Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาพูดภาษาเขียน ยุทธพงษ์ กลิ่นหอม รหัส 009 ภาษาไทย

ภาษาพูดภาษาเขียน ยุทธพงษ์ กลิ่นหอม รหัส 009 ภาษาไทย

Published by กวน ประสาท, 2020-10-08 10:26:16

Description: วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

ตวิ ภาษาไทย เพื่อการสอื่ สาร ภาษาพดู ภาษาเขยี น ครยู ทุ ธพงษ์ กลน่ิ หอม

คานา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร เ รื่ อ ง ภ า ษ า พู ด ภ า ษ า เ ขี ย น เ ล่ ม นี้ ส รุ ป เ นื้ อ ห า ส า ร ะ จ า ก คณุ ครยู ุทธพงษ์ กลนิ่ หอม ครปู ระจาวิชาภาษาไทย มุ่งเน้นให้ผู้เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่าง มีเหตุผล เป็นระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือ สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ช่วยให้ คาดการณ์ วาง แบบตัดสินใจแก้ปัญหา และนา ภาษาไทย ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เล่มน้ี จะเป็นนวัตกรรมที่ช่วยให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตลอดจนสามารถส่งผลให้ผู้เรียนได้ พัฒนาการเรียนรู้ในเร่ืองนี้ให้ดีย่ิงขึ้นและเป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาชาตติ อ่ ไป ครยู ุทธพงษ์ กลิ่นหอม

สารบญั 1 1 คานา 2 4 เรอ่ื ง ภาษาพดู 5 6 วจั นภาษา อวจั นภาษา 7 ประเภทการพดู 8 รปู แบบการพดู 9 วิธีการพดู 10 พูดฉบั พลนั 11 การพดุ ทอ่ งจา พูดแบบอา่ นรา่ งหรอื ตน้ ฉบบั 12 พดู จากความเขา้ ใจโดยมกี ารเตรยี มลว่ งหนา้ 13 องคป์ ระกอบการพดู 14 หลักการพดู 15 เตรยี มตวั ในการพดู เรอื่ ง ภาษาเขยี น การเขยี น ความรพู้ น้ื ฐานการเขยี น ภาษาการเขยี น แบบทดสอบ

การพูด การพดู หมายถึงพฤติกรรม ในการส่ือความหมายของมนุษย์ การเปล่งเสียงเป็ นถ้อยคา การใช้ภาษาทไ่ี ม่ใช้ถ้อยคา วัจนภาษา อวัจนภาษา การพดู ทด่ี ตี ้องสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ ใช้วจั นภาษา อวจั นภาษา ได้ถูกต้อง เหมาะสมกบั ผู้ฟัง สถานที่ เวลา โอกาส และสถานการณ์ แวดล้อมต่าง ๆ ประเภทการพูด ๑. การพดู อยา่ งไม่เป็นทางการ คือ การพดู ในชีวิตประจาวนั เช่น การสนทนา การพูดโทรศพั ท์ ๒. การพดู อยา่ งเป็นทางการ คือ การพดู อยา่ งเป็นพธิ ีการ ในที่ประชุม หรือ การพดู ตอ่ หนา้ ชุมชนในโอกาสต่าง ๆ

รูปแบบ การพูด การพดู มีหลายแบบ เพอ่ื ใหป้ ระสบความสาเร็จในการพดู ผพู้ ดู ควรเลือกแบบการพดู ใหเ้ หมาะสมกบั จุดประสงคข์ องการพดู 1 การพูดบอกเล่าหรือบรรยาย แต่ละคร้ัง แบบของการพดู มีดงั น้ี หมายถงึ การพดู ทม่ี ุ่งให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผ้ฟู ัง เช่น การพูดอบรม ปฐมนิเทศ ชี้แจงระเบียบ ข้อบังคบั 2 สรุป รายงาน การสอน การพูดจูงใจหรือโน้มน้าวใจ หมายถงึ การพดู ทม่ี ุ่งให้ความรู้ ความคดิ ปลุกเร้า ให้ผู้ฟังคดิ ตาม เช่ือถือ คล้อยตาม และปฏบิ ตั ติ าม วธิ ีการพูดต้องสอดใส่อารมณ์ กริ ิยา ท่าทาง ความรู้สึกทจ่ี ริงใจ ลงไป

รปู แบบ การพูด 3 การพดู จรรโลงใจ หรือการพูดเพ่ือความบันเทิง หมายถึง การพดู ทมี่ ุ่งให้ความ สนุกสนาน ร่ืนเริง ขณะเดยี วกนั กไ็ ด้สาระ หรือได้แง่คดิ บาง ประการด้วย เช่น การเล่านิทาน การเล่าเรื่องตลก ในการปฏิบตั ิ แมว้ า่ ผพู้ ดู จะเนน้ หนกั ไปในการพูดแบบใดแบบหน่ึงแต่ กส็ ามารถนาการพูดท้งั 3 แบบ มาปรับใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และเน้ือหา เพ่อื ใหก้ ารพดู คร้ังน้นั ๆ ประสบความสาเร็จ

วธิ กี ารพดู พูดแบบฉับพลนั การพูดแบบท่องจา พูดแบบอ่านจากร่างหรือต้นฉบบั พูดจากความเข้าใจ โดยมกี ารเตรียมตวั ล่วงหน้า

วธิ กี ารพดู พูดแบบฉับพลนั การพูดทผ่ี ู้พดู ไม่มีโอกาส หรือไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้า ประสบการณ์ จะช่วยให้ผู้พดู ความรู้ พูดได้ดี ความคดิ และปฏิภาณ ในชีวติ ประจาวัน ไหวพริบ

วิธกี ารพูด การพูดแบบท่องจา วธิ ีนีน้ ิยมใช้แบบเป็ นทางการ การกล่าวรายงาน แถลงการณ์ กล่าวเปิ ด กล่าวปิ ดงาน กล่าวตอบในพธิ ีการต่าง ๆ

วธิ กี ารพดู พูดแบบอ่านจากร่างหรือต้นฉบบั บางคร้ังเราจาเป็ นต้องจาข้อความบางอย่างไปใช้อ้างหรือใช้พดู กลอน บทกวี คาคม สถิติ ภาษิต โคลง ตวั เลข

วธิ กี ารพูด พูดจากความเข้าใจ โดยมกี ารเตรียมตวั ล่วงหน้า การพูดจากความเข้าใจ การพดู จากความรู้ ความสามารถ ความรู้สึกของผู้พดู

องคป์ ระกอบ การพดู การพูดคือ พฤติกรรมในการส่ือสาร องค์ประกอบของการพูด จะเป็ นไปในทานองเดียวกับองค์ประกอบของการส่ือสาร น่ันคือ มอี งค์ประกอบพืน้ ฐานทสี่ าคญั คือ สาร เนื้อหาสาระ ผู้ส่ งสาร ภาษา ผู้รับสาร

การ หลกั พดู

องค์ประกอบ วเิ คราะห์ผู้ฟัง ทส่ี าคัญของการพูด เตรียมตวั ผู้พดู บุคลกิ ภาพภายนอก บุคลกิ ภาพภายใน เตรียมตวั ในการพดู  กาหนดวตั ถุประสงค์การพูดให้ชัดเจน  เลือกเรื่องทจ่ี ะพูด  ค้นคว้ารวบรวมเนื้อหา  วางโครงเร่ืองและเรียบเรียงเรื่อง ส่ือหรือเครื่องมือถ่ายทอดสาร ในการพดู คือภาษา เตรียมเนื้อหา เตรียมส่ือ

การเขียน การส่ือสารของมนุษยม์ ีพฒั นาการมาโดยลาดบั จากการส่ง สารดว้ ยการพูดและรับสารดว้ ยการฟังมาสู่การส่งสารดว้ ยการเขียน และรับสารดว้ ยการอ่าน ซ่ึงเกิดเมื่อมนุษยไ์ ดร้ ังสรรคต์ วั อกั ษรข้ึนมา ใชแ้ ทนเสียงในภาษา ในยคุ ของการส่ือสารไร้พรมแดนการเขียนย่ิงมี บทบาทและความสาคญั มาแทนท่ีการพูดมากข้ึน ขณะที่การอ่านก็มี บทบาทและความสาคญั แทนการฟังมากข้ึน ท่านผรู้ ู้ไดก้ ล่าววา่ การเขียนเป็นท้งั ศาสตร์และศิลป์ ความเป็น ศาสตร์ของการเขียนอยูท่ ่ีการมีกฎเกณฑห์ รือไวยากรณ์ที่ปราชญ์ได้ กาหนดข้ึนซ่ึงสามารถเรียนรู้และฝึ กฝนได้ ส่วนดา้ นความเป็ นศิลป์ ของการเขียนก็คือความประณีตในการเลือกสรรถอ้ ยคามาใชเ้ พื่อสื่อ ความหมาย การรู้จกั เลือกใชถ้ อ้ ยคา สานวน โวหาร และลีลาต่าง ๆ

การเขคยีวานมรู้พนื้ ฐาน การให้ คาจากัดความแสดงความหมายของ การเขียนน้ั นอาจมีคว ามแตกต่ างไปได้ หลา ย ทางท้ังนี้ขึ้นอยู่กับทัศนะและเจตนาตามแง่มุม ของวตั ถุประสงค์และความสาคญั ในการเขียนท่ี แตกต่างกนั ออกไปของแต่ละบุคคล 1. ระดับเคร่งครัดไม่มากนัก เรียกว่า ภาษากึ่งแบบแผน หรือ ภาษาไม่เป็ นทางการ 2. ในวรรณกรรมมีการใช้ ภาษาเขียน 3 แบบ คือ ภาษา เขียนแบบจินตนาการ

กภาาษราเขียน ผดิ หวงั วยั รุ่น แย่มาก เบื่อหน่าย เยย่ี มมาก เลก็ น้อย เสียดสี

แบบทดสอบความรู้ ภาษาพูด ภาษาเขียน

ภาษาพูด ภาษาเขยี น คาชแี้ จง : จงเลอื กคาตอบทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว ๑. การเขียนในขอ้ ใดมีลกั ษณะคลา้ ยการเขียนอธิบาย ก. การเขยี นชี้แจง ข. การเขียนโต้แย้ง ค. การเขียนรายงาน ง. การเขยี นแสดงความคดิ เห็น ๒. เร่ืองท่ีนามาเขียนอธิบายควรมีลกั ษณะอยา่ งไร ก. เร่ืองทที่ นั สมยั ข. เรื่องทเ่ี ป็ นประโยชในชีวติ ประจาวนั ค. เรื่องทน่ี ่าสนใจ น่ารู้ และต้องการคาอธิบาย ง. เร่ืองทใ่ี ห้ความรู้ความคดิ และนาไปปฏบิ ัติตามได้ ๓. ขอ้ ใดไม่ใช่วธิ ีการเขียนอธิบาย ก. ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ข. ใช้ถ้อยคาที่กระชับ รัดกมุ ค. เขียนเรียงลาดบั ขึน้ ตอนในการปฏิบัติ ง. เขียนโดยยกเหตุผลและมตี วั อย่างประกอบชัดเจน

๔. บุคคลใดเขียนแสดงความคิดเห็นไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การ ก. ก้งุ ไม่มอี คติในเร่ืองทเี่ ขียน ข. หอย เขยี นเพื่อชักจูง เกลยี้ กล่อมผู้อ่ืน ค. ปูเขยี นโดยใช้ข้อมูลในการนาเสนอได้ถูกต้อง ง. ปลาต้องการเขยี นเพ่ือให้เกดิ การปรับปรุง เปลย่ี นแปลงพฒั นาไปในทางทดี่ ี ๕. ขอ้ ใดแสดงวา่ เลือกเรื่องท่ีเขียนรายงานศึกษาคน้ ควา้ ไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การ ก. นิด เลือกเรื่องทก่ี ่อให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงในสังคม ข. น้องเลือกเรื่องทยี่ งั ไม่มผี ้เู ขยี น หรือยงั ไม่แพร่หลาย ค. นงค์เลือกเรื่องทต่ี นเองมีความสนใจ และมปี ระสบการณ์ ง. นา้ เลือกเร่ืองทผี่ ู้อ่านสนใจ เหมาะสมกบั ผ้อู ่าน และเป็ นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ๖. สารที่ผสู้ ่งมีเจตนาจะก่อใหเ้ กิดความเปล่ียนแปลง ข้ึนในตวั ผรู้ ับ เรียกวา่ สารประเภทใด ก. การแสดงเหตุผล ข. การแสดงทรรศนะ ค. การโน้มน้าวใจ ง. การโต้แย้ง

๗. ขอ้ ใดเป็นการใชภ้ าษาท่ีมีน้าเสียงโนว้ นา้ วใจ ก. อ๊ะ! อ๊ะ! อย่าทงิ้ ขยะ \"ตาวเิ ศษ\" เห็นนะ ข. โปรดทงิ้ ขยะลงถงั ฝ่ าฝื นปรับ 100 บาท ค. ผู้มีวฒั นธรรมเท่าน้ัน ทไี่ ม่ทงิ้ ขยะเกลื่อนกลาด ง. ทงิ้ ขยะเกลื่อนกลาดบ้านเมืองจะสะอาดได้อย่างไร ๘. ในการเขียนจดหมายขอความช่วยเหลือ สารในขอ้ ใด จะโนม้ นา้ วใจใหผ้ รู้ ับสารปฏิบตั ิตามมากที่สุด ก. จงึ เรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์ ข. จงึ เรียนมาเพื่อพจิ ารณาอนุเคราะห์ ค. หวงั ว่าคงได้รับความอนุเคราะห์ด้วยดี ง. คงได้รับความอนุเคราะห์ด้วยดจี ากท่าน ๙. ขอ้ ใดเป็นหลกั ภาษาที่มีลกั ษณะโนม้ นา้ วใจเด่นชดั ท่ีสุด ก. ขับช้าๆ อนั ตราย ข. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง ค. เท่อย่างมที ่า ไม่พง่ึ พาบุรี่ ง. ไม่มที ่านเราอด ไม่มรี ถเราเดนิ

๑๐. ขอ้ ความน้ีโนม้ นา้ วใจดว้ ยวธิ ีใด ก. การเร้าให้เกดิ อารมณ์อย่างแรงกล้า ข. การอ้างบุคลหรืสถาบัน ค. การแสดงให้ประจักษ์ถึงความรู้สึกของผู้เขียน ง. การแสดงให้เห็นทางเลือกท้ังด้านดแี ละด้านเสีย

ภาษาไทย เพื่อการส่อื สาร ครูยทุ ธพงษ์ กลน่ิ หอม