Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อนุกุล2542-551

อนุกุล2542-551

Published by กลม กมล, 2018-10-04 23:54:38

Description: อนุกุล2542-551

Keywords: งานเชื่อม

Search

Read the Text Version

หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเชื่อมแผ่นโลหะดว้ ยแก๊ส จัดทาโดย นายอนกุ ลุ พฤกษชาติกลุ รหสั 60181700134สาขาวิชา อุตสาหกรรมศลิ ป์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง

คานา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง การเชือ่ มแผน่ โลหะดว้ ยแก๊ส ไดจ้ ดั ทาขนึ้ เพ่ือใช้ประกอบการเรยี นการสอน สาหรบั นกั เรยี นนกั ศกึ ษาตลอดจนบคุ คลทส่ี นใจ โดยผู้พฒั นาได้แบ่งเนื้อหาของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์นี้ไว้ 8 หวั เร่อื ง ได้แก่ กระบวนการเชือ่ มโลหะดว้ ยแกส๊โครงสร้างและชอ่ื ของชิ้นส่วนอปุ กรณ์เชือ่ มแกส๊ หลักการพื้นฐาน การปฏบิ ัติงาน การปรับเปลวไฟ ลกั ษณะของแนวเชอ่ื ม ตาแหนง่ ทา่ เชอื่ มและชนดิ ของรอยตอ่ และรอยเชื่อม ผู้พฒั นาหวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่า เนื้อหาสาระของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ี จะเปน็ประโยชน์และใหค้ วามรู้แกผ่ เู้ รียนและผูส้ นใจทั่วไป นายอนุกลุ พฤกษชาตกิ ลุ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปาง กนั ยายน 2561

สารบัญ หน้าหัวข้อ 4 5-11กระบวนการเช่อื มโลหะดว้ ยแก๊ส 12โครงสรา้ งและช่ือของช้นิ ส่วนอุปกรณเ์ ช่ือมแก๊ส 13-15หลกั การพืน้ ฐาน 16-17การปฏิบัตงิ าน 18 -20การปรบั เปลวไฟ 21ลักษณะของแนวเชื่อม 22-26ตาแหน่งทา่ เช่อื ม 27ชนิดของรอยต่อและรอยเชอื่ ม 28สรปุ 29ทมี่ าของแหลง่ ขอ้ มลูเกยี่ วกับผู้จัดทา

กระบวนการเชือ่ มโลหะด้วยแกส๊1. กระบวนการเช่อื มโลหะดว้ ยแก๊ส(Oxy-Acctylene Welding; OAN)เปน็ กระบวนการเชอ่ื มโลหะดว้ ยความรอ้ นจากแก๊สเชอื้ เพลิง จนเกดิ เป็นบ่อหลอมละลายจากน้ันเติมลวดเช่ือมเปลือย ลงในบ่อหลอมละลายให้เต็มต่อกันจนเป็นแนวเช่ือมโดยกา๊ ซทนี่ ามาใช้คือก๊าซอะเซทิลนี และกา๊ ซออกซเิ จน ภาพท่ี 1 ภาพอปุ กรณ์เชือ่ มแก๊ส

โครงสรา้ งและชอื่ ของชิน้ ส่วนอปุ กรณเ์ ช่อื มแกส๊ ภาพที่ 2 ลกั ษณะของวาล์วปรับแรงดันกา๊ ซ

ภาพที่ 3ลกั ษณะของกระบอกเช่ือมแก๊สSteel sheet thickness Nozzle capacity(mm) (No.)1 to 1.5 11 to 2.0 22 to 3 33 to 5 55 to 7 7ภาพท่ี 4 แสดงการเลอื กใช้ขนาดของหวั ทพิ (Nozzle)ท่ีเหมาะสม

2.2 แวน่ ตาเช่ือมแกส๊ (Goggle) เป็นแวน่ ตาช่วยกนั แสงสวา่ งจากงานเชื่อม ช่วยใหม้ องบ่อหลอมละลายไดช้ ดั เจน และ ป้องกนั สะเกด็ ไฟเลนส์ป้องกนั แสงของงานเช่ือมแก๊สใชเ้ บอร์ 5 หรือตามความสวา่ งของแสง และวสั ดุที่ใชเ้ ช่ือม ภาพที่ 4.4 แสดงแวน่ ตาเชื่อมแก๊ส

2.3 ท่ีจุดเปลวไฟ(Spark Lighter)ในการจุดเปลวไฟในการเชื่อมหา้ มใชไ้ ฟแชค็ จุดไฟเน่ืองจากอาจเกิดการระเบิดหรือ โดนลวก เน่ืองจากแรงดนั ของแก๊สออกมามาก จึงตอ้ งใชท้ ่ีจุดเปลวไฟเพอ่ืป้องกนั อนั ตราย ภาพที่ 4.5 แสดงที่จดุ เปลวไฟ

2.5 เขม็ แยงหวั ทิพ(Tip Cleaner) ในการเชื่อมแก๊สจะมีสะเกด็ ไฟกระเดน็ มาอุดรูหวั ทิพจึงท าใหแ้ ก๊สหรือเปลวไฟออก ไม่สมบูรณ์ เขม็ แยงหวั ทิพช่วยท าความสะอาดรูของหวั ทิพใหม้ ีขนาดความโตเท่าเดิม ภาพที่ 4.6 แสดงเขม็ แยงหวั ทิพ

2.6 ถุงมือเชื่อม(Welding Glove) การป้องกนัความร้อนจากงานเช่ือม จึงตอ้ งสวมถุงมือท าจากหนงั ภายในบุดว้ ยฉนวน กนั ความร้อน ภาพที่ 4.7 ถงุ มือเชื่อมแก๊ส

2.7 ประแจขนั อุปกรณ์เชื่อมแก๊ส ในการขนั ประกอบชิ้นส่วนเครื่องมือเชื่อมแก๊สจาเป็นตอ้ งใชป้ ระแจขนั ขอ้ ต่อโดยเฉพาะ ไม่ควรใชป้ ระแจเลื่อนเพราะจะ ทาใหห้ วั น๊อตขอ้ ต่อเสียรูปทรง ภาพที่ 4.8 ประแจขนั อปุ กรณ์เช่ือมแก๊ส

•3. หลกั การพืน้ ฐาน(Basic Principle) การเช่ือม Oxy-Acetylene เกิดจากการรวมตวั ของแก๊ส และAcetylene โดยให้การเผาไหม้และระเบิดที่รุนแรง•3.1 แก๊สออกซเิ จน 3.1.1 การจบั ถือทอ่ ออกซิเจน 3.1.2 การขนสง่ เคล่ือนย้ายทา่ แก๊สออกซเิ จน 3.1.3 อนั ตรายจากแก๊สออกซิเจน•3.2 อะเซทิลนี 3.2.1 การใช้แก๊สอะเซทิลีน 3.2.2 การเคลอื่ นย้ายทอ่ แก๊สอะเซทลิ นี

4. การปฏิบตั ิงาน(Operation) การติดต้งั อุปกรณ์ปรับแรงดนั ของท่อแก๊ส 1. ยดึ ท่อแก๊สออกซิเจนและอะเซทิลีนเขา้ ดว้ ยกนั ป้องกนั การลม้ภาพที่ ภาพท่ี 4.9 การยดึ ท่อก๊าซ 2. เปิดฝาครอบทอ่ แก๊สทงั้ 2 ออก ภาพที่ 4.10 การเปิดฝาครอบถงั แก๊ส

3. ปล่อยแก๊สออกมาเลก็ นอ้ ย เพื่อไล่ฝ่ นุ บริเวณปากท่อ ภาพท่ี 4.11 การไล่ฝ่ นุ ปากท่อ4. ประกอบอปุ กรณ์ปรับแรงดนั เข้ากบั ทอ่ แก๊สทงั้ 2 ทอ่ ภาพท่ี 4.12 การตดิ ตงั้ วาล์วปรับแรงดนั ก๊าซ

5. ปลอ่ ยแก๊สออกมาอีกครัง้ เพ่ือไลฝ่ ่นุ ละอองท่ีตดิ อยใู่ นเรคกเู รเตอร์6. ประกอบสายยางสง่ แก๊สเข้ากบั ข้อตอ่ ที่เรคกเู รเตอร์7. ปลอ่ ยแก๊สออกมาอีกครัง้ เพื่อไลฝ่ ่นุ ละอองในสายยางสง่ แก๊ส ภาพที่ 4.14 การตดิ ตงั้ สายยางสง่ แก๊ส

5. การปรับเปลวไฟ(ADJUST OF FRAME) 5.1 การปรับเปลวไฟ 5.2 ความสาคญั ของเปลวไฟ 5.3 บทเรียนสาหรับการใชเ้ ปลวกลาง ภาพท่ี 4.16 ลกั ษณะของเปลวไฟเชื่อม

ภาพที่ 4.17 การปรับเปลวไฟ

6. ลกั ษณะของแนวเช่ือม ภาพที่ 4.18 ลกั ษณะแนวเช่ือม ภาพท่ี 4.19 ลกั ษณะหน้าตดั ของแนวเช่ือม

ภาพที่ 4.20 การเคล่อื นไหวของกระบอกเชื่อมและลวดเช่ือม ภาพท่ี 4.21 การสร้างแนวเชื่อม

ภาพท่ี 4.22 ผลของความเร็วในการเชื่อมที่มีตอ่ รูปร่าง แนวเชื่อมภาพท่ี 4.23 ลกั ษณะของการยบุ ตวั ที่ปลายชิน้ งาน

7. ตาแหน่งท่าเช่ือม แบ่งออกได้ 5 ท่า ภาพที่ 4.24 ตาแหน่งทา่ เชื่อมกบั แนวเชื่อมแบบตา่ ง ๆ

8. ชนิดของรอยต่อและรอยเชื่อม 8.1 ชนิดของรอยต่อ รอยต่องานเชื่อมมีท้งั หมด 5ชนิด ภาพท่ี 4.25 ชนดิ ของรอยตอ่ 8.2 รอยเชื่อมบากร่อง แสดงรอยตอ่ ชิน้ งานเหลก็ หนา ภาพท่ี 4.26 รอยตอ่ เชื่อมบากร่องตามทา่ เช่ือม

8.3 ชิ้นงานท่อหนา(ท่ออยกู่ บั ที่) ภาพที่ 4.27 รอยตอ่ เช่ือมงานทอ่ ตามทา่ เช่ือม

8.4 สญั ลกั ษณ์แนวเชื่อม(Weld Symbols) 1. สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ (ElementSymbols) ตารางท่ี 4.2 สญั ลกั ษณ์ เบือ้ งต้น ตามแบบมาตรฐาน ISO



2. การรวมตวั อยา่ งสญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้(Combinations of Elementary) ตารางท่ี 4.2 สญั ลกั ษณ์ เบือ้ งต้นตามแบบ มาตรฐาน ISO

สรุป หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง การเชื่อมแผน่ โลหะด้วยแก๊ส ได้ จดั ทาขนึ ้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน สาหรับนกั เรียน นกั ศกึ ษาตลอดจนบคุ คลท่ีสนใจ โดยผ้พู ฒั นาได้ แบง่ เนือ้ หา ของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์นีไ้ ว้ 8 หวั เร่ือง ได้แก่ กระบวนการเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส โครงสร้างและชื่อของชิน้ สว่ นอปุ กรณ์เชื่อม แก๊ส หลกั การพืน้ ฐาน การปฏบิ ตั งิ าน การปรับเปลวไฟลกั ษณะของแนวเช่ือม ตาแหนง่ ทา่ เช่ือมและชนดิ ของรอยตอ่ และรอยเช่ือม

ทมี่ าของข้อมูล คณะวชิ าช่างยนต์ (อาจารยจ์ กั รพงศ์ แจง้ เมือง)ท่ีมาของภาพ(อาจารยจ์ กั รพงศ์ แจง้ เมือง)

เก่ยี วกบั ผู้จัดทา นายอนุกลุ พฤกษชาติกลุ รหสั 60181700134 สาขาวชิ า อุตสาหกรรมศิลป์ ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยีอุ ต ส า ห ก ร ร ม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook