Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2. ความคิดทางการเมืองแนวสังคมนิยม รวม

2. ความคิดทางการเมืองแนวสังคมนิยม รวม

Published by srcmbu2533, 2022-06-22 09:28:12

Description: 2. ความคิดทางการเมืองแนวสังคมนิยม รวม

Search

Read the Text Version

ความคดิ ทางการเมืองแนวสังคมนิยม ดร.บานช่ืน นกั การเรียน

ววิ ฒั นาการเมืองแนวสังคมนิยม •ความเป็นมาของสงั คมนิยม •ความหมายของสงั คมนิยม •สาระสาคญั ของสงั คมนิยม •หลกั การของสงั คมนิยม

ววิ ฒั นาการเมืองแนวสังคมนิยม • แนวคิดสังคมนิยมเริ่มก่อต้งั ข้ึนในสมยั การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเจริญกา้ วหนา้ ใน องั กฤษ แต่สภาพความเป็นอยขู่ องกรรมกรกลบั แร้นแคน้ จึงมีแนวคิดท่ีต่อตา้ นแนวคิดท่ีต่อตา้ น แนวคิดคลาสสิก โดยกลุ่มของนักคิดสังคมนิยมยูโทเปี ย และมีวิวฒั นาการของแนวคิดสังคม นิยมแบบมาร์กซิสต์ ซ่ึงเป็นสงั คมนิยมแบบวิทยาศาสตร์ตามมา • แนวคิดสังคมนิยมในสมยั ศตวรรษท่ี 18 มี 2 รูปแบบคือรูปแบบที่ 1 แบ่งสังคมนิยมและ คอมมิวนิสต์ อีกรูปแบบหน่ึงแบ่งเป็ นแนวคิดของนกั คิดสังคมนิยมแบบมาร์กซิสต์และนกั คิด สงั คมนิยมแบบนีโอมาร์กซิสต์ • สาเหตุท่ีก่อใหเ้ กิดแนวคิดที่ต่อตา้ นแนวคิดสานกั คลาสสิก และก่อใหเ้ กิดการก่อตวั ของแนวคิด สังคมนิยม ยโู ทเปี ย คือ นกั คิดสานกั คลาสสิกสนบั สนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ซ่ึงยโุ รป ตะวนั ตกประสบความสาเร็จของการปฏิวตั ิ อุตสาหกรรมและการคา้ แต่เนื่องจากสังคมก็เกิด ปัญหาความเป็นอยทู่ ่ีแร้นแคน้ ของกรรมกร กรรมกรยงั ยากจน ทางานมากชวั่ โมงข้ึนและเส่ียง อนั ตรายไดค้ ่าแรงต่า ดงั น้นั จึงมีแนวคิดสงั คมนิยมยโู ทเปี ย ต่อตา้ นแนวคิดของสานกั คลาสสิก

ความเป็นมาของสงั คมนิยม • ความคิดสงั คมนิยมเริ่มมาชา้ นาน แต่นกั คิดสงั คมนิยมและลทั ธิสงั คมนิยม มีการใชแ้ ละกล่าวถึง เป็ นคร้ังแรกในช่วงกลางศตวรรษที่ 18 ยุคการปฏิวตั ิอุสาหกรรมเป็ นสังคมนิยมแบบยูโทเปี ย หรือสังคมนิยมแบบเพอ้ ฝัน ต่อมามาร์กไดส้ ร้างแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ข้ึนมา และ แนวคิดน้ีไดน้ าไปใชใ้ นสมยั ศตวรรษที่ 20 โดยโซเวยี ตรุสเซีย แนวคิดสังคมนิยมเสรี เป็นสังคม นิยมแบบประชาธิปไตย และลทั ธิอนาธิปัตยน์ ิยม ซ่ึงเนน้ วิวฒั นาการไปสู่สงั คมนิยมโดยไม่เนน้ การต่อสู่ระหวา่ งชนช้นั • แนวคิดสังคมนิยมแบบมาร์ก เป็ นสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ ที่อาศัยแนวคิดเร่ืองวัตถุนิยม ประวตั ิศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ซ่ึงสรุปว่าพลงั การผลิตจะเป็ น ตวั กาหนดวิถีการดารงชีวิตของมนุษย์ โครงสร้างส่วนล่างจะไปกาหนดโครงสร้างส่วนบน มาร์กมีแนวคิดว่าการวิวฒั นาการจากระบบทุนนิยม เปล่ียนผ่านไปสู่สังคมนิยมและคอม มิวนิตส์ในทา้ ยที่สุดแลว้ จะเกิดข้ึนโดยการต่อสูท้ างชนช้นั ระหวา่ งชนช้นั กรรมาชีพและชนช้นั นายทุน

ความหมายของสังคมนิยม • สมพงษ์ เกษมสิน และจรูญ สุภาพ,( 2520: 88) สงั คมนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีมีนโยบายมุ่งสนบั สนุน และปรารถนาที่จะให้ ชุมชน สังคม หรือส่วนรวมถือกรรมสิทธ์ิ หรือควบคุมการผลิตโดยเฉพาะอย่างย่ิง ปัจจยั ท่ีสาคญั ในการผิต เช่น ทุน ทรัพยากร ที่ดิน ท้ังน้ีเพื่อมุ่งกระจายผลประโยชน์เหล่าน้ีออกไปอย่าง กวา้ งขวางเพ่อื ประโยชนข์ องประชาชนท้งั มวล • ไมตรี อึ้งภากรณ์, (2517: 173) สังคมนิยม หมายถึง การท่ีสังคมรับผิดชอบต่อสมาชิกของตนอย่างทวั่ หนา้ ด้วยการให้สวสั ดิการข้นั มูลฐานต่าง ๆ เช่น การรักษาพยาบาล การหาที่อยู่อาศัย การให้การศึกษา การ ช่วยเหลือผอู้ ่ืนที่มรายไดต้ ่ามาก และผทู้ ี่ไม่มีงานทา • สรุป สังคมนิยม หมายถึง การที่กิจกรรมต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลและแต่ละกลุ่มจะต้องเป็ นไปตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องสงั คมส่วนรวม ไม่ใช่เพ่ือผลประโยชนส์ ่วนตน และตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ารควบคุมของสงั คม

สาระสาคญั ของสงั คมนิยม • รัฐหรือสังคมเป็นเจา้ ของปัจจัยการผลิตท่ีสาคัญๆ เช่น ท่ีดิน กิจการสาธารณูปโภค ตลอด จนกิจการ อตุ สาหกรรมท่ีสาคัญท่ีมีผลกระทบต่อความเป็นอย่ขู องประชาชนโดยส่วนรวม รฐั อาจกระทาไดโ้ ดยการ ยดึ ถือหรือโอนกิจการดงั กล่าวจากเอกชนมาเป็นของรฐั เม่ือโอนมาแลว้ รฐั อาจเขา้ ดาเนินการเองอย่ใู นรูป ของรัฐวิสาหกิจ หรืออาจมอบใหส้ หกรณห์ รือกลุ่มประชาชนในทอ้ งถ่ินน้ันๆ เป็นผู้ดาเนิ นการก็ได้ ท้ังนี้ เพ่ือท่จี ะใหม้ ีการกระจายรายไดอ้ ยา่ งเป็นธรรม • เนน้ ความสาคญั เร่ืองการกระจายความอย่ดู ีกินดีของมวลสมาชิก เราจะพบว่าประเทศสงั คมนิยมน้นั จะมี โครงการรฐั สวสั ดิการมากมาย เพ่ือแจกแจงหรือกระจายความกินดีอย่ดู ี สรา้ งความเสมอภาคใหเ้ กิดขนึ้ ใน สงั คม เช่น โครงการประกนั สงั คม โครงการรกั ษาพยาบาล โครงการใหก้ ารศึกษาแก่เยาวชน ซ่งึ โครงการ เหลา่ นีเ้ ป็นไปเพ่ือเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตใหเ้ กิดขนึ้ กบั สมาชิกทกุ คน โดยท่ีงบประมาณของโครงการเหล่านี้ ไดม้ าจากการเก็บภาษีแบบกา้ วหนา้ กล่าวคือ ผทู้ ่ีมีรายไดย้ ่ิงมากเท่าใด ภาษีก็จะสงู มากเท่านั้น ผลจาก โครงการตา่ งๆ นีเ้ องท่ีจะชว่ ยกอ่ ใหเ้ กิดความเสมอภาคขนึ้ ในสงั คมในระดบั หน่งึ

ต่อ • เนน้ ท่คี วามกินดอี ยดู่ ขี องสมาชิก ระบบสงั คมนิยมมีหลกั การอยา่ งหน่งึ ว่า สมาชิกทกุ คนตอ้ งทางานอยา่ ง เตม็ ความสามารถ และทกุ คนจะตอ้ งไดร้ บั ปัจจยั ในการดารงชีพอยา่ งเพียงพอแกค่ วามตอ้ งการ คือ มี อดุ มการณท์ ่จี ะใหเ้ กิดสงั คมเปรมสขุ (utopian society) ขนึ้ โดยใหท้ กุ คนมีการกินดีอย่ดู ีกนั อยา่ งถว้ น หนา้ เป็นสงั คมท่เี ป่ียมดว้ ยความสขุ

หลกั การของสงั คมนิยม • การที่สงั คมเป็นเจา้ ของและควบคุมปัจจยั การผลิตท่ีสาคญั ๆ วิธีท่ีจะทาให้ปัจจยั การผลิตมาเป็น ของสงั คมมี 2 แบบ ใหญ่ ๆ คือ • แบบท่ี 1 คือ การโอนกิจการผลิตเป็นของรัฐ ในประเทศคอมมิวนิสตเ์ จา้ ของกิจการทถ่ี ูกโอนมกั ไม่ไดร้ ับค่าตอบแทนเพราะรัฐบาลถือว่า การผลิตเป็ นของผูใ้ ชแ้ รงงาน เจา้ ของกิจการเป็ นผูใ้ ช้ ปัจจัยการผลิตขูดรี ดผู้ใช้แรงงาน จึงไม่ควรได้รับค่าตอบแทน ส่วนในประเทศท่ีมิใช่ คอมมิวนิสตม์ กั มีการจ่ายค่าตอบแทนตามสมควร • แบบท่ี 2 คือ ใชร้ ะบบสหกรณ์ อนั ไดแ้ ก่กิจการที่มีกลุ่มคนร่วมกนั เป็ นเจา้ ของ โดยทางาน ร่วมกนั และแบ่งปันผลผลิตกนั ในหมู่สมาชิก ซ่ึงมกั ต้งั คณะกรรมการข้ึนเพื่อดาเนินกิจการ ทา ใหบ้ ริโภคสินคา้ ไดใ้ นราคาถูกลง

สรุป • แนวคิดสงั คมนิยมเริ่มก่อต้งั ข้ึนในสมยั การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม • สังคมนิยม หมายถึง การที่กิจกรรมต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลและแต่ละกลุ่มจะตอ้ งเป็ นไปตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องสงั คมส่วนรวม ไม่ใช่เพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน และตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ารควบคุม ของสงั คม • ระบบสังคมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเนน้ ในเร่ืองของความเสมอภาค มุ่งแจกแจงหรือกระจาย ความกินดีอยู่ดีให้กบั ประชาชนท้งั มวล โดยการให้รัฐหรือชุมชนสังคมเขา้ ดาเนินการควบคุม และดาเนินการทางการผลิตเอง

ต่อ • แนวคิดสงั คมนิยมในสมยั ศตวรรษท่ี 18 มี 2 รูปแบบคือ 1.สังคมนิยม และคอมมิวนิสต์ 2.สงั คม นิยมแบบมาร์กซิสต์ และสงั คมนิยมแบบนีโอมาร์กซิสต์ • สาระสาคัญของระบบสังคมนิยม รัฐหรือสังคมเป็ นเจ้าของปัจจยั การผลิตท่ีสาคัญๆ เน้น ความสาคญั เรื่องการกระจายความอยู่ดีกินดีของมวลสมาชิก และเน้นที่ความกินดีอยู่ดีของ สมาชิก • หลกั การระบบสังคมนิยม สมาชิกทุกคนตอ้ งทางานอยา่ งเต็มความสามารถ และทุกคนจะตอ้ ง ไดร้ ับปัจจยั ในการดารงชีพอยา่ งเพยี งพอแก่ความตอ้ งการ

ช่วยกนั คิด............ช่วยกนั วเิ คราะห์ • ขอ้ ดีของสงั คมนิยม • ขอ้ เสียของสงั คมนิยม

แนวคดิ ทางการเมอื งแนวสงั คมนิยม บรรยายโดย ดร.บานช่ืน นักการเรียน

ประเด็นหลกั ของสงั คมนิยม ◦เนน้ เร่อื งสงั คม สงั คมนิยม (Socialism) เป็นระบบสงั คมและเศรษฐกิจซ่งึ มลี กั ษณะคือ สงั คมเป็นเจา้ ของ ปจั จยั การผลติ และการจดั การเศรษฐกจิ แบบร่วมมอื ตลอดจนทฤษฎแี ละขบวนการทางการเมอื งซ่ึงม่งุ สถาปนาระบบ \"สงั คมเป็ นเจา้ ของ\" หมายถึง การประกอบการสหกรณ์ การเป็นเจา้ ของร่วม รฐั เป็นเจา้ ของ พลเมอื งเป็นเจา้ ของความเสมอภาค พลเมอื งเป็นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิ มคี วามผนั แปรของสงั คมนิยม จานวนมากและไมม่ นี ิยามใดครอบคลมุ ทง้ั หมดความผนั แปรเหลา่ น้ีแตกต่างกนั ในประเภทของการเป็น เจา้ ของโดยสงั คมทส่ี ่งเสรมิ ระดบั ทพ่ี ง่ึ พาตลาดหรือการวางแผน วธิ กี ารจดั ระเบยี บการจดั การภายใน สถาบนั การผลติ และบทบาทของรฐั ในการสรา้ งสงั คมนิยม

◦ เน้นเร่ืองเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมอาศยั ลทั ธิองคก์ ารการผลิตเพ่ือใช้ หมายความวา่ การผลิตสินคา้ และ บริการเพ่ือตอบสนองอุปสงคท์ างเศรษฐกิจและความจาเป็ นของมนุษยโ์ ดยตรง และระบุคุณค่าวตั ถุตาม คุณค่าการใชป้ ระโยชนห์ รืออรรถประโยชน์ ซ่ึงตรงขา้ มกบั การผลิตมาเพือ่ สะสมทุนและเพ่ือกาไร แนวคิดด้งั เดิมของเศรษฐกิจสังคมนิยม มีการประสานงาน การทาบญั ชีและการประเมินค่าอยา่ ง เดียวกนั โดยปริมาณทางกายภาพร่วม (common physical magnitude) หรือโดยการวดั แรงงาน-เวลาแทน การคานวณทางการเงิน มี 2 ขอ้ เสนอในการกระจายผลผลิต 1. ยดึ ตามหลกั ท่ีวา่ ใหก้ ระจายแก่แต่ละคนตามการเขา้ มีส่วนร่วม 2. ยึดตามหลกั ผลิตจากทุกคนตามความสามารถ ใหแ้ ก่ทุกคนตามความจาเป็ น วิธีการจดั สรร และประเมินคุณค่าทรัพยากรท่ีแน่ชดั ยงั เป็นหวั ขอ้ การถกเถียงในการถกเถียงการคานวณสังคมนิยมท่ีกวา้ ง กวา่

การเกดิ ข้ึนของแนวความคดิ แบบสงั คมนิยม ◦การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมมีผลต่อสภาพเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศยุโรปภายหลงั การปฏิวัติ อตุ สาหกรรม ประชากรมกี ารขยายตวั เกดิ สงั คมเมอื ง เกดิ ชนชนั้ ใหม่คือนายทุน การดารงชพี ทท่ี ุกข์ ยากของกรรมกร เกดิ ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรเ์ สรนี ิยม และการก่อตวั ของลทั ธสิ งั คมนยิ ม

ระบบทนุ นิยม ◦ เป็นระบบเศรษฐกจิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลมากระบบหน่ึง คุณลกั ษณะทส่ี าคญั ของระบบทนุ นิยม คอื การยอมรบั กรรมสทิ ธ์ิใน ทรพั ยส์ นิ ส่วนบคุ คล เปิดโอกาสใหบ้ คุ คลมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพในการประกอบการทางเศรษฐกจิ ไดเ้พ่ือใหไ้ ดม้ าซง่ึ กาไร หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดตามความสามารถและความปรารถนาของแต่ละบคุ คล โดยทร่ี ฐั จะเขา้ ไปแทรกแซงนอ้ ยท่ีสุด

สาระสาคญั ของระบบทนุ นิยม ◦เอกชนเป็ นเจา้ ของปจั จยั การผลิต อนั ไดแ้ ก่ ท่ดี ิน แรงงาน เงนิ ทุน เทคโนโลยี และทรพั ยากร วตั ถดุ บิ ◦หลกั เศรษฐกจิ การตลาดแบบเสรี กลา่ วคือ ผลผลติ จะถกู ผลติ ข้นึ เพอ่ื สนองตอบต่อความตอ้ งการ ของผูบ้ รโิ ภค สนิ คา้ ใดเป็นทต่ี อ้ งการมากจะเป็นแรงผลกั ดนั ใหม้ กี ารผลติ สนิ คา้ นน้ั ออกมามาก ไม่ มกี ารผูกขาดทางดา้ นราคา ปลอ่ ยใหม้ กี ารแขง่ ขนั อยา่ งเสรี ประชาชนมอี สิ รภาพท่จี ะเลอื กซ้อื สนิ คา้ ทส่ี รา้ งความพงึ พอใจหรอื สนองตอบต่อความตอ้ งการของตนสูงสุด ◦หลกั การแข่งขนั ผูป้ ระกอบการ หรอื นกั ธุรกจิ จะผลติ สนิ คา้ อะไรกไ็ ด้ เมอ่ื ผลติ แลว้ ก็จะมเี สรภี าพ ทจ่ี ะเสนอขายใหผ้ ูบ้ รโิ ภค โดยปกตนิ นั้ การทผ่ี ูป้ ระกอบการจะผลติ สนิ คา้ อะไร จะมกี ารสารวจ ความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภค หรอื สารวจตลาดก่อน ผลผลติ ทเ่ี ป็นสนิ คา้ จะเป็นพ้นื ฐานในการ ดารงชวี ติ เป็นทต่ี อ้ งการมากกวา่ สนิ คา้ ประเภทอน่ื ๆ

◦หลกั หวงั ผลกาไร ระบบน้ีมองวา่ กาไรเป็นผลประโยชนท์ ช่ี อบธรรมอนั เกดิ จากการลงทุน กาไรถอื เป็นแรงจูงใจท่สี าคญั ท่จี ะช่วยใหเ้ ศรษฐกิจกา้ วหนา้ ต่อไปได้ ดว้ ยเหตุท่ีว่าระบบทุนนิยม เป็น ระบบทใ่ี หเ้สรภี าพกบั ประชาชนในการดาเนนิ การทางเศรษฐกจิ โดยทร่ี ฐั แทรกแซงนอ้ ยทส่ี ุด ◦หลกั การแห่งเหตุผล ในการลงทุนของผูป้ ระกอบการทางเศรษฐกิจนน้ั มีความเส่ียงต่อการ ขาดทนุ ในระดบั หน่งึ ฉะนน้ั ผูป้ ระกอบการทด่ี แี ละสามารถประสุขความสาเรจ็ ในการดาเนินกจิ การ ก็คือ ผูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามสามารถ มกี ารวางแผนงานอย่างเป็นระบบเป็นขน้ั เป็นตอน มกี ารแสวงหา ขอ้ มลู ทางธุรกจิ ใชข้ อ้ มูลเหลา่ นน้ั มาวเิ คราะหศ์ กั ยภาพ หรอื แนวโนม้ ของตลาดไดอ้ ย่างถูกตอ้ งมี เหตมุ ผี ล

◦หลกั ราคา ในระบบทุนนิยมนน้ั ประชาชนจะมเี สรภี าพในการบรโิ ภค สามารถจะเลอื กซ้อื สนิ คา้ ใด ๆ มาสนองตอบต่อความตอ้ งการของตนเองได้ โดยปกติสนิ คา้ ชนิดหน่ึงๆ ผูป้ ระกอบการจะกาหนด ราคาจากตน้ ทุนการผลติ บวกกาไรจานวนหน่ึง ในกรณีท่สี ินคา้ นน้ั ๆ ขาดแคลนเน่ืองจากมคี วาม ตอ้ งการมาก ราคาสนิ คา้ ก็จะสูงข้นึ แต่ถา้ ผูบ้ ริโภคมคี วามตอ้ งการนอ้ ย หรือมผี ู ป้ ระกอบการผลติ สนิ คา้ นนั้ ๆ ออกมาแขง่ ขนั กนั มากราคาสนิ คา้ ก็จะตา่ ลงไปดว้ ย ◦หลกั การแบ่งงานกนั ทาตามความรูค้ วามชานาญงานเฉพาะดา้ น ในการดาเนินการทางเศรษฐกิจของ เอกชนยอ่ มตอ้ งอาศยั ความรู ้ ความสามารถหลายๆ สาขาร่วมกนั ดาเนินการ เช่น ตอ้ งอาศยั นกั บรหิ าร ผูจ้ ดั การ นกั ประชาสมั พนั ธโ์ ฆษณา นกั การบญั ชี ช่างหรอื ฝ่ายเทคนิค คนงานท่เี ช่ียวชาญ โดยท่คี น เหลา่ น้จี ะปฏบิ ตั ิงานและรบั ผดิ ชอบในงานแต่ละประเภทไป แต่ทงั้ น้ีกิจกรรมของคนเหลา่ น้ีจะมงุ่ ไปท่ี จดุ เดยี วกนั นนั่ กค็ อื การผลติ สนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพสามารถสรา้ งผลกาไรใหเ้กดิ ข้ึน

ขอ้ ดขี องระบบทนุ นิยม ◦เสรีภาพในทางเศรษฐกิจของระบบทุนนิยมจะเป็นแรงจูงใจท่ีสาคญั ใหม้ นุษยม์ กี าลังใจท่ีจะทุ่มเท ความรูค้ วามสามารถในการประกอบการ เพอ่ื แสวงหาประโยชนไ์ ดม้ ากทส่ี ุด ◦ผลจากความพยายามท่ีจะคิดคน้ เคร่ืองจกั รกลจากการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่ ทา ให้ ความสามารถในการผลติ ของสงั คมสูงข้นึ ตน้ ทนุ ต่อสนิ คา้ หน่งึ หน่วยจะตา่ ลง สามารถขายในราคาถูก ลง อนั จะเป็นผลดตี ่อประชาชนผูบ้ รโิ ภค โดยส่วนรวม ◦ความเจริญกา้ วหนา้ ของระบบทุนนิยมเป็นผลใหเ้ กิดศูนยก์ ลางเศรษฐกิจ การคา้ การผลติ การ คมนาคมขนสง่ มเี มอื งเกดิ ข้นึ มากมาย ◦ประเทศทุนนิยมบางประเทศท่เี อกชนสามารถแสวงหากาไรไดจ้ านวนมากแลว้ ยงั ไดน้ าเงนิ รายไดไ้ ป บรจิ าคใหม้ ลู นิธิ หรอื องคก์ รการกศุ ล เพอ่ื ช่วยเหลอื ผูท้ ด่ี อ้ ยโอกาสกวา่ อกี ดว้ ย

ขอ้ เสยี ของระบบทนุ นิยม ◦ธุรกจิ ทต่ี อ้ งลงทนุ มากและเป็นธุรกจิ ขนาดใหญ่จะเกดิ ข้นึ มาก ◦ระบบอตุ สาหกรรมโรงงาน แมจ้ ะใหผ้ ลดใี นแงข่ องปรมิ าณการผลติ ทส่ี ูงข้นึ แต่อาจมผี ลเสยี ในแงข่ อง การทาใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ของกรรมกรนอ้ ยลง ◦ระบบทนุ นยิ ม แมโ้ ดยส่วนรวมจะเป็นการเพม่ิ รายไดข้ องประเทศใหส้ ูงข้นึ แต่ขณะเดยี วกนั อาจจะทา ใหช้ ่องวา่ งระหวา่ งคนจนกบั คนรวยกวา้ งยง่ิ ข้นึ ◦การพฒั นาอตุ สาหกรรมพรอ้ ม ๆ กบั การเกดิ เมอื งขนาดใหญ่ข้นึ อาจนามาซง่ึ ความหนาแน่นของ ประชากร เกดิ แหลง่ เสอ่ื มโทรม ปญั หาการจราจร การคมนาคมสอ่ื สาร ตลอดจนสาธารณูปโภคอน่ื ๆ ◦การพฒั นาอตุ สาหกรรม โดยไมค่ วบคมุ โรงงานทส่ี รา้ งมลพษิ อาจทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ไดร้ บั การกระทบกระเทอื น ตน้ นา้ ลาธารตอ้ งสูญเสยี ไปเน่อื งจากป่าถกู ทาลาย

แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ ◦ในระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม ◦การเลอื กกลมุ่ เป้าหมาย และผลติ ภณั ฑว์ า่ จะเลอื กผลติ อะไร เป็นจานวนเท่าไหร่ จะผลติ โดยใช้ วธิ ีการใด และผลติ เพอ่ื ใคร ภาครฐั เองจะใชอ้ านาจในการสงั่ การและผลท่อี อกมาน้ันจะตอ้ ง เป็นสนิ คา้ เพ่อื ประชาชน ซ่งึ ในจุดน้ีสามารถสาเร็จไดน้ น้ั จะตอ้ งมขี อ้ มูลท่แี น่นหนาพอสมควร ประกอบกบั รฐั บาลอยู่ในกลมุ่ ทม่ี คี วามรู ้ ความสามารถในการวางแผน

ในระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม ◦ การตดั สนิ ใจใหไ้ ดว้ า่ ตอ้ งผลติ อะไร เป็นบทบาทหนา้ ทข่ี องเอกชนหรอื หน่วยธุรกจิ ทจ่ี ะตดั สนิ ใจผลติ สนิ คา้ หรอื บริการชนิดใด ๆ ท่ี ทาใหเ้ขาไดก้ าไรสูงสุด ซง่ึ อาศยั กลไกของตลาดทป่ี ระกอบดว้ ยผูบ้ รโิ ภค พรอ้ มทงั้ คานึงถงึ ตน้ ทนุ ในการผลติ และศกั ยภาพของผูผ้ ลติ ในการผลติ สนิ คา้ นน้ั ◦ การตดั สนิ ใจวา่ จะผลติ อย่างไร หมายถงึ เป็นกระบวนการผลติ ทจ่ี ะตอ้ งคานงึ ซง่ึ จะเก่ยี วขอ้ งกบั การคดั สรรหรือเลอื กใช้ ทรพั ยากรเพอ่ื การผลติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุด ◦ การตดั สนิ ใจวา่ จะผลติ เพอ่ื ใคร หมายถงึ เป้าหมายของการผลติ วา่ สนิ คา้ ทต่ี อ้ งการผลติ นนั้ กลมุ่ เป้าหมายเป็นอยา่ งไร สนิ คา้ ท่ี ไดท้ าการผลติ ข้นึ มานน้ั ควรจะกระจายไปสู่ผูใ้ ดบา้ ง โดยมกี ารอาศยั เรอ่ื งราคาเป็นเครอ่ื งตดั สนิ ใจ

สรุป ◦ระบบสงั คมนิยม เป็นระบบเศรษฐกจิ ทเ่ี นน้ ในเรอ่ื งของความเสมอภาค มงุ่ แจกแจงหรอื กระจาย ความกนิ ดอี ยูด่ ใี หก้ บั ประชาชนทง้ั มวล โดยการใหร้ ฐั หรอื ชมุ ชนสงั คมเขา้ ดาเนินการควบคมุ และ ดาเนินการทางการผลติ เอง ◦ระบบทนุ นิยม เป็นระบบเศรษฐกจิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลมาระบบหน่ึง คุณลกั ษณะท่สี าคัญของระบบทุนนิยม คือ การยอมรบั กรรมสิทธ์ิในทรพั ยส์ ินส่วนบุคคล เปิดโอกาสใหบ้ ุคคลมสี ิทธิและเสรีภาพในการ ประกอบการทางเศรษฐกิจไดเ้ พ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ กาไรหรอื ประโยชนอ์ ่นื ใดตามความสามารถและความ ปรารถนาของแต่ละบคุ คล โดยทร่ี ฐั จะเขา้ ไปแทรกแซงนอ้ ยทส่ี ุด

กจิ กรรม ◦จงบอกความหมายระบบสงั คมนิยม กบั ระบบทนุ นิยม ◦จงบอกถงึ ความแตกต่างระหวา่ ง ระบบสงั คมนิยม กบั ระบบทนุ นิยม ◦ใหน้ ักศึกษาวเิ คราะหร์ ะบบเศรษฐกจิ สงั คมนิยม และแบบทนุ นิยม สง่ ผลต่อการเมือง อย่างร? **สง่ วนั องั คารท่ี 28 สงิ หาคม 2561

แนวคดิ ทางการเมCอื งแนวสงั คมนยิ ม ดร.บานช่ืน นักการเรียน

• สงั คมนยิ มแบบอดุ มคติ •สงั คมนิยมอดุ มคตขิ องไทย • แนวคดิ เก่ยี วกบั สงั คมนิยมอดุ มคติ

สงั คมนยิ มแบบอดุ มคติ •โทมัส มอร์ (Thomas More) ยูโทเปีย (Utopia) เป็นวรรณกรรมที่โทมัส ต้ังใจ เขยี น ลอ้ เลียน สอ่ เสียดสังคม ความโง่เขลาของมนุษย์ สังคม อันย่าแย่ รูปแบบสังคมที่สมบูรณ์แบบ ไม่มีใครเห็นแก่ตัว แบง่ ปนั ความรักซ่งึ กันและกัน มนษุ ยท์ กุ คนมสี ทิ ธเิ สรภี าพอัน เท่าเทียมกัน เสนอรูปแบบการ จัดระเบียบสังคมในแบบ สังคมนิยม

สงั คมนยิ มอดุ มคตขิ องไทย

แนวคิดเกย่ี วกบั สงั คมนิยมอดุ มคติ •แนวคดิ คลาสสกิ ของอดมั สมธิ •กาเนดิ แนวคดิ คลาสสกิ ปจั จยั ทม่ี สี ่วนก่อใหเ้กดิ แนวคิดสานกั คลาสสกิ ปจั จยั ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ การ เจรญิ เตบิ โตของการคา้ และเมอื ง ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี และแนวคิดมนุษยนยิ ม •แนวคดิ หลกั ของสานกั คลาสสกิ แนวคิดหลกั ของเศรษฐศาสตรส์ านกั คลาสสกิ คอื แนวคิดเก่ยี วกบั ผลประโยชนส์ ว่ นตวั ทฤษฎมี ลู ค่า ทฤษฎคี ่าจา้ ง การสะสมทนุ ทฤษฎคี ่าเช่าและการลดนอ้ ยถอยลง ของผลได้ ทฤษฎกี าไร และกฎ ของเซย์

กจิ กรรม •ใหน้ กั ศึกษาวเิ คราะหค์ วามเป็นสงั คมนยิ ม

ดร.บานชน่ื นกั การเรียน

เป็ นรัฐลัทธิมากซ์–เลนนินบนทวีปยเู รเซีย มีอย่รู ะหว่าง ค.ศ. 1922 ถึง 1991 ปกครองแบบรัฐพรรคการเมืองเดียวโดยพรรคคอมมวิ นสิ ต์ มีกรงุ มอสโกเป็ นเมือง หลวง สหภาพโซเวียตมีรากเหงา้ ในการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ซ่ึงโค่นจักรวรรดิรัสเซีย จากนั้น พรรคบอลเชวิก กลุ่มแยกฝ่ ายข้างมากของพรรคแรงงานสังคม ประชาธิปไตย นาโดย วลาดีมีร์ เลนิน นาการปฏิวัตทิ ี่สองซ่ึงโค่นรัฐบาลชวั่ คราวและ สถาปนาสหพนั ธส์ าธารณรฐั สงั คมนยิ มโซเวียตรัสเซีย

อานาจสงู สดุ ของพรรคคอมมวิ นสิ ตเ์ ป็ นคณะกรรมการกลางการเลอื กตง้ั พรรคคอมมิวนิสต์ดแู ลการปกครองของตนเหนือรัฐส่วนใหญ่โดยการ ควบคมุ ผา่ นระบบของการนดั หมาย

สหภาพโซเวียตกอ่ ตงั้ มาจากการยึดอานาจของพรรคบอลเชวิก โดย ยึดอานาจจากพระเจา้ ซารน์ ิโคลัสท่ี 2 นาโดย วลาดิมีร์ เลนิน เรียก การปฏิวัติครั้งนนั้ ว่าการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 เกิดขึ้นในวันท่ี 25 ตลุ าคม พ.ศ. 2460 อย่ใู นระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ีหนึ่ง การปฏิวัติคร้ังน้ันส่งผลให้ ระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ถกู ยกเลกิ กอ่ เกิดรฐั สงั คมนยิ มขนึ้ มาแทน

นบั ตงั้ แตส่ ตาลิน ถกู แต่งตงั้ เป็ นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ ค.ศ. 1922 สตาลินไดด้ าเนินนโยบายแบบรวมอานาจ แข็งกรา้ ว และ รนุ แรง เขาไดร้ ิเริ่มแผนปฏิรปู 5 ปี เพ่ือสรา้ งระบบเศรษฐกิจแบบ สงั คมนยิ ม แผนดงั กลา่ วมจี ดุ มงุ่ หมายเพื่อสรา้ งความแข็งแกร่งทาง การทหารและเศรษฐกิจ โดยเนน้ การพ่งึ ตนเองเป็ นหลกั

นกิ ิตา ครสุ ชอฟ ไดร้ บั เลอื กตง้ั ขน้ึ เป็ นเลขานกุ ารคนท่ี 1 ของ พรรค คอมมวิ นสิ ตแ์ ห่งสหภาพโซเวียต เขาประณามความเลวรา้ ยของสตา ลิน ผทู้ าการปฏิวัติระบบนารวม ใหท้ รัพย์สินของทกุ คนเป็ นของ สว่ นรวม และนาสหภาพโซเวียตทา สงครามเย็น กบั สหรฐั อเมริกา ครสุ ชอฟ ดาเนินนโยบายเนน้ สันติภาพ และพยายามผ่อนคลาย สงครามเย็น แต่เขาก็ดาเนินนโยบายทางการเมืองผิดพลาดหลาย ครง้ั

ค.ศ. 1964 คณะกรรมาธิการเพื่อความมัน่ คงแห่งรัฐ นาโดย เลโอนิด เบรจเนฟ และ โคชิกิน ไดเ้ ขา้ ทารัฐประหารยึดอานาจจากครสุ ชอฟ โดย ครสุ ชอฟถกู บีบใหล้ าออกจากตาแหนง่ เบรจเนฟ ดารงตาแหนง่ เลขาธิการพรรคและประธานาธิบดี โดยมนี ายโคซิ กิน เป็ นนายกรัฐมนตรี เรียกยคุ นี้ว่า สมยั ผนู้ าร่วม เบรจเนฟ-โคชิกิน การ ดาเนนิ นโยบายตา่ งประเทศมลี กั ษณะผอ่ นคลาย การปฏิรปู ของกอร์บาชอฟ และการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1985-1991)

สหภาพสาธารณรัฐสงั คมนยิ มโซเวียต เรียกสน้ั ๆ สหภาพโซเวียต เป็ นประเทศขนาด ใหญท่ างตอนเหนอื ของทวีปยเู รเชยี ก่อตง้ั ใน ค.ศ. 1922 ล่มสลายใน ค.ศ. 1991 สหภาพโซเวียตก่อตง้ั มาจากการยึดอานาจของพรรคบอลเชวิก โดยยึดอานาจจาก พระเจา้ ซารน์ โิ คลสั ที่ 2 วลาดิมีร์ เลนิน ผนู้ าการปฏวิ ตั ริ สั เซีย ค.ศ. 1917 สหภาพโซเวียตลม่ สลาย ค.ศ. 1991 ลม่ สลายในยคุ ของ มคิ าอลิ กอรบ์ าชอฟ สหภาพโซเวียตไดล้ ม่ สลาย ทาใหส้ าธารณรัฐตา่ ง ๆ แบง่ แยกตงั้ เป็ นประเทศทั้งหมด 15 ประเทศ

จงอธิบาย สาเหตขุ องการลม้ สลายของสหภาพโซเวยี ต สหภาพโซเวยี ตลม่ สลาย ทาใหส้ าธารณรฐั ตา่ ง ๆ แบง่ แยกตงั้ เป็ นประเทศ ทงั้ หมด 16 ประเทศ มปี ระเทศอะไรบา้ ง?

สงั คมนิยมแบบจนี ดร.บานช่ืน นักการเรยี น

สงั คมนิยมแบบมอี ตั ลกั ษณ์ของจนี ประเทศจีนเป็นหน่ึงในประเทศสงั คมนิยมท่เี หลอื เพียงไม่ก่ี ประเทศในโลก และเป็นประเทศมหาอานาจเพยี งประเทศเดยี ว ทด่ี าเนินประเทศภายใตร้ ะบอบสงั คมนิยม จีนมกั เรียกสงั คม นิยมของตนวา่ เป็น “สงั คมนิยมแบบมีอตั ลกั ษณ์ของจนี ”

ท่มี าของความคดิ แบบสงั คมนิยมของประเทศจนี การปฏวิ ตั สิ งั คมนิยมครง้ั ใหญ่ของรสั เซยี ไดน้ า ลทั ธิมาร์กซ์-เลนินมาสู่ประเทศจีน กลุ่มปัญญาชนหวั กา้ วหนา้ ของจีน ไดย้ ึดถอื หลกั การในลทั ธิมารก์ ซ์ และยึด พรรคคอมมวิ นิสตร์ สั เซยี เป็นแบบอย่างในการก่อตงั้ พรรค คอมมวิ นสิ ตแ์ หง่ ประเทศจนี ข้นึ

ช่วงตน้ ของการกา้ วไปสูส่ งั คมนิยมในประเทศจนี เหมาเจอ๋ ตงซง่ึ เป็นผูน้ าการปฏวิ ตั จิ นี ไดน้ าเสนอแนวคิด “เดนิ สองกา้ ว” โดยไดอ้ ธบิ ายไวว้ า่ กา้ วแรกคอื การปฏวิ ตั ติ ามความคดิ ประชาธปิ ไตย แผนใหมเ่ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาชนชน้ั เจา้ ทด่ี นิ โดยผา่ นการปฏริ ูปทด่ี นิ และ กา้ วทส่ี องคอื การปฏวิ ตั สิ งั คมนยิ มเพอ่ื แกป้ ญั หาความเลอ่ื มลา้ ทางชน ชน้ั

ความลม้ เหลวของสงั คมนิยมแบบวทิ ยาศาสตร์ ช่วงตน้ ทศวรรษท่ี 60 จีนเผชิญกบั ปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรง คณะกรรมการกลางพรรคคอมมวิ นสิ ตไ์ ดม้ กี ารปรบั นโยบายเศรษฐกิจ เพ่ือใหเ้ ศรษฐกิจฟ้ืนตวั เหมาเจอ๋ ตงปรบั เปล่ยี นทศั นคติท่ีเคยมตี ่อ สงั คมนิยม เหมาเจอ๋ ตงปรบั เปล่ยี นทศั นคติท่ีเคยมตี ่อสงั คมนิยม พฒั นาไปเป็น “การปฏวิ ตั วิ ฒั นธรรม” ประเทศจนี ตอ้ งการท่จี ะแสดงให้ เหน็ ถงึ ความจรงิ แทแ้ ละความบรสิ ุทธ์ขิ องสงั คมนิยมแบบท่จี นี ยดึ ถอื ว่า แตกต่างจากสงั คมนิยมแบบอ่นื ๆ จนี จึงเรยี กสงั คมนิยมในแบบของ ตนว่า “สงั คมนยิ มแบบวทิ ยาศาสตร”์

เต้งิ เสย่ี วผงิ กบั “สงั คมนิยมแบบมีอตั ลกั ษณ์ของจนี ” ลกั ษณะพเิ ศษของสงั คมนยิ มแบบเต้ิงเสย่ี วผงิ ได้ 4 ประการ 1) ปฏเิ สธการใช้ “ระบบกรรมสทิ ธ์ริ วม” เพยี งระบบเดยี ว 2) เปล่ยี นจากระบบเศรษฐกิจท่ีวางแผนโดยส่วนกลางไปเป็น ระบบเศรษฐกจิ ตลาด 3) การจัดสรรรายไดจ้ ะเปล่ียนมาจดั สรรตามปริมาณและ ประสทิ ธิภาพของแรงงาน สนบั สนุนใหใ้ ชว้ ตั ถรุ างวลั หรือโบนสั เป็นสง่ิ ลอ่ ใจเพอ่ื กระตนุ้ การทางาน 4) ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารดงึ เงนิ ทุนจากต่างประเทศเขา้ มาลงทุนในจีน เรยี นรูแ้ ละใชเ้ทคโนโลยี และประสบการณจ์ ากต่างประเทศ

สรปุ ระบบสงั คมนิยมไดฝ้ งั ลกึ เขา้ ไปในจิตใจของประชาชน ส่งิ น้ีก็กลายเป็นหน่ึงใน ปจั จยั พ้นื ฐานท่ที าใหก้ ารปกครองประเทศโดยพรรคคอมมวิ นิสตน์ น้ั ถูกตอ้ งตาม ครรลองของกฎหมาย และไดก้ ลายเป็นเสาหลกั แห่งจติ วญิ ญาณของประชาชนใน วงกวา้ ง แนวคิดสงั คมนิยมในลกั ษณะน้ีมคี วามแตกต่างจากหลกั การสงั คมนิยมตามท่ี เคยเขา้ ใจกนั และคลา้ ยคลงึ กบั ระบบทุนนิยมอย่างมาก ดว้ ยเหตุน้ีจึงไดร้ บั การ ขนานนามวา่ “สงั คมนยิ มแบบมอี ตั ลกั ษณข์ องจนี ”

ความคิดทางการเมืองแนวสงั คมนิยม ดร.บานชน่ื นักการเรยี น

สรุป ความคิดทางการเมืองแนวสงั คมนิยม • “ระบอบสังคมนิยม” เป็นการปกครองท่ียดึ ประชาชนเป็นหลกั การปกครองท่ียอมใหป้ ระชาชานมสี ว่ นรว่ ม หรือ แมก้ ระท่งั การปกครองท่ียดึ การตดั สนิ ใจจากรฐั บาลสว่ นกลางเป็นหลกั • สังคมนิยม คือ ระบอบการปกครองแบบหน่ึงท่ีรวมอานาจไวท้ ่ีศูนยก์ ลาง ของประเทศ คือคณะรัฐบาลและ ประมุขของประเทศ เป็นระบอบการปกครองท่ีไม่มีกษัตริยเ์ ป็นประมุข จึงมีลักษณะเป็นสาธารณรัฐเสมอ ทรพั ยส์ ินส่วนใหญ่รฐั บาลจะเป็นผูร้ วบรวมไวแ้ ละแจกจ่ายใหป้ ระชาชนอย่างเท่าเทียมกนั ท่ีสุด เพ่ือไม่ใหเ้ กิด ปัญหาความเหล่ือมลา้ ทางสงั คมและความไมเ่ ทา่ เทียม • สังคมนิยม เป็นระบบสงั คมและเศรษฐกิจซง่ึ มีลกั ษณะ คือ สงั คมเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิต และการจดั การ เศรษฐกิจแบบรว่ มมอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook