ วนั 9 1.25 (2.1) ไม่มีทอ่ี ยู่อาศยั 8 1.11 (2.2) เตยี งนอน 6 0.83 (2.3) หอ้ งนา้ํ (2.4) บา้ นเช่า โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายพุ กิ าร 62

ตารางที่ 4.9 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ งผสู้ ูงอายุพิการจําแนกตามปญั หาทป่ี ระสบ (ต่อ) ปัญหาที่ประสบ จานวน รอ้ ยละ ปญั หาด้านสวัสดิการทจ่ี าเปน็ ต่อการดารงชีวิต 350 48.61 (1) ไม่มีปัญหา 109 15.14 (2) ปัญหาช่วยเหลอื ตวั เองไม่ไดใ้ นการดาํ รงชวี ิตประจําวนั 21 2.92 (3) ไม่มีผดู้ แู ล 14 1.94 (4) ไม่มคี นอุปการะ หรอื ไร้ที่พ่ึงพงิ 78 10.83 (5) ไม่มีทุนประกอบอาชีพ 147 20.42 (6) ไม่มีอาชีพ 76 10.56 (7) มีหน้สี ิน 180 25.00 (8) รายได้ไม่เพยี งพอแกก่ ารครองชพี 29 4.03 (9) ไม่สามารถเลย้ี งดบู ุตรได้ 253 35.14 ปญั หาทางดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุพิการ 144 20.00 (1) ไม่มีปญั หา 59 8.19 (2) มีปัญหาทางการขบั ถา่ ย 17 2.36 (3) อัลไซเมอร์ 279 38.75 (4) พาร์กนิ สัน 22 3.06 (5) หัวใจ หรอื ความดนั หรือเบาหวาน 157 21.81 (6) แผลกดทบั (7) กระดูก 2 0.28 (8) อนื่ 28 3.89 (8.1) ระบบหายใจ หรอื ไต 2 0.28 (8.2) โรคจติ 30 4.17 (8.3) การเคล่ือนไหว (8.4) การมองเห็น จากตารางท่ี 4.9 พบว่า ผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน ปัญหาท่ีประสบด้านการ รกั ษาพยาบาลพบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา จํานวน 392 คน คิดเป็นร้อยละ 54.44 รองลงมามีปัญหาขาด ค่าใช่จ่ายในการเดินทางไปรักษาพยาบาล จาํ นวน 187 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และปัญหาขาดกาย อุปกรณ์สาํ หรับคนพิการ จํานวน 113 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.69 ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา จํานวน 584 คน คิดเป็นร้อยละ 81.11 และที่มี ปัญหาสภาพท่ีอยู่อาศัยไม่เอ้ือต่อการดําเนินชีวิตประจําวันส่วนใหญ่มีปัญหาไม่มีท่ีอยู่อาศัย จํานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.78 และมีปัญหาเตียงนอน จาํ นวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.25 ปัญหาด้านสวัสดิการท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิตส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา จํานวน 350 คน คิดเป็น ร้อยละ 48.61 รองลงมามีปัญหารายได้ไม่เพียงพอแก่การครองชีพ จํานวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 และท่ีมีปัญหาไมม่ อี าชพี จาํ นวน 147 คน คดิ เป็นร้อยละ 20.42 โครงการศึกษาวิจัยรปู แบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ ิการ 63

ปญั หาดา้ นการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มีปัญหาโรคหัวใจ หรือความดัน หรือเบาหวาน จํานวน 279 คน คิดเป็นร้อยละ 38.75 รองลงมามีปัญหาโรคกระดูก จํานวน 157 คน คิดเป็นร้อยละ 21.84 และที่ไมม่ ปี ัญหาสขุ ภาพ จํานวน 253 คน คิดเปน็ ร้อยละ 35.14 1.3) ศกึ ษาความตอ้ งการไดร้ ับการบริการในดา้ นต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการสังคมและ การจดั บริการดา้ นสุขภาพสาหรบั ผู้สงู อายพุ ิการ ตารางท่ี 4.10 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการสงั คมสําหรบั ผสู้ งู อายุพกิ ารโดยรวม ความตอ้ งการได้รบั การบรกิ ารในด้านตา่ ง ๆ จาก ระดับความต้องการไดร้ บั บริการ การจดั สวสั ดกิ ารสงั คมและการจดั บริการดา้ นสุขภาพ  S.D. แปลผล ความตอ้ งการด้านการศึกษา ความตอ้ งการดา้ นทีอ่ ยู่อาศยั 3.16 1.25 ปานกลาง ความต้องการดา้ นการทาํ งานและการมีรายได้ ความตอ้ งการด้านนันทนาการ 3.41 1.44 มาก ความตอ้ งการด้านกระบวนการยตุ ิธรรม ความต้องการดา้ นบริการทางสังคมทั่วไป 2.87 1.60 ปานกลาง ความต้องการด้านสุขภาพอนามยั 3.12 1.33 ปานกลาง รวม 3.81 1.37 มาก 3.95 1.20 มาก 3.95 1.06 มาก 3.47 1.13 มาก จากตารางที่ 4.10 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการ สังคมสําหรับผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =3.47) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดบริการด้าน สุขภาพอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ความต้องการด้านสุขภาพอนามัย (  = 3.95) ด้านบริการทาง สังคมทั่วไป (  =3.95) และความต้องการด้านกระบวนการยุติธรรม (  = 3.81) ตามลําดับ ส่วนความ ตอ้ งการดา้ นการทํางานและการมรี ายไดผ้ ู้สงู อายุพิการมีความต้องการเฉลย่ี นอ้ ยทส่ี ดุ (  = 2.87) โครงการศึกษาวจิ ัยรูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ ิการ 64

ตารางท่ี 4.11 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสงั คมในดา้ นการศึกษาสาํ หรับผ้สู งู อายุพกิ าร ระดบั ความต้องการได้รับบริการ ความต้องการได้รับการบรกิ าร นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล ในดา้ นการศกึ ษา ท่ีสดุ กลาง ท่สี ดุ ผล 1. การจดั ใหม้ ีการทัศนศึกษาดงู าน 297 69 61 169 124 2.66 1.60 ปาน ตามโอกาส (41.25) (9.58) (8.47) (23.47) (17.22) กลาง 2. ไดร้ ับโอกาสในการศึกษาตาม 300 64 82 150 124 2.63 1.59 ปาน ความเหมาะสม (41.67) (8.89) (11.39) (20.83) (17.22) กลาง 3. การไดร้ ับคาํ แนะนําวิธปี ฏิบัติกรณี 166 62 88 196 208 3.30 1.53 ปาน เผชญิ เหตุฉกุ เฉนิ (23.06) (8.61) (12.22) (27.22) (28.89) กลาง 4. ความรเู้ ก่ียวกบั การปรบั ตวั ในการ 155 53 111 217 184 3.31 1.47 ปาน อยูร่ ว่ มกนั ทางสังคม (21.53) (7.36) 15.42 30.14 25.56 กลาง 5. ความรู้ทางด้านกฎหมายและสิทธิ 159 58 83 221 199 3.34 1.51 ปาน ทางกฎหมาย (22.08) (8.06) (11.53) (30.69) (27.64) กลาง 6. ความรูท้ างด้านสิทธทิ าง 136 32 54 192 306 3.69 1.51 มาก การแพทยแ์ ละการรักษาพยาบาล (18.89) (4.44) (7.5) (26.67) (42.5) 7. การเรียนร้ทู ักษะในการดาํ เนนิ 130 47 50 239 254 3.61 1.47 มาก ชีวติ ท่เี หมาะสมกับความพกิ าร (18.06) (6.53) (6.94) (33.19) (35.28) 8. การได้รบั ขา่ วสารด้านสิทธิและ 120 35 58 208 299 3.74 1.46 มาก สวสั ดิการจากภาครฐั (16.67) (4.86) (8.06) (28.89) (41.53) 9. การไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั การ 201 70 106 191 152 3.03 1.53 ปาน ถา่ ยทอดและอนรุ ักษภ์ มู ิปญั ญา (27.92) (9.72) (14.72) (26.53) (21.11) กลาง 10. การศกึ ษาด้านคอมพวิ เตอรแ์ ละ 376 52 88 114 90 2.29 1.52 ปาน เทคโนโลยี (52.22) (7.22) (12.22) (15.83) (12.5) กลาง รวม 3.16 1.25 ปาน กลาง จากตารางท่ี 4.11 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมและการ จัดบริการด้านการศึกษาสําหรับผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับ ปานกลาง (  =3.16) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ความต้องการการได้รับข่าวสารด้านสิทธิและ สวัสดิการจากภาครัฐผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉล่ียมากที่สุด (  =3.74) รองลงมาความต้องการ ความรู้ทางดา้ นสิทธิทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล (  =3.69) และความต้องการการเรียนรู้ทักษะใน การดําเนินชีวิตที่เหมาะสมกับความพิการ (  =3.61) ตามลําดับ ส่วนความต้องการการศึกษาด้าน โครงการศกึ ษาวิจัยรปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ ิการ 65

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีผสู้ ูงอายพุ ิการมีความต้องการเฉล่ยี นอ้ ยท่ีสดุ (  =2.29) ตารางท่ี 4.12 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดกิ ารสงั คมในด้านทอ่ี ยอู่ าศยั สําหรับผ้สู ูงอายพุ กิ าร ระดับความต้องการไดร้ บั บริการ ความต้องการได้รบั การบริการ นอ้ ย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล ในดา้ นท่อี ยอู่ าศัย ทส่ี ุด กลาง ท่สี ดุ ผล 1. การปรับปรงุ บนั ไดบา้ น ทางเดิน 228 36 84 151 221 3.14 1.65 ปาน ใหม้ รี าวให้ยึดเกาะ (31.67) (5.00) (11.67) (20.97) (30.69) กลาง 2. ปรบั พื้นทใ่ี ห้มีทางลาดข้นึ -ลง 233 34 100 143 210 3.09 1.64 ปาน ภายในบ้าน (32.36) (4.72) (13.89) (19.86) (29.17) กลาง 3. ห้องนาํ้ /หอ้ งสว้ มอยู่ภายในบ้าน 197 24 51 139 309 3.47 1.68 มาก และเปน็ แบบนงั่ ห้อยเท้า (27.36) (3.33) (7.08) (19.31) (42.92) 4. ปรับทนี่ อนหรอื ห้องนอนใหม้ ี 183 25 49 175 288 3.50 1.63 มาก ความเหมาะสม (25.42) (3.47) (6.81) (24.31) (40.00) 5. บา้ นท่ีอยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้ 179 24 55 159 303 3.53 1.63 มาก สะดวก (24.86) (3.33) (7.64) (22.08) (42.08) 6. บา้ นท่อี ยู่อาศยั มีแสงสวา่ งที่ 182 20 57 170 291 3.51 1.62 มาก เพยี งพอ (25.28) (2.78) (7.92) (23.61) (40.42) 7. ปรบั สภาพแวดลอ้ มของทีอ่ ยู่อาศยั ให้ 168 21 46 177 308 3.61 1.60 มาก มคี วามเหมาะสมกบั สภาพความพกิ าร (23.33) (2.92) (6.39) (24.58) (42.78) รวม 3.41 1.44 มาก จากตารางท่ี 4.12 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมท่ีอยู่อาศัย สําหรับผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบ ริการอยู่ในระดับมาก (  =3.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ความต้องการได้รับปรับสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยให้มีความ เหมาะสมกับสภาพความพิการผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (  =3.61) รองลงมาความ ต้องการบ้านท่ีอยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก (  =3.53) และความต้องการห้องนํ้า หรือห้องส้วมอยู่ ภายในบา้ นและเปน็ แบบนงั่ ห้อยเท้า (  =3.51) ตามลําดับ ส่วนความต้องการปรับพื้นท่ีให้มีทางลาดขึ้น-ลง ภายในบ้านผู้สูงอายุพิการมคี วามต้องการเฉล่ียน้อยท่สี ดุ (  =3.09) โครงการศกึ ษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายพุ ิการ 66

ตารางที่ 4.13 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดกิ ารสงั คมในดา้ นการทํางานและการมีรายไดส้ ําหรบั ผสู้ งู อายุพิการ ความตอ้ งการไดร้ ับการบรกิ าร ระดบั ความต้องการได้รบั บริการ ในดา้ นการทางานและการมี น้อย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล รายได้ ท่ีสุด กลาง ทสี่ ุด ผล 1. การจัดหาอาชีพท่ีเหมาะสม 265 55 72 127 201 2.92 1.69 ปาน แกผ่ ู้สงู อายุพกิ าร (36.81) (7.64) (10) (17.64) (27.92) กลาง 2. การส่งเสริมการออมและการ 241 48 88 145 198 3.02 1.65 ปาน ลงทุน (33.47) (6.67) (12.22) (20.14) (27.5) กลาง 3. การพัฒนาทักษะในการ 269 56 86 129 180 2.85 1.65 ปาน ประกอบอาชีพ (37.36) (7.78) (11.94) (17.92) (25.00) กลาง 4. การช่วยเหลือสง่ เสรมิ ในการ 275 60 85 123 177 2.82 1.65 ปาน พฒั นาผลติ ภัณฑ์ (38.19) (8.33) (11.81) (17.08) (24.58) กลาง 5. การจัดหาแหล่งเงนิ ทนุ ในการ 269 64 73 116 198 2.88 1.68 ปาน ประกอบอาชีพ (37.36) (8.89) (10.14) (16.11) (27.50) กลาง 6. การจดั หาวัตถดุ บิ ในการ 276 57 80 112 195 2.85 1.68 ปาน ประกอบอาชีพ (38.33) (7.92) (11.11) (15.56) (27.08) กลาง 7. การจัดหาสถานที่จําหน่าย 287 68 75 114 176 2.76 1.66 ปาน ผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาด (39.86) (9.44) (10.42) (15.83) (24.44) กลาง 8. การให้ความรู้เกย่ี วกบั อาชีพ 275 57 81 107 200 2.86 1.69 ปาน (38.19) (7.92) (11.25) (14.86) (27.78) กลาง รวม 2.87 1.25 ปาน กลาง จากตารางที่ 4.13 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน การทํางานและการมีรายได้สําหรับผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอ ยู่ใน ระดับปานกลาง (  =2.87) เมื่อพจิ ารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ความต้องการการส่งเสริมการออมและการ ลงทนุ ผสู้ งู อายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (  =3.02) รองลงมาความต้องการการจัดหาอาชีพท่ี เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุพิการ (  =2.92) และความต้องการการจัดหาแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ (  =2.88) ตามลําดับ ส่วนความต้องการการจัดหาสถานที่จําหน่ายผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาดผู้สูงอายุ พกิ ารมคี วามต้องการเฉลี่ยนอ้ ยท่ีสดุ (  =2.76) โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายพุ ิการ 67

ตารางท่ี 4.14 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสังคมในดา้ นนนั ทนาการสาํ หรับผ้สู ูงอายุพกิ าร ระดบั ความต้องการได้รับบริการ ความตอ้ งการไดร้ ับการบรกิ าร น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล กลาง ที่สุด ผล ในดา้ นนนั ทนาการ ที่สดุ 1. การเขา้ รว่ มกจิ กรรมร่ืนเริง 207 56 97 184 176 3.09 1.57 ปาน ของชุมชน (28.75) (7.78) (13.47) (25.56) (24.44) กลาง 2. การเขา้ ร่วมในกิจกรรมทาง 181 63 105 182 189 3.19 1.54 ปาน สงั คม การเขา้ กลุ่ม (25.14) (8.75) (14.58) (25.28) (26.25) กลาง 3. การเข้าร่วมกจิ กรรมทาง 138 52 74 207 249 3.52 1.50 มาก ศาสนา (19.17) (7.22) (10.28) (28.75) (34.58) 4. การเขา้ รว่ มกจิ กรรมตาม 151 56 90 189 234 3.42 1.52 มาก ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น (20.97) (7.78) (12.5) (26.25) (32.5) 5. การเข้ารว่ มกิจกรรมดา้ น 227 91 114 159 129 2.82 1.52 ปาน กฬี า การออกกาํ ลงั กาย (31.53) (12.64) (15.83) (22.08) (17.92) กลาง 6. การไดท้ าํ งานอดิเรกทช่ี อบ 273 89 112 136 110 2.61 1.51 ปาน เชน่ งานศลิ ปะ ดนตรี (37.92) (12.36) (15.56) (18.89) (15.28) กลาง 7. การถ่ายทอดความรู/้ ภูมิ 222 95 99 156 148 2.88 1.55 ปาน ปญั ญา (30.83) (13.19) (13.75) (21.67) (20.56) กลาง 8. การให้ความช่วยเหลอื ทาง 154 64 78 155 269 3.45 1.57 มาก สังคมของผ้สู งู อายพุ ิการ (21.39) (8.89) (10.83) (21.53) (37.36) รวม 3.12 1.33 ปาน กลาง จากตารางท่ี 4.14 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการในด้านนันทนาการสําหรับผู้สูงอายุ พิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับปานกลาง (  =3.12) เม่ือพิจารณาเป็น รายประเด็นพบว่า ความต้องการการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาอยู่ในระดับมาก (  = 3.52) รองลงมา ความต้องการการให้ความช่วยเหลือทางสังคมของผู้สูงอายุพิการ (  = 3.45) และความต้องการการเข้า ร่วมกิจกรรมตามประเพณีวัฒนธรรมท้องถ่ิน (  = 3.42) ตามลําดับ สว่ นความตอ้ งการการไดท้ าํ งานอดิเรก ท่ชี อบ เช่น งานศิลปะ ดนตรีผูส้ ูงอายพุ ิการ มคี วามต้องการเฉลย่ี น้อยทสี่ ุด (  = 2.61) โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ กิ าร 68

ตารางท่ี 4.15 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดิการสงั คมในดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรมสาํ หรับผสู้ ูงอายพุ ิการ ระดับความต้องการได้รบั บริการ ความต้องการได้รับการบรกิ าร น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล ในดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม ที่สดุ กลาง ทส่ี ุด ผล 1. การไมถ่ ูกเลอื กปฏบิ ตั ิ 137 28 46 176 333 3.71 1.52 มาก (19.03) (3.89) (6.39) (24.44) (46.25) 2. การช่วยเหลือทางกฎหมายโดย 111 15 21 146 427 3.42 1.58 มาก การจัดหาทนายความช่วยเหลือทาง (15.42) (2.08) (2.92) (20.28) (59.31) คดี และการเจรจาไกล่เกลีย่ 3. การได้รับการคุ้มครองทาง 120 13 27 148 412 3.70 1.51 มาก กฎหมายอยา่ งเสมอภาคและเป็น (16.67) (1.81) (3.75) (20.56) (57.22) ธรรม 4. การเข้าถึงสิทธขิ องผู้สูงอายุ 113 18 26 124 439 4.05 1.47 มาก พกิ าร (15.69) (2.5) (3.61) (17.22) (60.97) 5. การจดทะเบยี นและการได้รับ 138 28 52 199 303 4.00 1.48 มาก สิทธิประโยชนท์ างกฎหมาย (19.17) (3.89) (7.22) (27.64) (42.08) 6. การเข้าถึงบริการท่รี ัฐจัดให้ 174 39 65 197 245 4.06 1.45 มาก (24.17) (5.42) (9.03) (27.36) (34.03) 7. มตี ัวแทนของผ้สู งู อายุพิการใน 132 37 59 169 323 3.75 1.53 มาก การดาํ เนินทางดา้ นกฎหมาย (18.33) (5.14) (8.19) (23.47) (44.86) รวม 3.81 1.37 มาก จากตารางที่ 4.15 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน กระบวนการยุติธรรมสําหรับผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับ มาก (  =3.81) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ความต้องการการเข้าถึงบริการที่รัฐจัดให้ผู้สูงอายุพิการมี ความต้องการมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (  = 4.06) รองลงมาความต้องการการเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุพิการ (  =4.05) และความต้องการการจดทะเบียนและการได้รับสิทธิประโยชน์ทางกฎหมาย (  =4.00) ตามลําดับ ส่วนความต้องการการช่วยเหลือทางกฎหมายโดยการจัดหาทนายความช่วยเหลือทางคดีและการ เจรจาไกลเ่ กลยี่ ผู้สูงอายุพกิ ารมีความต้องการเฉลยี่ น้อยทีส่ ุด (  = 3.42) โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ กิ าร 69

ตารางที่ 4.16 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดกิ ารสังคมในด้านบริการทางสงั คมทว่ั ไปสาํ หรับผสู้ ูงอายพุ ิการ ระดบั ความต้องการได้รับบริการ ความตอ้ งการได้รบั การบรกิ าร น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล ในด้านบริการทางสังคมท่ัวไป ที่สดุ กลาง ทสี่ ดุ ผล 1. มสี ิง่ อํานวยความสะดวกของ 91 22 40 182 385 4.04 1.36 มาก ชุมชนที่เหมาะสมแก่ผูส้ งู อายุพกิ าร (12.64) (3.06) (5.56) (25.28) (53.47) 2. การอาํ นวยความสะดวกใน 89 16 38 169 408 4.10 1.35 มาก สถานทขี่ องรฐั (12.36) (2.22) (5.28) (23.47) (56.67) 3. การไดร้ ับการลดหย่อน 156 43 75 135 311 3.56 1.59 มาก ทางด้านภาษี (21.67) (5.97) (10.42) (18.75) (43.19) 4. การไดร้ บั สว่ นลดคา่ โดยสาร 122 34 56 151 357 3.82 1.50 มาก ขนสง่ สาธารณะ (16.94) (4.72) (7.78) (20.97) (49.58) 5. การบรกิ ารทางดว่ นสําหรับ 78 15 31 112 484 4.26 1.31 มาก ผสู้ งู อายพุ ิการในโรงพยาบาล (10.83) (2.08) (4.31) (15.56) (67.22) ท่ีสุด 6. การสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ย (เชน่ 73 19 33 122 473 4.25 1.29 มาก ค่ารถ คา่ อาหาร เครื่องนุง่ หม่ (10.14) (2.64) (4.58) (16.94) (65.69) ทสี่ ดุ หรอื ค่ารกั ษาพยาบาลเบอื้ งต้น) 7. การให้บริการกยู้ มื เงินจาก 162 43 72 143 300 3.52 1.60 มาก กองทุนผสู้ ูงอายแุ ละกองทนุ ผพู้ กิ าร (22.50) (5.97) (10.00) (19.86) (41.67) 8. การไดร้ บั การบริการอํานวย 95 24 44 152 405 4.04 1.39 มาก ความสะดวกในสถานทส่ี าธารณะ (13.19) (3.33) (6.11) (21.11) (56.25) รวม 3.95 1.20 มาก จากตารางท่ี 4.16 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการในด้านบริการทางสังคมทั่วไปสําหรับ ผู้สูงอายุพิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =3.95) เม่ือพิจารณา เปน็ รายประเด็นพบว่า ความต้องการการบริการทางด่วนสําหรับผู้สูงอายุพิการในโรงพยาบาลผู้สูงอายุพิการมี ความต้องการมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (  = 4.26) รองลงมาความต้องการการสนับสนุนค่าใช้จ่าย (เช่น ค่ารถ ค่าอาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม หรือค่ารักษาพยาบาลเบ้ืองต้น) (  = 4.25) และความต้องการการอํานวยความ สะดวกในสถานท่ีของรัฐ (  = 4.10) ตามลําดับ ความต้องการการให้บริการกู้ยืมเงินจากกองทุนผู้สูงอายุและ กองทุนผพู้ ิการผ้สู งู อายุพิการมคี วามต้องการเฉลย่ี น้อยทสี่ ุด (  = 3.52) โครงการศึกษาวจิ ัยรปู แบบการบรกิ ารท่เี หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ กิ าร 70

ตารางท่ี 4.17 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดกิ ารสังคมในด้านสขุ ภาพอนามยั สําหรับผสู้ ูงอายุพิการ ระดับความต้องการได้รบั บริการ ความต้องการไดร้ บั การบริการ นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล ในด้านสุขภาพอนามัย ทีส่ ดุ กลาง ทส่ี ดุ ผล 1. ไดร้ ับความรู้เกี่ยวกับการดูแล 68 25 30 224 373 4.04 1.36 มาก สุขภาพผสู้ ูงอายพุ ิการ (9.44) (3.47) (4.17) (31.11) (51.81) 2. ไดร้ บั คาํ แนะนําในการออก 81 29 59 220 331 4.10 1.35 มาก กําลงั กายและกายภาพบาํ บดั ท่ี เหมาะสมกบั ประเภทความ (11.25) (4.03) (8.19) (30.56) (45.97) พกิ าร 3. ได้รับความร้เู ก่ยี วกับ 75 32 50 212 351 3.56 1.59 มาก โภชนาการทีเ่ หมาะสมกบั ความ (10.42) (4.44) (6.94) (29.44) (48.75) พกิ ารและวยั 4. การดูแลการปฏบิ ัตกิ ิจวัตร 74 33 45 238 330 3.82 1.50 มาก ประจําวัน (10.28) (4.58) (6.25) (33.06) (45.83) 5. ได้รับยาและเวชภณั ฑ์ 127 38 71 171 313 4.26 1.31 มาก (ผ้าอ้อม กระบอกปสั สาวะ) ที่สดุ 6. ไดร้ ับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดย 91 27 48 184 370 4.25 1.29 มาก กระบวนการทางแพทย์ (12.64) (3.75) (6.67) (25.56) (51.39) ทสี่ ดุ 7. ไดร้ บั เคร่ืองอํานวยความ 158 48 81 162 271 3.52 1.60 มาก สะดวก เช่น เตียงปรบั เอน ท่ี (21.94) (6.67) (11.25) (22.5) (37.64) นอนกันแผลกดทับ โครงการศกึ ษาวจิ ัยรูปแบบการบริการทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ ิการ 71

ตารางท่ี 4.17 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสงั คมในด้านสขุ ภาพอนามยั สาํ หรับผูส้ ูงอายพุ ิการ (ตอ่ ) ระดับความต้องการไดร้ ับบริการ ความต้องการได้รับการบริการ น้อย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล กลาง ท่ีสุด ผล ในด้านสุขอนามัย ทสี่ ดุ 8. ไดร้ บั กายอปุ กรณ์ เช่น ไม้ 140 35 57 153 335 4.04 1.39 มาก เทา้ เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วย พยุง วลี แชร์ (รถเข็นนั่ง) และ (19.44) (4.86) (7.92) (21.25) (46.53) แขน/ขาเทยี ม เปน็ ตน้ 9. การตรวจเยยี่ มและให้ 76 34 46 183 381 3.71 1.55 มาก คําปรึกษาโดยทีมสหวชิ าชีพ (10.56) (4.72) (6.39) (25.42) (52.92) 10. ไดร้ ับคาํ ปรกึ ษาดา้ น 121 27 55 265 252 3.69 1.41 มาก สุขภาพจติ ใจและความเครยี ด (16.81) (3.75) (7.64) (36.81) (35) 11. ได้รบั การยอมรบั จาก 82 26 40 202 370 4.04 1.32 มาก ครอบครัวและชุมชน (11.39) (3.61) (5.56) (28.06) (51.39) 12. ได้รบั การยอมรับในศักด์ิศรี 89 22 45 189 375 4.03 1.35 มาก ความเป็นมนษุ ย์ (12.36) (3.06) (6.25) (26.25) (52.08) 13. ไดอ้ ยู่พร้อมหนา้ ในหมู่ 67 28 39 139 447 4.21 1.28 มาก ลกู หลาน (9.31) (3.89) (5.42) (19.31) (62.08) 14. ไดร้ บั ความรักความเอาใจ 68 21 39 156 436 4.21 1.26 มาก ใส่จากครอบครวั และสงั คม (9.44) (2.92) (5.42) (21.67) (60.56) 15. ความรสู้ ึกปลอดภัยในชวี ิต 78 48 49 173 372 3.99 1.35 มาก และทรัพย์สนิ (10.83) (6.67) (6.81) (24.03) (51.67) รวม 3.95 1.06 มาก จากตารางที่ 4.17 พบวา่ ความตอ้ งการได้รับการบริการในด้านสุขภาพอนามัยสําหรับผู้สูงอายุ พิการโดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =3.95) เมื่อพิจารณาเป็นราย ประเด็นพบว่า ความต้องการได้รับความรักความเอาใจใส่จากครอบครัวและสังคมและความต้องการได้อยู่ พร้อมหน้าในหมลู่ ูกหลานผสู้ ูงอายุพกิ ารมีความต้องการเทา่ กันมคี า่ เฉลย่ี มากทีส่ ุด (  = 4.21) รองลงมาความ ต้องการได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุพิการ (  = 4.12) ตามลําดับ ส่วนความต้องการได้รับ เคร่ืองอํานวยความสะดวก เช่น เตียงปรับเอน ท่ีนอนกันแผลกดทับผู้สูงอายุพิการมีความต้องการเฉลี่ยน้อย ที่สดุ (  = 3.47) โครงการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรบั ผู้สงู อายพุ กิ าร 72

2) สถานภาพผู้ดแู ลผู้สงู อายพุ กิ ารและความต้องการในการได้รับบริการในด้านต่าง ๆ จาก การจดั สวัสดิการสังคม 2.1) ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกยี่ วกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ดแู ลผู้สูงอายุพิการ ตารางที่ 4.18 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของกลุม่ ตัวอย่างจําแนกตามข้อมูลทวั่ ไปของผู้ดูแลผสู้ งู อายพุ ิการ ขอ้ มูลทั่วไป จานวน รอ้ ยละ 1. เพศ 162 22.50 (1.1) ชาย 558 77.50 (1.2) หญิง 33 4.58 2. ปจั จบุ ันอายุ 457 63.47 (2.1) อายตุ ํา่ กว่า 30 ปี 230 31.94 (2.2) อายุ 30–60 ปี (2.3) อายุ 61 ปีขึ้นไป 198 27.50 384 53.33 อายุตาํ่ สุด 12 ปี อายุสงู สดุ 97 ปี อายเุ ฉล่ีย 53.46 ปี 115 15.97 5 0.69 3. ท่านมีความเกี่ยวข้องกบั ผู้สูงอายพุ ิการ 18 2.50 (3.1) เป็นค่สู มรส (3.2) เป็นบตุ ร/หลาน 106 14.72 (3.3) เป็นญาติ 519 72.08 (3.4) ผ้ชู ่วยเหลือคนพกิ าร (มีค่าตอบแทน) 65 9.03 (3.5) อื่น 30 4.17 4. สถานภาพ 672 93.33 (4.1) โสด 8 1.11 (4.2) สมรสหรืออยู่ดว้ ยกนั 40 5.56 (4.3) หมา้ ย 720 100.00 (4.3) หยา่ รา้ ง หรือแยกกันอยู่ 5. ศาสนา (5.1) พุทธ (5.2) คริสต์ (5.3) อสิ ลาม รวม โครงการศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ กิ าร 73

ตารางที่ 4.18 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ งจําแนกตามขอ้ มูลทัว่ ไปของผ้ดู ูแลผูส้ งู อายุพิการ (ต่อ) ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน ร้อยละ 6. ระดบั การศึกษาสงู สดุ 58 8.06 (6.1) ไม่จบประถมศึกษา 423 58.75 (6.2) จบประถมศึกษา 86 11.94 (6.3) จบมัธยมศึกษาตอนต้น 83 11.53 (6.4) จบมธั ยมศึกษาปลาย หรือประกาศนียบตั รวิชาชีพ 22 3.06 (6.5) จบอนุปรญิ ญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สงู 44 6.11 (6.6) จบปรญิ ญาตรี 4 0.56 (6.7) จบปรญิ ญาโทหรือสูงกวา่ 169 23.47 7. อาชพี 244 33.89 (7.1) ไมป่ ระกอบอาชพี 170 23.61 (7.2) เกษตรกรรม 17 2.36 (7.3) รบั จ้าง 76 10.56 (7.4) รับราชการ หรอื รัฐวสิ าหกิจ 7 0.97 (7.5) คา้ ขาย 22 3.06 (7.6) บรษิ ัทเอกชน 7 0.97 (7.7) แมบ่ า้ นหรือ นักศึกษา 8 1.11 (7.8) ผดู้ ูแลผปู้ ุวย (อสม. สท. อบต. ผช.ญ.) (7.9) ธุรกิจส่วนตัว 515 71.53 8. ความร้ทู กั ษะเก่ียวกับการดูแลผ้สู ูงอายพุ ิการ 163 22.64 (8.1) ไม่มี 9 1.25 (8.2) มีความรู้ทกั ษะ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 33 4.58 - ได้รับการอบรมทางด้านการดูแลผู้สงู อายุ หรอื ผู้พิการ 20 2.78 - ผา่ นหลกั สูตรการรักษาพยาบาลจากสถานศึกษา 720 100.00 - พยาบาลวิชาชพี อสม. - ประสบการณ์ รวม โครงการศกึ ษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ กิ าร 74

ตารางที่ 4.18 แสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอยา่ งจําแนกตามข้อมูลท่วั ไปของผ้ดู ูแลผสู้ ูงอายุพิการ (ตอ่ ) ขอ้ มูลทั่วไป จานวน ร้อยละ 9. ระยะเวลาดูแลผู้สงู อายพุ กิ ารคนปัจจุบัน (9.1) ไม่เกิน 1 ปี 156 21.67 (9.2) 2–5 ปี 195 27.08 (9.3) 5–10 ปี 171 23.75 (9.4) มากกว่า 10 ปี 198 27.50 ระยะเวลาตํา่ สุด 0.6 ปี สูงสดุ 11 ปี ระยะเวลาเฉลีย่ 6.06 ปี รวม 720 100.00 จากตารางที่ 4.18 พบว่า ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน เมื่อพิจารณาตามเพศส่วนใหญ่ เปน็ หญิง จํานวน 558 คน คดิ เป็นร้อยละ 77.50 และเปน็ ชายจํานวน 162 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22.50 เม่ือพจิ ารณาตามอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่อายุ 30–60 ปี จํานวน 457 คน คิดเป็น ร้อยละ 63.47 รองลงมาอายุ 61 ปีข้ึนไป จํานวน 230 คน คิดเป็นร้อยละ 31.94 โดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ พกิ ารมีอายุต่ําสุด 12 ปี อายุสูงสุด 97 ปี อายเุ ฉลี่ย 53.46 ปี เมื่อพิจารณาตามความเก่ียวข้องกับผู้สูงอายุพิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่เป็นบุตร หรือ หลาน จํานวน 384 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 รองลงมาเป็นคู่สมรส จํานวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 เมื่อพิจารณาตามสถานภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่สมรส หรืออยู่ด้วยกัน จํานวน 519 คน คิดเป็นร้อยละ 72.08 รองลงมาโสด จํานวน 106 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.72 เมือ่ พิจารณาตามการนับถอื ศาสนาผ้ดู แู ลผสู้ ูงอายพุ ิการส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ จํานวน 672 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.33 รองลงมานับถือศาสนาอิสลาม จาํ นวน 40 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.56 เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษาสูงสุดผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา จํานวน 423 คน คิดเป็นร้อยละ 58.75 รองลงมาจบมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 86 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 11.94 เม่ือพิจารณาตามอาชีพของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จํานวน 244 คน คิดเป็นร้อยละ 33.89 รองลงมาอาชีพรับจ้าง จํานวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 23.47 และ ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชีพ จาํ นวน 170 คน คิดเปน็ ร้อยละ 23.61 เม่ือพิจารณาตามความรู้ทักษะเก่ียวกับการดูแลผู้สูงอายุพิการของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ ไม่มี จํานวน 515 คน คิดเป็นร้อยละ 71.53 และท่ีมีความรู้ส่วนใหญ่ได้รับการอบรมทางด้านการดูแล ผ้สู ูงอายุ หรือผู้พิการ จํานวน 163 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.64 เมื่อพิจารณาตามระยะเวลาดูแลผู้สูงอายุพิการคนปัจจุบันของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ดูแล มามากกว่า 10 ปี จํานวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 รองลงมาดูแลมา 2–5 ปี จํานวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 27.08 โดยผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการใช้ระยะเวลาดูแลผู้สูงอายุพิการคนปัจจุบันระยะเวลา ตํา่ สดุ 0.6 ปี สูงสุด 11 ปี ระยะเวลาเฉลยี่ 6.06 ปี โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบริการท่เี หมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ กิ าร 75

ตารางท่ี 4.19 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอยา่ งจําแนกตามประเภทความพิการ ประเภทความพกิ าร จานวน รอ้ ยละ ประเภทความพิการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 73 10.14 1. ทางการเหน็ 90 12.50 (1.1) ตาบอด (1.2) เหน็ เลอื นราง 50 6.94 2. ทางการไดย้ นิ หรอื สื่อความหมาย 112 15.56 (2.1) หูหนวก 23 3.19 (2.2) หูตึง (2.3) ความพกิ ารทางการสอื่ ความหมาย 219 30.42 3. ทางการเคล่ือนไหว หรือทางรา่ งกาย 39 5.42 17 2.36 (3.1) การเคลอ่ื นไหว 41 5.69 (3.2) อัมพฤต 88 12.22 (3.3) กระดูก หรอื ทับเส้น 59 8.19 (3.4) กลา้ มเน้ืออ่อนแรง 9 1.25 (3.5) แขน หรอื ขาพกิ าร 25 3.47 (3.6) เดินไม่ได้ 38 5.28 (3.7) ตดิ เตยี ง 6 0.83 4. ทางจิตใจ หรอื พฤติกรรม 2 0.28 5. ทางสตปิ ัญญา 720 100.00 6. ทางการเรยี นรู้ (LD) 7. ออทิสตกิ รวม จากตารางที่ 4.19 พบว่า ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการทั้งหมด 720 คน ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุพิการที่ ต้องดูแลเป็นคนพิการทางการเคล่ือนไหว หรือร่างกาย สําหรับการพิการทางการเคล่ือนไหวส่วนใหญ่พิการ ประเภทการเคลื่อนไหว จํานวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 30.42 รองลงมาผู้สูงอายุพิการที่ต้องดูแลเป็น คนพิการทางการได้ยิน หรือส่ือความหมาย สําหรับการพิการทางการได้ยินส่วนใหญ่พิการประเภทหูตึง จาํ นวน 112 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.56 โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ ิการ 76

ตารางท่ี 4.20 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ งจําแนกตามการเข้าร่วมกลมุ่ หรือชมรม การเขา้ ร่วมกลุ่ม หรือชมรม จานวน รอ้ ยละ 1. มโี อกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณก์ ับผู้ดูแล 500 69.44 (1.1) ไม่เคย 220 30.56 (1.2) เคย 413 57.36 2. ผู้สงู อายุพิการเขา้ ร่วมกิจกรรมของกลุ่ม หรือชมรม 252 35.00 (2.1) ไม่เคยเข้ารว่ ม 55 7.64 (2.2) เข้าร่วมบา้ งบางครงั้ 720 100.00 (2.3) เขา้ ร่วมบ่อยครั้ง รวม จากตารางท่ี 4.20 พบว่า ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน เมื่อพิจารณาจากการมี โอกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้ดูแลส่วนใหญ่ไม่เคยมีโอกาสในการแลกเปล่ียน จํานวน 500 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69.44 และเคยมโี อกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้ดูแล จํานวน 220 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 30.56 เมอ่ื พจิ ารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม หรือชมรม ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมของ กลุ่ม หรอื ชมรม จํานวน 413 คน คดิ เป็นร้อยละ 57.36 รองลงมาเข้าร่วมบ้างบางครง้ั จาํ นวน 252 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.00 และเขา้ รว่ มบอ่ ยครงั้ จํานวน 55 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.64 โครงการศกึ ษาวจิ ัยรปู แบบการบริการท่ีเหมาะสมสาหรับผ้สู งู อายพุ ิการ 77

ตารางที่ 4.21 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ งจําแนกตามการใช้กายอุปกรณ์ การใช้กายอุปกรณ์ จานวน ร้อยละ 1. ผู้สูงอายพุ ิการไมไ่ ด้ใช้กายอปุ กรณ์ เพราะ 137 19.03 (1.1) ตาบอด หรือหูหนวก หรือเปน็ ใบ้ 20 2.78 (1.2) เดนิ ไม่ได้ 22 3.06 (1.3) ตดิ เตียง 55 7.64 (1.4) ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ 7 0.97 (1.5) ไม่มีเงิน 3 0.42 (1.6) ไมส่ ะดวก หรอื ไม่ชนิ 30 4.17 (1.7) ไม่มี 4 0.56 (1.8) พิการทางจิต 2 0.28 (1.9) ไม่ได้ขึ้นทะเบียนผู้พกิ าร 51 7.08 2. ผสู้ งู อายพุ ิการใช้กายอุปกรณ์ 219 30.42 (2.1) ใช้แว่นตา หรือแว่นขยาย 52 7.22 (2.2) ใช้ไม้เทา้ หรอื ไมเ้ ทา้ สามขา 37 5.14 (2.3) ใช้คอกช่วยเดนิ 156 21.67 (2.4) ใชเ้ คร่อื งช่วยฟัง (2.5) รถเขน็ 10 1.39 (2.6) อ่ืน ๆ 6 0.83 - เตยี ง 720 100.00 - ขาเทียม รวม จากตารางที่ 4.21 พบวา่ ผ้ดู ูแลผู้สงู อายุพิการทั้งหมด 720 คน เมื่อพิจารณาจากการใช้กาย อปุ กรณ์พบวา่ ส่วนใหญ่ผสู้ งู อายพุ กิ ารไมไ่ ดใ้ ชก้ ายอุปกรณ์ เพราะตาบอด หรือหูหนวก หรือเป็นใบ้ จํานวน 137 คน คิดเป็นร้อยละ 19.03 รองลงมาไม่ได้ใช้กายอุปกรณ์ เพราะช่วยเหลือตัวเองได้ จํานวน 55 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.64 และไมไ่ ด้ใชก้ ายอปุ กรณ์ เพราะไมม่ ีกายอุปกรณ์ให้ใช้ จํานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 4.17 เม่อื พจิ ารณาจากผู้สงู อายุพกิ ารใชก้ ายอุปกรณ์สว่ นใหญ่ใชก้ ายอุปกรณ์ประเภทไม้เท้า หรือไม้เท้า สามขา จํานวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 30.42 รองลงมาใช้กายอุปกรณ์ประเภทรถเข็น จํานวน 156 คน คิดเปน็ ร้อยละ 21.67 โครงการศึกษาวิจยั รปู แบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ กิ าร 78

ตารางท่ี 4.22 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จําแนกตามการดูแลชว่ ยเหลอื การดูแลชว่ ยเหลือ จานวน รอ้ ยละ 1. ผ้สู ูงอายุพิการช่วยเหลือตวั เองของผสู้ งู อายพุ ิการ 92 12.78 (1.1) ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 376 52.22 (1.2) ชว่ ยเหลือตวั เองได้บา้ ง 252 35.00 (1.3) ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ 161 22.36 2. ชว่ งเวลาท่ีท่านดแู ลผูส้ ูงอายุพกิ าร 97 13.47 (2.1) กลางวนั 462 64.17 (2.2) กลางคืน (2.3) 24 ชั่วโมง 662 91.94 3. ได้รับรายได้จากการดูแลผสู้ ูงอายุพกิ าร 8 1.11 (3.1) ไม่ไดร้ บั 32 4.44 (3.2) ไดร้ บั 18 2.50 - ประมาณ 50-100 บาทต่อวนั 720 100.00 - ประมาณ 500 บาทต่อเดือน - ประมาณ 1,000 บาทตอ่ เดือน รวม จากตารางที่ 4.22 พบว่า ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน เมื่อพิจารณาจากการ ช่วยเหลอื ตัวเองของผู้สงู อายพุ ิการสว่ นใหญ่ชว่ ยเหลือตัวเองได้บ้าง จํานวน 376 คน คิดเป็นร้อยละ 52.22 รองลงมาผู้สูงอายุพิการช่วยเหลือตัวเองได้ จํานวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00 และผู้สูงอายุพิการ ชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้ จํานวน 92 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.78 เมื่อพิจารณาจากช่วงเวลาที่ดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ดูแล 24 ชั่วโมง จํานวน 462 คน คิดเป็นร้อยละ 64.17 รองลงมาดูแลช่วงกลางวัน จํานวน 161 คน คิดเป็นร้อยละ 22.36 และดูแลช่วง กลางคืน จํานวน 97 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.47 เม่ือพิจารณาจากรายได้จากการดูแลผู้สูงอายุพิการส่วนใหญ่ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการไม่ได้รับรายได้ จํานวน 662 คน คิดเป็นร้อยละ 91.94 รองลงมาผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการได้รับรายได้ประมาณ 500 บาทต่อเดือน จํานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 4.44 ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการได้รับรายได้ประมาณ 1,000 บาทต่อเดือน จํานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 และผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการได้รับรายได้ประมาณ 50-100 บาทต่อวัน จาํ นวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.11 2.2) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ผูด้ แู ลผู้สูงอายุพิการประสบปัญหาด้านตา่ ง ๆ โครงการศกึ ษาวิจัยรปู แบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายพุ ิการ 79

ตารางที่ 4.23 แสดงจํานวนและร้อยละของกล่มุ ตัวอย่าง จําแนกตามตามปญั หาจากการดแู ลผ้สู ูงอายุพกิ าร ปญั หาจากการดูแลผสู้ ูงอายุพิการ จานวน ร้อยละ ปญั หาจากการดูแลผู้สงู อายุพิการ (1) ปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ หรือการประกอบอาชพี 436 60.56 (2) ปญั หาด้านสุขภาพจติ หรอื ความเครียด 273 37.92 (3) ปัญหาด้านสุขภาพกาย หรือการพกั ผอ่ นไม่เพยี งพอ 227 31.53 (4) ปญั หาทางดา้ นสงั คม 78 10.83 (5) ปญั หาขาดกายอุปกรณ์ หรือเวชภัณฑ์ 164 22.78 (6) ปญั หาทางดา้ นที่อย่อู าศัยทไี่ ม่เหมาะสม 67 9.31 (7) อนื่ 7 0.97 รวม 720 100.00 จากตารางที่ 4.23 ผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการท้ังหมด 720 คน เม่ือพิจารณาจากปัญหาจากการ ดูแลผู้สงู อายุพกิ ารพบวา่ ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ หรือการประกอบอาชีพ จํานวน 436 คน คิดเป็น ร้อยละ 60.56 รองลงมามีปัญหาด้านสุขภาพจิต หรือความเครียด จํานวน 273 คน คิดเป็นร้อยละ 37.92 มีปัญหาด้านสุขภาพกาย หรือการพักผ่อนไม่เพียงพอ จํานวน 227 คน คิดเป็นร้อยละ 31.53 มี ปัญหาด้านขาดกายอุปกรณ์ หรือเวชภัณฑ์ จํานวน 164 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 22.78 มปี ญั หาทางด้านสังคม จํานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 10.83 มีปัญหาทางด้านที่อยู่อาศัยที่ไม่เหมาะสม จํานวน 67 คิดเป็น ร้อยละ 9.31 และมปี ญั หาอื่น ๆ จาํ นวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.97 ตามลาํ ดบั 2.3) ความต้องการได้รับการบริการในด้านต่าง ๆ จากการจัดสวัสดิการสังคมและการ จัดบริการด้านสุขภาพสาหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ ตารางท่ี 4.24 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสงั คมในดา้ นตา่ ง ๆ สําหรบั ผูส้ ูงอายพุ กิ ารโดยรวม ความต้องการได้รบั การบรกิ ารในดา้ นตา่ ง ๆ จาก ระดับความต้องการไดร้ ับบริการ การจัดสวสั ดิการสงั คมและการจดั บริการดา้ นสขุ ภาพ  S.D. แปลผล ความต้องการด้านการศึกษา ความต้องการดา้ นทอี่ ยู่อาศยั 4.09 1.15 มาก ความต้องการดา้ นการทํางานและการมีรายได้ 3.58 1.44 มาก ความตอ้ งการดา้ นนนั ทนาการ 3.83 1.42 มาก ความต้องการดา้ นกระบวนการยตุ ิธรรม 3.85 1.17 มาก ความตอ้ งการดา้ นบริการทางสงั คมทั่วไป 4.03 1.25 มาก ความตอ้ งการดา้ นสุขภาพอนามยั 4.02 1.12 มาก 4.13 1.10 มาก รวม 3.91 0.97 มาก โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สงู อายพุ ิการ 80

จากตารางท่ี 4.24 พบว่า ความต้องการได้รบั การบรกิ ารจากการจดั สวัสดิการสังคมในด้านต่าง ๆ สําหรับผู้สูงอายุพกิ ารจากทศั นะของผู้ดแู ลผู้สูงอายพุ กิ าร โดยรวมผู้สงู อายพุ กิ ารมีความต้องการได้รับบริการอยู่ ในระดับมาก (  =3.91) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับการ บริการในด้านสุขภาพอนามัยมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (  = 4.13) รองลงมาผู้สูงอายุพิการมีความต้องการด้าน การศึกษา (  = 4.09) ผสู้ ูงอายุพิการมีความต้องการด้านกระบวนการยุติธรรม (  = 4.03) ผู้สูงอายุพิการ มคี วามตอ้ งการด้านบรกิ ารทางสงั คมทว่ั ไป (  = 4.02) ผสู้ ูงอายุพิการมีความต้องการด้านนันทนาการ (  = 3.85) ผู้สูงอายพุ ิการมคี วามต้องการด้านการทํางานและการมีรายได้ (  = 3.83) และผู้สูงอายุพิการมีความ ตอ้ งการด้านทีอ่ ยอู่ าศัยมีความต้องการเฉลี่ยน้อยท่สี ดุ (  = 3.58) ตามลําดับ ตารางที่ 4.25 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดิการสังคมในด้านการศกึ ษาสําหรับผู้สูงอายุพกิ าร ความตอ้ งการไดร้ ับการบริการ ระดับความต้องการได้รับบริการ ในด้านการศึกษา น้อย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล ทส่ี ดุ กลาง ท่สี ุด ผล 1. การไดร้ บั ความรู้เก่ียวกับ 73 23 48 214 363 4.07 1.27 มาก การดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายุพิการ (10.12) (3.19) (6.66) (29.68) (50.35) 2. การไดร้ ับความร้เู กย่ี วกับ 81 27 54 215 344 3.99 1.31 มาก การส่งเสรมิ การออกกําลงั กาย (11.23) (3.74) (7.49) (29.82) (47.71) สาํ หรับผสู้ ูงอายุพิการ 3. การไดร้ บั ความรเู้ กี่ยวกบั 77 27 65 183 369 4.03 1.31 มาก การทํากายภาพบําบัดสาํ หรับ (10.68) (3.74) (9.02) (25.38) (51.18) ผูส้ งู อายุพิการ 4. การไดร้ ับความรู้เกี่ยวกบั 70 19 51 213 368 4.10 1.25 มาก โภชนาการของผู้สงู อายุพิการ (9.71) (2.64) (7.07) (29.54) (51.04) 5. การไดร้ ับความรวู้ ิธปี ฏบิ ัติ 67 27 61 193 373 4.08 1.26 มาก กรณีเผชิญเหตุฉกุ เฉิน (9.29) (3.74) (8.46) (26.77) (51.73) 6. การได้รับขา่ วสารด้านสทิ ธิ 53 20 39 151 458 4.31 1.17 มาก และสวัสดิการจากภาครัฐ (7.35) (2.77) (5.41) (20.94) (63.52) รวม 4.09 1.15 มาก จากตารางท่ี 4.25 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน การศกึ ษาสาํ หรบั ผู้สงู อายพุ ิการจากทัศนะของผู้ดแู ลผู้สูงอายพุ กิ าร โดยรวมผ้สู งู อายุพกิ ารมีความต้องการได้รับ บริการอยู่ในระดับมาก (  =4.09) เม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า มีความต้องการได้รับการบริการใน ด้านการได้รับข่าวสารด้านสิทธิและสวัสดิการจากภาครัฐผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (  = 4.31) รองลงมามีความตอ้ งการไดร้ บั การบริการในด้านการได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของผู้สูงอายุ โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบการบรกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั ผ้สู ูงอายพุ กิ าร 81

พิการ (  = 4.10) และมีความต้องการได้รับการบริการในด้านการได้รับความรู้วิธีปฏิบัติกรณีเผชิญเหตุ ฉุกเฉิน (  = 4.08) ตามลําดับ ส่วนมีความต้องการได้รับการบริการในด้านการได้รับความรู้เก่ียวกับการ สง่ เสริมการออกกําลงั กายสําหรับผู้สงู อายุพิการมีความต้องการเฉลย่ี น้อยทสี่ ดุ (  = 3.99) ตารางท่ี 4.26 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวัสดกิ ารสงั คมในด้านท่อี ยู่อาศัย สาํ หรับผ้สู งู อายุพิการ ความต้องการได้รับการบริการ ระดับความต้องการได้รับบริการ ในดา้ นท่ีอยู่อาศัย นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล ท่สี ุด กลาง ทส่ี ดุ ผล 1. การปรับปรงุ บนั ไดบ้าน 190 33 86 148 264 3.36 1.62 ปาน ทางเดินให้มีราวให้ยึดเกาะ (26.35) (4.58) (11.93) (20.53) (36.62) กลาง 2. ปรับพน้ื ท่ีใหม้ ีทางลาดขน้ึ -ลง 198 32 92 138 261 3.32 1.64 ปาน ภายในบ้าน (27.46) (4.44) (12.76) (19.14) (36.2) กลาง 3. หอ้ งนํา้ /ห้องส้วมอย่ภู ายใน 167 21 80 135 318 3.58 1.61 มาก บา้ นและเป็นแบบนั่งห้อยเทา้ (23.16) (2.91) (11.1) (18.72) (44.11) 4. ห้องนอนหรือที่นอนของ 167 29 70 169 286 3.52 1.59 มาก ผู้สงู อายพุ ิการอยูช่ ั้นลา่ ง/บ้าน (23.16) (4.02) (9.71) (23.44) (39.67) ชัน้ เดียวมหี อ้ งสําหรับผูส้ งู อายุ พกิ าร 5. ปรับท่นี อนหรือห้องนอนใหม้ ี 156 25 50 164 326 3.66 1.58 มาก ความเหมาะสม (21.64) (3.47) (6.93) (22.75) (45.21) 6. บ้านทอ่ี ยู่อาศัยมีอากาศ 153 21 42 154 351 3.73 1.58 มาก ถ่ายเทไดส้ ะดวก (21.22) (2.91) (5.83) (21.36) (48.68) 7. บา้ นทีอ่ ยูอ่ าศัยมีแสงสว่างที่ 152 23 42 159 345 3.72 1.58 มาก เพยี งพอ (21.08) (3.19) (5.83) (22.05) (47.85) 8. ปรับสภาพแวดล้อมของท่ีอยู่ 151 19 47 147 357 3.75 1.58 มาก อาศยั มีความเหมาะสมกับ (20.94) (2.64) (6.52) (20.39) (49.51) สภาพความพิการ รวม 3.53 1.44 มาก จากตารางที่ 4.26 พบว่า ความต้องการได้รบั การบรกิ ารจากการจดั สวสั ดิการสังคมในด้านท่ีอยู่ อาศัยสําหรับผู้สูงอายุพิการ จากทัศนะของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการได้รับ บริการอยู่ในระดับมาก (  =3.58) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า มีความต้องการได้รับการปรับ สภาพแวดล้อมของทีอ่ ยอู่ าศยั มคี วามเหมาะสมกับสภาพความพิการผ้สู ูงอายพุ กิ ารมีความต้องการมีค่าเฉลี่ยมาก ท่ีสดุ (  = 3.75) รองลงมามีความต้องการไดร้ ับบ้านท่ีอยู่อาศยั มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก (  =3.73) และมี โครงการศกึ ษาวิจยั รูปแบบการบรกิ ารทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายพุ กิ าร 82

ความต้องการได้รับบ้านท่ีอยู่อาศัยมีแสงสว่างท่ีเพียงพอ (  = 3.72) ตามลําดับ ส่วนมีความต้องการได้รับ ปรบั พน้ื ที่ใหม้ ีทางลาดขน้ึ -ลงภายในบ้านมคี วามต้องการเฉล่ียน้อยทีส่ ุด (  = 3.32) ตารางที่ 4.27 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสังคมในด้านการทาํ งานและการมีรายได้ สําหรบั ผูส้ งู อายุพกิ าร ความตอ้ งการไดร้ ับการบริการ ระดบั ความต้องการได้รับบริการ ในดา้ นการทางานและการมี น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก  SD แปล รายได้ ทีส่ ดุ กลาง ท่สี ุด ผล 1. การให้ความรู้ทักษะเก่ียวกับ 112 33 57 169 350 3.85 1.46 มาก การประกอบอาชพี ทบ่ี า้ น (15.53) (4.58) (7.91) (23.44) (48.54) 2. การประกอบอาชพี เสรมิ ท่ี 113 30 59 161 358 3.86 1.46 มาก บา้ น (15.67) (4.16) (8.18) (22.33) (49.65) 3. การสนับสนนุ เงนิ ทนุ ในการ 106 29 62 140 384 3.93 1.45 มาก ประกอบอาชีพ (14.70) (4.02) (8.60) (19.42) (53.26) 4. การจัดหาวัตถดุ ิบในการ 119 25 58 155 364 3.86 1.48 มาก ประกอบอาชีพ (16.5) (3.47) (8.04) (21.5) (50.49) 5. การชว่ ยเหลือสง่ เสริมในการ 128 28 78 156 331 3.74 1.50 มาก พฒั นาผลติ ภัณฑ์ (17.75) (3.88) (10.82) (21.64) (45.91) 6. การจัดหาสถานที่จาํ หน่าย 131 30 74 155 331 3.73 1.51 มาก ผลิตภณั ฑ์และช่องทางการตลาด (18.17) (4.16) (10.26) (21.5) (45.91) รวม 3.83 1.42 มาก จากตารางที่ 4.27 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้านการ ทํางานและการมีรายไดส้ ําหรับผสู้ ูงอายพุ กิ ารจากทศั นะของผดู้ ูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความ ต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =3.83) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า มีความต้องการได้รับ การสนับสนุนเงินทุนในการประกอบอาชีพผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉล่ียมากที่สุด (  = 3.93) รองลงมามีความต้องการได้รับการจัดหาวัตถุดิบในการประกอบอาชีพและมีความต้องการได้รับการประกอบ อาชีพเสริมท่ีบ้าน (  = 3.86) ตามลําดับ ส่วนมีความต้องการได้รับการจัดหาสถานที่จําหน่ายผลิตภัณฑ์และ ช่องทางการตลาดมีความต้องการเฉลีย่ นอ้ ยที่สุด (  = 3.73) โครงการศึกษาวิจยั รูปแบบการบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายพุ กิ าร 83

ตารางที่ 4.28 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดิการสังคมในด้านนนั ทนาการ สําหรับผูส้ งู อายุพิการ ความตอ้ งการได้รบั การบรกิ าร ระดบั ความต้องการได้รบั บริการ ในด้านนันทนาการ น้อย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล ทส่ี ดุ กลาง ท่สี ุด ผล 1. การเขา้ ร่วมกิจกรรมรืน่ เริง 78 36 81 258 268 3.83 1.28 มาก ของชุมชน (10.82) (4.99) (11.23) (35.78) (37.17) 2. การเข้าร่วมในกิจกรรมทาง 72 34 76 237 302 3.92 1.27 มาก สังคม การเขา้ กลมุ่ (9.99) (4.72) (10.54) (32.87) (41.89) 3. การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทาง 62 24 53 228 354 4.09 1.21 มาก ศาสนา (8.60) (3.33) (7.35) (31.62) (49.1) 4. การเข้ารว่ มกจิ กรรมตาม 65 24 69 232 331 4.03 1.23 มาก ประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถิน่ (9.02) (3.33) (9.57) (32.18) (45.91) 5. การเขา้ ร่วมกิจกรรมด้าน 83 52 105 245 236 3.69 1.31 มาก กฬี า การออกกําลังกาย (11.51) (7.21) (14.56) (33.98) (32.73) 6. การไดท้ ํางานอดเิ รกท่ชี อบ 102 65 123 207 224 3.54 1.38 มาก เช่น งานศลิ ปะ ดนตรี (14.15) (9.02) (17.06) (28.71) (31.07) รวม 3.85 1.17 มาก จากตารางที่ 4.28 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน นันทนาการสําหรับผู้สูงอายุพิการจากทัศนะของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความต้องการ ได้รับบริการอยู่ในระดบั มาก (  =3.85) เมอื่ พิจารณาเปน็ รายประเด็นพบว่า มีความต้องการได้รับการเข้าร่วม กิจกรรมทางศาสนาผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉล่ียมากที่สุด (  = 4.09) รองลงมามีความต้องการ ได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณีวัฒนธรรมท้องถ่ิน (  = 4.03) และมีความต้องการได้รับการเข้าร่วม ในกิจกรรมทางสังคม การเข้ากลุ่ม (  = 3.92) ตามลําดับ ส่วนมีความต้องการได้รับการได้ทํางานอดิเรกท่ี ชอบ เชน่ งานศลิ ปะ ดนตรมี ีความต้องการเฉลี่ยนอ้ ยท่ีสดุ (  = 3.54) โครงการศึกษาวิจยั รูปแบบการบริการทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายพุ ิการ 84

ตารางที่ 4.29 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความต้องการได้รับการบริการจากการจัด สวสั ดกิ ารสังคมในดา้ นกระบวนการยุติธรรม สาํ หรับผู้สูงอายพุ กิ าร ความตอ้ งการได้รบั การบริการ ระดับความต้องการไดร้ บั บริการ ในดา้ นกระบวนการยุตธิ รรม น้อย น้อย ปาน มาก มาก  SD แปล 1. ตอ้ งการให้ผสู้ งู อายพุ ิการ ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ ผล ได้รบั ความช่วยเหลอื ทาง กฎหมาย 138 22 43 166 352 3.79 1.53 มาก 2. ต้องการให้ผู้สูงอายุพิการไม่ ถกู เลือกปฏิบัติจากสังคม 19.14 3.05 5.96 23.02 48.82 3. ตอ้ งการใหผ้ สู้ งู อายพุ ิการ 110 20 36 137 418 4.02 1.45 มาก ไดร้ ับการชว่ ยเหลือทางคดีและ การเจรจาไกล่เกลยี่ 15.26 2.77 4.99 19.00 57.98 4. ตอ้ งการใหผ้ สู้ ูงอายุพิการได้ 152 15 58 171 325 3.70 1.56 มาก เขา้ ถงึ สิทธขิ องผู้สูงอายพุ ิการ 5. ตอ้ งการใหผ้ ู้สูงอายุพิการ 21.08 2.08 8.04 23.72 45.08 ได้รบั การจดทะเบยี นและการ ไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์ทาง 62 13 16 109 521 4.41 1.19 มาก กฎหมาย 8.60 1.80 2.22 15.12 72.26 95 16 8 104 498 4.24 1.39 มาก 13.18 2.22 1.11 14.42 69.07 รวม 4.03 1.25 มาก จากตารางท่ี 4.29 พบว่า ความต้องการได้รับการบริการจากการจัดสวัสดิการสังคมในด้าน กระบวนการยุติธรรมสําหรับผู้สูงอายุพิการจากทัศนะของผู้ดูแลผู้สูงอายุพิการ โดยรวมผู้สูงอายุพิการมีความ ต้องการได้รับบริการอยู่ในระดับมาก (  =4.03) เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า มีความต้องการให้ ผู้สูงอายุพิการได้เข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุพิการผู้สูงอายุพิการมีความต้องการมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (  = 4.41) รองลงมามีต้องการให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการจดทะเบียนและการได้รับสิทธิประโยชน์ทางกฎหมาย (  = 4.24) และมีความตอ้ งการให้ผูส้ ูงอายพุ ิการไม่ถกู เลอื กปฏบิ ัติจากสังคม (  = 4.02) ตามลําดับ ส่วนมีความ ต้องการให้ผู้สูงอายุพิการได้รับการช่วยเหลือทางคดีและการเจรจาไกล่เกล่ียมีความต้องการเฉล่ียน้อยท่ีสุด (  = 3.70) โครงการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบการบริการทเ่ี หมาะสมสาหรับผ้สู ูงอายพุ กิ าร 85


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook