Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

Published by ลักษณพร มีสกุล, 2021-07-05 02:47:52

Description: การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ หน่วยท่ี 3 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ การสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ทุกระบบในปัจจุบัน ควรมีความรู้ พ้ืนฐานเก่ียวกับการสืบคน้ ขอ้ มูลและฐานขอ้ มลู ก่อน รวมทัง้ การสืบค้นขอ้ มูลจากคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบอ่ืนๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ การสืบค้นสารสนเทศ หมายถงึ กระบวนการในการค้นหาสารสนเทศทตี่ ้องการ โดยใช้ เคร่ืองมือสืบคน้ รูปแบบตา่ งๆ การสบื คน้ สารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 2 วธิ ี คือ 1. การสืบคน้ สารสนเทศด้วยระบบมอื (Manual System) เชน่ บตั รรายการ บัตรดรรชนวี ารสาร 2. การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) เป็น การสืบค้นที่สามารถกระทาได้โดยผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ ฐานข้อมูล หนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส์ วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และการสืบคน้ สารสนเทศบนอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น เคร่อื งมือการสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศ เครื่องมือ คือ อุปกรณ์ท่ีใช้ในการค้นหาหนังสือท่ีมีอยู่ในห้องสมุด เพื่อนามาใช้ ประกอบการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ การสืบค้น คือ การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือในห้องสมุดโรงเรียนว่ามีหนังสือท่ี ผ้เู รยี นต้องการหรือไม่ หากมีจะปรากฏอยู่ในหมวดหมู่ใด ข้อมูล คือ สัญญาณท่ีมนุษย์รบั ร้แู ละนามาบนั ทึกในรูปสัญลักษณ์ เม่ือข้อมูลมีการจัด ความหมายหรอื เนือ้ หา จงึ เปล่ียนเปน็ ระดบั สารสนเทศ สารสนเทศ คือ ข้อเท็จจริง เหตุการณ์ ท่ีถ่ายทอดและบันทึกไว้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสตทศั นวัสดุ คอมพิวเตอร์ และคาพูด เป็นตน้ เพ่ือ นาไปใช้ ในการตัดสนิ ใจหรอื ตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ (ประภาวดี สบื สนธ์, 2543, หนา้ 6) สว่ นประกอบของเครือ่ งมือในการสืบค้นข้อมลู สารสนเทศ ประกอบด้วย 1. หน้าจอ คือ อุปกรณ์ส่งออกข้อมูล (Output devices) หรือหน่วยแสดงผลประเภท หนึ่ง ของคอมพิวเตอร์โดยข้อมูลท่ีจอภาพแสดงผลน้ัน มักจะประกอบด้วยข้อมูลท้ังที่เป็น ตัวหนังสอื และภาพกราฟิก รหัสวชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชีพ ครโู ชติรส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยที่ 3 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ 2. แป้นพิมพ์ คือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input devices) เป็นอุปกรณ์หลักท่ีใช้ในการ นาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นส่ีเหลี่ยมผืนผ้า หรือใกล้เคียง มีแป้นต่าง ๆ ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ข้ึนอยู่กับผังแป้นพิมพ์) ซึ่งถอดแบบมาจาก เครื่องพิมพ์ดีด เพื่อให้การป้อนข้อมูลท่ีเป็นอักขระและตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกข้ึน แปน้ พมิ พ์จงึ แยกแผงท่ีเป็นแปน้ อักขระกับแป้นตวั เลขแยกไว้ต่างหาก 3. เมาส์ คือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input devices) ที่ใช้ในการควบคุมการใช้งานใน คอมพิวเตอร์ ซงึ่ ออกแบบ เพอื่ ให้พอดกี ับการใช้งานโดยส่วนโค้งและส่วนเว้าจะโค้งเขา้ ตามอุ้ง มือของผู้ ใช้ โดยด้านใต้ของเมาส์จะมีอุปกรณ์ ซ่ึงตรวจจับการเคล่ือนไหวของเมาส์ โดยส่ง สญั ญาณ ไปท่คี อมพิวเตอร์ 4. เคส คือ กล่องสาหรับบรรจุอุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลและหน่วยความจาของ คอมพิวเตอร์ เอาไว้ข้างใน เพ่ือประโยชน์ในการยึดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีความม่ันคง กะทัดรัด เคลอ่ื นย้ายได้ ขณะเดียวกนั ก็เพ่ือความปลอดภยั เชน่ ป้องกันไฟดูด ป้องกันอปุ กรณ์สูญหาย และการป้องกัน การสง่ คล่นื รบกวน การทางานของอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสอ์ นื่ ๆ 5. ซอฟต์แวร์ (Software) เก่ียว กับงานของห้องสมุด คือ โปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ คู่มือเตรียมสอบ ลงฐานข้อมูล CDS/ISIS เพ่ือนาข้อมูลส่ิงพิมพ์เหล่านั้นออกบริการ และ อานวยความสะดวก ในการค้นหาหนังสือให้กับผู้ใช้ ซึ่งผู้ใช้สามารถส่งประมวลผลผ่าน ทางเลอื กตา่ ง ๆ ไดต้ ามตอ้ งการ จากระบบเมนู การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศจากอนิ เทอร์เนต็ ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอรเ์ นต็ คือระบบเครอื ข่ายนานาชาติ เกิดจากเครอื ขา่ ยยอ่ ย ๆ มบี รกิ ารมากมาย สาหรับทุกคนท่ีติดตอ่ อนิ เทอร์เนต็ สามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ส่งจดหมายคยุ กับเพอ่ื น ๆ คัดลอกแฟ้มขอ้ มลู และโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครือ่ งอืน่ รวมท้ังคน้ หาขอ้ มูลสารสนเทศ จากแหล่งขอ้ มลู ทัว่ โลก (เครเบรนิ ส,์ แอนนา, 2540, หนา้ 42) ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต 1. ทาใหส้ ามารถบริการคน้ หาและเขา้ ถงึ ข้อมลู โดยผา่ น World Wide Web (WWW) หรอื ทีเ่ รยี กกันยอ่ ๆ วา่ เว็บ (Web) 2. สามารถบริการแลกเปลี่ยนขา่ วสารขอ้ มูล เชน่ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-mail / Electronic mail) การสนทนาทางเครอื ขา่ ย (Chat rooms) หรอื ฟอรมั่ (Forum) รหัสวชิ า 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชีพ ครโู ชติรส แนน่ อุดร

หนว่ ยที่ 3 การสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศ 3. สามารถใช้บรกิ ารการใช้คอมพิวเตอรท์ างไกล เช่น Telnet (สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาแห่งชาต,ิ 2544, หน้า 5) คุณธรรมและจรยิ ธรรมในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ 1. ไมใ่ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตทางลามกอนาจาร เชน่ ดูเวบ็ ไซต์ลามก ส่ง E-mail ลามก 2. ไม่ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการละเมิดสิทธิ์ของผู้อน่ื เชน่ พยายามเข้าถึงข้อมลู ของผู้อื่นโดย ไม่ได้รบั อนญุ าต 3. ไมใ่ ช้อินเทอรเ์ น็ตทาลายผอู้ น่ื เชน่ ปลอ่ ยไวรสั 4. ไมใ่ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็ หลอกลวงผอู้ นื่ เชน่ การสนทนาผา่ นเครอื ข่ายเพอ่ื การหลอกลวงผู้อนื่ 5. ไมใ่ ช้อนิ เทอรเ์ นต็ ในการกระทาการทุจริต เช่น ขโมยขอ้ มลู เรือ่ งการเงินของธนาคาร ขายของทีผ่ ดิ กฎหมาย ระเบยี บและมารยาทในการใช้หอ้ งสมดุ ดิจติ อล 1. ระเบยี บการใชห้ ้องสมดุ ดิจติ อล 1.1 ใชเ้ พอื่ การสืบคน้ ขอ้ มลู ประกอบการเรยี นเทา่ นนั้ 1.2 ลงทะเบียนจองการใชเ้ ครอ่ื งกอ่ นทุกครง้ั 1.3 หากไม่มาใช้บรกิ ารตามที่จองจะให้ผ้จู องลาดบั ตอ่ ไปใชส้ บื คน้ ทนั ที 1.4 ไม่นาแผน่ ซีดี มาใช้ในห้องสมดุ ดจิ ิตอล 1.5 ผู้ทสี่ ืบคน้ ไม่เป็นใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทเ่ี พ่ือรบั คาแนะนากอ่ นสืบคน้ 1.6 ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดและเช็ดใหแ้ ห้งกอ่ นสบื คน้ ทกุ ครั้ง 1.7 ต้องเสยี คา่ บรกิ ารในการส่งั พมิ พข์ ้อมลู ทกุ คร้ังตามท่หี อ้ งสมดุ กาหนด 1.8 ไมน่ าอาหาร เครอ่ื งดื่มมารับประทานในขณะสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ 2. มารยาทการใชห้ ้องสมุดดิจิตอล 2.1 ไม่ส่งเสยี งดังคยุ กนั ในขณะสบื คน้ ขอ้ มูล 2.2 ไม่สืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศนานเกินไปทาใหผ้ ้อู ่นื ไมม่ ีโอกาสสบื คน้ 2.3 เก็บเมาส์และแป้นพิมพใ์ ห้เรยี บร้อยตามเดิม 2.4 เก็บเก้าอ้ใี ห้เรียบรอ้ ยทุกครั้งที่เลกิ สบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศแลว้ 2.5 ไมข่ ีดเขยี นข้อความใด ๆ ลงบนโตะ๊ หรอื เก้าอีต้ ลอดจนอปุ กรณต์ ่าง ๆ ใน หอ้ งสมุดดจิ ิตอล รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ ครโู ชติรส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยที่ 3 การสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ วิธีการเข้าถึงและสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต การเข้าถึง การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ สนองตอบความต้องการของ ผู้สืบค้นหรือผู้เรียน แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคญั และใหญ่ทีส่ ุดมีการเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลาแทบทุกวินาที ดังนั้นใน การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศบนอนิ เทอรเ์ นต็ ควร ดาเนนิ การดงั น้ี 1. กาหนดวตั ถุประสงคก์ ารสืบคน้ ผสู้ บื คน้ หรือผู้วิจยั ทจ่ี ะนาข้อมลู สารสนเทศไปใช้ ควรตั้งวตั ถปุ ระสงค์การสืบค้น ที่ชัดเจน ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีจะสืบค้นให้แคบลง กาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Search Engine ให้เหมาะสม กาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูกสร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ ตพี มิ พข์ องวารสารอิเลก็ ทรอนิกส์ ทง้ั นีเ้ พอื่ ใหผ้ ลการสบื คน้ มีปริมาณไม่มากเกินไป มีความตรง (Validity) ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่าเช่ือถือ (Reliability) มากท่ีสุด อีกทั้งยังสามารถ สบื คน้ ได้ผลในเวลาอนั รวดเร็ว 2. ประเภทของขอ้ มลู สารสนเทศทส่ี ามารถสบื คน้ ได้ ข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่บนอินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็น มัลติมีเดีย คือมีท้ังท่ีเป็นข้อความ(Text) ภาพวาด (Painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (Drawing) ภาพไดอะแกรม (Diagram) ภาพถ่าย (Photograph) เสียง(Sound) เสียง สังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี (Midi) ภาพยนตร์(Movie) ภาพเคล่ือนไหวอะนิเมชัน (Animation) จากเทคโนโลยกี ารสืบคน้ ทมี่ ีอยูใ่ นปัจจุบัน การสืบค้นทเี่ รว็ ทส่ี ุด มีประสิทธิภาพ ทส่ี ุด และแพรห่ ลายท่สี ุด คอื การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ สาหรับการสบื ค้น ข้อมลู ทเี่ ป็นภาพ (Pattern Recognition) และเสียง ยงั มีขอ้ จากดั อย่มู าก ใช้เวลานาน และยงั ไม่มีประสิทธิภาพ จึงยังไม่มีการสืบค้นข้อมูลประเภทอ่ืนๆ นอกจากประเภทข้อความในการ ให้บรกิ ารการสบื คน้ บนอนิ เทอรเ์ นต็ 3. การสืบคน้ ต้องอาศยั อปุ กรณ์และความรู้ กอ่ นที่ผู้สืบค้นจะสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอรเ์ นต็ ได้ ตอ้ งมีการ จัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปน้ี คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซ่ึงอาจเป็น Modem ในกรณที ่ีใชค้ ่กู ับสายโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีทใ่ี ชค้ ่กู ับระบบเครือข่าย ที่ได้รับการติดต้ังไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) เช่น Dial-up รหัสวชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี ครูโชตริ ส แน่นอุดร

หนว่ ยท่ี 3 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศ Networking ในกรณีใช้ Modem หรือมีการติดตั้งNetwork Protocol ที่เหมาะสมกับระบบ เครือข่ายที่เครอื่ งคอมพิวเตอรน์ ั้นติดตั้งอยูแ่ ละติดตั้ง Network Adapter ที่เหมาะสมสาหรับ LAN Card น้ันๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกขององค์การหรือบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider หรอื ISP) เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางออกสอู่ นิ เทอร์เน็ต นอกจากอปุ กรณ์ ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) ความรู้ภาษาอังกฤษเน่ืองจากข้อมูลสารสนเทศส่วนให ญ่ใน อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นภาษาองั กฤษ และยังต้องมีการจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสมอกี ด้วย 4. บรกิ ารบนอินเทอรเ์ นต็ บริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีสามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมี มากมายหลายบริการเช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW) บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการค้นหาโปรแกรมใชง้ าน Archie นอกจากน้ี อาจใช้บริการ สอบถามผ่านทาง E-mail หรือ Chat กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตอื่นๆ หรือสอบถามผ่าน News Group หรือ Group/Thread Discussion ก็ได้ เม่ือค้นได้แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือถ่ายโอนข้อมูลท่ีสืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลและโปรแกรม (File Transfer Protocol หรือ FTP) โดยท่ัวไปในปจั จุบนั การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต นิยม ใช้โปรแกรม Web Browsers เช่น Internet Explorer หรือ Netscape แล้วเรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ Search Engine ซงึ่ มีอยู่มากมายบนอนิ เทอร์เน็ตในการสืบคน้ เม่ือ สืบค้นได้แล้ว โปรแกรม Web Browsers มักจะมีบริการ Download ได้ทันทีโดยไม่ต้อง อาศยั โปรแกรมอ่นื ๆเขา้ ชว่ ย 5. เครือ่ งมอื หรอื โปรแกรมสาหรับการสบื ค้น เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น (Search Engine) มีอยู่มากมายและ มใี ห้บริการอยู่ตามเว็บไซต์ต่างๆ ทใ่ี ชบ้ รกิ ารการสืบค้นขอ้ มูลโดยเฉพาะ การเลอื กใช้นัน้ ขึน้ กับ ประเภทของข้อมูลสารสนเทศท่ีต้องการสืบค้น Search Engine ต่างๆ จะให้ข้อมูลที่มีความ ลึกในแงม่ ุมหรือศาสตร์ต่างๆ ไม่เท่ากนั ตัวอย่าง Search Engine ทีน่ ิยมใช้มีท้ังเว็บไซต์ที่เป็น ของต่างประเทศ และของไทยเอง ตัวอย่างเว็บไซต์ของต่างประเทศ ไดแ้ ก่ http://www.yahoo.com http://www.google.com http://www.infoseek.com http://www.ultraseek.com http://www.lycos.com http://www.excite.com รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ ครโู ชตริ ส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยท่ี 3 การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศ http://www.altavista.digital.com http://www.opentext.com http://www.hotbot.com http://www.webcrawler.com http://www.dejanews.com http://www.elnet.net เป็นต้น สาหรับเวบ็ ไซตข์ องไทย ไดแ้ ก่ http://www.sanook.com http://www.siamguru.com เป็นต้น เทคนคิ การสืบค้นข้อมูล เพ่ือประหยัดเวลาในการสืบค้น ได้ข้อมูลในปริมาณไม่มากเกินไป และได้ผลการสืบค้น ที่ตรงตามประสงค์ของผู้สืบค้น สามารถใชเ้ ทคนิคเหลา่ นี้ ได้แก่ 1. เลือก Search Engine ทีเ่ หมาะสม 2. เลอื กเวบ็ ไซต์ท่ีอยู่ใกลแ้ ละอยใู่ นช่วงเวลาท่ีเหมาะสม 3. การเลือกใช้คาสาคญั (Keyword) หรือหวั เรอ่ื ง(Subject) ท่ีตรงกับเรื่องทตี่ อ้ งการ 4. กาหนดขอบเขตของคาคน้ โดยใชต้ วั เชือ่ มบลู ีน(Boolean Operators) เช่น AND OR NOT NEAR BEFORE เปน็ ต้น หรือการคน้ วล(ี Phrase Searching) การตดั คา หรือการ ใชค้ าเหมือน ดังตอ่ ไปน้ี 4.1 Boolean Operators - AND หรือ เคร่ืองหมาย + ใชเ้ มือ่ ต้องการใหค้ น้ เอกสารทม่ี คี าทง้ั สองคา ปรากฏ เช่นค้นหาคาว่า Research AND Thailand ข้อมูลที่ได้จะมีเฉพาะคาว่า Research และ Thailand อยูใ่ นเอกสาร - OR ใช้เมื่อต้องการค้นหน้าเอกสารที่มีคาใดคาหนึ่งปรากฏ เช่น Research OR Thailand ข้อมูลทไี่ ดจ้ ะมคี าใดคาหนง่ึ หรอื มที ั้งสองคาปรากฏอยูใ่ นเอกสาร - NOT หรือ เครื่องหมาย – ใช้เม่ือต้องการตัดคาที่ไม่ต้องการให้คน้ ออก (คาหลัง NOTหรือ เครื่องหมาย -) เช่น Research NOT Thailand ข้อมูลที่ได้จะมีคาว่า Research แต่จะไม่มคี าว่าThailand อยใู่ นเอกสาร - NEAR ใช้เม่ือต้องการให้คาที่กาหนดอยู่ห่างจากกันไม่เกิน 10 คา ใน ประโยคเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (อยู่ด้านหน้าหรือหลังก็ได้) เช่น Research NEAR Thailand ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ะมคี าว่าResearch และ Thailand ทห่ี า่ งกนั ไมเ่ กนิ 10 คา ตัวอยา่ งเช่น Research on the Cost of Transportation in Thailand - BEFORE ใช้เมือ่ ต้องการกาหนดให้คาแรกปรากฏอยู่ข้างหน้าคาหลังใน ระยะหา่ งไม่เกิน8 คา เชน่ Research BEFORE Thailand รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ ครูโชตริ ส แนน่ อดุ ร

หน่วยที่ 3 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ - AFTER ใช้เมื่อต้องการกาหนดให้คาแรกปรากฏอยู่ข้างหลังคาหลังใน ระยะหา่ งไมเ่ กนิ 8 คา เชน่ Research AFTER Thailand - (parentheses) ใช้เม่ือต้องการกาหนดให้ทาตามคาส่ังภายในวงเล็บ กอ่ นคาสั่งภายนอกเช่น (Research OR Quantitative) and Thailand 4.2 การค้นวลี (Phrase searching) เป็นการใช้เคร่ืองหมายอัญประกาศ (“ ”) เม่ือต้องการกาหนดให้ค้นเฉพาะหน้าเอกสารท่ีมีการเรียงลาดับคาตามท่ีกาหนดเท่าน้ัน เช่น “Methodology Research” 4.3 การตัดคา (Word stemming / Truncation) เป็นการใช้เครื่องหมาย asterisk (*) ตามท้ายคา 3 คาข้ึนไป เพ่ือค้นหาคาท่ีขึ้นต้นด้วยตัวอักษรท่ีกาหนด เช่น Research* 4.4 คาพ้องความหมาย (Synonym) เป็นการใช้คาเหมือนที่มีความหมาย เดยี วกันหรอื ใกล้เคียงกันเพื่อชว่ ยใหค้ ้นเรือ่ งทคี่ รอบคลมุ เช่น Ocean Sea Marine 4.5 เขตข้อมูลเพ่ือการค้น (Field Searching) เป็นการกาหนดเขตข้อมูลเพ่ือ การคน้ เชน่ ชนดิ ของข้อมลู หรอื ทอี่ ยู่ของขอ้ มูล เปน็ ต้นเช่น text: “green tea” url: NASA 4.6 ตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่าต่างกัน (Case sensitive) เป็นการใช้ตัวอักษรใหญ่กับ ตัวเล็กในความหมายที่แตกต่างกัน เช่นใช้ตัวอักษรใหญ่ขึ้นต้นช่ือเฉพาะ เช่น George W. Bush 4.7 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) เป็นการสืบค้นจากคาถามที่เป็น ภาษาธรรมชาติ เช่น ใชค้ าถามภาษาอังกฤษง่ายๆท่ีต้องการให้ Search Engine หาคาตอบให้ เช่น What is Research? ขอ้ ดขี องการสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศทางอนิ เทอรเ์ น็ต การสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ตมีขอ้ ดีหลักๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ขอบเขตของข้อมลู สารสนเทศกวา้ งขวางมาก มีความหลากหลาย ไร้พรมแดน 2. ขอ้ มลู สารสนเทศทส่ี บื คน้ ได้มคี วามทันสมยั มาก เนอื่ งจากผ้สู ร้างขอ้ มูลสามารถ แกไ้ ขปรับปรงุ ได้งา่ ยและทาได้ตลอดเวลา 3. สะดวกมาก ไม่มีขอ้ จากัดในแงข่ องเวลาและสถานที่ สามารถสบื ค้นเวลาใดกไ็ ด้ท่ใี ดกไ็ ด้ 4. สามารถสืบค้นไดง้ า่ ยและรวดเรว็ โดยอาศยั Search Engine 5. การไดม้ าซง่ึ ข้อมูลผา่ นอินเทอรเ์ น็ตใชเ้ วลาสนั้ มาก เมอ่ื เทียบกับการสง่ เอกสารวิธอี ื่นๆ รหสั วิชา 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชีพ ครูโชตริ ส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยที่ 3 การสบื คน้ ข้อมลู สารสนเทศ 6. การได้มาซ่ึงข้อมูลนนั้ ประหยดั ทง้ั เวลาและทรพั ยากร 7. จัดเปน็ หอ้ งสมุดทใ่ี หญ่ทีส่ ุดในโลก 8. ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีสบื คน้ มามปี ระโยชนม์ าก สามารถนาไปจัดหมวดหมู่ ทาฐานขอ้ มลู บรรณาธิการ และจัดการต่อได้โดยงา่ ย 9. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) และส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ (Life Long Learning) ข้อจากดั ของการสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต ถึงแม้ว่าการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตจะมีข้อดีอย่างเห็นได้ชัด การสืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศทางอินเทอร์เนต็ กม็ ขี ้อจากดั หรอื ข้อเสียอยบู่ ้าง ดงั น้ี 1. ข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตมีความครอบคลุมกว้างขวางมาก มีความ หลากหลาย ไร้พรมแดน จึงทาให้ผู้ใช้ท่ีไม่มีทักษะการสืบค้นอาจเกดิ ปัญหาเนืองจากได้ข้อมูล สารสนเทศที่ไม่ตรงตามความตอ้ งการเป็นจานวนมากทาให้เสียเวลา 2. ขอ้ มูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตถูกปรับปรุงแก้ไขไดอ้ ย่างรวดเรว็ ทาให้การอา้ งอิง เอกสารทาได้ลาบาก เพราะการเข้าไปสืบคน้ เอกสารอีกครงั้ หน่งึ ในวนั ขา้ งหน้าเอกสารดงั กลา่ ว อาจจะไม่อยูแ่ ล้ว หรอื เนื้อหาขอ้ ความอาจถูกปรบั เปลีย่ นไปแลว้ กไ็ ด้ 3. ขอ้ มูลสารสนเทศบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่ไดม้ าจะตอ้ งตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือของ แหลง่ ขอ้ มลู ที่ไดม้ าดว้ ยวา่ มคี วามนา่ เชอ่ื ถือมากแคไ่ หน การประเมินความน่าเช่อื ถอื ของแหล่งข้อมลู เพือ่ เป็นการตรวจสอบความน่าเชอ่ื ของแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศทีส่ บื คน้ มาได้ผู้สบื คน้ สามารถประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือของแหล่งขอ้ มลู ได้จาก 12 องคป์ ระกอบ (สุกญั ญา ประจุ ศลิ ปะและคณะ, 2547) ดังนี้ 1. บอกวตั ถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ งหรือเผยแพร่ขอ้ มลู ไว้ในเวบ็ ไซต์ 2. การเสนอเนอ้ื หาตรงตามวัตถุประสงค์ในการสรา้ งหรอื เผยแพร่ข้อมลู ของเวบ็ ไซต์ 3. เน้ือหาเวบ็ ไซตไ์ มข่ ดั ต่อกฎหมาย ศีลธรรม และจรยิ ธรรม 4. มกี ารระบุชือ่ ผเู้ ขยี นบทความหรอื ผูใ้ ห้ขอ้ มลู บนเว็บไซต์ 5. มีการให้ทอ่ี ยู่ (e-mail address) ทีผ่ อู้ า่ นสามารถติดต่อผู้ดแู ลเว็บไซตไ์ ด้ 6. มีการอ้างองิ หรือระบแุ หลง่ ท่ีมาของขอ้ มลู ของเนื้อหาทป่ี รากฏบนเวบ็ ไซต์ รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี ครูโชตริ ส แนน่ อุดร

หนว่ ยท่ี 3 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ 7. สามารถเชอื่ มโยง (link)ไปเว็บไซตอ์ ่นื ทอี่ า้ งถึงได้ 8. มีการระบุวันเวลาในการเผยแพร่ขอ้ มลู บนเวบ็ ไซต์ 9. มีการระบวุ ันเวลาในการปรบั ปรุงขอ้ มลู ครง้ั ลา่ สุด 10. มชี ่องทางใหผ้ อู้ า่ นแสดงความคดิ เห็น 11. มขี ้อความเตอื นผอู้ า่ นใหใ้ ช้วิจารณญาณในการตดั สินใจใชข้ ้อมูลทปี่ รากฏบนเวบ็ ไซต์ 12. มกี ารระบวุ า่ เป็นเวบ็ ไซตส์ ว่ นตัวหรือระบุแหลง่ ท่ใี ห้การสนบั สนนุ ในการสรา้ งเวบ็ ไซต์ การสืบค้นขอ้ มูลด้วย Search Engine เสิร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหาและคือ โปรแกรมที่ช่วยในการ สืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนท่ี ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซ่ึงแตกต่างกันไป แล้วแตโ่ ปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย เสริ ์ชเอนจนิ ส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากน้ันก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการ ขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิลจะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือก ผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนาประวัติท่ีบันทึกไว้น้ัน มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาคร้ัง ตอ่ ๆ ไป ตวั อยา่ ง Web Search Engine 1. http://www.google.co.th/ 2. http://www.youtube.com/ 3. http://dict.longdo.com การสืบคน้ เว็บไซตข์ ้อมลู ดว้ ย Search Engine ข้นั ตอนการสบื ค้นเวบ็ ไซตข์ อ้ มลู ด้วย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซต์ท่ีใหบ้ รกิ าร http://www.google.co.th/ 2. เลอื กหวั ขอ้ ท่ตี ้องการคน้ ในทีน่ จี้ ะเลอื กหวั ขอ้ “เวบ็ ” 3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ท่ตี อ้ งการสืบคน้ ลงในชอ่ ง text box 4. กดท่ีปุม่ “คน้ หา” 5. ระบบจะทาการค้นหาเวบ็ ไซตท์ ตี่ รงกบั keyword ที่ตอ้ งการ และแสดง รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ ครโู ชตริ ส แน่นอดุ ร

หน่วยที่ 3 การสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ ออกมาในรูปแบบของลงิ คพ์ รอ้ มคาอธิบายประกอบ การสืบคน้ รูปภาพดว้ ย Search Engine ข้ันตอนการสืบค้นรูปภาพดว้ ย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซตท์ ี่ให้บรกิ าร http://www.google.co.th/ 2. เลือกหัวข้อท่ตี ้องการค้น ในท่นี จี้ ะเลือกหัวขอ้ “รูปภาพ” 3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ทตี่ อ้ งการสบื คน้ ลงในชอ่ ง text box 4. กดทีป่ ุม่ “ค้นหา” 5. ระบบจะทาการค้นหารปู ภาพทตี่ รงกบั keyword ท่ีต้องการ และแสดง รูปภาพทคี่ ้นหาพบ รหสั วิชา 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ ครูโชตริ ส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยท่ี 3 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ การสืบคน้ แผนทด่ี ว้ ย Search Engine ขนั้ ตอนการสืบค้นแผนที่ดว้ ย Search Engine 1. ทาการเปิดเวบ็ ไซต์ทใ่ี หบ้ ริการ http://www.google.co.th/ 2. เลือกหัวข้อท่ตี อ้ งการคน้ ในทีน่ จี้ ะเลอื กหัวขอ้ “แผนท”่ี 3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) สถานที่ทตี่ ้องการสืบคน้ ลงในช่อง text box 4. กดทีป่ ุ่ม “ค้นหา Maps” 5. ระบบจะทาการค้นหาสถานทที่ ต่ี อ้ งการ แล้วแสดงออกมาในรปู แบบของแผน ที่ รวมไปถงึ ลิงคข์ อ้ มลู เพิ่มเติมเก่ียวกับสถานทน่ี ัน้ ๆ อกี ด้วย การสืบค้นวีดโิ อด้วย Search Engine ขนั้ ตอนการสืบค้นวดี ิโอด้วย Search Engine 1. ทาการเปดิ เวบ็ ไซตท์ ใี่ หบ้ ริการ http://www.youtube.com/ 2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ท่ีตอ้ งการสืบคน้ ลงในชอ่ ง text box 3. กดที่ปุม่ “search” รหัสวิชา 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี ครูโชตริ ส แนน่ อดุ ร

หนว่ ยท่ี 3 การสืบค้นข้อมลู สารสนเทศ 4. ระบบจะทาการคน้ หาวีดโิ อท่ตี รงกับ keyword ทีต่ อ้ งการ และแสดงวดี ิโอท่ี ค้นหาพบ การสบื คน้ คาศพั ท์ด้วย Search Engine ขนั้ ตอนการสบื ค้นคาศัพท์ดว้ ย Search Engine 1. ทาการเปิดเวบ็ ไซตท์ ใี่ ห้บรกิ าร http://dict.longdo.com 2. พิมพค์ าศัพทท์ ่ีตอ้ งการสืบค้นลงในช่อง text box 3. เลือกบรกิ าร “dictionary” 4. กดท่ีปุ่ม “submit” 5. ระบบจะทาการค้นหาคาศพั ทท์ ตี่ อ้ งการพรอ้ มคาแปล ท่มี า:http://portal.edu.chula.ac.th/ ครโู ชติรส แนน่ อดุ ร รหสั วิชา 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจัดการอาชีพ

หน่วยที่ 3 การสืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศ ความหมายของการจดั เก็บและการค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval – ISR) มกี ารกาหนดความหมายไว้หลากหลาย โดยแบ่งออกเปน็ สองส่วน คือ การจัดเก็บสารสนเทศ (Information storage) และการคน้ คนื สารสนเทศ (information retrieval) การจัดเก็บสารสนเทศเป็นคาที่เกิดข้ึนควบคู่กับสถาบันบริการสารสนเทศในอดีต มี ความหมายครอบคลุมการจัดทาโครงสร้างและควบคุมบรรณานุกรม เป็นการจัดระบบโดย วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ จัดหมวดหมู่และทาบัตรรายการ บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป ควบคุมบรรณานุกรม การคน้ คืนสารสนเทศในอดตี เป็นงานบรกิ ารช่วยผูใ้ ช้คน้ หา ทรพั ยากรสารสนเทศ (information search) หรอื บอกให้ผูใ้ ช้รู้แหล่งจดั เก็บสารสนเทศ งาน คน้ คนื สารสนเทศจึงเป็นงานค้นหาและชว่ ยผู้ใช้ค้น แนะนาและสอนผู้ใช้ อานวยความสะดวก ตา่ งๆ ใหผ้ ู้ใชไ้ ดร้ บั ทรัพยากรสารสนเทศตามความตอ้ งการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานบริการสารสนเทศเมื่อปริมาณสารสนเทศเพิ่มมาก ขึ้นอย่างมากมายมหาศาล ทาให้ลักษณะงานของสถาบันบริการสารสนเทศปรับเปลี่ยนไป สถาบันบรกิ ารสารสนเทศไม่มุ่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศมารวบรวมไว้แต่เนน้ การคัดเลือก และหาแหลง่ เพ่ือการเข้าถึง ใช้คอมพิวเตอรจ์ ดั ทาเครอ่ื งมือชว่ ยคน้ ควา้ ในลักษณะฐานะข้อมูล ต่างๆ และใช้ค้นคนื ให้บรกิ าร รวมทัง้ เชื่อมโยงการค้นไปยงั แหลง่ ต่างๆ ได้ การจัดเก็บและการ ค้นคืนสารสนเทศ จึงมีความหมายถึง การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในขอบเขตทกี่ วา้ ง คอื ทัง้ ก่อนและหลงั การประดษิ ฐค์ อมพิวเตอร์ขึน้ ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ดังน้ี การจัดเก็บสารสนเทศ หมายถึง การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทารายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้า แฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทาสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูล เพอ่ื การคน้ หาและคน้ คืนสารสนเทศ การจัดเก็บซึ่งรวมทั้งการจัดหา/ได้รับสารสนเทศหรือสามารถระบุทรัพยากรสารสนเทศท่ี อยู่ในแหล่งจัดเก็บ โดยใช้ป้ายระบุข้อมูลหรือช่ือเขตข้อมูลหรือแท็ก (tag) คาแทนสาระเพ่ือการ ค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศ การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศและการทาป้ายระบุข้อมูลใน วิธีการท่ีจะใช้ประโยชน์เพ่ือการค้นคืนสารสนเทศ ทั้งเพ่ือสามารถระบุได้ว่ามีทรัพยากรอะไร จดั เกบ็ ไว้ในแหล่งใดของสถาบัน ทรัพยากรใดเกบ็ ไว้ในแหล่งเดยี วกันหรอื ตา่ งแหล่ง รหสั วิชา 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ ครูโชตริ ส แน่นอดุ ร

หนว่ ยที่ 3 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศ การค้นคืนในระบบค้นคืนสารสนเทศ เป็นท้ังการดึงหรือค้นเอกสารย้อมหลังท่ีจัดเก็บไว้ ตามหวั ข้อท่ีต้องการ (retrospective searching) การคน้ ตามหวั ข้อความสนใจและความต้องการ ของผู้ใช้จากทรัพยากรสารสนเทศท่ีเข้ามาใหม่ทุกคร้ัง (routing) หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการ สารสนเทศทันสมัย (current awareness service) การค้นเอกสารผู้ค้นทาการค้นจากเคร่ือง คอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องทีเ่ ช่ือมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้โปรแกรมจดั เก็บและค้นคืน สารสนเทศ รวมทั้งเชอื่ มสูอ่ ินเทอร์เนต็ ท้ังนเี้ พื่อการใชป้ ระโยชนต์ ่างๆ ของผู้ใช้ การเขา้ ถึง (access) เปน็ วธิ ีการท่ีผูใ้ ช้สามารถคน้ คน้ หา ค้นคนื และได้รับสารสนเทศ ท่ีต้องการ สารสนเทศท่เี ขา้ ถึงเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่สถาบันบริการสารสนเทศและแหล่ง ตา่ งๆ จดั ไว้บริการผู้ใช้ การค้นหา (searching) เป็นการป้อนคาส่ังโดยผู้ค้นเตรียมประโยคคาค้นไว้แลว้ และ ปฏิสัมพันธ์กับระบบค้นคืนและพิจารณาผลที่ได้รับ ซึ่งเป็นขั้นตอนในกระบวนการค้นหา (searching process) การสารวจเลือกดู (browsing) เป็นการปฏิสัมพันธ์ในลักษณะตรวจสอบดูเอกสาร และทาการเลือกเพื่อหารายการสารสนเทศท่ีตนสนใจ หรือเป็นการดูสารสนเทศท่ัวไป หรือ ภาพรวมของรายการตามหัวขอ้ ท่เี ป็นจดุ มุ่งหมาย สรุปการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการ สาคัญใดๆ ในการแสวงหาทรพั ยากรสารสนเทศ ซึง่ ครอบคลุมการคน้ หา การดึงสารสนเทศที่ เข้าเร่ือง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ท้ัง แหล่งจัดเก็บภายในและแหล่ง ภายนอก เพ่ือให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศหรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซ่ึงบรรจุเน้ือหาตรง ตามต้องการ และในการบรกิ ารจะนาส่งใหผ้ ู้ใชอ้ ยา่ งรวดเร็วทนั การณ์ ทั้งน้ีการจดั เก็บและค้น คนื สารสนเทศเปน็ ระบบที่จัดทาท้งั ด้วยแรงงานคนและดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ความสาคัญของการจัดเกบ็ และการคน้ คืนสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ (information age) เก่ียวข้องโดยตรงกับพัฒนาการของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และการส่ือสารในการจัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จากภาวะการเพิ่ม ปริมาณสารสนเทศอย่างรวดเร็วท่วมท้น (information explosion) ซ่ึงเป็นผลของการทุ่มเท วิจยั และพัฒนาความกา้ วหน้าและขยายตวั ทางการศึกษาในระดบั สูง มสี ารสนเทศผลิตออกมา หลายสาขาวชิ าทัง้ สาขาวชิ าใหญ่และสาขาวชิ าย่อย วิชาการความรทู้ างวิทยาศาสตรม์ ีปรมิ าณ รหสั วชิ า 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชีพ ครโู ชตริ ส แน่นอดุ ร

หน่วยที่ 3 การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศ เพิ่มข้ึนอย่างมากมายหลายรูปแบบ อาทิ ไมโครฟิล์ม ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ และสอ่ื คอมพิวเตอร์ ซ่ึงต้องใช้เครือ่ งมือในการเข้าถงึ อ่านและใช้สารสนเทศสารสนเทศทผ่ี ลิต จากแหล่งต่างๆ กันประเทศในยุโรป อเมริกา เอเชียใช้ภาษาต่างๆ กัน เป็นอุปสรรคแก่ผู้ใช้ สารสนเทศเรื่องเดียวกันมีการผลิตซ้าซ้อนหลายรูปแบบ เป็นมลพิษทางสารสนเทศ เหล่านี้ เปน็ ปัญหาในการเขา้ ถึงและเข้าใชส้ ารสนเทศ การเข้าถงึ สารสนเทศที่ดมี คี ณุ ภาพจาเปน็ ต้องมี การคดั เลือกดาเนินการ มีการลงทุนเสียคา่ ใชจ้ า่ ย ซ่งึ เป็นหน้าท่ีของสถาบนั บรกิ ารสารสนเทศ 1. ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศตอ่ สถาบันบริการสารสนเทศ การ จัดเกบ็ และการคน้ คนื สารสนเทศ มคี วามสาคญั ตอ่ สถาบันบริการสารสนเทศในดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี 1) เป็นตวั กลางเชื่อมโยงระหวา่ งผ้ผู ลิตสารสนเทศและแหล่งทรพั ยากรสารสนเทศ กับผู้ตอ้ งการใช้สารสนเทศ 2) ก่อให้เกดิ การสง่ เสรมิ ในการถา่ ยโอนและไหลของสารสนเทศเปน็ ไปอยา่ งมีประ สทิ ธภิ าพระหวา่ งผตู้ อ้ งการใชส้ ารสนเทศกบั แหล่งทรพั ยากรสารสนเทศ และมีบทบาทสาคญั ในการตอบสนองความต้องการใชส้ ารสนเทศ 3) เป็นการกลั่นกรองสารสนเทศในชอ่ งทางถา่ ยโอนสารสนเทศที่เปน็ ทางการ ซ่ึง ชว่ ยคัดเลอื กตรวจสอบทรพั ยากรสารสนเทศเพอ่ื ให้ผู้ใช้ได้รับและใชส้ ารสนเทศที่มคี ณุ ภาพ 4) เปน็ งานหลกั ทเี่ ช่อื มโยงระบบบริการต่างๆ และระบบงานของสถาบันบรกิ าร สารสนเทศ เช่น ระบบยมื คืนสารสนเทศ ระบบจัดทาสาเนาเอกสารเพือ่ ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการใช้ สารสนเทศใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด 5) ช่วยใหผ้ ใู้ ช้ไดร้ บั สารสนเทศทีถ่ ูกตอ้ ง โดยการคน้ คืนตรงตามความตอ้ งการและ ทันต่อเวลา เพอ่ื การใชป้ ระโยชน์ตา่ งๆ ตามนโยบายและวตั ถปุ ระสงคข์ องสถาบนั บริการ สารสนเทศ 2. ความสาคัญของการจัดเกบ็ และการคน้ คนื สารสนเทศตอ่ ผูใ้ ช้ การจดั เกบ็ และการคน้ คืนสารสนเทศมีความสาคัญต่อผู้ใช้ในการขจัดปัญหาต่างๆ ในการเข้าถึงสารสนเทศ ระบบที่ จัดทาข้ึนมุ่งช่วยสร้างความคิดแก่ผู้ใช้ในการเข้าถึงงานของผู้เขียน เป็นการสร้างความคิดให้ ตรงกบั แนวคดิ ที่ผู้เขียนไดเ้ สนอไว้ในทรพั ยากรสารสนเทศเพอื่ ประโยชน์ของผ้ใู ช้ ดงั นี้ 1) เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ท้ังภายในสถาบัน บริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรท่ัวโลกได้อย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายใน เรื่องสทิ ธิของการใช้สารสนเทศ รหัสวชิ า 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี ครูโชตริ ส แนน่ อุดร

หน่วยที่ 3 การสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศ 2) ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้ประเภทต่างๆ โดยจัดให้มีวิธีการและเคร่ืองมืออานวย ความสะดวก เคร่ืองมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนได้ด้วยตนเองหรือโดยผ่าน ผใู้ ห้บริการ ซึ่งมีหนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื แนะนาและคน้ คนื สารสนเทศให้แก่ผใู้ ช้ 3) มีการพัฒนารปู แบบการดาเนินงานจดั เกบ็ และการคน้ คนื สารสนเทศ โดยเฉพาะ ในยุคที่มีความเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีต่างๆ เพ่ือให้เกิดความรวดเร็วท้ังวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการคน้ คนื สารสนเทศ ทง้ั นี้เพอ่ื เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้ใช้ 4) ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศท่ีถูกต้อง ตรงตามความต้องการเพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ต่างๆ ท้ังในชีวิตประจาวัน ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยในการปฏิบัติงาน บริหารงาน หรอื ตอบสนองความสนใจตา่ งๆ 5) สนับสนุนผู้ใช้ให้ สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิด ของสารสนเทศเพ่ือการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา ติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเปน็ ผู้เรียน แบบพ่ึงตนเองตลอดไป ทฤษฎพี ื้นฐานและการประเมินระบบจดั เก็บและการคน้ คืนสารสนเทศ ทฤษฎีพ้ืนฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศให้ความรู้เก่ียวกับแนวคิดพ้ืนฐาน เกี่ยวกับระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศและตัวแบบพฤตกิ รรมสารสนเทศ แนวคิดพน้ื ฐาน พิจารณาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในเชิงระบบ กล่าวถึงองค์ประกอบสาคัญของ ระบบจดั เกบ็ และคน้ คนื สารสนเทศ ได้แก่ ทรพั ยากรสารสนเทศ ฐานข้อมูล และผู้ใช้ ตวั แบบ พืน้ ฐานในการจัดเก็บและคน้ คนื สารสนเทศ การจัดเกบ็ และการค้นคืนเป็นระบบในเชงิ จลุ ภาค คือระบบค้นคืนสารสนเทศ ประกอบด้วย ข้อมูลนาเข้า การประมวลผล ผลลัพธ์ และข้อมูล ป้อนกลับ ทาหน้าท่ีสาคัญคือวิเคราะห์เน้ือหาเอกสาร วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และ จับค่โู ดยมีระบบย่อย 6 ระบบร่วมกันทางานตา่ งๆ ตวั แบบพฤตกิ รรมสารสนเทศเปน็ ตวั แบบท่ี อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศท้ังในเชิงท่ีมา ได้แก่ ความต้องการสารสนเทศ และในเชิง พฤติกรรมคอื กจิ กรรมตา่ งๆ คอื การคน้ หา การถ่ายโอน และการใช้สารสนเทศ การประเมนิ ระบบจดั เก็บและค้นคืนสารสนเทศ เปน็ เร่ืองของแนวคิดเกี่ยวกบั การประเมิน ระบบจัดเกบ็ และค้นคืนสารสนเทศ ข้ันตอนต่างๆ ในการประเมินระบบต้ังแต่การกาหนดขอบเขต การประเมนิ จนถงึ การปรับปรงุ แก้ไขระบบและการวิจยั ท่ีสาคัญในระยะเวลาต่างๆ รหัสวชิ า 3001 – 2001 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี ครูโชตริ ส แน่นอุดร

หน่วยที่ 3 การสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศ เทคโนโลยี และมาตรฐานในการจัดเกบ็ และการคน้ คืนสารสนเทศ เทคโนโลยีท่ีใช้ในการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและการสื่อสาร จาแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และแสดงผล เทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศเก่ียวกับดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการเลือก ฐานข้อมูล เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และการค้นคืนสารสนเทศ การประยุกต์เทคโนโลยีไฮเปอร์ มีเดียในการคน้ คืนสารสนเทศ มาตรฐานสาคัญในการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับประเภท ความสาคญั และองค์การท่เี ก่ยี วกบั มาตรฐานในการจดั เก็บและการค้นคืนสารสนเทศ ประเภท ของมาตรฐานมุ่งเน้นมาตรฐานที่นามาใช้ในการทางานด้านต่างๆ ทง้ั ในการสื่อสารข้อมูล การ จดั เก็บและการคน้ คืนรูปแบบตา่ งๆ และมาตรฐานเฉพาะแตล่ ะงาน การค้นหาและคน้ คนื สารสนเทศ การค้นหาและค้นคืนสารสนเทศมีพัฒนาการการค้นหาด้วยระบบมือมาเป็นค้นคืน สารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ กระบวนการค้นหาสารสนเทศมีข้ันตอนต่างๆ ต้ังแต่ทาความ เข้าใจความต้องการของผู้ใช้จนถึงค้นหาและพิมพ์ผลลัพธ์ กลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศที่ สาคัญคือการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ คาถาม และใช้การเทคนิคการค้นคืน ใช้ศัพท์บังคับ ศพั ทไ์ มค่ วบคมุ หรือภาษาธรรมชาติ และคาสัง่ ทจ่ี าเป็นต่างๆ ตัวแบบการค้นคืนสารนเทศ เช่น ตัวแบบบเู ลียน ตัวแบบความเป็นไปได้ และตัวแบบอื่นๆ การค้นคืนสารสนเทศออนไลน์และการค้นคืนสารสนเทศจากมัลติมีเดีย เป็นการค้น คืนจากฐานข้อมูลดิจิทัล โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคมเป็น อุปกรณ์ช่วยการค้น มีพัฒนาการ และองค์ประกอบของการค้นคืนจากฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลออนไลน์นอกจากให้ข้อมูลบรรณานุกรม ยังให้บริการข้อมูลเน้ือหาเต็ม ตลอดจน ภาพกราฟกิ ส่วนฐานข้อมูลมลั ติมีเดีย สารสนเทศที่เป็น ภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว และเป็น การคน้ คืนสารสนเทศไฮเปอรเ์ ท็กซท์ การค้นคืนสารสนเทศในยคุ ดิจิทลั มกี ารศกึ ษาวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบค้นคนื สารสนเทศ โดยประยกุ ตศ์ าสตร์ดา้ นปญั ญาประดิษฐ์ การรวบรวม ถ่ายทอดความรแู้ ละประสบการณ์ การ แทนความรูแ้ ละประสบการณ์เพอ่ื นาไปประมวลเพอ่ื ทางานลกั ษณะใช้ปญั ญาเพือ่ แก้ปญั หาได้ ใกล้เคียงกับมนุษย์มากท่ีสุด ขอบเขตงานวิจัยเก่ียวกับระบบผู้เช่ียวชาญ ระบบประมวล ภาษาธรรมชาติ โปรแกรมตัวแทนอัจฉริยะ โดยเฉพาะท่ีใช้ในงานค้นคืนสารนเทศ งานวิจัย ระบบการค้นคืนสารสนเทศหลายภาษา ระบบค้นคืนสารสนเทศจากการอ้างอิง การค้นคืน สารสนเทศที่ผนวกผลป้อนกลับด้านความสัมพันธ์กับเน้ือหาและส่วนต่อประสานผู้ใช้แบบ วชิ วลไลเซชนั ในระบบค้นคนื สารสนเทศ ท่ีมา หนังสือเรยี นวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชพี ผแู้ ต่ง บญุ สบื โพธิศ์ รี สานกั พิมพ์ศนู ยส์ ง่ เสริมอาชีวศึกษา รหัสวิชา 3001 – 2001 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี ครโู ชตริ ส แนน่ อดุ ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook