Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปรายงานการติดตามประเมินผลการฝึกอบรม นบต.ปปส. 14

สรุปรายงานการติดตามประเมินผลการฝึกอบรม นบต.ปปส. 14

Published by manasanantnn, 2022-06-23 03:38:08

Description: สรุปรายงานการติดตามประเมินผลการฝึกอบรม นบต.ปปส.14

Search

Read the Text Version

รายงานการตดิ ตามประเมนิ ผลการฝึกอบรม หลกั สตู ร นักบรหิ ารงานป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ ระดบั ตน้ (นบต.) รุ่นท่ี ๑๔ ระหว่างวันพุธที่ ๑๔ กรกฎาคม - วันพฤหัสบดที ี่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ ณ สานกั งาน ป.ป.ส. พื้นที่ศึกษาดงู านภาคใตแ้ ละภาคเหนอื /การฝึกอบรมออนไลน์ผ่านส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ส่วนที่ ๑ ผ้ผู า่ นการฝกึ อบรม ๒. ประโยชนแ์ ละสามารถนาความรู้/ทกั ษะ ท่ีได้รับจาก ๓. ตัวอย่างงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ไี ด้นาความรู้ การฝึกอบรมไปปรบั ใช้ในการปฏิบัติงาน \"ต่อหน่วยงาน\" จากการเข้ารว่ มฝึกอบรมไปปรับใชแ้ ละผลทไ่ี ด้รบั มีผตู้ อบแบบประเมินฯ จานวน ๕๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ด้าน รายละเอยี ด ตวั อยา่ ง งาน/โครงการ/กิจกรรม ๑. ประโยชนแ์ ละสามารถนาความรู้/ทกั ษะ ที่ได้รับ การพัฒนา พฒั นา วางแผน กระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ งานใน การจัดทานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการป้องกัน จากการฝกึ อบรมไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน \"ตอ่ ตนเอง\" งานใน นาความรู้เกี่ยวกับกฎหมายยาเสพติดมาถ่ายทอดให้กับ หน่วย ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด (2566 - 2570) หน่วยงาน เจ้าหนา้ ทผ่ี ู้ปฏบิ ตั งิ าน และเยาวชน รวมท้งั จดั ทา งาน วิเคราะห์ขอ้ มูลการข่าวในทุกระดับ สร้างการมีสว่ นรว่ ม จัดทา ด้าน รายละเอียด โครงการสร้างจติ สานึกเยาวชนผ่านสอ่ื สงั คมออนไลน์ ร่างกฎหมาย บรรยายสรุปให้ผู้บริหารโดยใช้ one page เสนอ สามารถนาความรเู้ รอ่ื งการอานวยการในพ้นื ท่ีมาปรบั ใช้ คาสัง่ ตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหา และผเู้ กีย่ วขอ้ ง กิจกรรม ๑. การพฒั นา สามารถวางแผนงาน จัดลาดบั ความสาคญั ของงาน และพฒั นา ในการปฏิบัติงาน กลุ่มสมั พนั ธ์ การศกึ ษาดูงานภายในหน่วยงาน ฯลฯ ตนเอง การบรหิ ารจัดการงานอยา่ งเปน็ ระบบ นาความรทู้ ่ไี ดร้ ับไปปรบั ใช้ ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีท้ังด้านกฎหมาย และทักษะในการใช้อุปกรณ์ แอปพลิเคชน่ั เพอื่ วิเคราะห์ขอ้ มูล ไดพ้ ัฒนาทักษะการส่ือสาร ภาคี เสริมสรา้ งเครือข่ายภาคี เกดิ การบูรณาการความร่วมมือ ภาคี การขับเคล่ือนงานนโยบายไปสู่การปฏิบัติในพื้นท่ี รว่ มประชมุ การติดตอ่ ประสานงานในพนื้ ท่ี รวมทัง้ สามารถวิเคราะห์ภาพรวม เครอื ข่าย ในการขับเคล่ือนงานดา้ นยาเสพติดระหวา่ งหน่วยงาน เครอื ข่าย ในเวทีต่าง ๆ พฒั นาหลักสูตรของหน่วยงานตนเอง การจดั อบรม ของปัญหาเชิงยุทธศาสตรไ์ ด้ มากขึน้ สมั มนา สรา้ งการรบั รู้ทถ่ี ูกต้องใหก้ ับหน่วยงานต่าง ๆ และ ประชาชน ฯลฯ ๒. การพัฒนา เปิดมมุ มองการพัฒนาความคิดดา้ นป้องกัน ปราบปราม และบริหาร ๔. ประสงคใ์ หผ้ ู้บังคบั บญั ชาสนบั สนุนเรอื่ งใด เพือ่ ส่งเสรมิ ให้สามารถ ๕. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ความรูด้ า้ น จัดการยาเสพตดิ มีความเข้าใจการทางานของ ป.ป.ส. มากขนึ้ นาความร้แู ละทกั ษะที่ได้รบั ไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัตงิ านใหส้ ัมฤทธ์ิผล ยาเสพติด ได้เรียนรู้กฎหมายยาเสพติด รูเ้ ทา่ ทันยาเสพติด และสามารถนาความรู้ การปฏิบตั ิงาน สง่ ตอ่ ขอ้ มลู โค้ชชิง่ ให้คาปรกึ ษา การทางานเป็นทีม กิจกรรมหลงั ทบทวนเน้อื หาวิชาการ มีกิจกรรมพบปะต่อเน่ือง ทไี่ ด้รับไปปรบั ใช้ในการเป็นวทิ ยากรยาเสพตดิ ของหนว่ ยงานตนเอง การฝกึ อบรม งานยาเสพตดิ ความชดั เจนระดบั นโยบาย กฎหมาย งานการขา่ ว แจง้ ขอ้ มลู ให้ทราบ เพอื่ เตรียมความพร้อม ๓. ภาคี รจู้ ักเพ่อื นร่วมงานท้งั ภายในและระหวา่ งหน่วยงาน สามารถ ภาคเี ครอื ข่าย สมั มนา และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหว่างหน่วยงาน การฝกึ อบรม เชน่ อปุ กรณ์ เครื่องมอื ท่ีจาเปน็ ตอ้ งใช้ เครอื ขา่ ย ประสานงาน ชว่ ยเหลอื กนั ทัง้ เรือ่ งงานและส่วนตวั รวมทั้งไดร้ บั ในช่วง COVID-19 ขา่ วสารดา้ นยาเสพติดที่ update จากเครือขา่ ย สานักงาน ป.ป.ส. ฝกึ อบรมและพัฒนา ฝึกอบรมและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง ศกึ ษาดงู าน ภาษา ผ่านกลุ่มไลน์ Facebook การพฒั นาหลกั สตู ร กิจกรรมวิชาการสลบั สนั ทนาการ พัฒนา อื่น ๆ งบประมาณ คุณภาพชวี ติ อัตรากาลัง เทคโนโลยี หลกั สูตรใหม่ ๆ ๔. พัฒนา สรา้ งภาวะผู้นาให้ตนเอง สามารถนาเทคนิควิธีการต่างๆ มาปรบั ใชก้ บั โควตาการฝึกอบรม จดั หลกั สตู รระดับต่อไปใหต้ ่อเนื่อง ทกั ษะภาวะ ผู้รว่ มงาน และให้คาปรกึ ษาทมี งาน ไดแ้ ลกเปล่ียนประสบการณ์ และพัฒนาในระดับสงู เพิ่มโควตาหน่วยภาคี ผนู้ าตนเอง ระหวา่ งเพอ่ื นร่วมงาน รวมท้ังนาเทคนิคการสอ่ื สารและพิชชิ่งมาปรบั และทมี งาน ใช้ในการประเมินเพื่อเลอื่ นระดบั 24ส่วนพฒั นาบคุ ลากรดา้ นบรหิ าร สถาบนั พัฒนาบุคลากรดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด สานกั งาน ป.ป.ส.

รายงานการติดตามประเมนิ ผลการฝกึ อบรม หลกั สตู ร นักบรหิ ารงานปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดระดับต้น (นบต.) รุน่ ท่ี ๑๔ ระหวา่ งวันพุธท่ี ๑๔ กรกฎาคม - วนั พฤหัสบดที ่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ณ สานกั งาน ป.ป.ส. พื้นท่ศี กึ ษาดูงานภาคใต้และภาคเหนือ/การฝึกอบรมออนไลน์ผ่านส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ สว่ นที่ ๒ ผบู้ ังคบั บัญชาชัน้ ต้นของผผู้ า่ นการฝึกอบรม ๗. หลงั จากเข้ารับการฝกึ อบรม ความร้ทู ่ไี ด้รบั สามารถ ๙. ผลท่เี กิดข้ึนกบั หนว่ ยงาน หลังจากนาความรูท้ ไี่ ดร้ บั ไปปรับใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน ชว่ ยทาใหผ้ ู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบตั ิงานดขี นึ้ หรอื ไม่ มผี ้ตู อบแบบประเมินโครงการฯ จานวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐ ด้าน รายละเอียด กระบวนการคดิ และการพัฒนางานทรี่ ับผิดชอบ ตารางแสดง ความคดิ เหน็ ของผู้บังคบั บัญชาชน้ั ตน้ เก่ียวกบั การนา ปฏบิ ัติงานดีขึ้น มกี ระบวนการคิด ทางานเป็นระบบ บคุ ลากรมที ักษะในการบริหารจัดการโครงการและกิจกรรม มเี หตผุ ลและข้อมลู รองรับ ทาใหก้ ารดาเนินงานบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ หนว่ ยงานไดร้ บั ความร้ทู ีไ่ ด้รับ จากการฝึกอบรมไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งเป็นรปู ธรรม มีมมุ มองทน่ี อกเหนอื จากสายงานทีป่ ฏบิ ัตติ ามหนา้ ท่ี ความเชอื่ ม่นั เพิม่ มากขึ้น พฒั นาความรูแ้ ละขีดความสามารถ ของบคุ ลากรในการปฏิบัตงิ านในหน้าท่ี บุคลากรในระดบั พื้นที่ ประเดน็ จานวน ระดับความ การ สามารถวางแผนกการทางานไดร้ วดเรว็ มีประสิทธภิ าพ ภายใน มคี วามรู้ ความเข้าใจกระบวนการทางานมากขนึ้ สามารถ (คน) พึงพอใจ ปฏบิ ัตงิ าน หนว่ ยงาน ปฏิบตั งิ านได้ตามแผนและเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นไปตาม มคี วามมน่ั ใจ และคดิ ตดั สนิ ใจได้ดขี ้ึน แผนและตัวช้ีวัดได้ รวมทัง้ สามารถขยายผลยึดทรพั ย์ไดเ้ พิม่ ข้ึน 1. ผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชามีการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการทางาน 35 4.49 2. ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชามกี ารถา่ ยทอดความรู้ให้กบั บคุ ลากร 35 4.34 ในหนว่ ยงาน 35 4.31 มีการขบั เคล่อื นการดาเนนิ งานดา้ นยาเสพติดตามนโยบายท่ี 3. ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชามกี ารใหค้ าแนะนา/ใหค้ าปรึกษา กาหนดไว้ ทาใหห้ นว่ ยงานภายนอกให้การยอมรับ เช่ือมั่นใน การปฏบิ ัติงาน สามารถสะท้อนมุมมองใหม่ในสถานการณ์ หากมีปญั หาเกี่ยวกับเรื่องทฝ่ี กึ อบรม ๘. ตวั อย่างงาน/โครงการ ทผี่ ู้ใตบ้ ังคับบัญชาไดน้ าความรู้ไปถ่ายทอด/ไปใช้ ภาคี ปจั จบุ นั เพอ่ื แสนอแนะแนวทางการดาเนนิ งานให้มีประสิทธิภาพ เครือขา่ ย มากยิง่ ขน้ึ 4. ผู้ใตบ้ ังคับบัญชามีความสามารถในการพฒั นางานท่รี ับผิดชอบ 35 4.60 5. ผใู้ ต้บังคับบญั ชามีการนาผลการฝกึ อบรมไปประยุกต์ 35 4.60 มาตรการปราบปราม กลน่ั กรองคดี สบื สวนขยายผล ยดึ /อายัดและบริหาร และบงั คบั ใชก้ ฎหมาย จัดการทรัพย์สิน รา่ งกฎหมาย และบรหิ ารจดั การโครงการ ใชก้ ับการปฏบิ ตั ิงานจริง ความคิดเหน็ ภาพรวม 35 4.47 มาตรการในการ กิจกรรมสร้างการมสี ่วนรว่ ม ขบั เคลอ่ื นกองทนุ แมข่ อง ๑๐. ตอ้ งการส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม พฒั นาองคค์ วามรู้ เพ่ิมเตมิ ในดา้ นใด ปอ้ งกนั ยาเสพติด แผน่ ดิน พัฒนาศักยภาพผูน้ า ตรวจหาสารเสพตดิ และ ๖. ผใู้ ต้บังคับบัญชาของท่านสามารถนาความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน เป็นวทิ ยากรอบรมความร้ยู าเสพตดิ การจดั ทายุทธศาสตร์ จดั ทายุทธศาสตร์ พัฒนาองคก์ ร จัดทาแผน งบประมาณ มาตรการบาบัดรักษา องคค์ วามรยู้ าเสพติด ดา้ น รายละเอยี ด โครงการบาบัดรกั ษายาเสพติดโดยชุมชน ความรู้ กฎหมายยาเสพติด ทีมปฏิบัตกิ ารปดิ ล้อมจับกมุ มาตรการความร่วมมอื ทักษะในการ การจดั ทาหลักฐาน การดาเนินการกบั ทรัพยส์ นิ วิเคราะห์ เพิ่ม สามารถวิเคราะหส์ ถานการณ์ยาเสพติด จัดทานโยบายและแผน ระหวา่ งประเทศ การประสานงานดา้ นต่างประเทศ ปฏบิ ตั งิ าน ทรพั ยส์ ินคดียาเสพติด การจบั กุม ณ ทเ่ี กดิ เหตุ ประสิทธิภาพ ระดบั ชาติ แปลงนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ วางแผนการทางานอย่าง เป็นระบบ วเิ คราะหง์ าน บรหิ ารเวลา กากับทีมงาน ประสานงาน มาตรการบรหิ าร การจัดทานโยบายและแผนระดบั ชาติ ปี 2566-2570 ทกั ษะการตัดสนิ ใจ การเจรจาต่อรอง การประสานงาน และ ในการ บริหารแผนงาน/โครงการ รวมทง้ั กากบั ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน จัดการอยา่ ง บรหิ ารแผนและงบประมาณ วเิ คราะหข์ อ้ มลู และการ การจัดการเชงิ กลยทุ ธ์ การคิดเชิงระบบ ภาวะผูน้ า การสอน ปฏิบตั ิงาน และการเปน็ วทิ ยากร บูรณาการ นาไปใชพ้ ฒั นางานทุกมาตรการ การวจิ ัยด้านยาเสพตดิ งาน การจดและเขียนรายงาน ทกั ษะการนาเสนอ การเป็น การทางานเป็นทมี วิทยากร วทิ ยากรกระบวนการ และการสืบสวนอาชญากรรม ภาคี ประสานงานข้อมูล/พ้นื ที่ มีมมุ มองแนวคิด วางแผนการทางาน ทางเทคโนโลยี เครือข่าย รณรงค์ประชาสมั พันธ์ดา้ นยาเสพตดิ 24สว่ นพฒั นาบคุ ลากรดา้ นบรหิ าร สถาบนั พฒั นาบุคลากรด้านการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ สานักงาน ป.ป.ส.

๑ สรปุ รายงานการติดตามประเมินผลการฝกึ อบรม หลักสตู ร นักบรหิ ารงานป้องกนั และปราบปรามยาเสพติดระดับตน้ รุ่นท่ี 14 ระหว่างวันพุธท่ี ๑๔ กรกฎาคม - วนั พฤหสั บดีที่ 7 ตลุ าคม 2564 ณ สานักงาน ป.ป.ส. พ้ืนท่ศี ึกษาดงู านภาคใต้และภาคเหนอื /การฝกึ อบรมออนไลน์ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ๑. วัตถุประสงค์ ๑.๑ เพื่อสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับ การฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดระดับต้น รุ่นที่ 14 ในการนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของ ผู้ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตร ดังกล่าว ๑.๒ เพื่อสอบถามความคิดเห็นผู้บังคับบัญชาของผผู้ ่านการฝึกอบรมหลักสูตร เก่ยี วกับการนาความรู้ท่ีได้รับ จากการฝึกอบรมไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ รูปธรรม ๑.๓ เพื่อนาข้อมูลการติดตามประเมินผลการฝึกอบรมฯ ไปใช้ปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และวางแผนพัฒนาผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขนึ้ ๒. เปา้ หมายผู้ประเมนิ ๑. ผผู้ า่ นการฝึกอบรมประเมินตนเอง ๒. ผบู้ งั คับบญั ชาชั้นตน้ ของผู้ผา่ นการฝึกอบรม ๓. ผู้ผา่ นการฝกึ อบรม จานวน ๕๐ คน ประกอบด้วย ๓.๑ ข้าราชการสานักงาน ป.ป.ส. ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการ จาก ๒๐ กอง/สานกั จานวน ๓๖ คน ๓.๒ ข้าราชการหน่วยงานภาคีที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จาก ๙ หน่วยงาน จานวน ๑๔ คน ได้แก่ กองทัพบก กรมการพัฒนาชุมชน กรมคุมประพฤติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน กรมการแพทย์ กองบัญชาการตารวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.) สานักงานป้องกันและปรามปราม การฟอกเงิน (สานักงาน ปปง.) และสมาคมธนาคารไทย 4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผู้ตอบแบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้ผ่านการฝึกอบรม และ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ของผู้ผ่านการฝึกอบรม โดยส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ได้มีหนังสือถึงกอง/สานัก และหน่วยงานของผู้ผ่านการฝึกอบรม โดยแนบ QR - Code แบบรายงาน การติดตามประเมินผลการฝึกอบรมฯ เพ่ือให้ผู้ผ่านการฝึกอบรม ซ่ึงเป็นผู้แทนของแต่ละหน่วยงานดาเนินการ ทาแบบประเมิน เพ่ือให้ทราบถึง ความคิดเห็นผู้ผ่านการฝึกอบรม และผู้บังคับบัญชาช้ันต้นของผู้ผ่านการฝึกอบรม ในการนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานจริง โดยผู้จัดโครงการ จะนาความคิดเห็นของ ผู้ประเมินเป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และวางแผนพัฒนาผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ 5. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู จานวนผตู้ อบแบบประเมนิ แบง่ เปน็ ๑) ผู้ผ่านการฝึกอบรมประเมินตนเอง จานวน 50 คน มีผู้ตอบแบบประเมินโครงการฯ จานวน ๕๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ 2) ผู้บังคับบัญชาช้ันต้นของผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 50 คน มีผู้ตอบแบบประเมินโครงการฯ จานวน 35 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๗๐ สามารถสรุปตามหัวข้อการประเมินได้ ดงั นี้

๒ ส่วนที่ 1 สาหรับผผู้ ่านการฝึกอบรม 1. ประโยชน์และสามารถนาความร/ู้ ทกั ษะ ท่ีไดร้ ับจากการฝกึ อบรมไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน \"ตอ่ ตนเอง\" ดา้ น รายละเอียด 1. การพฒั นางาน 1. นาองคค์ วามรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาพัฒนาตนเอง ตอ่ ยอดในการทางาน พฒั นาการทางาน เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตหิ น้าท่ี 2. ปรบั ระบบการทางานตามภารกจิ หน้าท่ี วางแผนการทางานให้ทนั เวลา และเปน็ ระบบมากข้ึน 3. นาเทคนคิ การสรุปงานให้ไดใ้ จความสาคญั และกระชับ มาใช้สาหรับการจัดทารายงาน ใหเ้ ข้าใจงา่ ยให้ไดป้ ระสิทธิภาพ เพอ่ื นาเสนอผูบ้ รหิ าร 4. ได้รบั ประโยชนท์ ง้ั ดา้ นทฤษฎแี ละทักษะตา่ ง ๆ ทีส่ ามารถนาไปปรับใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน ทงั้ ภายในหนว่ ยงาน และการประสานงานกับหนว่ ยงานภายนอกไดด้ ขี นึ้ 5. นาความรูท้ ีไ่ ดร้ ับมาใชใ้ นการประมวลผลข้อมูล เพื่อเสนอผบู้ งั คับบญั ชาพิจารณา ประกอบการตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 6. การจัดลาดับความสาคัญของงาน 7. สามารถนาความรู้ที่ไดจ้ ากการอบรมมาปรบั ใชไ้ ด้ทกุ รายวชิ า เช่น เทคนคิ การสอ่ื สาร เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการตดิ ตอ่ ประสานงานในพนื้ ท่ี 8. แนวคดิ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ นาไปสู่การพัฒนาการทางาน การติดตอ่ สือ่ สาร การประสานงานให้รอบด้านในการจดั ทาแผนการทางานใหด้ ีย่ิงขน้ึ 9. นาความรดู้ ้านกฎหมายทีแ่ ก้ไขปรับปรุงใหม่ มาปรบั ใชก้ บั การปฏิบตั หิ นา้ ท่ี 10. พฒั นาการบริหารจดั การงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายใหม้ ีประสิทธภิ าพ 11. บรหิ ารจดั การ/วางแผนในคดีตรวจสอบทรัพย์สิน การวางรปู คดีตรวจสอบทรัพย์สิน การจดั การข้อมลู ท่เี กยี่ วขอ้ งในงานตรวจสอบทรพั ยส์ ิน การบริหารความเสยี่ งที่อาจ เกดิ ข้ึนในการทาคดี การประสานงานและการสง่ ตอ่ ข้อมูล 12. สามารถนาความรู้ ทักษะ ตลอดจนเทคนิคมาปรับใชใ้ นการปฏิบัตงิ านไดจ้ ริง ทาใหเ้ กิด ความคนุ้ เคยในการใชอ้ ปุ กรณ์ แอปพลเิ คช่นั หรอื โปรแกรมตา่ ง ๆ เพอ่ื วิเคราะหข์ อ้ มูล จัดทาผลงานเพ่ือนาเสนอผ้บู งั คบั บัญชา 13. นาไปวิเคราะหภ์ าพรวมของปัญหาเชิงยุทธศาสตร์ 14. นาความรดู้ ้านการบรหิ ารงานอยา่ งมีสว่ นรว่ มมาใช้ 2. การพัฒนา 1. มคี วามรรู้ ะเบียบ กฎหมายด้านยาเสพตดิ ทีอ่ อกมาใหม่ นาไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ความรดู้ า้ น 2. เปดิ มมุ มองการพฒั นาความคดิ ดา้ นการป้องกัน ปราบปราม และการบรหิ ารจัดการ ยาเสพตดิ ด้านต่าง ๆ ของสานักงาน ป.ป.ส. 3. มีความเขา้ ใจการทางานของ สานักงาน ป.ป.ส. และกฎหมายยาเสพตดิ 4. ได้รับความรู้เกย่ี วกับหวั ขอ้ ด้านยาเสพตดิ เพ่มิ ขึ้น ทาให้สามารถสือ่ สารและถ่ายทอด ให้คนอื่นได้ทราบถึงนโยบายยาเสพติด กฎหมายยาเสพติดที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน 5. ไดพ้ ฒั นาตนเองในดา้ นการร้เู ทา่ ทันยาเสพตดิ

๓ ดา้ น รายละเอยี ด 2. การพฒั นา 6. ใชใ้ นการเปน็ วทิ ยากรฝกึ อบรม เร่ืองยาเสพติดให้ทหารกองประจาการและนกั เรียนนายสิบ ความรู้ดา้ น เหลา่ ทหารสารวัตร ยาเสพตดิ (ต่อ) 7. มคี วามคดิ ริเรมิ่ ในการพัฒนางานด้านลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด ในสงั กดั โดยจัดโครงการ สรา้ งจติ สานึกเยาวชนไทยหา่ งไกลยาเสพตดิ ด้วยกจิ กรรมสัญลักษณ์ลูกเสือผา่ นส่ือ สังคมออนไลน์ (Social Media) 8. เขา้ ใจสภาพปัญหาของการดาเนนิ การด้านปราบปรามยาเสพตดิ และสถานการณ์ตา่ ง ๆ ดยี ิง่ ขน้ึ จากการไปศึกษาดูงานในพืน้ ท่ี 3. ภาคีเครือขา่ ย 1. ไดร้ ู้จักเพ่ือนร่วมงานจากสานกั ตา่ ง ๆ ในสานกั งาน ป.ป.ส. และระหวา่ งหนว่ ยงาน ทาใหส้ ามารถประสานงานได้คล่องตวั มีประสทิ ธิภาพ 2. การใช้ทักษะในการประสานงานและสร้างเครอื ขา่ ยในการปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หน่วยงานอน่ื 3. การมเี ครือข่ายการดาเนินงานปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด ส่งผลใหส้ ามารถ ประสานงานได้ง่ายและราบรืน่ ยิง่ ข้นึ 4. สร้างเครือข่ายระหวา่ งหนว่ ยงานและความร่วมมือดา้ นการป้องกนั ยาเสพตดิ มกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานช่วยเหลอื กนั ทง้ั ในเรอื่ งสว่ นตัวและเรอ่ื งงาน 5. ได้รับข่าวสารจากเครือข่าย สานักงาน ป.ป.ส. ผา่ นกลุ่มไลน์กลุม่ facebook ได้ update ข้อมลู ตา่ ง ๆ และสง่ ตอ่ ให้หน่วยงานในเรอ่ื งที่เกีย่ วขอ้ ง 4. พัฒนาทักษะ 1. ความมนั่ ใจในตนเอง มีภาวะผู้นามากขน้ึ ภาวะผ้นู า ตนเอง 2. มีความรอบรู้รอบดา้ นเพ่ิมมากขนึ้ ในการเป็นหวั หน้ากลุม่ งาน สามารถให้คาปรกึ ษาทีม และทีมงาน ทางานได้ 3. นาความรเู้ รอ่ื งเทคนิคการส่อื สารและการพชิ ช่งิ มาใช้ในการประเมินเพ่อื เลื่อนระดับ 4. ได้รบั แนวคดิ ในการจัดสรรทรัพยากร ลาดับความสาคัญ รู้จกั ปรึกษาหารอื หลักคดิ และแลกเปลยี่ นประสบการณร์ ะหวา่ งเพอ่ื นร่วมงาน 5. พฒั นาตนเองในด้านการบริหารจดั การต่าง ๆ 6. เพิ่มพูนความร้กู ารทางานเป็นทีม 7. ปรับการบริหารเจ้าหน้าท่ภี ายในสว่ นงาน ให้เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจ 8. รู้จักวธิ ีการสร้างภาวะผ้นู าให้ตนเอง การนาเทคนิควิธีการตา่ ง ๆ มาปรับใชก้ ับผู้รว่ มงาน การนาความร้ตู า่ ง ๆ มาปรับใช้ในการบริหารงานของตนเองและในหนว่ ยงาน 9. สามารถนาทักษะและความรู้ ทไ่ี ดร้ ับจากการการฝกึ อบรมในหลกั สูตร ไปปรับใช้ ในชีวิตประจาวัน เช่น การพฒั นาตนเอง

๔ 2. ประโยชน์และสามารถนาความรู้/ทกั ษะ ทีไ่ ดร้ ับจากการฝึกอบรมไปปรับใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน \"ต่อหนว่ ยงาน\" ดา้ น รายละเอยี ด 1. การพัฒนางาน 1. พฒั นากระบวนการทางานใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากข้นึ ในหนว่ ยงาน 2. มีการวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบมากขน้ึ 3. แนวคดิ และประสบการณ์ใชใ้ นการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทางานใน สานกั งาน ป.ป.ส. 4. การไดร้ บั ความไว้วางใจจากผ้บู งั คบั บัญชา มอบหมายงานที่มคี วามทา้ ทาย ไดร้ ับการมอบหมายใหเ้ ขา้ ร่วมประชมุ เพื่อแสดงความคดิ เหน็ แกห่ นว่ ยงานภายนอก 5. นานโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ นาทกั ษะทางการบริหาร บทบาทหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบในงาน ตลอดจนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 6. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทางานด้านการตรวจสอบทรัพยส์ ิน นามาใชใ้ นการแบ่งหนา้ ที่ ในงานตรวจสอบทรัพยส์ ิน ทาใหส้ ามารถวางแผนการทางานได้อย่างเป็นระบบ 7. นาความรู้ท่ไี ด้ไปแลกเปลยี่ น ถา่ ยทอดความรใู้ ห้กับเจ้าหนา้ ทแ่ี ละเยาวชนในหน่วยงาน กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน 8. นาความรู้เกยี่ วกบั กฎหมายยาเสพตดิ มาอธบิ ายแก่ผปู้ ฏบิ ัติงานในสานักงานใหเ้ กิด ความร้คู วามเขา้ ใจ และบรรยายใหค้ วามรู้กบั ผู้ถกู คมุ ความประพฤติ และการนาความรู้ เรอ่ื งการอานวยการในพื้นท่มี าปรับใชก้ บั การทางานคุมประพฤตเิ ชิงพน้ื ท่ี 9. นามาประยกุ ต์ในการปฏบิ ตั งิ านทีร่ ับผิดชอบ ในการดูแลนักเรบี น การจัดทาโครงการ สร้างจติ สานกึ เยาวชนไทยห่างไกลยาเสพตดิ ดว้ ยกิจกรรมสญั ลักษณ์ลูกเสอื ผ่าน ส่ือสงั คมออนไลน์ (Social Media) 2. ภาคีเครือข่าย 1. ทาใหม้ ีการบูรณาการระหว่างหนว่ ยงานเพม่ิ มากขึน้ 2. การสรา้ งเครอื ขา่ ยระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งในงานตรวจสอบทรพั ย์สิน การแลกเปลย่ี น ข้อมลู ขา่ วสารทจ่ี าเปน็ การวิเคราะห์ข้อมลู องค์รวมดา้ นการปราบปรามยาเสพตดิ 3. ใชใ้ นการขับเคลือ่ นการทางานการดาเนินงานเกี่ยวกับยาเสพตดิ เพ่ือป้องปราม การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ

๕ 3. ยกตัวอยา่ งงาน/โครงการ/กจิ กรรม ที่ได้นาความรู้จากการเขา้ รว่ มฝกึ อบรมไปปรับใชแ้ ละผลทีไ่ ด้รับ ตัวอยา่ งงาน งาน/โครงการ/กจิ กรรม 1. ภายใน 1. การจดั ทานโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ด้วยการป้องกัน ปราบปราม และแกไ้ ขปญั หา หน่วยงาน ยาเสพตดิ (พ.ศ. 2566 - 2570) 2. วเิ คราะห์ข้อมลู การขา่ วในทุกระดบั (ยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร)์ มีการบรู ณาการ สืบสวน สอบสวน และการขา่ ว เพอื่ ขยายผลตรวจยดึ ทรัพย์สนิ อย่างบูรณาการ ระหวา่ ง ส่วนตรวจสอบทรัพย์สนิ ส่วนวิเคราะห์ขา่ วและเฝา้ ระวงั และ ส่วนตรวจสอบทรพั ยส์ นิ และบังคบั โทษปรบั เพือ่ ให้สามารถขยายผลสมคบ ออกหมายจับ เปน็ การเพิม่ ประสทิ ธิภาพ งานยดึ ทรัพย์สนิ เพอ่ื ให้บรรลเุ ปา้ หมาย 10,000 ลา้ นบาทตามนโยบาย 3. นวตั กรรมสร้างการมีสว่ นร่วมในการแจ้งเบาะแสยาเสพติดผา่ นสายด่วน 1386 4. การจดั ทาร่างกฎหมาย โดยจดั ใหก้ ารรบั ฟังผู้เกี่ยวขอ้ ง การจดั ฝึกอบรมความด้านกฎหมาย และการพฒั นาและเชอื่ มโยงขอ้ มูลรองรบั ประมวลกฎหมายใหม่ 5. การบรรยายสรปุ ใหผ้ บู้ รหิ ารรบั ฟังโดยใช้ one page มีประโยชนใ์ นการนาเสนองาน ใหก้ ระชับ เขา้ ใจ ตรงประเดน็ ทาให้สามารถสื่อสารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 6. การพจิ ารณาเสนอคาส่งั ตรวจสอบทรพั ย์สนิ ของผตู้ ้องหา และผู้เก่ยี วขอ้ ง โดยมีผลงาน เป็นที่ประจกั ษ์ สามารถควบคุม และลดเวลาในการทางานได้ /การจดั เตรยี มประชมุ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สนิ 7. การจัดทาหนังสอื แจง้ เวียน ปปส.ภาค ถงึ แนวการดาเนินการบังคับโทษปรับตามประมวล กฎหมายยาเสพตดิ 8. การทางานเปน็ ทมี นามาปรับใช้กบั งานตรวจสอบทรัพย์สนิ ท่ีใช้การแบง่ หน้าทีก่ นั ทาทุกคน ตอ้ งรว่ มมือร่วมใจกนั ทางาน 9. งานสืบสวนขยายผล มกี ารจดั แบง่ หนา้ ทใ่ี นการสืบสวน การรายงาน และการประสานข้อมลู มากขึ้น 10. กิจกรรมการตรวจสอบ ทาใหก้ ารตดิ ต่อประสานงานทั้งกอ่ นและหลังการทางาน เกิดความรู้ ความเข้าใจตรงกันทง้ั ผู้ใหแ้ ละผ้รู บั 11. นามาปรบั ใชใ้ นกิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ การศกึ ษาดูงานภายในหนว่ ยงาน 12. โครงการตวั อย่างท่ีผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมได้นาความรเู้ รื่องการบรหิ ารจัดการงบประมาณ ใชใ้ นการทางานในกิจกรรมในการพัฒนาระบบงานแผนปฏบิ ัติการยาเสพตดิ จังหวัด และ นาความร้เู รื่องการพฒั นาตัวเอง การส่ือสารและการพิชชง่ิ ในการทางานกบั ผรู้ ว่ มงาน ไม่ว่าจะเป็นระดับลา่ ง และระดบั บน 13. นามาปรับใช้ในหลกั สตู ร เจ้าพนกั งาน ป.ป.ส ประเภท 2 รุน่ ที่ 1 - 3 ได้มีการนาหวั ข้อ เน้ือหา และการศกึ ษาดงู านในพืน้ ทีม่ ากาหนดตารางการฝกึ อบรมและการศกึ ษาดูงาน ทาให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ประมวลกฎหมายยาเสพติด มีประสบการณ์ได้ศกึ ษาเส้นทางการลาเลยี งยาเสพติด ศึกษาภมู ปิ ระเทศในพน้ื ที่ และ ร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ แมจ้ ะอยใู่ นฐานะผจู้ ัดโครงการก็ได้รับความรู้ ความเข้าใจไปด้วย 14. การตรวจพสิ จู น์ยาเสพตดิ ระบบงานตรวจพสิ จู นเ์ ป็นระบบมากยงิ่ ขึน้ ตรวจไดท้ นั ตามกาหนดระยะเวลา และงานไม่โหลดจนเกนิ ไป อกี ทงั้ นามาพจิ ารณาปรับเรื่อง ระบบคุณภาพของห้องปฏบิ ตั กิ ารให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล

๖ ตัวอย่างงาน งาน/โครงการ/กิจกรรม 2. ภาคีเครอื ขา่ ย 1. การขบั เคล่ือนงานนโยบายไปส่กู ารปฏิบัติในพนื้ ที่ โดยการเป็นตวั แทนหน่วยงานในการร่วม ประชุมในเวทีต่าง ๆ สามารถตอบข้อคาถามตา่ ง ๆ ได้ ทัง้ ในการเข้าร่วมประชุม และการ แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นในเวทปี ระชมุ ระดบั จังหวดั หรอื ระดบั ภาค 2. การประสานงานหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง 3. การลงปฏบิ ัติงานในพน้ื ที่ ไดน้ าความรู้ เชน่ ความรู้เกยี่ วกบั การปลดล็อคกระท่อมและ การสง่ เสรมิ พฒั นาปลูกพืชเศรษฐกจิ ไปใหข้ อ้ มลู รายละเอียดทเี่ กย่ี วข้องในเวทปี ระชุมตา่ ง ๆ ทาใหส้ ามารถ สรา้ งการรับรู้ทถี่ ูกต้องให้กับหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนมากย่งิ ขึ้น 4. นาความรูท้ ่ีได้รบั จากการฝึกอบรม เชน่ การบริหารทีม การทางานแบบมสี ว่ นร่วม การบรหิ ารงานงบประมาณ ความร/ู้ โทษพษิ ภยั ของยาเสพตดิ ฯลฯ มาใชใ้ นการจัดทา โครงการตา่ ง ๆ ในหน่วยงาน และการประสานงานกบั ภาคีเครือขา่ ย เชน่ - การฝึกอบรมพัฒนาศกั ยภาพแกนนาจิตอาสาชุมชนเข้มแข็งปลอดภยั ยาเสพติด ตาบล นาหนองไผ่ อาเภอชุมพลบรุ ี จงั หวัดสุรินทร์ จัดข้นึ ชว่ งเดอื นธันวาคม 2564 จานวน 2 รนุ่ ทาให้ได้เรยี นรู้การบริหารจดั การทีม วทิ ยากร คณะผู้จดั ผเู้ ข้าอบรม สถานท่ี เวลา ได้อย่างเป็นระบบ และประสบความสาเรจ็ ในการดาเนนิ กจิ กรรม และบริหารงบประมาณ ได้อย่างคุม้ ค่า มกี ารต่อยอดกิจกรรมจัดตงั้ ชุดรกั ษาความปลอดภยั ต่อเน่ือง เพอื่ ดแู ลพน้ื ท่ี ทางเลี่ยงยาเสพติด และพื้นที่แพรร่ ะบาดในปี งบประมาณ 2565 ตอ่ เน่อื ง - กิจกรรม การพัฒนาศกั ยภาพผบู้ นั ทึกขอ้ มลู ในระบบสารสนเทศยาเสพติด (NISPA) ในพนื้ ทจ่ี งั หวัดศรีสะเกษ ไดน้ าเทคนิคการทางานสรา้ งความเข้าใจและดงึ ผ้เู ขา้ รับ การฝึกอบรมมามสี ่วนรว่ ม - การนาความรู้เกยี่ วกับการบริหารงานจัดการงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน มาปรบั ใชก้ บั การทางานจริง ทาใหผ้ ลการดาเนินงานของสานกั งาน ในไตรมาสท่ี 2 ผา่ นเกณฑ์ โดยมผี ลการเบกิ จา่ ยเกินคา่ มาตรฐาน 5. โครงการหนว่ ยทหารปลอดยาเสพตดิ จดั อบรมขา้ ราชการ ให้รถู้ งึ ประโยชน์ และโทษของพชื กระทอ่ ม 6. การจัดอบรมสมั มนา โครงการประชุมประสานงานดา้ นการข่าวยาเสพติดของหนว่ ย ปฏิบัติการในสนาม ทาให้เจ้าหน้าที่หน่วย ได้รับความรูแ้ ละเขา้ ใจงานในหน้าท่ี และ ปฏิบตั งิ านได้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ 7. เสนอความเห็นในทป่ี ระชุมใหผ้ ูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาแก้ไขกฎหมายเกย่ี วกับการปอ้ งกัน และปราบปรามการฟอกเงินใหใ้ ชร้ ะบบการยึดทรัพยต์ ามมูลค่า เช่นเดียวกบั ท่ีมใี น ประมวลกฎหมายยาเสพติด 8. นาหลกั สูตรการอบรมฝกึ นกั บริหารระดบั ตน้ ของสานกั งาน ปปง. มาเสนอหนว่ ยงาน เพ่อื พัฒนาหลกั สูตรการฝึกอบรมของ สานกั งาน ปปง. ใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ 9. ไดร้ ่วมงานกบั ปปส.ภาค ระดับพนื้ ที่ในการปดิ ล้อมจับกุมยึดทรพั ย์เครอื ข่ายนกั ค้ายาเสพติด รายใหญ่ในพ้นื ท่ี 10. ใหค้ วามรูเ้ ด็กและเยาวชนในเร่อื งกฎหมายใหม่ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด พืชกระทอ่ ม กัญชา เปน็ คณะทางานพฒั นาศนู ยฝ์ กึ ฯ บาบัดรักษาเดก็ และเยาวชนทเ่ี กีย่ วข้องกับยาเสพตดิ และ จัดกิจกรรมบาบัดเด็กและเยาวชนท่เี กย่ี วขอ้ งกับยาและสารเสพติด ในศนู ยฝ์ ึกฯ สริ ินธร

๗ ด้าน รายละเอยี ด 2. ภาคเี ครอื ขา่ ย 11. ของบประมาณการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด โดยกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ มีการ (ต่อ) เชอ่ื มโยงประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ปี 2564 กบั ภารกจิ ของกรมการพฒั นาชมุ ชน ท่ีเก่ียวกับการพฒั นา และรวมกล่มุ อาชีพ 12. โครงการสบื สวนคดีเครือขา่ ยยาเสพตดิ ในพื้นทจ่ี ังหวดั เชียงราย 13. Harm Reduction center รปู แบบ one stop service ดูแลผูป้ ว่ ยลดอนั ตราย จากการใชย้ าและสารเสพติดแบบรอบด้าน 14. โครงการต่อต้านยาเสพตดิ โรงเรียนสขี าว นักเรียนระมดั ระวังตนเองรกั ษาตนเอง พน้ จากสิ่งเสพติดมากขึ้น 15. โครงการสร้างจิตสานกึ เยาวชนไทยหา่ งไกลยาเสพตดิ ด้วยกจิ กรรมสญั ลักษณล์ กู เสอื ผ่านสื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media) 4. ประสงคใ์ หผ้ บู้ ังคบั บัญชาสนับสนนุ เรอ่ื งใด เพ่ือสง่ เสรมิ ใหส้ ามารถนาความรแู้ ละทักษะท่ีไดร้ ับไปปรับใช้ ในการปฏิบัตงิ านใหส้ มั ฤทธ์ิผล ดา้ น รายละเอียด 1. การปฏบิ ัติงาน 1. สนับสนุนเรื่องการสง่ ตอ่ ขอ้ มูลเพอื่ เป็นฐานในการปฏิบตั ิงาน 2. รับฟังขอ้ เสนอในการปฏิบตั ิงาน การเข้าใจและรบั ฟังปญั หาการดาเนินงานของเจ้าหนา้ ที่ และความพอเพยี งของเจา้ หนา้ ทีภ่ ายในส่วนงาน สนบั สนุนด้านคาปรกึ ษาในการปฏบิ ัติงาน ท่มี คี วามยุ่งยากซับซอ้ น เพ่อื ประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจัดการบุคลากรภายใน 4. สนบั สนุนการทางานเป็นทมี ทุกคนต้องมีความไว้เน้อื เชื่อใจกนั แบ่งหน้าที่ และเสริมสรา้ ง ความสามคั คใี นการทางาน และมกี ารบรู ณาการระหวา่ งกลุม่ ส่วน และสานัก 5. การมอบหมายหน้าท่ีทสี่ าคญั ในการเป็นหวั หนา้ ทีมตรวจสอบ สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดภาวะผนู้ า และการทางานเป็นทมี 6. สนับสนนุ ดา้ นโอกาสในการพฒั นางาน โดยปรับเปลยี่ นแนวคดิ และวิธกี ารทางานรูปแบบ ใหม่ ๆ เพ่อื ใหไ้ ด้ผลลพั ธท์ ดี่ ยี ง่ิ ขึน้ 7. การฝกึ การโค้ชชงิ่ เพ่อื ใชใ้ นการนาเสนอท่ีเข้าใจง่าย น่าสนใจ และใชเ้ วลาท่ีเหมาะสม ในเวทีประชมุ และเวทีการอบรมโครงการตา่ ง ๆ 8. โครงการตัวอยา่ งทผี่ เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมได้นาความรู้ เรื่องการบริหารจดั การงบประมาณ ใชใ้ นการทางานในกิจกรรม การพฒั นาระบบงานแผนปฏบิ ัตกิ ารยาเสพติดจงั หวัด และ นาความรู้เรือ่ ง การพัฒนาตัวเอง การสอ่ื สารและการพิชชงิ่ ในการทางานกบั ผรู้ ว่ มงาน ไม่ว่าจะเป็นระดับล่าง และระดบั บน

๘ ด้าน รายละเอยี ด 2. ภารกิจงาน ดา้ นยาเสพตดิ 1. ให้ผบู้ ังคับบัญชาสนบั สนุนเรื่องรายละเอยี ดและความชัดเจนในระดบั นโยบาย ทนี่ าไปสกู่ ารปฏิบตั ริ ะหวา่ งหนว่ ยงานภาคใี ห้มากขึ้น 3. การประสาน งานกบั ภาคี 2. พจิ ารณาแกไ้ ขกฎหมาย เครอื ข่าย 3. งานการข่าวยาเสพติด 4. อยากใหม้ ีตงั้ สว่ นงานหรือกลมุ่ งานท่ที างานสืบสวนโดยเฉพาะ เพื่อพฒั นานักสืบสวนสอบสวน 4. การฝกึ อบรม และพัฒนา ใหเ้ ปน็ เข้ยี วเลบ็ ของ สานักงาน ป.ป.ส. 5. การประชาสมั พันธ์ใหเ้ กิดการมีสว่ นร่วมในการแจ้งเบาะแสยาเสพติด และจดหมายขา่ ว 5. อืน่ ๆ เผยแพร่ความรใู้ นรปู แบบต่าง ๆ 6. ใหม้ อี ุปกรณ์ที่สามารถตรวจสอบคนทเ่ี สพยาได้ใช้ในสถานศึกษา 1. การประสานความร่วมมอื กบั หน่วยนอก 2. จดั ให้มกี ิจกรรมการสมั มนากบั หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องในพ้นื ท่ี 3. สนับสนุนใหม้ กี ารจดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหว่างผผู้ ่านการฝกึ อบรม นอกจาก การติดตามประเมินผลหลักสตู รฯ 4. ใหโ้ อกาสได้รว่ มโครงการกบั ภาคเี ครือข่ายเพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ และฝกึ ปฏบิ ัติงานจรงิ อยา่ งตอ่ เนื่อง 5. ผลักดันการเชือ่ มโยงฐานขอ้ มูลกบั ศาลยุตธิ รรม และสานักงานอยั การ เพ่อื ทราบระยะเวลา ในกระบวนยุตธิ รรม รวมถงึ สานกั งาน ปปง. เพื่อให้สามารถแลกเปลย่ี นและส่งตอ่ ขอ้ มูล คดไี ดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ 1. สง่ เสรมิ ฝกึ อบรมและพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง และสนับสนนุ เข้ารับการฝึกอบรมท่ตี นเองสนใจ 2. เพม่ิ จานวนผแู้ ทนหน่วยงานในแต่ละหน่วย 3. สนบั สนนุ ให้มกี ารส่งให้เข้ารบั การฝกึ อบรมในหลักสูตรที่สนใจ ไดม้ ากกวา่ 1 โควต้า/หลกั สูตร 4. สนับสนนุ เร่ืองการทางานใหเ้ กิดผลสมั ฤทธต์ิ ามท่ไี ด้รับการฝกึ อบรมมา และพจิ ารณาบทบาท หน้าทข่ี องผ้ผู า่ นการอบรมใหส้ ามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ให้คุ้มค่าที่สุด 5. การศึกษาดงู านการปฏบิ ัติในบางเร่ือง เพ่อื ใหเ้ ห็นภาพชดั เจนข้นึ 6. ทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษ 7. ทักษะนกั เจรจาตอ่ รอง ประสานผลประโยชน์ หรอื พฒั นา Soft Skills 1. สนับสนุนงบประมาณ 2. การส่งเสริมสวัสดิการต่าง ๆ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของขา้ ราชการในสังกัด 3. อัตรากาลงั เทคโนโลยี ปรับสง่ิ แวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั การทางาน และการใชบ้ รกิ าร

๙ 5. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ด้าน รายละเอยี ด 1. กิจกรรมหลัง การฝกึ อบรม 1. ควรจัดให้มกี ารทบทวนเรอื่ งเนอ้ื หาวิชาการ และฝึกปฏิบัตใิ หม้ ากขึน้ 2. หลงั จากฝกึ อบรม ควรจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนอ่ื งอย่างน้อยปลี ะครัง้ เพอ่ื ความสมั พันธ์ 2. การจดั ฝึกอบรมใน และเป็นประโยชน์ในการประสานงานในภายภาคหนา้ ตอ่ ไป ช่วงสถานการณ์ 3. ควรมีการพบปะ ทบทวน พดู คุยถงึ ปญั หาและแลกเปลีย่ นความคดิ หลังจากฝกึ อบรมไปแล้ว COVID - 19 3. การพัฒนา เพื่อนามาปรับแกแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรเป็นระยะ ๆ หลกั สูตร 4. อยากใหก้ ารฝกึ อบรมแต่ละรุน่ มกี ารพบปะ แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั ตามหว้ งเวลา ท่ีเหมาะสม เน่ืองจากการปฏบิ ตั ิงานจาเปน็ ต้องอาศยั connection จากตา่ งหนว่ ยงาน 5. เนือ่ งจากหลักสูตรจัดในชว่ งท่ีมสี ถานการณ์ COVID - 19 ทาใหก้ จิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ เป็นการพบปะผา่ นระบบออนไลน์ ควรมกี ิจกรรมท่ไี ดพ้ บปะกันมากกว่านี้ ซง่ึ กจิ กรรม ที่เป็นงานวิชาการจะมีการแบง่ เป็น 4 กลุม่ ทาใหผ้ ู้เข้าฝกึ อบรมจะสนทิ เฉพาะในกลุ่มตนเอง สว่ นในกลุม่ อนื่ จะมกี ารพดู คยุ กนั นอ้ ย ควรมกี จิ กรรมทีม่ ีการสลบั กลุ่มเพือ่ ให้ทุกคนไดท้ า ความรจู้ กั กันมากขน้ึ 6. การฝึกอบรมภายใต้สถานการณ์โรคระบาดผา่ นระบบออนไลนห์ รอื เว้นระยะห่าง แตบ่ าง หัวข้อวชิ ามคี วามจาเป็นตอ้ งพบปะกัน เชน่ หวั ขอ้ การพัฒนาตนเองและทมี งานทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพ ซ่งึ เปน็ หัวข้อวิชาเรม่ิ แรกของการฝึกอบรม จะทาใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรม มกี ารหลอมรวมกนั ได้มากกว่าผา่ นหนา้ จอออนไลน์ 7. โครงการฝึกอบรม นบต. เปน็ โครงการท่ีดีช่วยให้เกิดความร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานภาคี สร้างสายสัมพันธ์ทด่ี ีต่อกนั สรา้ งภาพลกั ษณ์ Smart ONCB ใหห้ น่วยงานภาคีต่าง ๆ ทราบ ขอเสนอใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ เปา้ หมายดงั กล่าว เชน่ งานเล้ยี งสงั สรรค์ กจิ กรรมกีฬา หรือกจิ กรรมสันทนาการอนื่ ทเ่ี หน็ วา่ เหมาะสม ข้อจากดั สถานการณ์ COVID - 19 เนื่องจากการฝกึ อบรมทผ่ี า่ นมา เปน็ การฝึกอบรมทีอ่ ยู่ ในช่วงสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นการอบรม แบบออนไลน์เป็นส่วนใหญ่ ทาให้บางคร้ังเกิดปัญหา บ้างในช่วงแรก โดยก่อนการจัดฝึกอบรม ควรแจ้งผู้เข้ารบั การฝึกอบรมใหท้ ราบถึงเครอื่ งมือท่ีใช้ และเตรยี มตวั ให้พรอ้ ม เพื่อจะไมไ่ ด้เป็นการเสยี เวลาในการเรียน การประสานเรื่องความสัมพันธ์ ของกลุม่ งานเพ่ือตอ่ ยอดการปฏิบัติงาน 1. ควรมีหลกั สูตรการพัฒนาบคุ ลากรของหน่วยงาน ให้พฒั นาดา้ นการพดู บคุ ลิกภาพ และ หลกั สูตรกิจกรรมในแตล่ ะวัน ควรมภี าควชิ าการ ไม่เกนิ 4 ชม. ต่อวัน สลับกับกจิ กรรม สันทนาการ การเรยี นรยู้ าเสพติดชนิดใหม่ และการสอดแทรกเรอ่ื งกฎหมาย/นโยบาย ใหม้ วี ิทยากรเฉพาะกจิ 2. ควรไดร้ บั การพฒั นา และอบรม ในหลกั สูตรใหมๆ่ เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทเี่ ท่าทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง 3. ใหม้ ีการศกึ ษาดูงานตา่ งประเทศดว้ ย

๑๐ ด้าน รายละเอียด 4. โควตา้ การ 1. ควรจัดหลักสูตรในระดับต่อไปให้มคี วามต่อเนื่อง เพ่อื นาความรแู้ ละประสบการณ์ใน ฝกึ อบรม และการ การนาไปใชใ้ นการพฒั นา ป.ป.ส. ต่อไป พัฒนาในระดับสูง ขึ้นไป 2. ตอ้ งการให้ ป.ป.ส. มกี ารจัดอบรมพฒั นาบคุ คลท่เี ข้ารับการฝึกอบรมในระดบั ทส่ี ูงขนึ้ เพือ่ เปน็ การพัฒนาอย่างรอบด้าน 3. ควรมกี ารเขา้ รับการฝกึ อบรมบริหารจดั การ และสร้างเครือขา่ ยสาหรบั ผู้บรหิ าร 4. ควรเพิ่มโควตาทนี่ ง่ั เพิม่ ขน้ึ ใหก้ ับหน่วยงานภาคี - เนื่องจากหนว่ ยงาน มภี ารกจิ ในการปฏบิ ัตงิ านในพนื้ ทร่ี ะวงั ปอ้ งกันโดยรอบประเทศ ท้ังดา้ นเมียนมา, สปป.ลาว, กมั พูชา และมาเลเซยี เน่ืองจากหน่วยได้วางกาลงั และจดั ตัง้ ตัวแทนแหล่งข่าวอยใู่ นพนื้ ทภี่ ายนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพืน้ ที่อทิ ธพิ ลของ ชนกลุ่มน้อยในเมียนมา ซ่งึ เปน็ แหล่งผลติ ยาเสพติดโดยตรงอยแู่ ล้ว หากหน่วยได้รบั จานวน การสง่ ผแู้ ทนเขา้ รว่ มรบั การฝึกอบรมในทกุ หลกั สตู รของ ป.ป.ส. จะทาใหจ้ นท. มีความรู้ ท่ีจะนาไปพฒั นาและประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ไป ทั้งยังเป็นการเสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธ์ อันดรี ะหว่างองคก์ รดว้ ย - ควรใหเ้ จา้ หน้าทใ่ี นหน่วยงานภาคมี โี อกาสเข้ารว่ มพฒั นาบคุ ลากรในหลกั สตู รตอ่ ๆ ไป เพราะสามารถนาความรู้มาใชป้ ระโยชนต์ อ่ ตัวผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมและหน่วยงานได้จริง

๑๑ สว่ นท่ี 2 สาหรับผบู้ ังคบั บญั ชาชัน้ ตน้ ของผู้ผ่านการฝึกอบรม เกณฑ์ประเมินผล ⬧ เกณฑ์ในการแปลความหมายคา่ เฉลย่ี เลขคณติ กรณี Rating Scale ๕ ระดับ ชว่ งคะแนน ความหมาย ๑.๐๐ - ๑.๘๐ นอ้ ยท่ีสุด ๑.๘๑ - ๒.๖๐ นอ้ ย ๒.๖๑ - ๓.๔๐ ๓.๔๑ - ๔.๒๐ ปานกลาง ๔.๒๑ - ๕.๐๐ มาก มากทส่ี ดุ ตาราง แสดงความคิดเหน็ ของผ้บู ังคบั บญั ชาช้นั ตน้ เกย่ี วกับการนาความร้ทู ่ีไดร้ ับ จากการฝกึ อบรม ไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเป็นรูปธรรม ของผผู้ า่ นการฝึกอบรม ประเดน็ จานวน ระดบั ความ (คน) พงึ พอใจ 1. ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางาน 35 4.49 2. ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชามกี ารถา่ ยทอดความรใู้ หก้ บั บุคลากรในหน่วยงาน 35 4.34 3. ผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชามีการให้คาแนะนา/ให้คาปรึกษาหากมีปญั หา 35 4.31 เก่ยี วกบั เรื่องทฝี่ กึ อบรม 35 4.60 4. ผูใ้ ตบ้ งั คับบญั ชามคี วามสามารถในการพัฒนางานที่รบั ผิดชอบ 35 4.60 5. ผู้ใต้บังคับบญั ชามีการนาผลการฝึกอบรมไปประยกุ ต์ใช้กับ 35 4.47 การปฏบิ ตั งิ านจรงิ ความคิดเหน็ ภาพรวม จากตาราง ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของผู้ผ่านการฝึกอบรม มีความคิดเห็นเก่ียวกับการนาความรู้ท่ีได้รับ จากการฝึกอบรมไปใชป้ ระโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมโดยภาพรวมในระดบั มากท่ีสดุ เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ โดยเรียงตามลาดับ พบว่า ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของผู้ผ่านการฝึกอบรม มีความเห็นว่าผู้ใต้บังคับบัญชามีความสามารถในการพัฒนางานที่รับผิดชอบ และมีการนาผลการฝึกอบรม ไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริง อยู่ในระดับมากท่ีสุด (4.60) รองลงมา คือ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของ ผู้ผ่านการฝึกอบรม มีความเห็นว่า ผู้ใต้บังคับบัญชามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางาน อยู่ในระดับ มากที่สุด (4.49) ผู้ใต้บังคับบัญชามีการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (4.34) และผู้ใต้บังคับบัญชามีการให้คาแนะนา/ให้คาปรึกษาหากมีปัญหา เกี่ยวกับเรื่องท่ีฝึกอบรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (4.31) ตามลาดบั

๑๒ 6. ผใู้ ต้บงั คบั บัญชาของท่านสามารถนาความรูท้ ี่ไดร้ ับไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน ด้าน รายละเอยี ด 1. เพ่ิม 1. วเิ คราะหส์ ถานการณข์ องยาเสพติดไดด้ ี ประสทิ ธภิ าพใน 2. เตรยี มขอ้ มูลในการนาเสนอทป่ี ระชมุ ศอ.ปส.จ. การปฏิบตั ิงาน 3. สามารถนามาปรับใชใ้ นภารกจิ งานประจา และงานที่ไดร้ ับมอบหมายไดด้ ี 4. การทางานเป็นทมี คิดวางแผนทางานเป็นระบบ 5. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนมีการนารูปแบบการฝกึ อบรมมาปรับใช้ในทางานได้เป็นอยา่ งดี 6. วเิ คราะหง์ าน บริหารเวลา กากับทีมพฒั นาระบบไดด้ ี 7. แก้ไขบาบัดฟ้ืนฟเู ยาวชนท่เี ก่ยี วข้องกับยาเสพติด 8. จดั ทานโยบายและแผนระดบั ชาติ แปลงนโยบายสู่การปฏิบตั ิ ติดตามผลการดาเนินงาน 9. มอบหมายงานใหผ้ ู้ใตบ้ ังคบั บัญชา 10. สามารถนามาประกอบการพจิ ารณาดาเนินการในการทางานและนามาประยุกต์ใช้ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้เปน็ อย่างดมี คี วามถกู ตอ้ งชัดเจนมีเหตุผลรองรบั ไดม้ ากยงิ่ ขึน้ 11. การตดั สนิ ใจ 12. การบริหารแผนงาน/โครงการ ติดตาม/กากบั ผลการดาเนนิ งาน ตวั ช้ีวัดของ สานกั งานฯ และตวั ชว้ี ดั รายบุคคล ประสานงานหนว่ ยงานภายใน - ภายนอก 13. การเป็นวทิ ยากร การสบื สวนปราบปราม การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในนโยบาย และแนวทางดา้ นยาเสพติด การปรับประยุกตง์ านใหเ้ ขา้ กับบริบทของพน้ื ที่ 2. การ 1. ประสานงาน วางแผนการทางาน อยา่ งเปน็ ระบบ ประสานงาน 2. การรณรงค์ประชาสัมพันธด์ า้ นยาเสพติด ภาคีเครือข่าย 3. สามารถนาความรทู้ ไ่ี ดม้ าประสานงานในพ้ืนท่ไี ด้เป็นอย่างดี 4. การขับเคล่ือนงานดา้ นต่าง ๆ ใหก้ บั หนว่ ยงาน/องคก์ รทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 5. มมี ุมมองแนวคดิ ในภาพกว้าง ครอบคลมุ ประเด็นของการทางาน รวมถึงมีเครือข่าย ในการประสานขอ้ มลู

๑๓ 7. หลังจากเข้ารับการฝึกอบรม ความรู้ท่ีได้รบั สามารถช่วยทาให้ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาปฏบิ ัตงิ านดีข้นึ หรือไม่ ดา้ น รายละเอยี ด การปฏบิ ัตงิ าน 1. ปฏิบัติงานดขี ้นึ กระบวนการคดิ และการพฒั นางานที่รบั ผดิ ชอบ 2. ปรับใชใ้ นงานบาบดั เยาวชนทเ่ี กยี่ วข้องกบั ยาเสพตดิ 3. มสี ว่ นรว่ มกบั งานในส่วนมากขน้ึ 4. บรหิ ารงานผู้ใต้บงั คับบัญชา เปน็ ระบบมากขึน้ 5. ทางานอยา่ งมเี หตุผลและข้อมูลรองรับ 6. มีมมุ มองท่นี อกเหนือจากสายงานท่ีปฏบิ ตั ิตามหนา้ ท่ี รับผดิ ชอบ เรยี นรงู้ านในความ รบั ผดิ ชอบ และเหน็ ถงึ ความมุ่งม่นั ต้งั ใจ 7. สามารถประสานงานเพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายขององค์กร 8. วางแผนการทางานทาให้ทางานรวดเร็วมีประสิทธภิ าพ 9. มีความม่ันใจมากขึ้น คิดและตดั สนิ ใจไดด้ ีขึน้ มพี ัฒนาการในการทางาน 10. ได้รับความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะรวมถึงความรทู้ ไ่ี ด้รบั มาชว่ ยให้การดาเนนิ งาน ให้มีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้ 8. โปรดยกตวั อยา่ ง งาน/โครงการ ทีผ่ ูใ้ ตบ้ ังคับบัญชาได้นาความร้ไู ปถ่ายทอด หรอื นาไปใช้ ด้าน รายละเอียด 1. มาตรการ 1. งานกลน่ั กรองคดตี รวจสอบทรัพยส์ นิ การสืบสวนสอบสวนขยายผล ปราบปรามและ การยดึ หรอื อายัดทรัพย์สนิ การบรหิ ารจดั การทรัพย์สนิ บังคับใชก้ ฎหมาย 2. หารือและกาหนดทิศทางการทาคดี เพ่ือนาไปสูก่ ารขยายผลและการพัฒนางานในการดูแล กลมุ่ งานประชุม ทร่ี วดเร็วและเอาใจใสก่ ารขับเคลื่อนงานในการทางานด้านการตรวจสอบ ทรัพยส์ นิ 3. การนาคดตี รวจสอบทรัพย์สิน เสนอคณะอนุกรรมการตรวจสอบทรัพย์สนิ 4. การจดั ทารา่ งกฎหมายโดยการรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากผู้เกยี่ วข้อง การจัดเตรียมโครงการรับรองประมวลกฎหมายยาเสพติด 2564 5. โครงการร้องเรียน 1386 6. บรหิ ารจดั การ โครงการปราบปรามผู้คา้ คน้ หาผเู้ สพ

๑๔ ด้าน รายละเอียด 2. มาตรการในการ 1. กิจกรรมสรา้ งการมสี ่วนร่วมของหน่วยงานภายในและภายนอก ปอ้ งกันยาเสพตดิ 2. งานขบั เคลือ่ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. พัฒนาเสรมิ สรา้ งมาตรการสร้างความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาเกย่ี วกับยาเสพตดิ 4. โครงการพฒั นาศักยภาพผู้นาและเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งในหมู่บ้าน/ชุมชน 5. การตรวจหาสารเสพตดิ ในเส้นผมเยาวชนทอ่ี อกฝกึ งานท่ีสถานประกอบการ 6. โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การเรียนร้ยู าเสพติดแก่ครูฝกึ ทหารกองประจาการ 7. ประสานติดตามผลการดาเนินงานการแก้ไขพ้นื ทเี่ อื้อต่อการแพรร่ ะบาดยาเสพตดิ 8. เป็นวทิ ยากรอบรมให้ขา้ ราชการในหน่วยเห็นประโยชน์และโทษของพืชกระทอ่ ม 9. การบรรยายความรู้ดา้ นยาเสพติด, ประมวลกฎหมายยาเสพติด 3. มาตรการบาบัดรกั ษา โครงการบาบัดรักษายาเสพติดโดยชมุ ชน 4. มาตรการความร่วมมือ การประสานงานด้านตา่ งประเทศ ระหวา่ งประเทศ 5. มาตรการบริหารจัดการ 1. การจดั ทานโยบายและแผนระดับชาตฯิ พ.ศ.2566 - 2570 อยา่ งบูรณาการ 2. บรหิ ารโครงการพัฒนาระบบแผนและงบประมาณยาเสพตดิ จังหวัด 3. การบรหิ ารแผนงบประมาณ ประสานติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ประสานอานวยการภารกจิ ระดับพ้ืนท่ผี ่าน ศอ.ปส.จ. 4. การวิเคราะห์ข้อมูลจังหวัด และการนาไปใช้ การนาเสนอ/การถ่ายทอดข้อมูล และแนะนาการดาเนินงานนโยบายด้านยาเสพติดใหท้ ี่ประชมุ ศอ.ปส.จ.ทราบ 5. การแนะนาการทางานให้แกเ่ พ่ือนรว่ มงาน 6. การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในการดาเนนิ งานป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในพน้ื ท่ี 7. การพัฒนางานข้อมูลสาคัญทกุ มาตรการทีเ่ กี่ยวข้อง 8. การทางานเปน็ ทีมร่วมกบั หน่วยงานภาคีทีเ่ กยี่ วข้อง 9. การจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์ การวิจัยดา้ นยาเสพตดิ 10. การจดั ทาเอกสารคาขอรับเงนิ เพ่มิ สาหรบั ตาแหน่งท่ีมเี หตพุ ิเศษ ของ เจ้าพนกั งาน ป.ป.ส. สงั กดั สานกั งาน ป.ป.ส.

๑๕ 9. ผลทเ่ี กดิ ขึน้ กบั หนว่ ยงาน หลงั จากนาความรู้ท่ไี ดร้ ับไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ดา้ น รายละเอยี ด 1. ภายใน หน่วยงาน 1. โครงการ กจิ กรรม มีผลการดาเนินการเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ 2. หน่วยงานไดร้ ับความเชือ่ ม่ันเพ่ิมมากข้นึ 2. ภาคเี ครอื ขา่ ย 3. หนว่ ยงานมีความพงึ พอใจกบั การประสานงานเพ่ิมมากข้ึน 4. พฒั นาขีดความสามารถ ความรตู้ ่องานในหน้าที่ 5. บคุ ลากรในระดับพื้นท่ี มีความรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการทางานเพ่มิ มากข้นึ 6. มที กั ษะในการบรหิ ารจัดการโครงการ/กิจกรรม 7. การกากบั ดูแลทมี พัฒนาระบบ 8. เปน็ หนว่ ยนาในการกาหนดนโยบายและแผนฯการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 9. หนว่ ยงานมที ศิ ทาง รปู แบบ แนวทางในการดาเนนิ งานท่ีชดั เจนข้ึน 10. การติดตาม ตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ 11. ปฏบิ ัติงานไดต้ ามแผน และการเบกิ จ่ายงบประมาณเปน็ ไปตามแผนและตวั ชี้วัด 12. การทาคดีและการขบั เคลอ่ื นการประชุมอนุกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ ิน สามารถ ขยายผลยึดทรัพย์ไดเ้ พ่มิ ขนึ้ 1. หน่วยงานภาค ระดับจังหวดั มีการขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านยาเสพติดเปน็ ไป ตามนโยบายท่กี าหนดไว้ 2. หน่วยงานภายนอกให้การยอมรบั เชื่อมน่ั ในการปฏบิ ัติงาน 3. เยาวชนตระหนกั รู้เกยี่ วกับโทษและพษิ ภัยของยาเสพติด 4. ทางานไดค้ ลอ่ งตวั รวดเรว็ ข้ึนในการขับเคลื่อนงานกบั ภาคีทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 5. สะทอ้ นมุมมองใหม่ในสถานการณ์ปัจจบุ ัน เพื่อเสนอแนะแนวทางการดาเนนิ งาน ให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขนึ้

๑๖ 10. ท่านต้องการส่งเสริมให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม พัฒนาองคค์ วามรู้ เพ่ิมเตมิ ในดา้ นใด ดา้ น รายละเอียด การจดั ทายุทธศาสตร์ การพฒั นาองค์กร การจัดทาแผน งบประมาณ 1. การจัดทา ยุทธศาสตร์ 2. องค์ความรู้ องคค์ วามรดู้ ้านยาเสพติด กฎหมายยาเสพตดิ การฝึกทมี ปฏิบตั กิ ารปิดล้อมจับกมุ การจดั ทา ดา้ นยาเสพตดิ หลักฐาน เทคนคิ การดาเนนิ การกับทรพั ยส์ นิ การวิเคราะหท์ รัพย์สนิ คดยี าเสพติด การจับกุม ณ ท่ีเกดิ เหตุ 3. ทักษะทใี่ ชใ้ น ทกั ษะการตัดสนิ ใจ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ทักษะการเจรจาตอ่ รอง การจดั การเชิงกลยทุ ธ์ การปฏิบตั ิงาน การประสานงาน การคดิ เชิงระบบ (System thinking) วิทยากรกระบวนการ (Facilitator) การสืบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ทักษะการถ่ายทอด ด้านการบาบัดยาเสพติดโดยใช้ เทคนิค motivation และ Cognitive behavior Therapy การเป็นวิทยากรบรรยายกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาวะผู้นา การทางานเป็นทีม การบริหารเวลา ทักษะการบริหารงานในองค์กร การยกระดับและพัฒนาองค์กร การสอนงาน การนาเสนองานในทปี่ ระชมุ หลักการจดและเขยี นรายงานการประชุม และภาษาองั กฤษ 4. อื่น ๆ 1. องคค์ วามรู้ดา้ นระเบยี บวธิ ีการวจิ ัย 2. พฒั นาด้านเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook