Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการนิเทศภายใน ปี2562

รายงานการนิเทศภายใน ปี2562

Description: รายงานการนิเทศภายใน ปี2562

Keywords: นิเทศ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการนิเทศภายในสถานศึกษา ปง บประมาณ 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอวดั เพลง สํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ นํา พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และท่แี กไขเพิ่มเติม กําหนดใหส ถานศึกษา ตองดาํ เนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ตัวบง ชี้ ท่ีกาํ หนด ซ่ึงการนิเทศภายในเปนกิจกรรมหลัก กจิ กรรมหนึง่ ของระบบการประกันคณุ ภาพ การจดั การศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มี การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อสนองตอความตองการของประชาชนและมีการดําเนินงานอยูในทุกสภาพ พ้ืนที่ท่ีมีความแตกตางสภาพสังคม การนิเทศจะสามารถชวยพัฒนาศักยภาพครูใหเปนมืออาชีพ และจัดการ ศึกษาใหบ รรลุตามเจตนารมณของหลักสูตรและกิจกรรมไดสํานักงาน กศน.ไดกําหนดใหการนเิ ทศภายในเปน นโยบายและจดุ เนน โดยใหมกี ารนเิ ทศ กํากับ ติดตามและประเมินผล เพื่อใหการจัดการศึกษานอกระบบปละ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยมีคุณภาพสามารถสนองความตองการของประชาชนได เอกสารรายงานการนเิ ทศฉบับนจ้ี ัดทําขึ้นเพือ่ สรุปผลการนิเทศภายในสถานศกึ ษาของศนู ยก ารศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอวดั เพลง เพอ่ื สงเสริมสถานศึกษาใหด าํ เนนิ งานการจัดการศกึ ษาให บรรลุตามเปาหมายอยางมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาไดมีการแตงต้ังคณะนิเทศภายในสถานศึกษา การจัดทํา แผนการนิเทศภายในสถานศึกษา และการนิเทศติดตามผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู ซ่ึงผลการนิเทศภายใน สถานศึกษาเลมน้ีจะเปนขอมูลเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในปงบประมาณถัดไป กศน.อําเภอวัดเพลง กนั ยายน 2562

สารบัญ หนา บทที่ บทสรุปผูบริหาร.................................................................................................................................. ก 1 บทนาํ ............................................................................................................................................... 1 - ความนาํ .............................................................................................................................. 1 - วตั ถปุ ระสงค........................................................................................................................ 2 - ผูรบั ผิดชอบ……………………………......................................................................................... 2 - ระยะเวลาในการดําเนินการ................................................................................................. 2 - สื่อประกอบการนิเทศ.......................................................................................................... 2 - กระบวนการนิเทศ…………................................................................................................... 2 - ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร ับ.................................................................................................. 2 2 เอกสารท่ีเกย่ี วขอ ง........................................................................................................................... 3 - การนิเทศภายในสถานศึกษา……………................................................................................ 3 - หลกั การนเิ ทศภายในสถานศึกษา…………………................................................................... 4 - หนา ท่ีความรับผิดชอบของผูนิเทศภายในสถานศกึ ษา......................................................... 4 - กระบวนการนิเทศ ......................…………………................................................................... 5 - สถานศึกษากับการนิเทศภายใน…………………..................................................................... 6 - ขอ ควรคํานงึ ในการนเิ ทศภายใน.......................................................................................... 10 3 วธิ ีการดาํ เนินการนเิ ทศภายใน......................................................................................................... 11 - วางแผนการนิเทศ………………….......................................................................................... 11 - เตรียมการนเิ ทศ……………………………………………...................................................................... 11 - ปฏิบัตกิ ารนิเทศ……………………………………………............................................................... 12 - การรายงานผลการนิเทศ................................................................................................... 13 4 สรปุ ผลการนิเทศติดตามผลและขอเสนอแนะ................................................................................. 14 - การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา........................................................................................... 14 - การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน……………………………………....................................................................... 16 - การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ……………………………................................................................ 19 - การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ ......................................................................................... 21 - การศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมชมุ ชน........................................................................................ 22 - การจดั กระบวนการเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง...................................... 24 - การจัดการศึกษาตามอัธยาศยั …………………………................................................................ 26 - โครงการสง เสริมประชาธปิ ไตยในชมุ ชน ............................................................................ 31 - โครงการเพิม่ โอกาสทางการศึกษาใหก ับประชากรวยั เรียนทอ่ี ยูนอกระบบการศกึ ษา............ 32 - การขยายผลการอบรมหลักสตู รการคาออนไลน. .................................................................. 34 - โครงการภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สารดานอาชีพ.................................................................. 35

สารบญั (ตอ) บทที่ หนา 4 สรุปผลการนิเทศติดตามผลและขอเสนอแนะ (ตอ) - การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การขยะมูลฝอย............................................................. 36 - โครงการอบรม Smart ONIE เพ่ือสรา ง Smart Farmer พัฒนาใหเ ปนเกษตรกรตนแบบ..... 38 - โครงการอบรมหลกั สูตรผูดูแลผสู งู อายุ (Caregiver)................................................................ 39 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………..............……. 40 ภาคผนวก ก คําสั่งแตง ตง้ั คณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษา………………………..............……. 40 ภาคผนวก ข กิจกรรมการพฒั นาผูนิเทศภายในสถานศกึ ษา……………..........…………..............……. 42 ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา......……………..........…………..............……. 47 คณะทํางาน………………………………………………………………………………………………………………..............……. 59

ก บทสรปุ ของผบู ริหาร จากผลการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ประจําปงบประมาณ 2562 ของศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอวัดเพลง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยสรปุ พบวา ผลการนเิ ทศ 1. การประกันคุณภาพการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษา มีความเขาใจ ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา มคี ําสัง่ แตงต้ังมอบหมายใหบคุ ลากรรบั ผิดชอบการดาํ เนินงานประกันคุณภาพ การศึกษาและแตงตั้งบุคลากรในสังกัดเปนผูรับผิดชอบในแตละมาตรฐาน ครบท้ัง 3 มาตรฐาน และ 20 ตัวบงชี้ บุคลากรทุกคนมีความรับผิดชอบและเขาใจบทบาทหนาที่ สถานศึกษาไดจัดทําประกาศ มาตรฐานการศึกษา สถานศึกษามีการจดั ทําแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาเปนปจจุบัน ซ่ึงเปนแผนระยะ 3 ป โดยนําขอมูลสารสนเทศของ กศน.ตําบล มาใช วิเคราะห กิจกรรม โครงการใหสอดคลองกับมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา มีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ทุกปอยางตอเนื่อง สถานศึกษามี คําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการนิเทศภายในเพ่ือติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และมีการจัดระบบบรหิ าร และสารสนเทศ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใชขอมูลจากรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการ/ กิจกรรมประจาํ ป และรายงานขอมลู ในระบบฐานขอ มูลเพ่อื การบรหิ ารจดั การ สาํ นักงาน กศน. (DMIS) 2. การศึกษาข้นั พื้นฐาน การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กศน.อําเภอวดั เพลง ไดมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยมีคณะกรรมการดําเนินงานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จดั ทํา โดยจําแนกตามระดับการศึกษา สถานศึกษาไมมีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เนื่องจากบุคลากรในสังกัด ไมม ีความเช่ยี วชาญในการพฒั นาและการประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา ดานการจัดทาํ แผนการเรียนรู ครู กศน. ตาํ บล มกี ารจัดทําแผนจัดการเรียนรรู ายภาค และแผนจัดการเรียนรูรายสัปดาห กระบวนการพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรูยังขาดการกํากับ และใหการช้ีแนะจากหัวหนางานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครูกศน.ตาํ บลบางสวน ยังใหค วามสําคัญในการจัดทาํ แผนการจัดการเรยี นรูนอ ย ซ่งึ สงผลใหก ารจัดทาํ แผนจดั การเรียนรไู มเ ปนปจ จบุ ัน ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูกศน.ตําบลมีจํานวนนักศึกษาท่ีรับผิดชอบเปนไปตามเกณฑที่ สํานกั งาน กศน.กําหนดไว โดยในภาคเรียนที่ 2/2562 มีนักศกึ ษาจาํ นวน 162 คน และภาคเรียนที่1/2562 จาํ นวน 167 คน สถานศึกษา มีการแตงต้ังครูประจาํ กลุมและสถานที่พบกลมุ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนทุกภาคเรียน และครูกศน. มีการจัดทาํ ปฏทิ ินการพบกลมุ แจงใหผูเรียนทราบ ครูไดดําเนนิ การจัดกิจกรรม การเรียนรูตามแผนการเรียนรู หรือบางครั้งไดปรับแผนการเรียนรูใหเหมาะสม ดานการจัดกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผูเรียน สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมโครงการตามกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรยี น ไดแก โครงการสถานศึกษาคุณธรรม โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โครงการประวตั ิศาสตร ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไทย และโครงการคายลูกเสือวิสามัญ กศน. ซ่ึงแตละโครงการที่ สถานศึกษาดําเนินการเปนกิจกรรมที่สอดคลองกับอัตลักษณของสถานศึกษาทําใหการพัฒนาผูเรียนเปนไป ตามอัตลักษณของสถานศึกษา ดานการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช) สถานศึกษาไดมีการมอบหมาย ใหค รูกศน.ตาํ บลเปนที่ปรึกษาในการดําเนินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยสว นใหญเปน กิจกรรมท่ีมุงเนนให นักศกึ ษาดาํ เนนิ การตอบโจทยต ัวชี้วัดตามอตั ลกั ษณของสถานศกึ ษา คือ พอเพยี ง มวี ินัย จิตอาสา

ข 3. การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ สถานศึกษาการจัดการศึกษาโดยมีการสํารวจความตองการของ กลุมเปาหมาย หรือจัดตามแผนชุมชนของตําบล ซึ่งสวนใหญสอดคลองกับการประกอบอาชีพเดิมของผูเรยี น มีการปรับปรุงหลักสตู รใหสอดรับตามเกณฑการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาและการประเมินคุณภาพ ภายนอก แตยังขาดการประเมินหลักสูตร อาจเนื่องจากครูขาดความความรู ความเขาใจเร่ืองการประเมิน หลักสูตร ในการดําเนินงานจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ สถานศึกษาไดมีการดําเนินจัดกิจกรรมการพัฒนา อ าชี พ ร ะ ย ะ ส้ั น (ก ลุ ม ส น ใจ ) กิ จ ก ร ร ม ชั้ น เรี ย น วิ ช าชี พ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม 1 อํ าเภ อ 1 อ าชี พ การพัฒนาอาชีพระยะสนั้ (กลุมสนใจ) จํานวนไมเกิน 30 ช่วั โมง สถานศึกษาไดดําเนินการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนจํานวน 14 หลักสูตร ซึ่งแตละหลักสูตร ครู กศน.ตําบลไดมีการสํารวจความตองการของ ประชาชนจากเวทีประชาคมของหมูบาน แตยังพบวาหลักสูตรที่ดําเนินการจัดสอนครู กศน.เปนผูพัฒนา หลักสูตรเองทงั้ หมด กิจกรรมช้ันเรียนวิชาชีพ จํานวน 31 ชั่วโมงข้ึนไป สถานศึกษาไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน จํานวน 5 หลักสูตร ซ่ึงครูแตละคนจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ซํ้ากัน ซึ่งเปนหลักสูตรที่ สามารถนําไปสรางอาชพี ใหมได แตยังพบวาคาวัสดุท่ีใชในการจัดทําผลิตภัณฑตา ง ๆ คอนขา งสูงทําใหผูเรียน บางสว นยงั ไมส ามารถนาํ ไปตอ ยอดเปน อาชีพได กิจกรรม 1 อําเภอ 1 อาชีพ สถานศึกษาไดมีการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 3 หลักสูตร ไดแก การแปรรูปมะนาว การถักตะกราจากเชือกมัดฟาง และการสานตะกราจากเสนพลาสติก เดโคพารท โดยเปน หลักสตู รที่จัดข้ึนเพอ่ื ตอบสนองความตองการของชุมชนและเปนการตอ ยอดอาชีพเดิมของ ประชาชน ดานวิทยากรสวนใหญเปนภูมิปญญามีความรูความสามารถตรงตามหลักสูตรที่กําหนดแตยังขาด ความรูในดานการวัดและประเมินผล โดยมีครู กศน.เปน ผใู หคําแนะนําการวัดและประเมนิ ผล และสถานศึกษา ยงั ไมไดมีการประชุมวิทยากรเพ่ือช้ีแจงแนวทางการดําเนินงานตามคูม ือการศึกษาตอเนื่อง และยังไมมีการจัด อบรมวทิ ยากร/ผสู อน ใหมคี วามรูเร่อื งการจดั ทาํ หลกั สูตร การทาํ แผนจัดการเรยี นรู การทําส่อื ตลอดจนการวัด และประเมินผลซ่ึงจะไปสอดคลองกับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัด การศึกษา/การใหบริการ ตัวบงชี้ท่ี 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาตอเน่ือง ในประเด็นการดําเนินงานที่เปน กระบวนการในการสงเสริม หรอื พัฒนาวิทยากรการศึกษาตอเนื่องใหมคี ุณภาพ ดานผูเรียนสวนใหญเปนกลุมที่สนใจและตองการจะพัฒนาอาชีพของตนเอง และยังพบวาผเู รยี นบาง รายไมส ามารถพัฒนาช้ินงานไดเสร็จตามกําหนดของหลักสูตร และผูเรียนไมสามารถมารว มกิจกรรมการเรียน การสอนไดทุกวันเนื่องจากมีภารกิจประกอบอาชีพสวนตัว ผูเรียนสวนใหญเปนกลุมเปาหมายเดิมในรอบปที่ ผานมาเปน การตอ ยอดความรสู กู ารมงี านทาํ หรอื ประกอบอาชพี 4. การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต การดาํ เนินงานจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตสถานศึกษาไดมี การจัดกิจกรรมโครงการสงเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน โดยมีการเก็บรวบรวม ขอ มูลปญหาสุขภาวะสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ๔ กลุม คือ กลุมแม กลุมเด็ก กลุมผูสูงอายุ และกลุม คนที่เปนโรคไมติดตอ โดยไดประสานความรวมมือกับโรงพยาบาลวัดเพลง และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบล ทั้ง 4 แหง และมีการวางแผนการดําเนินงานรวมกับทีมอําเภอสุขภาวะซึ่งครู กศน.ตําบลไดรับการ แตงต้งั เปน คณะกรรมการดําเนินงานอําเภอสุขภาวะระดบั ตําบล ทําใหม ีการประสานงานการจดั กิจกรรมอยา ง สมํ่าเสมอ ในประเด็นการประชาสมั พันธการสรางการรับรู ครูกศน.ตําบลไดรวมกับคณะกรรมการดําเนินงาน อาํ เภอสขุ ภาวะในการประชาสัมพันธก ารสรา งการรับรู สรางความเขา ใจใหแกประชาชน

ค 5. การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมชุมชน การดําเนินการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน สถานศึกษาไดนํานโยบายของรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกสุรเชษฐ ชัยวงศ) มาเปน แนวทางในการดําเนินงานโดยจัดเปนโครงการชุมชนตนแบบตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน โดยครูกศน.ตําบล พจิ ารณาจากความพรอ มของชุมชนและการเขารวมกิจกรรมของประชาชนซ่งึ คัดเลือกตามภารกิจหลัก 4 ศูนย กศน.ตําบล ไดแก กศน.ตําบลวัดเพลง คัดเลือกบานบึงทาใหญ ตามภารกิจศูนยฝกอาชีพชุมชน กศน.ตําบล จอมประทัด คัดเลือกบานบางกลวย ตามภารกิจศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี ใหมประจําตําบล และ กศน.ตําบลเกาะศาลพระ คัดเลือกบานคลองขุด ตามภารกิจศูนยเรียนรูปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบล โดยครู กศน.ตําบลและผูนําชุมชนมีการวางแผนการ ดําเนินงานเพ่ือใหสอดรับกับภารกิจ 4 ศูนย กศน.ตําบล และสามารถขับเคล่ือนการดําเนินงานตามโครงการ โดยกิจกรรมโครงการตาง ๆ ที่จะดําเนินการจัดใหกับประชาชนในพื้นท่ีเปนการนําเสนอขอมูลความตองการ ของประชาชนจากเวทีประชาคมตามโครงการไทยนิยมย่ังยืนของแตละชุมชน หลังจากครูมีการจัดเวที ประชาคมเรียบรอยแลวนําขอมูลมาวางแผนการจัดกิจกรรมโดยมีการเสนอขอเปลี่ยนแผนการจัดกิจกรรมใน แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ 2562 ใหผูบ ริหารสถานศึกษาอนุมัติ เพ่ือใหสอดคลองกับความตองการ ของประชาชนในชุมชน ครู กศน.ตาํ บล การพัฒนาผลิตภณั ฑข องชมุ ชนตนแบบ ครกู ศน.ตําบล และผนู ําชุมชน มีการประชุมเพื่อวางแผนการจัดทําผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑ การประชาสัมพันธ การจัดจําหนาย ผลิตภัณฑในชุมชน มีการนําวสั ดุในทองถิ่นมาทําเปนผลิตภัณฑชุมชน เชน กลวย นํามาแปรรูปเปนกลวยกวน กลวยอบมวน กลวยแผน มะพราว นํามาแปรรูปเปนมะพราวแกว เปนตน ในดานการใชส่ือ และเทคโนโลยี เขามามีสวนรวมในการเรียนรู และเปนชองทางการจําหนายผลิตภัณฑอาชีพของชุมชน ชุมชนมีการนําสื่อ เทคโนโลยีเขามาใชใ นการจาํ หนา ยผลิตภัณฑของชุมชนผา นโครงการดจิ ิทัลชมุ ชน หลักสตู รการคาออนไลน โดย มีการบรู ณาการขายสินคาของชุมชนผานส่ือออนไลน เชน แฟนเพจเฟสบุคของชุมชน และกลุม OOCC กศน. อําเภอวัดเพลง ดานการสรางการรับรูในหัวขอ 05 รูสิทธิรูหนาท่ี รูกฎหมาย หัวขอ 06 รูกลไกการบริหาร ราชการสถานศึกษาไดมีการสอดแทรกความรูเร่ืองสิทธิ หนาที่และกฎหมายในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง และวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง และสถานศึกษาไดจัดทําโครงการชุมชน ตนแบบตามโครงการไทยนิยมยงั่ ยืน เพื่อใหความรูในเร่ืองรูสิทธิ รหู นาท่ี รกู ฎหมาย รูกลไกการบริหารราชการ โดยมนี ายอาํ เภอวดั เพลง และปลัดอาํ เภอวัดเพลง เปน วิทยากรใหค วามรู 6. การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษามีการนอมนําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมมาสูการปฏิบัติโดยจัดทําโครงการสงเสริมการเรียนรูตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ครูมีการวางแผนการดําเนินงานของศูนยเรียนรูปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม โดยการสํารวจความตองการของประชาชนผานเวทีประชาคมของ หมูบาน นํามาสูการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ของสถานศึกษา ครูมีการประสานภูมิ ปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบานเพ่ือเปนวิทยากรในการถายทอดความรูและมีการจัดทําหลักสูตรการเรียนรูที่ หลากหลาย เชน การทําปุยนาํ้ ชีวภาพ การทําเกษตรธรรมชาตสิ กู ารพัฒนาอยา งยง่ั ยนื การปลกู พชื ผกั ในตะกรา โดยมีการจัดอบรมประชาชนเรื่องปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงโดยเนนใหประชาชนที่ไดมีนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการดาํ เนนิ ชีวิตประจาํ วนั การดําเนนิ โครงการไดจัดในลกั ษณะการฝกอบรม รปู แบบการบรรยายและการฝกปฏิบัติ ซ่ึงกศน.ตําบลแตละแหงไดมีการดําเนินงานตําบลละ 2 รุน แตละรุนมี เนื้อหาที่สอดรับกันเพ่ือใหผูเขารับการอบรมมีการนําความรูไปตอยอดในการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน วิทยากรสวนใหญเปนภูมิปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบานที่มีความรูความสามารถในดานการทําเกษตร และ ประสบความสําเร็จในการทําการเกษตร และวทิ ยากรทีเ่ ปนนกั วชิ าการสง เสริมการเกษตรจากสาํ นกั งานเกษตร อาํ เภอวดั เพลง เปน ผูถายทอดความรูใหกับผูเขา รับการอบรม

ง 7. การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามกี ารดาํ เนินการโครงการสง เสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ 2562 เพ่ือสงเสริมใหประชาชนมีนิสัยรักการอาน และสามารถนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวัน และเพื่อสรางเครือขายสงเสริมการอานในชุมชน โดยไดมีการนํายุทธศาสตรการขับเคล่ือน นโยบายการสงเสริมการอานของสํานักงาน กศน. พ.ศ. 2561-2564 มาเปนแนวทางในการดําเนินงาน ซึ่งสถานศึกษาไดมีการจัดกิจกรรมเพ่ือใหสอดคลองกับยุทธศาสตร เชน กิจกรรมประชุมสรางความรูความ เขาใจเก่ียวกับบทบาทของอาสาสมัครสงเสริมการอาน กิจกรรมพัฒนาหองสมุดประชาชน การจัดหาหนังสือ หนังสือพิมพ วารสารเพื่อใหบริการการอานและการเรียนรูแกประชาชน กิจกรรมหองสมุดเคล่ือนท่ีสําหรับ ชาวตลาด กิจกรรมครอบครัวรักการอาน กิจกรรมสงเสรมิ การอา นสําหรบั ผูส งู อายุ กิจกรรมหองสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรมวันรักการอาน กิจกรรมบานหนังสือชุมชน กิจกรรมสงเสรมิ การอานผานแอปพลิเคชัน Watpleng Library มีผูใชบริการและผูเขารวมกิจกรรมตลอดปงบประมาณ จํานวน 36,159 คน เมื่อพิจารณาราย ยทุ ธศาสตร พบวา ยทุ ธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีผรู ับบริการเกินเปา โดยมีเปาหมายใน การดําเนินงาน จํานวน 1,500 คน ผลการดําเนินงาน มีผูรับบริการ จํานวน 29,966 คน เหตุผล เนื่องมาจากใชแ อปพลิเคชนั หองสมุดซ่งึ เปนชองทางใหประชาชนคนควาหาความรู ผานบรกิ ารบนสมารทโฟน ทําใหประชาชนสามารถอานและคน ควาหาความรูไดท ุกท่ี ทุกเวลา ตามความตอ งการ ซง่ึ โดยปกตเิ วลาวางจาก การทํางานของผูใชบริการคือหลังเลิกเรียน หลังเลิกงาน ซ่ึงหองสมุดก็ปดบริการแลว การประเมินผลการ ดําเนินงานโครงการในครั้งนี้ เปนการประเมินวัดระดับความพึงพอใจตอการเขารวมกิจกรรม โดยใช แบบสอบถามความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมทั้งท่ีอยูในระบบออนไลนในรูปแบบGoogle form และ รปู แบบเอกสาร วดั ผลประเมนิ ผลตามวัตถุประสงคของโครงการโดยวิธีสังเกตและวิธีสัมภาษณแบบมโี ครงสราง 8. โครงการสงเสริมประชาธิปไตยในชุมชน สถานศึกษาไดรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการ เลือกตัง้ จงั หวัดราชบรุ ี (กกต.) ในการจดั กิจกรรมสงเสริมประชาธปิ ไตย ครกู ศน.ตาํ บลจัดทาํ แผนการดําเนนิ งาน ของศูนยสงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจําตําบลที่ไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการสถานศึกษา โดยจัด โครงการสงเสรมิ ประชาธิปไตย ในชุมชน ซ่ึงไดร ับการสนับสนุนงบประมาณจากสาํ นักงานคณะกรรมการการ เลอื กตัง้ ประจาํ จังหวัดราชบุรี เพื่อสรางความตระหนักของประชาชนในการมีสวนรวมในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยจัดทําปายรณรงคสงเสริมประชาธิปไตย การคัดเลอื กหมูบานตนแบบไม ซ้อื สิทธข์ิ ายเสียงระดบั ตาํ บล กจิ กรรมสรางจิตสํานกึ พลเมืองดวี ิถีประชาธิปไตย กิจกรรมรณรงคห มบู า นไมข าย เสียง กิจกรรมเผยแพรความรูเรอื่ งการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนการทั่วไป กิจกรรมสรางจิตสํานึก ในการยับยั้งการตระหนักรูภัยของการซื้อสิทธ์ิขายเสียงและการทุจิตการเลือกตั้ง โดยมีการรณรงสงเสริมให ประชาชนออกมาใชส ิทธ์ิเลือกตั้ง สถานศึกษามีการคัดเลือกชมุ ชนตนแบบหมูบานไมซื้อสทิ ธ์ิขายเสียงตนแบบ ระดับตําบล และมีการมอบปายชุมชนตนแบบใหกับผูนําชุมชน ไดแก ตําบลวัดเพลง บานเพลง หมูท่ี 5 ตําบลจอมประทดั บานปลายคลองเลก็ หมูท่ี 5 และตําบลเกาะศาลพระ บา นเวียงทุน หมทู ี่ 2 9. โครงการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาใหกับประชากรวยั เรียนที่อยนู อกระบบการศึกษา สถานศึกษาได ดําเนนิ การแกไ ขปญหา เพื่อรวมกนั ตรวจสอบขอ มูลตัวตนของกลุม เปา หมาย รวมทง้ั การวิเคราะหค วามตอ งการ วา เด็กเหลาน้ีตองการเขาเรียนตอในระดับการศึกษาใด ประเภทใด ทั้งการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และสายอาชีพ ท่ี เอ้อื ตอสภาพจริงของผูเรียน ซึง่ จะทําใหการดําเนินงานเปนบรรลุตามเปาหมายที่รัฐบาลกําหนดไว และเพอ่ื ให ประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับการศึกษาทุกคนอยา งมีคุณภาพ โดยสถานศึกษามีการสรางการรับรูของทุกฝาย โดยการประชุมช้ีแจง ครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหไดรับทราบแนวทางในการดําเนินงานการจัดเก็บ ขอมูลประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน มีการคัดกรอง กลุมเปาหมาย โดยจําแนกขอมูลออกเปนรายตําบล หมูบาน และเรียงบานเลขท่ีของกลุมเปาหมาย ครูมีการ ประสานงานกับผูนาํ ชุมชนเพ่ือลงพื้นท่ีสอบถาม ติดตามกลมุ เปาหมายที่ปรากฏระดับอําเภอ ระดับตําบล และ

จ ระดับหมูบาน และรายงานการติดตามกลุมเปาหมายเขาสูระบบฐานขอมูล สถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบลลงพื้นท่ีสอบถามติดตามกลุมเปาหมายท่ีปรากฏใน ระดับอําเภอ ระดับตําบล และระดับหมูบาน จํานวนกลุมเปาหมายท่ีเปนประชากรวัยเรียนทั้งสิ้น 189 คน มีผลการสํารวจ ตรวจสอบ และติดตาม กลุมเปาหมายซึ่งในการสํารวจและติดตามคร้ังท่ี 1 ไดดําเนินการสงตอเพ่ือเขาสูระบบการศึกษา จํานวน 78 คน และจําหนา ยออกจากระบบเน่ืองจากไมมีตัวตนในพ้นื ที่ และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายข้ึน ไป จํานวน 31 คน และคงเหลือใหดําเนินการจํานวน 80 คน ในการดําเนินการสาํ รวจติดตามขอมูลในคร้ังที่ 2 คณะกรรมการดําเนนิ งานไดลงพน้ื ทต่ี ิดตามและสาํ รวจขอ มูลเพื่อนําขอ มลู มาประมวลผลโดยไดม ีการสงตอให เขารับการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ จํานวน 60 คน และจําหนายออกจากฐานขอมูลเน่ืองจากไมมี ตวั ตนในพื้นที่ และจบการศึกษาระดับ ม.6 ขึ้นไป จํานวน 19 คน และยังคงเหลือซ่ึงอยูระหวางการสงตอให ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวดั ราชบุรี จํานวน 1 คน 10. การขยายผลการอบรมหลักสูตรการคาออนไลน สถานศึกษาไดดําเนินงานตามนโยบายของ สาํ นักงาน กศน. ดานการขับเคล่อื นเศรษฐกิจและสังคมโดยใชเทคโนโลยีดิจิทลั โดยสถานศึกษาไดมีการจัดต้ัง ศูนยดิจิทัลชมุ ชนใน กศน.ตําบลซ่ึงดาํ เนินงานตามภารกจิ ของ 4 ศูนย กศน.ตําบล โดยไดจัดทําโครงการศูนย ดิจทิ ัลชุมชน เพ่ือสรา งการรบั รใู นเรือ่ งการรูและเขาใจเทคโนโลยดี ิจทิ ลั และสง เสริมการจาํ นายสินคา ผา นระบบ ออนไลน ซง่ึ ไดจัดทําหลักสูตรอบรมประชาชน จํานวน 2 หลกั สูตร คือ Digital Literacy และ E-commerce โดยสถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบลเกาะศาลพระไดเขารับการอบรมเปนวิทยากร ครู ก และครู กศน.ตําบลทง้ั 2 ตําบล เขารับการอบรมเปน วทิ ยากร ครู ค โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทัล ซึง่ ทําใหค รู กศน. ตําบลมีความรูความสามารถในการดําเนินงานถายทอดความรูใหแกประชาชน โดยมีกลุมเปาหมายในการ ดาํ เนนิ งาน จํานวน 90 คน และสถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบลไดดําเนินการใหความแกประชาชน ทั้ง 2 หลักสูตร ผลการดําเนินงานมีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน 100 คน หลังจากเสร็จสิ้นการอบรมแลว สถานศึกษาไดมีการจัดทําทําเนียบผูเขาอบรมหลกั สตู รการขายสนิ คาออนไลน (E-commerce) เพื่อติดตามผล การดําเนินงานของผูเขารับการอบรม และมีการจัดต้ังศูนย OOCC จํานวน 1 แหง คือ ศูนย OOCC กศน. อําเภอวัดเพลง เพ่ือทําหนาที่ใหคําแนะนําผูท่ีมีความสนใจในการจัดทําหนายสินคาออนไลน โดยมีการ ประชาสมั พันธผ านส่อื ออนไลน ไดแ ก Facebook และ Line 11. โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สารดา นอาชีพ สถานศกึ ษาไดนํานโยบายสง เสริมการทองเท่ียว เมืองรองหรือสงเสริมการเที่ยวเชิงอนุรักษ เปนการเปดบานตอนรับนักทองเที่ยว เพ่ือสรางโอกาสสรางรายได ใหกับประชาชนในชุมชน สรา งมูลคาใหกบั สินคาและบริการที่มาจากประชาชนโดยตรง มาจัดทําเปนโครงการ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารดานอาชีพเพื่อฝกทักษะการส่ือสารภาษาองั กฤษเก่ียวกับอาชีพท่ีประชาชนทําอยู ใหกับชาวตางชาติ หรือนําเสนอผลิตภัณฑชุมชนใน สื่อโซเชียลมีเดียเปนภาษาอังกฤษได โดยมีกลุมเปาหมาย คือ ประชาชนท่ัวไป และเนนกลุมโอทอปนวัตวิถีในพื้นท่ีอําเภอวัดเพลง จํานวน 20 คน ในการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน ผเู รียนมคี วามสนใจและเอาใจใสใ นการเรียนเปน อยางดี แตยงั พบวา ในพ้ืนท่ีอาํ เภอวัดเพลง ไมมีนกั ทองเที่ยวชาวตางชาติเพือ่ ใหผ ูเรยี นสามารถนาํ ความรูไปใชหลังจากการอบรมเสร็จสิ้น ทําใหผูเ ขา อบรม ไดร ับความรทู เ่ี ปน เพยี งทฤษฎีและไมส ามารถนาํ ไปใชจ รงิ 11. การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอย สถานศึกษาไดม ีการดําเนินงานกิจกรรมการ เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษาโดยไมใชงบประมาณรายจายประจําป ซึ่งได ดําเนินการตอเนื่องมาจากปงบประมาณ 2561 โดยสถานศึกษาไดมีการจัดทําประกาศ เร่ือง การบริหาร จัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา เพื่อใหเปนแนวทางในการบริหารจัดการขยะในสถานศึกษา และมีการ ประชุมสรา งการรับรูแนวทางการดําเนินงานการบริหารจดั การขยะมูลฝอยในสถานศึกษา และมีการแตงตั้งครู และบุคลากรในสังกัดเปนคณะกรรมการดําเนินงานการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษาและรวมกัน

ฉ ดําเนินงานตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย และวางแผนการดําเนินงานโดยสอดแทรกเขากับกิจกรรมการเรียน การสอน มีการจัดทําสื่อประกอบการใหความรูเกี่ยวกับการคัดแยกขยะตามหลัก 3Rs สถานศึกษาไดมีการ สรา งความตระหนักใหครูและบคุ ลากรเก่ยี วกบั กบั การคัดแยกขยะ โดยมกี ารจัดทําธนาคารขยะรไี ซเคลิ เพอื่ คัด แยกขยะที่สามารถนํามาแปรรูปหรือนํามาสรางมูลคาได และมีการรณรงคใหมีการใชกระดาษ 2 หนาอยาง คุมคา อีกทั้งยังไดมอบหมายใหครูสรางจิตสํานึกใหกับนักศึกษาในการจัดการขยะมูลฝอย โดยมีการนําขยะที่ สามารถจําหนายไดท่ีเหลือจากการใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมารวบรวมจําหนายเพ่ือนําเงินมาเปน กองกลางจดั ทาํ เปนโครงการกระปุกออมบุญตามอตั ลักษณของสถานศึกษา คือความพอเพียง 12. โครงการอบรม Smart ONIE เพื่อสราง Smart Farmer พัฒนาใหเปนเกษตรกรตนแบบ สถานศึกษาไดม กี ารดําเนินงานโครงการอบรม Smart ONIE เพื่อสราง Smart Farmer พฒั นาใหเปน เกษตรกร ตนแบบ (Master Trainer) โดยจัดโครงการรวมกบั ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอ ปากทอ เพื่อพัฒนาเกษตรกรตน แบบใหสามารถเปน ตนแบบและมีความรคู วามเขาใจในดานการบรหิ ารจัดการ งานเกษตรเพ่ิมมากขึ้น ผูเขารับการอบรมเปนผูผานการอบรมโครงการ Smart ONIE เพื่อสราง Smart Farmer ในปงบประมาณ 2561 ตาํ บลละ 1 คน ในการฝกอบรมแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ การบรรยายให ความรู และการเรยี นรูสภาพจริงศกึ ษาดูงานแหลง เรียนรู การวดั ผลประเมนิ ผล สถานศึกษามกี ารประเมนิ ความ เขา ใจจากแบบทดสอบความรูกอนการอบรม และหลังการอบรม และการประเมินความสามารถการฝกปฏิบัติ ใชเทคโนโลยีเพ่ือเขาถึงแหลงขอมูลและบริหารจัดการขอมลู การตดิ ตามผเู ขารับการอบรมมกี ารใชแบบตดิ ตาม โดชใชแบบสัมภาษแบบมีประเด็นคําถาม โดยครูกศน.ตําบลจอมประทัดไดนําคณะนิเทศภายในสถานศึกษา และคณะนิเทศจากสํานักงานกศน.จงั หวดั ราชบุรีลงพื้นที่ติดตามผูเขารับการอบรม 13. โครงการอบรมหลักสูตรผูดูแลผูสูงอายุ (Caregiver) สถานศึกษาไดรวมกับคณะกรรมการ ดาํ เนนิ งานโครงการอาํ เภอสุขภาวะในการจัดอบรมประชาชนหลักสตู รผูดูแลผสู ูงอายุ หลกั สูตร 70 ช่ัวโมง โดย มีความมุงหวังใหประชาชนมีความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลผูสูงอายุ โดยมีผูเขารับการอบรม จํานวน 20 คน ในการจัดกิจกรรมการฝก อบรมแบงออกเปน 2 ระยะ คือ ภาคทฤษฎี 55 ชั่วโมง และฝกปฏบิ ตั ิ 15 ชวั่ โมง ซ่ึง วทิ ยากรเปนเจา หนา ทจี่ ากโรงพยาบาลวัดเพลง ซงึ่ รับผดิ ชอบดา นการดูแลสุขภาพโดยตรงและมกี ารยกตัวอยาง กรณีศึกษาทําใหผูเขารับการอบรมสามารถเขาใจเนื้อหาไดอยางชัดเจน สําหรับภาคฝกปฏิบัติ วิทยากร ผูรับผิดชอบไดนําผูเขารับการอบรมฝกปฏิบัติการดูแลผูสูงอายุติดเตียงในพื้นท่ีอําเภอวัดเพลงเพื่อใหผูเรียนมี ความรู ความสามารถ มีทัศนคติที่ดีในการดูแลผสู งู อายุ สามารถนําความรทู ี่ได มาประยุกตใชในการปฏบิ ัติการ ดูแลอายุไดอยางถูกตอง และยังพบวา หลักสูตรผูดูแลผูสูงอายุของกระทรวงศึกษาธิการ เปนหลักสูตรท่ีมี เน้ือหาซ้ําซอนกับกระทรวงสาธารณสุขทําใหมีการประสานหาผูเขารับการอบรมคอนขางยาก หรือควรมีการ บรู ณาการงบประมาณใหทาํ งานรวมกัน จากการวิเคราะหผลการนิเทศภายในสถานศึกษา เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยปง บประมาณ 2562 มีขอเสนอแนะสกู ารปฏิบัติ ดงั น้ี 1. การประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาควรตรวจสอบความตอเน่ืองของการจดั ทําแผนพัฒนา การศึกษา ผลความกาวหนาของการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป และแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาวาสามารถปรับปรุงคุณภาพไดตามขอเสนอแนะ ของคณะกรรมการ ประเมินคณุ ภาพภายนอก คณะกรรมการประเมินคุณภาพโดยตนสังกดั และคณะกรรมการประเมินตนเองของ สถานศึกษา และสํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรสงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตามสถานศึกษาและ ชวยเหลือ สถานศึกษาใหส ามารถดาํ เนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยา งตอเน่ือง คงคณุ ภาพ และ หรือพฒั นาใหด ยี งิ่ ขน้ึ เพือ่ ใหเปนวิถกี ารทาํ งานปกติ

ช 2. การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สถานศึกษาควรมีการกํากับ ตดิ ตามการจัดทําแผนการจัดการเรยี นรูภาคภาค และแผนการจัดการเรียนรูรายสปั ดาห และจัดใหม ีการตรวจคุณภาพของแผนการจดั การเรียนรูกอ นที่จะเสนอ ผบู ริหารสถานศึกษาอนุมัติใหน ําแผนไปใชจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน สถานศกึ ษาควรมีการทบทวนหลกั สูตร สถานศึกษาในทุกปการศึกษา และควรมีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ใหครบตามกระบวนการการจัดทํา หลักสูตรและเพ่ือใหสอดคลองกับการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การ ใหบริการ ตัวบงชี้ที่ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร และควรมีการสงเสริมและกํากับติดตามใหครูไดมีการนํา เทคโนโลยีดิจิทัลเขามาชวยในการจัดการศึกษาอยางเปนรูปธรรม เชน จัดการศึกษาโดยใชโปรแกรม Google Classroom ซ่ึงจะสอดคลอ งกับแนวทางการจดั การศกึ ษาในยุคดจิ ทิ ลั สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการติดตามผลหลังการพัฒนาครู กศน.อยางเปนระบบ เพื่อให ครู กศน. สามารถนําความรูจากการอบรมไปปฏิบัติงานไดอยางแทจริง รวมทั้งควรมีระบบใหความชวยเหลือ และสนับสนุนสถานศึกษาเพื่อท่ีจะสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวบงชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และควรมีการมอบเกียรติบัตรแกสถานศึกษา หรือ ครูที่มี พฒั นาการรอยละของผเู ขา สอบที่สงู ขน้ึ เพอื่ เปนการสรางขวญั และกําลังใจในการปฏบิ ตั งิ านแกครู 3. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูมีการสรางแบบฟอรมออนไลนเพื่อลด จํานวนการใชกระดาษ และสามารถประมวลผลระดับความพึงพอใจไดทันที นาํ ผลการประเมนิ มาใชไดสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งสามารถนําไปประยุกตใชกับกิจกรรม กศน.ไดท ุกกิจกรรม ควรสงเสริมใหม ีการพัฒนาวทิ ยากร ทางอาชีพใหท ราบเกย่ี วกับการจดั กระบวนการเรียนรู ตามคูมือการจัดกิจกรรมของ สาํ นักงาน กศน. และควรมี การกํากับติดตามครูในการติดตามผลผูเรียนหลังจบหลักสูตรอยางเปนระบบมากข้ึน โดยจัดทําทําเนียบผูจบ หลกั สูตร ที่ประสบความสาํ เรจ็ ใหเปนปจจุบัน เผยแพรใหเปน ตัวอยา งในชมุ ชน 4. การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต สถานศึกษาควรมีการทําบันทกึ ขอ ตกลงความรว มมือกบั สาํ นักงาน สาธารณสุขอาํ เภอ หรอื โรงพยาบาลวัดเพลง หรือโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบล เพื่อใหสามารถบูรณาการ การดําเนินงานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ และควรมกี ารกํากับติดตามการดําเนินงานอยา งตอเน่ือง และควรมีการ ดําเนนิ งานสงเสรมิ สขุ ภาวะและสุขอนามยั แกประชาชนใหค รบทุกกลุมเปาหมาย 5. การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมชุมชน สถานศกึ ษาควรมกี ารสงเสริมใหชุมชนนําผลิตภัณฑข องชุมชนข้ึน ทะเบียนเปนสนิ คา OTOP ของชมุ ชนโดยประสานงานกบั สาํ นกั งานพัฒนาชุมชนอาํ เภอวัดเพลง และสงเสริมให มีการจําหนายสินคาผานระบบออนไลนโดยมีการใหความรูอยางตอเน่อื ง และควรมีระบบในการกาํ กับติดตาม การดําเนินงาน และควรมีการขยายชมุ ชนตนแบบในแตละตําบลเพ่ิมมากข้ึนปงบประมาณละ 1 ชมุ ชน เพ่ือให การดําเนินงานเปนไปอยา งตอ เนื่อง 6. การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาควรมีการจัดทํา ทําเนยี บผูท ป่ี ระสบความสําเร็จในการนาํ ความรจู ากการเขารวมโครงการไปใชใ นการดําเนินชีวติ ประจําวัน หรือ ประกอบอาชีพเพ่ือเปนฐานขอมูลในการตอบสนองตัวบงชี้การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการกํากับติดตามการดําเนินงาน และรวบรวมจัดทําทําเนียบผูประสบ ความสาํ เร็จ หรอื ตนแบบผูนําความรูไ ปใชจากการเขา รว มโครงการเพอื่ เปน ฐานขอมูลในการดําเนินงาน 7. การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาควรมีการประชาสัมพนั ธใ หมากขึน้ เพ่ือใหกลมุ เปา หมาย ทุกชวงวัยมาเขามามีสวนรวมกิจกรรมสงเสริมการอาน เพื่อที่จะใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินงานอยางเปน รูปธรรม ควรมีการประกวดครอบครัวรักการอานตนแบบ หรือบานหนังสือชุมชนตนแบบ เพ่ือเปนการสราง ขวญั และกําลังใจในการอานแกผูร ับบริการ สํานกั งาน กศน.ควรมีมาตรการหรือมีแนวทางในการจัดหาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส และส่ือประเภทอ่ืน ๆ ท่ีอยูในรูปแบบออนไลนมาใหบริการประชาชนเพ่ือใหตรงกับความ ตองการของประชาชนเนอื่ งจากประชาชนเขาถึงส่ือออไลนมากขึ้น

ซ 8. โครงการสงเสริมประชาธิปไตยในชุมชน สถานศึกษาควรมีการจัดกิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย ใหกับนักศึกษาโดยผานกระบวนการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน กิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อปลกู ฝงใหนักศึกษาเรียนรกู ระบวนการทางประชาธิปไตย และการตระหนักรูภัยของ การซ้ือสิทธิ์ขายเสียงและการทุจิตการเลือกต้ัง และสํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการจัดประกวดศูนย สงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจําตําบลดีเดนระดับจังหวัดอยางตอเนื่องเพื่อเปนการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านและสรา งขวญั และกาํ ลังใจแกค ณะกรรมการศนู ยสง เสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจําตําบล 9. โครงการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหกับประชากรวยั เรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษา กรณีท่ีขอมูล บางรายไมชัดเจน สถานศึกษาควรประสานกับอําเภอ หรือฝายทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง หรือ ประสานกับผนู าํ ชมุ ชน เพือ่ หาตัวตนของบคุ คลในพ้ืนท่ี 10. การขยายผลการอบรมหลกั สูตรการคา ออนไลน สถานศึกษาควรมีการจดั ต้งั ศนู ย OOCC ในกศน. ตําบล ซึ่งจะทําใหส ามารถใหคําแนะนําผูทมี่ ีความสนใจไดอ ยางทั่วถึง และสํานักงาน กศน.จงั หวัดราชบุรีควรมี การจัดประกวดผูทําการคาออนไลนดเี ดนโดยใหมีการคัดเลือกระดับตําบล อําเภอ และจังหวัด เพื่อสรางขวัญ และกาํ ลงั ใจใหด าํ เนนิ งานตอ ไป 11. โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารดานอาชีพ สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการ ทบทวนเร่ืองการจัดสรรงบประมาณโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารดานอาชีพ ควรมีการจัดสรร งบประมาณใหกับสถานศึกษาท่ีมีความพรอมหรือเปนสถานที่ทองเท่ียวที่มีนักทองเท่ียวชาวตางชาติมา ทอ งเท่ียวเปนประจาํ ซ่ึงจะทาํ ใหการใชจายงบประมาณเปนไปอยา งคมุ คา และเกดิ ประโยชนส งู สุด 12. การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอย สถานศึกษาควรมีการจัดทาํ บันทึกขอตกลง ความรวมมือในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยรวมกับหนวยงานภาคีเครือขายท่ีเกี่ยวของ และควรมีการจัด ประกวดโครงงานเก่ียวกับการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยโดยกําหนดใหเปนสวนหน่ึงของรายวิชาที่ลงทะเบียน เรยี น เชน วชิ าวัสดศุ าสตร วชิ าสงั คมศึกษา เปน ตน 13. โครงการอบรม Smart ONIE เพื่อสราง Smart Farmer พัฒนาใหเปนเกษตรกรตนแบบ (Master Trainer) สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการมอบหมายใหทุกสถานศึกษาจัดทําทําเนียบ เกษตรกรตนแบบ (Master Trainer) เพื่อเปนฐานขอ มลู ในการดาํ เนินในปง บประมาณตอไป 14. โครงการอบรมหลักสูตรผูดูแลผูสูงอายุ (Caregiver) สํานักงานกศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการ เสนอใหสํานักงาน กศน. ทบทวนการจัดกิจกรรมการอบรมหลักสูตรผูดูแลผูสูงอายุของกระทรวงศึกษาธิการ เปนหลักสตู รทีม่ ีเนื้อหาซ้ําซอ นกับกระทรวงสาธารณสุขทําใหมีการประสานหาผูเขารับการอบรมคอนขางยาก หรอื ควรมีการบูรณาการงบประมาณใหสามารถทาํ งานรวมกนั ได

บทท่ี 1 บทนาํ 1. ความนํา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562 กําหนดใหส ถานศึกษาตองดําเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ตวั บงช้ี ท่ีกําหนด ซ่งึ การ นิเทศภายในเปนกิจกรรมหลักกิจกรรมหน่ึงของระบบการประกันคุณภาพ การจัดการศึกษาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มกี ารจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพอ่ื สนองตอความตองการของประชาชนและ มีการดําเนินงานอยใู นทกุ สภาพพน้ื ท่ีที่มคี วามแตกตางสภาพสังคม การนิเทศจะสามารถชวยพฒั นาศกั ยภาพครู ใหเปนมืออาชีพ และจัดการศึกษาใหบรรลุตามเจตนารมณของหลักสูตรและกิจกรรมไดสํานักงาน กศน.ได กําหนดใหการนิเทศภายในเปนนโยบายและจุดเนน โดยใหมีการนิเทศ กํากับ ติดตามและประเมินผล เพื่อให การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยมีคุณภาพสามารถสนองความตอ งการของประชาชนได การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ แนวทางหนึ่งท่ีจะชวยสงเสริม สนับสนนุ ใหการจดั การศึกษามีคุณภาพ คือ การสรา งความรว มมือในการนิเทศระหวางหนวยศึกษานิเทศกแ ละ สถานศึกษาตลอดจนหนวยงานท่ีเก่ียวของในพื้นท่ี เพ่ือรวมกันพัฒนาใหครูและบุคลากรในสถานศึกษา สามารถดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพตามท่ี สํานกั งาน กศน. กําหนด เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําป งบประมาณ 2562 ภารกจิ ตอเนื่อง ดานที่ 6 ดานบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวน ขอ 6.4 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล โดยใหมีการสรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให เชอ่ื มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายทัง้ ระบบ ใหหนว ยงาน สถานศึกษามกี ารกาํ กับ ติดตาม และรายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโนยายในแตละเรื่อง ไดอยางมีประสิทธภิ าพ กศน.อําเภอวัดเพลง ไดดําเนนิ งานตามนโยบายดงั กลาว จงึ จัดใหมีระบบการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยไดแตงต้งั คณะกรรมการนเิ ทศภายในของสถานศึกษาขึ้น เพื่อวเิ คราะหส ภาพความจาํ เปน ในพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา และจัดทําแผนงาน/โครงการนิเทศ ปฏิบัติการนิเทศ และสรุปรายงานผลการนิเทศตอผูเก่ียวของ เพ่ือปรบั ปรงุ ซ่ึงเปนกระบวนการดําเนินงานเพื่อติดตามผลการดําเนนิ งาน การใหกําลังใจ และขอเสนอแนะใน การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแกครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยใช กระบวนการการมีสวนรวม โดยการแลกเปล่ียนเรียนรูเพื่อใหการดําเนินงานของสถานศึกษาสอดคลองกับ นโยบาย จดุ เนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. และเพ่ือเปน การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ในการนิเทศภายในสถานศึกษาไดมีการนเิ ทศการดําเนนิ งานตามนโยบายเรงดวนเพอ่ื รว มขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร การพัฒนาประเทศ และนิเทศ การดําเนินงานตามภารกิจตอเนื่องของสํานักงาน กศน. ไดแก การจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง การศึกษาตามอัธยาศัย และระบบการ ประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา

2 2. วัตถปุ ระสงค 1. เพ่ือรายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศึกษา 2. เพือ่ รายงานผลการพฒั นาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา 3. เพอื่ ใหการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีคุณภาพสามารถสนองความ ตอ งการของผเู รยี นและผูรบั บริการ 3. ผูรับผิดชอบ ผูที่ดําเนินการในการนิเทศภายในสถานศึกษา ประกอบดวยผูบริหารสถานศึกษา หัวหนางาน การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน หัวหนางานการศึกษาตอ เนอ่ื ง หัวหนางานการศึกษาตามอัธยาศัย และหัวหนางานนิเทศ ติดตามผล กศน.อาํ เภอวัดเพลง 4. ระยะเวลาในการดําเนินการ ปงบประมาณ 2562 (วันท่ี 1 ตุลาคม 2561 ถึงวนั ที่ 30 กนั ยายน 2562) 5. สอื่ ประกอบการนิเทศ เครือ่ งมือนิเทศ และแบบบันทึกนเิ ทศการดาํ เนนิ งานตามนโยบายเรงดวน 1. การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2. การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 3. การศกึ ษาตอเนือ่ ง 4. การศึกษาตามอธั ยาศยั 6. กระบวนการนิเทศ ดําเนนิ การนเิ ทศโดยใชรปู แบบตา ง ๆ ดงั น้ี 1. การนเิ ทศเชิงประชุม ไดแก การประชมุ ประจาํ เดอื น และประชมุ ประจําสปั ดาห 2. การนิเทศกิจกรรมการศึกษานอกนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่สํานักงาน กศน. มอบเปน นโยบายแกส ถานศกึ ษา 3. การนิเทศตรวจเยีย่ มเพอ่ื สรา งขวญั และกาํ ลังใจผปู ฏิบัตงิ านในพนื้ ท่ี 4. การนิเทศแบบกลุม /รายบคุ คล เชน สมั ภาษณ พูดคยุ รบั ฟง ขอเสนอแนะ ปญ หาอปุ สรรคจาก ผรู ับการนิเทศ ใหขอ เสนอแนะ แลกเปล่ยี นเรยี นรู สรางขวัญกาํ ลงั ใจ แกผูร ับการนเิ ทศ 7. ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร ับ 7.1 เพือ่ เปนขอมลู สารสนเทศและแนวทางสําหรบั ผรู ายงานเพื่อใชในการวางแผนพัฒนาและปรับปรุง การนเิ ทศภายในสถานศึกษาใหเ หมาะสมและมีประสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ 7.2 เปนขอมูลและสารสนเทศสําหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา กศน.อําเภอวัดเพลงในการ พัฒนาการนิเทศภายในสถานศกึ ษาใหม ปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น 7.3 เปนขอมูลและสารสนเทศสําหรับผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาในการวางแผนการ พฒั นาการศึกษาใหค ณุ ภาพยง่ิ ขึน้ สามารถสนองความตอ งการของผเู รียนและผูร บั บริการ

บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ ง รายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนนิเทศภายในสถานศึกษา ของศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอวัดเพลงในครั้งนี้ไดรวบรวมเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ งในประเดน็ ดงั ตอไปนี้ 1. การนเิ ทศภายใน 2. หลกั การนเิ ทศภายในสถานศึกษา 3. หนาทคี่ วามรบั ผิดชอบของผูน ิเทศภายในสถานศึกษา 4. กระบวนการนเิ ทศ 5. สถานศกึ ษากับการนเิ ทศภายใน 1. การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 กําหนดใหสถานศึกษาตองดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ตัวบงชี้ที่ กําหนด ซงึ่ การนิเทศภายในเปนกิจกรรมหลกั กจิ กรรมหนึง่ ของระบบการประกันคณุ ภาพ ซงึ่ กิจกรรมการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมกี ารจดั กิจกรรมทหี่ ลากหลาย และมกี ารดําเนนิ งานอยูใ นทุกสภาพพนื้ ที่ และสภาพสังคมที่แตกตา งกัน รวมท้ัง ครู กศน.ในสังกดั มีหลายประเภท ท้ังที่ผานการอบรม และไมผานการ อบรม ดังนน้ั การนเิ ทศจะสามารถชว ยพัฒนาศกั ยภาพครใู หเ ปนมอื อาชพี ซึ่งสาํ นักงาน กศน. ไดก ําหนดใหก าร นิเทศภายใน เปนนโยบายและจุดเนนใหมีการนิเทศ กาํ กับ ตดิ ตามและประเมนิ ผล โดยสง เสริมและพัฒนาการ นเิ ทศทัง้ ระบบ การนิเทศภายใน เปนสวนหน่ึงของการบริหารจัดการ และระบบการประกันคุณภาพ ที่สถานศึกษา ตองดําเนินการอยางตอเน่ือง ซ่ึงผลการนิเทศจะสะทอ นการปฏิบัติงานท่ีจะนําไปสูการพฒั นาสถานศึกษาตาม ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา การนิเทศภายใน หมายถึง การนิเทศโดยบุคลากรภายในหนวยงาน หรือภายในหนวยปฏิบัติของ หนวยงานน้ัน ๆ ผูนิเทศอาจเปน ผบู ริหาร หวั หนาฝาย หวั หนางาน หรอื ผูไดร ับการแตงตง้ั ใหเ ปน คณะผูทาํ การ นเิ ทศภายในหนวยงานนั้น ๆ การนิเทศภายใน เปนกระบวนการทํางานรวมกันระหวางผูบรหิ ารผูทาํ การนิเทศ และผูปฏิบัติงานใน หนวยงานเดียวกัน รวมพิจารณาปญหา แสวงหาแนวทางในการแกปญหา หาทางในการทํางานรวมกัน จัดระบบนิเทศทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือใหมีการพัฒนาเจตคตแิ ละคณุ ภาพของบุคลากรผปู ฏบิ ัตงิ าน ซ่งึ จะสงผลไป ถึงคุณภาพของงาน ขวัญกําลังใจของผปู ฏบิ ัติงาน และความพึงพอใจของประชาชนที่รบั บริการ การนิเทศภายในสถานศกึ ษา มคี วามสาํ คัญในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โดยมีการนิเทศในลักษณะ ของการชวยเหลือซึ่งกันและกัน และการนิเทศแบบมีสวนรวม โดยใชกระบวนการ PDCA เปนแนวทางการ นเิ ทศ ตงั้ แตการวางแผนรวมกัน การช้แี จงคณะกรรมการนเิ ทศและผูเ ก่ียวของ การอบรมพัฒนาศักยภาพและ สรางความเขาใจแกบคุ ลากร การจัดทําเคร่ืองมอื นเิ ทศ การกําหนดบทบาทหนา ที่ของ ผนู เิ ทศ ซ่งึ ประกอบดวย คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา และเครือขายนิเทศในพื้นท่ี ผูนิเทศภายในสถานศึกษา กศน. ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตาํ บล อาสาสมคั ร กศน. และหรอื ภาคีเครือขาย

4 2. หลักการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศภายในสถานศึกษา มีหลักการ ดังนี้ (ชัด บุญญา. ออนไลน, 2553. สุชิน สวนศรี. 2543 : 7, ไพฑูรย ทิพยสุข. ออนไลน, 2553.) 1. ดําเนินการนิเทศภายในโดยยึดความถูกตองตามหลักวิชาการ การนิเทศจะตองดําเนินการ ตามกระบวนการอยางเปนระบบ เปนข้ันเปนตอนอยางตอเน่ือง สามารถตรวจสอบเปรียบเทียบกับเกณฑที่ กําหนดไว 2. เปน กระบวนการพฒั นาและสงเสริมใหครูและผูเก่ยี วของทุกคนมีสว นรวมในการระดมความคดิ เห็น รว มปฏบิ ัติ และรวมรบั ผดิ ชอบ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาใหมีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึนสรางความเชอื่ ม่ัน ใหม ที ศั นคตแิ ละอดุ มการณในการสอน 3. มีความเปนวิทยาศาสตร สามารถพิสูจนไดถึงเหตุและผล รวมท้ังขอเท็จจริงตาง ๆ มีการเก็บ รวบรวมขอมลู และรองรบั ดว ยขอ มูลสารสนเทศ มีการสรุปผล สามารถอางอิงไดแ ละมคี วามนาเช่อื ถือ 4. มีความยืดหยุน สามารถที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระบวนการ วิธีนิเทศใหสอดคลองกับ สภาพแวดลอ มตา ง ๆ เพือ่ ใหการดําเนนิ งานไปสูเปา หมายที่ตั้งไวม ากทส่ี ุด 5. เปน กิจกรรมที่เคารพในความแตกตา งระหวางบคุ คลของผูรับการนิเทศ 6. เปน กิจกรรมท่ีดงึ ศกั ยภาพของผรู บั การนเิ ทศมาใชและใหการยกยอ ง 7. กิจกรรมการนเิ ทศตรงกับความตอ งการจาํ เปน ในการพัฒนาครู 8. จัดสภาพแวดลอมและแหลงวิทยาการใหเอื้อตอการทํางาน ตลอดจนบรรยากาศที่เปนกันเองมี กระบวนการทํางานเปน ทมี 9. มีมนษุ ยสมั พันธที่ดีท่จี ะสรางความคุนเคย และเสริมสรา งขวัญกาํ ลังใจแกครู 3. บทบาท/หนาท่ีความรบั ผิดชอบของผนู ิเทศภายในสถานศกึ ษา ผูนิเทศภายในซ่ึงเปนบุคลากรท่ีอยูในสถานศึกษา สามารถกําหนดภารกิจที่จะปฏิบัติงานใน สถานศึกษาไดตรงกับสภาพปญหาและความตอ งการไดมากขน้ึ โดยพิจารณาจากแนวคิดของ กวินน (Gwynn, อา งถงึ ในแสวง เอี่ยมองค. ม.ป.ป. : 7-8) ทไ่ี ดก ลา วถงึ งานหลกั (Major Tasks) ของผนู เิ ทศไว 10 ประการ คอื 1. ชวยเหลือครูและผูบริหารใหเขาใจเกี่ยวกับผูเรียนไดดีขึ้น เชน ความตองการ ความพรอม และการพัฒนาการของผูเรียนวัยตา ง ๆ 2. ชวยเหลอื ครใู นดานการพัฒนาและปรบั ปรุงตนเอง ตลอดจนชวยใหเกิดความรวมมอื ของคณะ ครใู นสถานศกึ ษา 3. สง เสรมิ ใหครจู ัดทําและใชอุปกรณประกอบการสอน 4. ชว ยใหค รปู รบั ปรุงการสอนของตนใหดขี ้ึน 5. สงเสริมและใหโอกาสครูท่ีเชี่ยวชาญตามสาขาวิชาที่มอี ยูในสถานศึกษา ไดชวยเหลือเพอื่ นครู ตามความรูความสามารถของตน 6. ใหค วามชวยเหลอื ครใู นดา นการประเมนิ ผลพฒั นาการของผูเ รยี นไดอ ยา งถกู ตอ ง 7. สงเสรมิ ย่วั ยุ ใหค รรู ูจักประเมินผลโครงการปฏบิ ตั ิงานและความกา วหนา ของตนเอง 8. ชว ยใหค รปู ระสบความสาํ เร็จ รสู กึ มั่นคงในการปฏิบตั ิงานและการดาํ รงชวี ติ ในสังคม 9. สง เสริมใหมกี ารปรบั ปรุงหลกั สูตรและนําผลไปพฒั นา ทําใหครูเขาใจ สามารถนําไปใชใ นการ จดั กิจกรรมการสอนไดจ รงิ 10. ชวยใหผูบริหาร ครู ผูเรียน และประชาชนไดรับทราบผลงานและความกาวหนาของ สถานศกึ ษา

5 ภารกิจของผูนิเทศทจ่ี ะตองปฏิบัตเิ พ่ือชว ยพัฒนาครู (สุทธนู ศรไี สย. ม.ป.ป.: 11) ดังนี้ 1. ใหค วามชวยเหลอื โดยตรงกบั ครู (Direct Assistance) 2. ชวยพฒั นาหลักสูตร (Curriculum Development) 3. ใหบ ริการเสรมิ วิชาการ (In-service Education or In-service Training) 4. ชวยพฒั นากลุม (Group Development) 5. สนับสนนุ ครูใหทาํ วิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Research) ภารกิจดังกลาวน้ี จะเปนสวนสําคัญของงานนิเทศการศึกษา ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายขององคกร (Organizational Goals) และความตองการของครูผูสอน (Teacher Needs) ซ่ึงผลท่ีไดรับท้ังหมดจะมี อิทธิพลย่ิงใหญตอการปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียน (Improving Student Learning) และจากแนวคิดของ นักวิชาการดังกลาว จะเห็นไดวา ผูนิเทศภายในสถานศึกษา มีภารกิจหนาที่ตองทํางานรวมกับครูในลักษณะ ของการเปน ทมี งานเดียวกัน เปนคนกระตุน ใหเ กิดการใชกระบวนการกลมุ ในการแกปญหาและพัฒนางาน โดย ไมนําบทบาทและหนาที่ในฐานะของผูบริหาร สั่งการตรวจสอบหรือประเมินผลโดยเด็ดขาด ตองสราง บรรยากาศในการทํางานใหเปน บรรยากาศทางวชิ าการ สรปุ ได ดงั นี้ 1. วางแผนการดําเนนิ การนิเทศภายใน เนน การทํางานแบบมีสวนรวม (เปนทมี ) 2. ปฏิบัตกิ ารนิเทศตามแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา และเปดโอกาสใหครูมีสวนรวมใน การดําเนนิ งานนเิ ทศภายในสถานศึกษา 3. ใหค ําปรกึ ษาแนะนําเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู และสง เสรมิ ใหค รูไดรบั การพฒั นา ความรตู ามทตี่ องการพัฒนา 4. ปฏิบัติงานวชิ าการอืน่ ๆ ตามท่ไี ดร บั มอบหมาย 4. กระบวนการนเิ ทศ กระบวนการนิเทศ มีขั้นตอนที่สาํ คัญ ดงั น้ี 1. ศึกษาสภาพปญ หาหรือศึกษาหาความจาํ เปนของการนเิ ทศ 2. วางแผนการนเิ ทศ 3. เตรยี มการนเิ ทศ 4. ปฏิบตั ิการนเิ ทศ 5. ประเมินผลและปรับปรุงการนเิ ทศ 6. รายงานผลการนิเทศ 1. การหาความตองการและความจําเปน ของการนเิ ทศ ผูบริหารหรือผูนิเทศภายในมักจะถามตนเองวาทําไมจึงตองนิเทศงานน้ัน ๆ เรามักจะไดคําตอบวา เพราะงานนั้นยงั มีปญ หาอุปสรรคในการดําเนินงาน หรอื การจัดการเรียนการสอนยงั ไมม ีประสิทธิภาพ ผนู ิเทศ อาจศึกษาจากรายงานการปฏิบัติงาน หรือผลการเรียนของนักศึกษา หรือจากการสํารวจ ติดตาม สัมภาษณ ทําใหเ ราสามารถทราบวา จะวางแผนแกปญ หาหรอื พฒั นางานไดอ ยา งไร 2. การวางแผนการนิเทศ ผลจากการศึกษาปญหาขางตน ทําใหเราตองวางแผนแกปญหาหรือพัฒนางานน้ัน ๆ โดยการวาง แผนการนิเทศรวมกับผูบริหารและผูนิเทศภายใน โดยมีจุดประสงคการกําหนดแผนการทํางาน วิธีการ เครอ่ื งมอื สื่อ การประสานงานบคุ คลทีเ่ ก่ยี วของ การจดั สรรงบประมาณ และการประเมินผล

6 การวางแผนการนิเทศเปนการเตรียมการเพ่ือปฏิบัติการนิเทศอยางมีระบบ แผนการนิเทศเปน แผนพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะแผนนิเทศดวยการเรียนการสอน ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการจัด กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย แผนนิเทศทดี่ ตี อ งประกอบดว ย 1. การสํารวจสภาพปญ หาและความตอ งการของการนิเทศ 2. การวางแผนการนเิ ทศ 3. สราง/เลอื กเครือ่ งมือและเทคนคิ การนเิ ทศ 4. การปฏิบัตติ ามแผน 5. การสรุปรายงานผลการนิเทศ 3. การเตรยี มการนิเทศ การเตรียมการนิเทศเพ่ือสามารถปฏิบัติการนิเทศใหบรรลุเปาหมายโดยเตรียมการอนุมัติโครงการ งบประมาณ การประสานงานบุคคลที่เก่ียวของ กําหนดเนื้อหาในการนิเทศ จัดเตรียมเคร่ืองมือ/ส่ือนิเทศ วิธกี ารนเิ ทศ วธิ ีการติดตามผลและการรายงานผลการนิเทศ 4. การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ ในการนิเทศเราสามารถใชหลาย ๆ วิธีตามความเหมาะสม แตเราก็ควรวางแผนวิธีการนิเทศให สอดคลอ งกับวัตถุประสงคทีว่ างไว วธิ กี ารนเิ ทศและเทคนิคการนเิ ทศ จะกลาวรายละเอยี ดในตอนตอไป 5. การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงการนเิ ทศ เมื่อปฏิบัตกิ ารนิเทศแลวควรจะมีการประเมินผลการปฏิบัติงานวาเปนไปตามวัตถุประสงคหรือไมผล การนิเทศเปนอยางไร หากมีปญหาคงตอ งตรวจสอบดูใหม แลว ปรบั ปรุงการนิเทศ และประเมนิ ผลอกี ครงั้ เม่ือ พอใจแลว จงึ ถอื วา การนเิ ทศนัน้ ประสบผลสําเรจ็ 6. การรายงานผลการนเิ ทศ เมื่อสิ้นสุดผลการนิเทศแตละครั้ง ควรรายงานผลใหผูบังคับบัญชาทราบ โดยทําเปนบันทึกขอความ หรอื แบบรายงาน ที่กาํ หนดไวในหวั ขอประเดน็ ตาง ๆ เชน - ผนู เิ ทศ (ใครคอื ผนู ิเทศ) - ผูรับการนิเทศ - วนั เดือนปที่นิเทศ - กิจกรรมทนี่ ิเทศ - เนื้อหาสาระท่นี ิเทศ - การประเมินผลของผูรับการนเิ ทศ 5. สถานศกึ ษากับการนเิ ทศภายใน ประโยชนข องการนิเทศภายในสถานศึกษา 1. มีการใชทรัพยากรบุคคลในแตละหนวยงานใหเกิดประโยชนสูงสุด เปนการสนับสนุน หลกั การพัฒนาเพือ่ การพงึ่ พาตนเอง 2. บุคลากรผูนิเทศภายในเปนผูที่รูปญหาจริงมากกวาผูนิเทศภายนอก ทําใหสามารถแกไข ปญหาไดร วดเรว็ ทนั ตอเหตุการณ 3. เปน การเสรมิ ขวัญกําลังใจใหกบั ผูป ฏบิ ัตงิ านทที่ าํ งานรว มกันเปนทมี ของหนว ยงาน

7 กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา มี 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. นิเทศแบบเปนทางการ มีการวางแผนการนิเทศอยางเปนระบบ ประชุมสรางความเขาใจ การ ทํางานเปนทีม มีความสัมพันธอันดีกับชุมชน การพูดคุยระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ การแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และใหข อ เสนอแนะเก่ียวกับการนิเทศภายใน รวมทง้ั การรายงานผลการนเิ ทศ 2. การนิเทศแบบไมเปนทางการ เปนการนิเทศในระหวางการจัดกิจกรรมนอกแผนท่ีกําหนด การพูดคุยแบบไมเปนทางการ และมีการใชเครือขายรวมนิเทศ เชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผูนําทองถิ่น องคก รปกครองสวนทอ งถิ่น และหรอื นกั ศกึ ษาทรี่ ว มนเิ ทศ แนวทาง/ขน้ั ตอนการนเิ ทศภายในสถานศึกศึกษา 1. ผูบริหารตองช้ีแจง และสรางความเขาใจกับบุคลากรภายในหนวยงานและภาคีเครือขาย ให เกิดความเขาใจ เห็นความสําคัญ และรับทราบปญหารวมกัน ยอมรับใหความรวมมือซึ่งกันและกัน เก่ียวกับ นโยบาย เปาหมายวิธดี าํ เนนิ งาน กศน. กระบวนการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา เทคนิค วธิ ีการนเิ ทศ ฯลฯ 2. ผูบริหารทําคําส่ังแตงต้ังคณะผูนิเทศภายในของหนวยงาน และจัดใหมีการเสริมความรูแก บุคลากรผูเกี่ยวของ รวมทั้งผูบริหารดวย ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะตาง ๆ ท่ีมีประโยชนตอการ นเิ ทศภายในรวมกนั 3. คณะผนู ิเทศภายใน ดําเนินการวางแผนการนิเทศรวมกัน โดยศึกษาขอมลู สภาพปญ หา ความ ตองการ ความจาํ เปนของการนิเทศ จากผลการดําเนินงาน รายงานผลการนเิ ทศทผ่ี านมา รายงานการประเมิน ตนเอง หรืออ่ืน ๆ ที่เปนขอมูลประกอบการวางแผนการนิเทศ ซ่ึงประกอบดวย การระบุสภาพปญหาความ ตองการ การจัดลําดับความสําคัญและกาํ หนดประเด็นการนิเทศ วิเคราะหสาเหตุ แนวทางการแกปญ หา และ จดั สรรมอบหมายงานใหบ คุ ลากรทเ่ี ปน คณะกรรมการนเิ ทศภายในไดรบั ผดิ ชอบ 4. กาํ หนดโครงการ/กิจกรรมการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาในแผนปฏิบัตกิ ารประจําป 5. จดั ทาํ แผนการนิเทศรายเดอื น/รายไตรมาส/รายป 6. จัดเตรยี มส่อื /วัสดุ/อุปกรณ/ เคร่อื งมอื นเิ ทศ 7. ปฏิบัติการนิเทศ คณะผูนิเทศภายในและผูปฏิบัติงานของหนวยงานรวมกัน รวมกันนิเทศ ตดิ ตาม ตามขอ ตกลงโดยใชความรู เทคนิค วทิ ยาการตาง ๆ มาดําเนินการ 8. สรางเสรมิ กําลังใจแกผูน ิเทศ โดยผูบริหารของหนวยงาน ซ่ึงมที ้ังการใชหลกั มนษุ ยสัมพันธ ให ความสนใจ และสนบั สนุนการปฏบิ ัติงาน 9. ประเมินผลการนิเทศและพัฒนาการนิเทศตอไปอยางตอเนื่อง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายสูงสุด ของการนเิ ทศ คือ ผปู ฏิบัตงิ านสามารถชวยตนเองได การปฏิบัตกิ ารนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ แบงออกเปน 2 ระดับ คือ การนิเทศใน กศน.อําเภอ และการนิเทศใน กศน. ตาํ บล โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. การนเิ ทศการบรหิ ารจดั การใน กศน.อําเภอ สามารถดาํ เนินการไดดงั นี้ - จัดการประชมุ เปนรายสัปดาห/ รายเดือน เพื่อติดตามผลการดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงาน และซักซอมความเขาใจ ใหคําปรึกษา แน ะนําเพื่ อแกปญ หาการปฏิบัติงานของกลุมงาน/ฝาย ตา ง ๆ ตามโครงสรา งสถานศกึ ษา - ติดตามความกาวหนา ผลการปฏิบัติงาน ปญหา อุปสรรค และใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ เพอื่ แกปญ หาเปนกรณีแตละกลมุ งาน โดยการพูดคุยสอบถาม สอนงาน ใชส ื่ออิเล็กทรอนกิ ส

8 - อบรม/ประชมุ ปฏบิ ตั ิการ เพ่ือแกปญ หาหรือเสรมิ ความรเู ฉพาะดานแกผปู ฏบิ ตั งิ าน - มอบหมายใหขาราชการครู ครู อาสาสมัคร กศน. ทําหนาท่ีเปนพ่ีเล้ียง สอนงาน ใหคําปรึกษา แนะนําการปฏบิ ัตงิ านแกครู กศน.ตําบล - สรุปและบันทึกผลการนิเทศจากรอ งรอย หลกั ฐานผลการนเิ ทศในแบบบันทึกการนเิ ทศ เพ่ือการ พฒั นาปรบั ปรุงการปฏิบตั งิ าน 2. การนิเทศ กศน.ตําบล สามารถดาํ เนนิ การไดดังน้ี การนิเทศ กศน.ตําบล จะตองมีการเตรียมการนิเทศตามระยะเวลาการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใน กศน.ตาํ บล ตลอดจนวางแผนและประสานผูรับการนิเทศ ปฏิบัตกิ ารนิเทศตามแผนที่กําหนด ในบางกรณีอาจ นิเทศนอกเหนือจากแผนที่กําหนด โดยเปนการนิเทศตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย หรือนิเทศเรงดวนตาม สถานการณ ดงั น้ี 2.1 การนเิ ทศการบรหิ ารจัดการ กศน.ตาํ บล - ศึกษาวิเคราะหแผนการปฏิบัติงาน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานที่กําหนดและมคี วามเปนปจ จบุ นั - นเิ ทศสภาพทั่วไป บริบท สถานที่ ส่ือ วสั ดุ อปุ กรณ ขอมูลพ้ืนฐานของชุมชน ขอมูลการ จัดกิจกรรม ขอมูลแหลงเรียนรู ภูมิปญญา มุมสงเสริมอาชีพ มุมแนะแนว ฯลฯ ตามเกณฑมาตรฐาน กศน. ตาํ บล 2.2 การนเิ ทศกิจกรรม กศน. ใน กศน.ตําบล เปนการนิเทศกิจกรรมตามโครงสรางการปฏิบัติงาน ไดแก การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง การศึกษาตามอัธยาศัย การสงเสริมการรูหนังสือ การจัดกิจกรรม การศึกษารวมกับภาคีเครือขายและอื่น ๆ ตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย โดยใหเปนไปตามมาตรฐาน ตัวบงชี้ คุณภาพ กศน. และการนิเทศ กศน.ตําบลตามบทบาทที่ไดรับมอบหมายในการเปนศูนยขาวสารของชุมชน ศูนยสรางโอกาสการเรียนรู ศูนยการเรียนชุมชน และศูนยชุมชน ซึ่งผูนิเทศภายในควรดําเนินการนิเทศให ครอบคลมุ ทุกภารกจิ และทุกกิจกรรม การนิเทศกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 1. การเตรยี มการนเิ ทศ - ศกึ ษา/ตรวจสอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู องครู ท้งั ในสวนทเี่ ปนแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู ดูความสอดคลองกับหลักสูตรและเปนไปตามมาตรฐานและตัวบงชี้ของการพัฒนาคุณภาพการจัด การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน - วางแผนและประสานแผนการนเิ ทศรวมกบั ผรู บั การนเิ ทศ - สถานศึกษาพัฒนาและเลอื กใชเครื่องมอื นิเทศตามความเหมาะสมของแตละกิจกรรม 2. ปฏบิ ตั ิการนิเทศกจิ กรรม - ใหคําปรึกษา ชวยเหลือแกครูตามความตองการ เพ่ือใหจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพตาม มาตรฐาน เชน การสาธิตการสอน การชวยสอน ฯลฯ - ขณะทีจ่ ัดกจิ กรรม ใชเทคนคิ วธิ ีการนิเทศทหี่ ลากหลาย เชน การสงั เกต การสอบถาม ฯลฯ - สรปุ และบันทกึ ผลการนิเทศ ในแบบบนั ทึกการนิเทศใหเปนหลักฐาน โดยแจงใหครรู ับทราบ ผลการนิเทศดวยความเปนกลั ยาณมติ ร และสามารถนาํ ผลการนิเทศสูการพัฒนา/ปรบั ปรงุ - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือรับทราบและพิจารณา หาแนวทางแกไข ปรับปรงุ /พัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรูของครู

9 การนเิ ทศกิจกรรมการศึกษาตอเนอื่ ง 1. การเตรียมการนเิ ทศ - ศึกษา/ตรวจสอบหลักสูตร แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนรูการวัดผล ประเมนิ ผลทจี่ ดั ทาํ ไว สอดคลอ งกับมาตรฐานและตวั บงช้ีของการจดั การศกึ ษาตอ เนอ่ื งกอ นการนเิ ทศ - วางแผนและประสานแผนการนเิ ทศรวมกับผูร ับการนิเทศ - สถานศึกษาพัฒนาและเลือกใชเครอื่ งมอื นเิ ทศตามความเหมาะสมของแตละกจิ กรรม 2. ปฏิบตั ิการนเิ ทศกจิ กรรม - สังเกตการณจัดกิจกรรมการเรียนรูของวิทยากร เพ่ือพิจารณาการจัดกิจกรรมวา เปนไป ตามแผนท่ีกําหนดไวห รอื ไม มีปญหา อปุ สรรค อยา งไร - ใหคําปรึกษา คําแนะนําแกครู กศน./วิทยากร เพื่อใหการจัดการเรียนรูมีคุณภาพตาม มาตรฐาน เชน เทคนิคการสอน การใชสื่อ การวดั ผล ประเมินผล การสรปุ ผลการจัดกจิ กรรม เปนตน - ประเมินผลการนิเทศดวยการสังเกต/สอบถามความพึงพอใจและการนําความรูไป ประยุกตใชก บั ผรู บั บรกิ าร - สรปุ และบันทึกผลการนิเทศ ในแบบบันทึกการนิเทศใหเปนหลักฐาน การนิเทศ และใหครู กศน. วิทยากร รับทราบผลการนิเทศดวยความเปนกัลยาณมิตร และสามารถนําผลการนิเทศสูการพัฒนา/ ปรับปรงุ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือรับทราบและพิจารณา หาแนวทางแกไข ปรบั ปรุง/พัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรขู องครู กศน./วิทยากร การนเิ ทศกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 1. การเตรยี มการนเิ ทศ - ศึกษา/ตรวจสอบวา มีการจัดทําแผนงาน/โครงการการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใน แผนปฏิบัติการประจําปของ กศน.ตําบล ทําเนียบแหลงเรียนรู ทําเนียบ ภูมิปญญา ฯลฯ เปนปจจุบันและดู ความสอดคลอ งกบั นโยบายและขอกําหนด - วางแผนและประสานแผนการนเิ ทศรวมกบั ผรู บั การนเิ ทศ - สถานศกึ ษาพฒั นาและเลอื กใชเ ครือ่ งมือนเิ ทศตามความเหมาะสมของแตล ะกจิ กรรม 2. ปฏิบัติการนเิ ทศกิจกรรม - สังเกตการณจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เชน กิจกรรมสงเสริมการอาน การจัดมุม หนังสือ/ส่ือในแหลงเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรยี นรูและการใชบ รกิ ารในแหลง เรยี นรู/ภมู ิปญญา มุมสงเสริม การอานใน กศน.ตําบล วดั หมูบา น สถานประกอบการ หนว ยงาน การใหบริการขางสารขอมูล การใหบริการ สื่อเทคโนโลยี การจัดรายการวิทยุชุมชน หอกระจายขาว การดําเนินงานของอาสาสมัครสงเสริมการอาน จัด มุมบริการ เพื่อพิจารณาการจัดกิจกรรมวา เปนไปตามแผนที่กําหนดไวหรือไม มีปญหา อุปสรรค อยางไร พรอ มใหค าํ แนะนาํ เสนอแนวทางใหเหมาะสมกบั บรบิ ทชุมชน - ใหคําปรึกษา คําแนะนํา สงเสริมขวัญกําลังใจแกครู กศน./อาสาสมัคร สงเสริมการอาน วิทยากร ภูมิปญญา เพื่อใหการจัดการเรียนรูมีคุณภาพตามมาตรฐาน เชน การจัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอการ เรียนรู เทคนคิ วธิ ีการจัดกิจกรรม การใหบ รกิ าร การใชส ื่อ การรายงานผลการจดั กจิ กรรม เปนตน - ประเมินผลการนิเทศดวยการสังเกต/สอบถามความพึงพอใจและการนําความรูไป ประยกุ ตใชก บั ผูร บั บริการ

10 - สรปุ และบนั ทึกผลการนเิ ทศ ในแบบบนั ทึกการนเิ ทศใหเปนหลักฐาน การนิเทศ ใหครู กศน. และผูเก่ียวของรับทราบผลการนิเทศดวยความเปนกัลยาณมิตร และสามารถนําผลการนิเทศสูการพัฒนา/ ปรบั ปรุงการจดั กจิ กรรมการเรียนรู - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพื่อรับทราบและพิจารณาหาแนวทางแกไข ปรับปรุง/พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรูของครู กศน. และผูเกีย่ วขอ ง การตรวจสอบ ทบทวนการนเิ ทศ ตรวจสอบ ทบทวนแผนการนิเทศ ส่ือการนิเทศ เคร่ืองมือการนิเทศ กระบวนการนิเทศ และผลการ นเิ ทศ เพื่อปรับปรงุ กระบวนการนิเทศใหมปี ระสทิ ธิภาพ การนาํ ผลการนิเทศไปใชในการพฒั นา/ปรับปรงุ และรายงานผลการนเิ ทศ ในการนิเทศบางครง้ั ผรู ับการนเิ ทศสามารถนําขอเสนอแนะไปปรับปรุง/พัฒนาการดําเนินงานไดทันที หรือในกรณที ่ีผลการนิเทศเปนที่พงึ พอใจ ผนู ิเทศสามารถขยายผลกระบวนการนิเทศท่ปี ระสบผลสาํ เร็จไปใชใน การพัฒนากจิ กรรมใหกับผรู ับการนิเทศกลุมอนื่ ได และสรปุ รวบรวมรายงานผลการนเิ ทศ การรายงานผลการนิเทศ หลังจากนิเทศแลว จะตอ งมกี ารบันทึกผลการนิเทศทุกกจิ กรรม สรุปจัดทําเปนรายงานผลการนิเทศ รายคร้ัง/รายเดือน/รายป ตามความพรอม เพ่ือใหไดข อมูลสภาพการทํางาน สรุปรวบรวมเปนรายงานผลการ นิเทศมขี อ เสนอแนะ และนาํ ผลการนิเทศไปปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งานพฒั นางานของสถานศกึ ษาตอไป ขอ ควรคาํ นึงในการนเิ ทศภายใน การจดั การนเิ ทศภายใน มสี ่ิงท่คี วรคํานึงถงึ บางประการ คือ 1. ผูบรหิ ารของหนว ยงานตองเห็นความสําคัญ ความจําเปน และสนับสนุนใหมีการนเิ ทศภายในของ หนว ยงานอยางเขมแขง็ โดยสนบั สนุนทั้งนโยบาย ทรพั ยากรบุคคล วัสดุอปุ กรณ ยานพาหนะ และเวลา 2. การนิเทศภายในตองทํางานเปนทีม ใหทุกงาน ทุกฝายมีสวนรวมในทีมงานดวย ผลงานท่ีเกิดขึ้น เปน ผลงานรวมของหนวยงานทีท่ ุกคนทุกฝายตอ งรบั ผดิ ชอบรวมกัน 3. บุคลากรผูนิเทศภายในหนวยงาน ตองเสียสละ อดทน ทํางานหนักขึ้น ตองแสวงหาความรู ใหม ๆ อยูตลอดเวลา มที ักษะในการถายทอด ทักษะในการทํางาน 4. บรรยากาศของการทาํ งานตอ งใหเกยี รติ ยกยอง เคารพนบั ถือ ทุกฝา ย เนน ใหทกุ คน มคี วามสําคัญ เทาเทียมกัน พรอมที่จะรวมมือกันปฏิบัติงานใหเปนผลสําเร็จรูจักการเปนผูนําและผูตามไดตามโอกาสที่ เหมาะสม

บทท่ี 3 วธิ ีการดําเนนิ การนเิ ทศภายใน ผลการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ของศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอ วดั เพลง ประจําปงบประมาณ 2562 มีวิธกี ารดาํ เนินงานดงั ตอไปนี้ 1. วางแผนการนิเทศ 2. เตรยี มการนเิ ทศ 3. ปฏิบตั ิการนิเทศ 4. การรายงานผลการนิเทศ 1. วางแผนการนเิ ทศ ในการนิเทศภายในสถานศึกษา การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มีขนั้ ตอน การวางแผนดําเนินการ ดงั ตาราง 1 ตาราง 1 การวางแผนดําเนินการ ขนั้ การวางแผนดําเนนิ การ ระยะเวลาการดาํ เนินการ ผูดําเนินการ 1. แตง ตัง้ คณะกรรมการนิเทศภายใน ต.ค. 61 งานนเิ ทศและติดตามผล สถานศึกษา ต.ค. 61 งานนิเทศและตดิ ตามผล 2. ประชมุ คณะกรรมการดําเนนิ การนิเทศ คณะกรรมการนิเทศภายใน ภายในสถานศกึ ษา 2-3 พ.ค. 62 คณะกรรมการนิเทศภายใน 3. พัฒนาผูทําหนา ทีผ่ ูนิเทศภายใน ต.ค. 61 - ก.ย. 62 คณะกรรมการนิเทศภายใน สถานศึกษา ต.ค. 61 – ก.ย. 62 คณะกรรมการนิเทศภายใน 4. จัดทําแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา คณะกรรมการนิเทศภายใน 5. ดําเนนิ การนเิ ทศภายในตามปฏิทนิ การ ก.ย. 62 นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ก.ย. 62 6. สรปุ ผลการดาํ เนนิ การนเิ ทศภายใน 7. รายงานผลการนเิ ทศภายใน 2. เตรยี มการนเิ ทศ การเตรียมการนิเทศภายในสถานศึกษา ของกศน.อําเภอวัดเพลง กําหนดเนื้อหาในการนิเทศ จัดเตรียมเคร่อื งมือ/สอ่ื นิเทศ จัดทําแผนการนิเทศ วิธีการติดตามผลและการรายงานผลการนิเทศ โดยไดจ ัดหา เครื่องมือนิเทศภายในสถานศึกษา โดยการศึกษาจากคูมือการนิเทศภายในของสถานศึกษา ไดแก แบบบันทึก นเิ ทศการดําเนินงานตามนโยบายเรงดว น แบบนิเทศการจดั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน แบบนิเทศการศกึ ษาตอเน่อื ง แบบนิเทศการศึกษาตามอัธยาศัย และแบบนิเทศการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อสนับสนุนกระบวนการ นิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน กศน. ใหสามารถจัด การศึกษาตามมาตรฐานตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะการเรียนการสอนไดคุณภาพตาม เกณฑทกี่ าํ หนดไวแ ละในอตั ราทส่ี งู ข้ึน

12 3. ปฏิบตั กิ ารนิเทศ ปฏิบัติการนิเทศตามแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา ซึ่งเปดโอกาสใหครูมีสวนรวมในการ ดําเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษา โดยใชแบบนิเทศและแบบติดตามการดําเนินงานตามนโยบายเรงดวน ซ่ึงดําเนินการนิเทศตามแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา ประกอบดวย การจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจัดการศึกษาตอเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย ศูนยดิจิทัลชุมชน ศูนยสงเสริม พัฒนาประชาธปิ ไตยประจําตาํ บล และการประกนั คุณภาพการศึกษา 3.1 ปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศกิจกรรมการจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน - ใหคําปรึกษา ชวยเหลือแกครูตามความตองการ เพ่ือใหจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพตาม มาตรฐาน เชน การชวยสอน เปนตน - ขณะทจ่ี ัดกิจกรรม ใชเทคนิควธิ ีการนเิ ทศทีห่ ลากหลาย เชน การสังเกต การสอบถาม ฯลฯ - สรปุ และบันทึกผลการนเิ ทศ ในแบบบนั ทกึ การนิเทศใหเปนหลกั ฐาน โดยแจงใหครูรบั ทราบผล การนิเทศดว ยความเปน กลั ยาณมิตร และสามารถนาํ ผลการนเิ ทศสกู ารพัฒนา/ปรับปรุง - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือรับทราบและพิจารณา หาแนวทางแกไข ปรบั ปรุง/พฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรูของครู 3.2 ปฏิบัตกิ ารนเิ ทศกิจกรรมการศกึ ษาตอเนอื่ ง - สังเกตการณจัดกิจกรรมการเรียนรูของวิทยากร เพ่ือพิจารณาการจัดกิจกรรมวา เปนไปตาม แผนที่กาํ หนดไวห รือไม มปี ญ หา อปุ สรรค อยา งไร - ใหคําปรึกษา คําแนะนําแกค รู กศน./วิทยากร เพ่อื ใหการจดั การเรียนรูม ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน เชน เทคนิคการสอน การใชส่ือ การวดั ผล ประเมินผล การสรุปผลการจดั กิจกรรม เปนตน - ประเมินผลการนิเทศดวยการสังเกต/สอบถามความพึงพอใจและการนําความรูไปประยุกตใช กบั ผูรบั บริการ - สรุปและบันทึกผลการนิเทศ ในแบบบันทึกการนิเทศใหเปนหลักฐาน การนิเทศ และใหครู กศน. วิทยากร รับทราบผลการนิเทศดวยความเปนกัลยาณมิตร และสามารถนําผลการนิเทศสูการพัฒนา/ ปรบั ปรงุ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือรับทราบและพิจารณา หาแนวทางแกไข ปรับปรุง/พัฒนาการจดั กิจกรรมการเรยี นรขู องครู กศน./วทิ ยากร 3.3 ปฏิบตั กิ ารนิเทศกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย - สังเกตการณจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เชน กิจกรรมสงเสริมการอาน การจัด มุมหนังสือ/สื่อในแหลงเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรูและการใชบริการในแหลงเรียนรู/ภูมิปญญา มุมสง เสริมการอา นใน กศน.ตําบล วัด หมบู าน สถานประกอบการ หนว ยงาน การใหบริการสือ่ เทคโนโลยี การ ดําเนินงานของอาสาสมัครสงเสริมการอาน จัดมุมบริการ เพื่อพิจารณาการจัดกิจกรรมวา เปนไปตามแผน ท่ีกําหนดไวหรอื ไม มีปญ หา อปุ สรรค อยางไร พรอมใหคําแนะนํา เสนอแนวทางใหเ หมาะสมกบั บรบิ ทชมุ ชน - ใหคําปรึกษา คําแนะนํา สงเสริมขวัญกําลังใจแกครู กศน./อาสาสมัคร สงเสริมการอาน วิทยากร ภูมิปญญา เพ่ือใหการจัดการเรียนรูมีคุณภาพตามมาตรฐาน เชน การจัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอการ เรียนรู เทคนคิ วิธีการจดั กิจกรรม การใหบ รกิ าร การใชสือ่ การรายงานผลการจดั กจิ กรรม เปน ตน - ประเมินผลการนิเทศดวยการสังเกต/สอบถามความพึงพอใจและการนําความรูไปประยุกตใช กับผรู ับบริการ

13 - สรุปและบันทึกผลการนิเทศ ในแบบบันทึกการนิเทศใหเปนหลักฐาน การนิเทศ ใหครู กศน. และผูเก่ียวของรับทราบผลการนิเทศดวยความเปนกัลยาณมิตร และสามารถนําผลการนิเทศสูการพัฒนา/ ปรบั ปรงุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู - รายงานผลการนิเทศตอผูบริหารสถานศึกษา เพื่อรับทราบและพิจารณาหาแนวทางแกไข ปรบั ปรุง/พัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข องครู กศน. และผเู ก่ียวของ 4. การรายงานผลการนเิ ทศ หลังจากนิเทศแลว จะตองมีการบันทึกผลการนิเทศทุกกิจกรรม สรุปจัดทําเปนรายงานผลการ นเิ ทศรายคร้งั /รายเดอื น/รายป ตามความพรอม เพื่อใหไดขอมลู สภาพการทํางาน สรปุ รวบรวมเปน รายงานผล การนเิ ทศมีขอเสนอแนะ และนําผลการนิเทศไปปรบั ปรงุ การดําเนินงานพฒั นางานของสถานศกึ ษาตอไป

บทท่ี 4 สรุปผลการนเิ ทศตดิ ตามผลและขอ เสนอแนะ งานนิเทศภายในสถานศึกษาไดสรุปผลการนิเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปงบประมาณ 2562 ในประเด็นการนิเทศการประกนั คุณภาพการศึกษา การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง การศึกษาตามอัธยาศัย ศูนยดิจิทัลชุมชน ศูนยสงเสริมและพัฒนา ประชาธิปไตยประจําตําบล และการติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบายเรงดวน ป 2562 เรื่อง ชุมชน ตนแบบตามโครงการไทยนิยมย่ังยนื การขยายผลการอบรมหลกั สูตรการคาออนไลน การสงเสริมดแู ลสุขภาวะ และสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน การเพิ่มอัตราการอาน การสงเสริมใหประชาชนอานออกเขียนได การแกไ ขปญหาประชากรวยั เรียนท่ีอยูนอกระบบการศกึ ษา จากการนิเทศตดิ ตามผลสรปุ ได ดังนี้ 1. การประกันคุณภาพการศกึ ษา สภาพทีพ่ บ ผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษา มีความเขาใจระบบประกันคุณภาพการศึกษา สถานศกึ ษามีคาํ ส่ังแตง ตั้งมอบหมายใหบคุ ลากรรับผิดชอบการดาํ เนินงานประกนั คุณภาพการศกึ ษาและแตงต้ัง บุคลากรในสังกัดเปนผูรับผิดชอบในแตละมาตรฐาน ครบท้ัง 3 มาตรฐานและ 20 ตัวบงช้ี บุคลากรทุกคน มีความรับผิดชอบและเขาใจบทบาทหนาที่ สถานศึกษามีการจัดประชุม ทบทวน วิเคราะหผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาโดยตนสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอก เพ่ือวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามระบบประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษาไดจัดทําประกาศมาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน 20 ตัวบงช้ี ของสถานศึกษาใน ตนปงบประมาณเปนปจจุบัน โดยผูเก่ียวของ ไดแก ผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ครู บุคลากร นักศึกษา และภาคีเครือขายในพื้นท่ีมสี วนรวมในการกําหนดคาเปาหมายในการดาํ เนินงาน และรายละเอยี ดใน แตล ะมาตรฐาน ดว ยการประชมุ และสรุปรายงานการประชมุ ใหผ เู กย่ี วของทราบ สถานศกึ ษามีการจดั ทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาเปนปจจุบนั ซึ่งเปน แผนระยะ 3 ป โดยนําขอ มูล สารสนเทศของ กศน.ตําบล มาใช วิเคราะห กิจกรรม โครงการใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา มีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ทุกปอยางตอเน่ืองโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาและมีการเผยแพรผานเว็บไซตของสถานศึกษา และระบบการบันทกึ ขอมูลรายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน กศน. มีการนําผลและขอเสนอแนะจากการประเมิน ตนเอง การประเมินสถานศึกษาโดยตนสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกมาวิเคราะห กิจกรรม/ โครงการ ใหสอดคลอ งกบั จดุ เนนและนโยบายของสํานกั งานกศน. ในแตละป สถานศึกษามีการจัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โดยใชข อ มูลจาก รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมประจําป และรายงานขอมูลในระบบฐานขอมูลเพื่อการ บรหิ ารจัดการ สํานกั งาน กศน. (DMIS) สถานศกึ ษามีคาํ สัง่ แตงตั้งคณะกรรมการนเิ ทศภายในเพอื่ ติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา โดยมี ผูบริหารสถานศึกษา หัวหนางานการศึกษาข้ันพื้นฐาน หัวหนางานการศึกษาตอเน่ือง หัวหนางานการศึกษา ตามอัธยาศัย และหัวหนางานแผนงานและนิเทศติดตามผล เปนคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา มเี ครื่องมือนิเทศภายในตามคมู ือการนิเทศภายในสถานศึกษาเพื่อใชในการนิเทศ ติดตามงาน แตเครื่องมือใน

15 การนิเทศติดตามผลการดาํ เนินงานที่คณะกรรมการนิเทศไดเขา รับการอบรมตามโครงการอบรมผูนิเทศภายใน สถานศกึ ษาทีส่ าํ นกั งาน กศน.จังหวดั ราชบรุ ไี ดจ ัดข้นึ ยังมไิ ดมีการประกาศใหใ ชอยางเปน ทางการ ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตนสังกัดของสถานศึกษาอยูในระดับดี สถานศึกษาไดรับการ รบั รองคณุ ภาพภายนอกรอบสาม โดยมรี ะดบั คณุ ภาพอยใู นระดบั ดีมาก ขอ นิเทศ 1. สถานศึกษาควรกําชับใหคณะนิเทศภายใน รายงานผลการนิเทศภายในในพื้นท่ีทันทีหลังจากการ นเิ ทศแตล ะครั้ง เพ่ือใหมีการบริหารจดั การปรบั ปรุงพัฒนางานอยา งรวดเร็ว 2. ครูผูรับผิดชอบการปฏิบัติงานในแตละโครงการ/กิจกรรม ควรมีการสรุปผลการดําเนินงานทันที หลังจากการดาํ เนินโครงการเสร็จสิ้น มีการสรปุ ผลการดาํ เนนิ งานระดับตาํ บลกอนนาํ เสนอตอ กศน.อาํ เภอเพื่อ สรปุ ผลภาพรวม ปจจยั ทส่ี ง ผลตอ ความสําเรจ็ 1. ผบู ริหารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามรคู วามเขา ใจในการดาํ เนินงานดานการ ประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งบุคลากรของสถานศึกษาทุกคนไดเขารับการพัฒนาในดานการประกันคุณภาพ การศกึ ษา 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา กศน.อําเภอวัดเพลงทุกคนไดรับการแตงตั้งใหเปนคณะกรรมการ รบั ผิดชอบมาตรฐานตวั ชี้วัดการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปญหาอุปสรรค กศน.อําเภอวัดเพลง มีบุคลากรในสังกัดจํานวนนอยทําใหแตละคนไดรับผิดชอบตัวช้ีวัดในการ ประกันคุณภาพการศึกษาหลายตัวชี้วดั ซึ่งทําใหการกํากับติดตามการดําเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยไมค รอบคลุม ขอ เสนอแนะตอสถานศึกษา สถานศึกษาควรตรวจสอบความตอเนื่องของการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา ผลความกาวหนาของ การดาํ เนินงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป และแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา วาสามารถปรับปรุงคุณภาพไดต ามขอเสนอแนะ ของคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายนอก คณะกรรมการ ประเมินคณุ ภาพโดยตน สังกดั และคณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาควรกํากับ ติดตาม ผลการดําเนินงานประกันคุณภาพ และมอบหมายใหมีการปรับปรุง พัฒนางาน กศน. ใหทันตามกําหนดและมีประสิทธิภาพเปนไปตามตัวบงช้ีของการประกันคุณภาพ และ ผดงุ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาอยา งตอ เนื่อง เปนปจจบุ นั ขอเสนอแนะตอ สาํ นักงาน กศน.จังหวัด สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรสงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตามสถานศึกษาและชวยเหลือ สถานศกึ ษาใหส ามารถดําเนนิ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยางตอ เนื่อง คงคุณภาพ และหรือพฒั นา ใหดีย่ิงขึ้น เพ่ือใหเปนวิถีการทํางานปกติ และควรกําหนดเกณฑการประเมินครู กศน.ใหสอดคลองกับ มาตรฐานและตวั บง ชท้ี ต่ี ามระบบประกันคุณภาพทีส่ ํานักงาน กศน.กําหนด

16 2. การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สภาพทีพ่ บ การจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กศน.อําเภอวัดเพลง ไดมกี ารพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาโดยมีคณะกรรมการดําเนินงานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จัดทําโดยจําแนกตามระดับ การศึกษา สถานศึกษาไมมกี ารประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา เนือ่ งจากบุคลากรในสังกดั ไมมีความเชีย่ วชาญใน การพัฒนาและการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดานการจดั ทาํ แผนการเรยี นรู ครู กศน.ตําบล มกี ารจัดทําแผนจัดการเรียนรรู ายภาค และแผนจัดการ เรียนรูรายสัปดาห กระบวนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูยังขาดการกํากับ และใหการช้ีแนะจากหัวหนา งานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครูกศน.ตําบลบางสวนยังใหความสําคัญในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูนอย ซง่ึ สงผลใหก ารจัดทาํ แผนจัดการเรียนรูไมเ ปนปจ จุบัน และครบู างรายไมมีการขออนุมัติแผนการจัดการเรียนรู กอ นนําไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในสวนการบันทึกหลังจัดกระบวนการเรยี นรูครูบางสวนไมไดบันทึก หลงั การจดั กิจกรรมการสอนใหเ ปนปจ จบุ ันซึง่ จะสง ผลตอ การจดั ทําวจิ ยั ในชน้ั เรยี นเพ่ือพฒั นาการเรียนรู ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูกศน.ตําบลมีจํานวนนกั ศึกษาที่รับผิดชอบเปนไปตามเกณฑ ท่ีสํานักงาน กศน.กําหนดไว ซึ่งครูกศน.ตําบลรับผิดชอบนักศึกษาอยางนอยกศน.ตําบลละ 40 คน โดยใน ภาคเรียนท่ี 2/2562 มนี ักศึกษาจํานวน 162 คน และภาคเรียนท่ี1/2562 จาํ นวน 167 คน สถานศึกษา มีการแตง ตงั้ ครูประจํากลุม และสถานที่พบกลุมในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทุกภาคเรยี น และครูกศน. มีการจดั ทําปฏิทินการพบกลุมแจงใหผูเรียนทราบ ครไู ดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรตู ามแผนการเรียนรู หรือบางครั้งไดปรบั แผนการเรยี นรูใหเหมาะสม ในขั้นตอนการจัดการเรียนรคู รูออกแบบการจัดกระบวนการ เรยี นรทู ่ีสอดคลองกับสภาพวชิ าโดยวิเคราะหความยาก-งาย ปานกลาง รวมกับผูเรียนไดจัดใหมีการสอนเสริม ในเน้ือหาที่ยากโดยครูเฉพาะทาง เชน รายวิชาคณิตศาสตร การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนพบวานักศึกษา มาพบกลุมคอนขางนอย ทุกครั้งท่ีครจู ัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีการลงเวลาของนักศึกษาและลงเวลาของ ครูผูสอน ซ่ึงครูมีการติดตามการขาดเรียนของนักศึกษาที่ไมมาพบกลุมผานชองทางตาง ๆ เชน สื่อสังคม ออนไลน การสรางไลนกลุมของกศน.ตําบล การติดตามผานไลนสวนตัวของผูเรียน และการเยี่ยมบาน เพื่อ สอบถามสภาพปญหา และนัดหมายใหรับใบความรู ใบงานหรือการจัดการเรียนการสอนชดเชย เปนตน แต การบนั ทกึ หลังสอนครูบางสวนยงั ดาํ เนินการไดน อ ย ดานการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมโครงการตามกรอบการจัด กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น ไดแก โครงการสถานศึกษาคุณธรรม โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข โครงการประวัติศาสตรชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไทย และโครงการคายลูกเสือ วิสามญั กศน. ซงึ่ แตละโครงการท่สี ถานศึกษาดาํ เนินการเปนกิจกรรมที่สอดคลองกบั อตั ลักษณข องสถานศึกษา ทําใหการพัฒนาผูเรียนเปนไปตามอัตลักษณของสถานศึกษา เมือ่ พิจารณาเปน รายโครงการพบวา นักศึกษาท่ี เขารวมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนในแตละโครงการสวนใหญเปนนักศึกษารายเดิมซํ้ากัน ทําใหนักศึกษา บางสวนไมไดเขารวมโครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่สถานศึกษาจัดขึ้น ทั้งน้ีสถานศึกษาไดมอบหมายให ครูกศน.ตําบลดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหกับนักศึกษาใหครบทุกคนท้ังกิจกรรมที่ไดใช งบประมาณ และไมไดใ ชงบประมาณ หลังจากการดาํ เนินงานเสรจ็ ส้ินครกู ศน.ตําบลรายงานผลการจดั กิจกรรม

17 ใหผูบริหารสถานศึกษาทราบทุกคร้ัง และมีการรายงานผลกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหสํานักงาน กศน. จงั หวดั ราชบรุ ที ราบเปนรายไตรมาส ดานการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช) สถานศึกษาไดมีการมอบหมายใหครูกศน.ตําบล เปนท่ีปรึกษาในการดําเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยสวนใหญเปนกิจกรรมที่มุงเนนใหนักศึกษา ดาํ เนนิ การตอบโจทยต ัวช้ีวัดตามอัตลักษณข องสถานศึกษา คือ พอเพียง มีวินยั จิตอาสา เชน กิจกรรมจิตอาสา เราทาํ ความดีดว ยหวั ใจ กิจกรรมเยี่ยมผปู วยติดเตียง กจิ กรรมแทเ ทยี นเนือ่ งในเทศกาลเขา พรรษา และกจิ กรรม ท่ีเขารวมกับชุมชน เปนตน สถานศึกษามีการแตงตั้งคณะกรรมการการพิจารณาและประเมินผลการปฏิบัติ โครงการ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือพิจารณาคาหนวยกิจกรรมของโครงการ และมีการบันทึกหนวย กิจกรรมในโปรแกรมทะเบยี นนักศึกษาสายสามญั (ITw) ดานการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู สถานศึกษาไดมอบหมายให ครู กศน.ตําบลดําเนินการ วัดและประเมินผลระหวางภาคเรียน ซ่ึงทุกกศน.ตําบลไดมีการดําเนินการ เชน การทดสอบยอยในแตละ รายวิชา การประเมินผลงาน เจตคติ และพฤติกรรมการเรียน ในสวนการวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน สถานศึกษาจะเปน ผูดําเนินการ โดยไดมีการแตง ตงั้ คณะกรรมการดําเนินการสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรยี น ทกุ ภาคเรยี น และแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการทดสอบวัดผลระดบั ชาติ ดานการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ทําใหการดําเนินการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนรูเปนไปดวยความเรียบรอย ซ่ึงครูได พยายามติดตามใหผูเรียนใหมาพบกลุม ทํากิจกรรมการเรียนรู กิจกรรม กพช. และเขาสอบปลายภาคเรียน การทดสอบวัดผลระดับชาติ ดา นการศึกษานอกระบบโรงเรียน ทําใหมจี ํานวนผูเขา สอบเพมิ่ ขน้ึ ขอ นเิ ทศ 1. สถานศึกษาควรมีการกํากับ ติดตามการจัดทาํ แผนการจัดการเรียนรภู าคภาค และแผนการจดั การ เรียนรูร ายสัปดาห และจัดใหม ีการตรวจคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูกอ นทจี่ ะเสนอผบู รหิ ารสถานศึกษา อนมุ ตั ิใหน ําแผนไปใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. สถานศึกษาควรมีการกํากบั ติดตามครผู ูสอนในการจัดทําบันทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรูให เปนปจจุบัน นําผลจากการบันทึกไปสูการทําวิจัยในช้ันเรียน และนําผลจากการวิจัยมาแกไขปญหาที่เกิดขึ้น เพ่อื พฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหม ปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ 3. สถานศึกษาควรมีการทบทวนหลักสูตรสถานศึกษาในทุกปการศึกษา และควรมีการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา ใหครบตามกระบวนการการจัดทําหลักสูตรและเพ่ือใหสอดคลอ งกับการประกันคุณภาพ ภายใน มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบ รกิ าร ตัวบงชี้ท่ี 2.1 คุณภาพของหลกั สูตร ปจ จัยแหง ความสาํ เรจ็ 1. ผบู ริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษารว มกันกําหนดแนวทางในการจดั การศกึ ษาให สอดคลองกบั นโยบายของรฐั บาล และนโยบายสาํ นักงาน กศน. เชน การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การ เพ่ิมรอ ยละของจํานวนผูเขา รับการสอบวัดผลสัมฤทธปิ์ ลายภาคเรยี น และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน

18 2. การใชรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายโดยมีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเขามา ชว ยในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3. การดําเนินการวิจัยในช้ันเรียนในประเด็นปญหานักศึกษามาพบกลุมนอย โดยมีการนําผลวิจยั มา แกปญหาในชั้นเรียน สงผลใหนักศึกษาเขารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ โรงเรยี นในภาคเรยี นที่ 1/2562 เพ่มิ ข้นึ โดยคดิ เปนรอ ยละ 100 ปญหาอปุ สรรค ครูมีภาระงานคอนขางมาก โดยจะตองรับผิดชอบการดําเนินโครงการตาง ๆ เชนโครงการชุมชน ตนแบบตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน โครงการดิจิทัลชุมชน กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตยในชุมชน และ กิจกรรมที่สํานักงาน กศน.ไดล งนามบันทึกความรวมมือกับหนวยงานอื่น ซ่ึงสงผลตอการเอาใจใสผเู รียน และ จาํ นวนผเู ขาสอบปลายภาคเรียน ขอเสนอแนะตอ สถานศึกษา 1. สถานศึกษาควรมีการกาํ กับ ตดิ ตามการจัดทําแผนการจัดการเรียนรภู าคภาค และแผนการจัดการ เรียนรรู ายสปั ดาห และจดั ใหมีการตรวจคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูกอ นทจ่ี ะเสนอผูบรหิ ารสถานศึกษา อนุมัติใหน าํ แผนไปใชจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 2. สถานศึกษาควรมีการกํากับติดตามครูผูสอนในการจัดทําบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูให เปนปจจุบัน นําผลจากการบันทึกไปสูการทําวิจัยในชั้นเรียน และนําผลจากการวิจัยมาแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้น เพื่อพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน 3. สถานศึกษาควรมีการทบทวนหลักสูตรสถานศึกษาในทุกปการศึกษา และควรมีการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา ใหครบตามกระบวนการการจัดทําหลักสูตรและเพ่ือใหสอดคลอ งกับการประกันคุณภาพ ภายใน มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การใหบริการ ตวั บง ชท้ี ่ี 2.1 คุณภาพของหลักสตู ร 4. สถานศึกษาควรมีการสง เสริมและกาํ กบั ติดตามใหครูไดมีการนําเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเขามาชวยในการ จัดการศึกษาอยางเปนรูปธรรม เชน จัดการศึกษาโดยใชโปรแกรม Google Classroom ซึ่งจะสอดคลองกับ แนวทางการจดั การศกึ ษาในยุคดิจทิ ลั 5. สถานศึกษาควรใหแนวทางแกครู กศน.ในเรื่องการแบงเวลา การจัดสมดุลในการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอน และการปฏิบัตงิ านรวมกับภาคีเครอื ขายในภารกจิ ใหม ีความเหมาะสม 6. สถานศึกษาควรมีการมอบเกียรติบัตรใหแกนกั ศึกษาทีม่ ีผลการเรียนเฉล่ียท่มี ีการพฒั นาการที่ดีข้ึน หรือรางวลั นักศกึ ษาดีเดนในดานตาง ๆ เพอื่ สรางขวัญและกําลังใจแกนักศกึ ษา ขอเสนอแนะตอสํานกั งาน กศน.จังหวัด 1. สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการติดตามผลหลงั การพฒั นาครู กศน.อยา งเปน ระบบ เพ่อื ให ครู กศน. สามารถนําความรูจากการอบรมไปปฏิบัตงิ านไดอยางแทจริง รวมทั้งควรมีระบบใหความชวยเหลือ และสนับสนุนสถานศึกษาเพื่อท่ีจะสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวบงชี้ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรสงเสริมสนับสนนุ หรอื การพัฒนาครู กศน. เก่ียวกบั การจัดการ เรียนรูการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเฉพาะเร่ืองการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ซ่ึงสอดคลองกับการประกัน คณุ ภาพภายใน มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ ริการ ตวั บงชี้ท่ี 2.1 คุณภาพของหลักสูตร 3. สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการมอบเกียรติบัตรแกสถานศึกษา หรือ ครูที่มีพัฒนาการ รอยละของผูเขาสอบทีส่ งู ขน้ึ เพื่อเปน การสรางขวญั และกาํ ลงั ใจในการปฏิบตั ิงานแกค รู

19 3. การศกึ ษาตอเนือ่ ง การจัดกิจกรรมการศึกษาตอเน่ือง มุงใหกลุมเปาหมายมีทักษะการประกอบอาชีพ พัฒนาความ สามารถในการประกอบอาชีพใหมีรายได และพัฒนาทักษะท่ีจําเปนในการเผชิญปญหาในชีวิตประจําวันได จากการนิเทศเกี่ยวกบั การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม ชมุ ชน และการจดั กระบวนการเรยี นรูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลสรปุ ได ดงั นี้ 3.1 การศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ สภาพทพ่ี บ สถานศึกษาการจัดการศึกษาโดยมีการสาํ รวจความตองการของกลุมเปาหมาย หรือจัดตามแผนชุมชน ของตําบล ซ่งึ สวนใหญสอดคลอ งกบั การประกอบอาชีพเดิมของผเู รียน มีการปรับปรุงหลกั สูตรใหสอดรับตาม เกณฑการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาและการประเมินคุณภาพภายนอก แตยังขาดการประเมิน หลักสูตร อาจเนื่องจากครูขาดความความรู ความเขาใจเร่ืองการประเมินหลักสูตร ในการดําเนินงานจัด การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ สถานศึกษาไดมีการดําเนินจัดกิจกรรมการพัฒนาอาชีพระยะสั้น(กลุมสนใจ) กจิ กรรมชน้ั เรียนวชิ าชีพ และกจิ กรรม 1 อาํ เภอ 1 อาชีพ - การพัฒนาอาชีพระยะสั้น(กลุมสนใจ) จํานวนไมเกิน 30 ชั่วโมง สถานศึกษาไดดําเนินการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนจํานวน 14 หลักสูตร ไดแก การทาํ ไขเคม็ สมนุ ไพร การสานตะกรา จากเสน พลาสติก การทาํ น้ําสมุนไพร การพับดอกไมจากใบเตย การทาํ มะพรา วแกว การทําผามัดยอม การทําน้ํามันนวดและลูก ประคบ การแปรรูปกลวย การทําสบูสมุนไพร การทําขนมไทยโบราณ การสานชะลอมจากไมไผ การเขาชอ ดอกไมจากใบเตย การทํายาสระผมมะกรดู และการสานตะกราจากทางมะพราว ซง่ึ แตล ะหลักสูตร ครู กศน. ตําบลไดมีการสํารวจความตองการของประชาชนจากเวทีประชาคมของหมูบาน แตยังพบวาหลักสูตรที่ ดาํ เนินการจัดสอนครู กศน.เปน ผพู ฒั นาหลกั สตู รเองท้งั หมด - กิจกรรมช้ันเรียนวิชาชีพ จํานวน 31 ช่ัวโมงข้ึนไป สถานศึกษาไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน จํานวน 5 หลักสูตร ไดแก การสานกระเปาจากเสนพลาสติก การทําน้ําพริกสูตรโบราณ การสาน ตะกราจากเชือกมัดฟาง การสานฝาชีจากเสนพลาสติก การทําไมกวาดทางมะพราว ซ่ึงครูแตละคนจะจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนที่ซํ้ากนั ซ่ึงเปน หลกั สูตรทส่ี ามารถนําไปสรา งอาชพี ใหมได แตยังพบวา คา วัสดทุ ใ่ี ชใน การจดั ทาํ ผลติ ภณั ฑตา ง ๆ คอ นขางสูงทําใหผ เู รยี นบางสวนยังไมส ามารถนาํ ไปตอยอดเปนอาชพี ได - กิจกรรม 1 อําเภอ 1 อาชีพ สถานศึกษาไดมีการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 3 หลักสูตร ไดแก การแปรรูปมะนาว การถักตะกราจากเชือกมัดฟาง และการสานตะกราจากเสนพลาสติก เดโคพารท โดยเปนหลักสูตรท่ีจัดขน้ึ เพ่ือตอบสนองความตองการของชุมชนและเปน การตอยอดอาชีพเดมิ ของ ประชาชน ดานวิทยากรสวนใหญเปนภูมิปญญามีความรูความสามารถตรงตามหลักสูตรท่ีกําหนดแตยังขาด ความรูในดา นการวัดและประเมนิ ผล โดยมีครู กศน.เปน ผูใหคาํ แนะนําการวัดและประเมินผล และสถานศกึ ษา ยงั ไมไดมีการประชุมวทิ ยากรเพื่อช้ีแจงแนวทางการดําเนินงานตามคูมือการศึกษาตอเนือ่ ง และยังไมมีการจัด อบรมวิทยากร/ผูสอน ใหมีความรูเร่ืองการจัดทาํ หลักสูตร การทําแผนจัดการเรียนรู การทําสื่อ ตลอดจนการ วัดและประเมินผลซึ่งจะไปสอดคลองกับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัด การศึกษา/การใหบริการ ตัวบงชี้ท่ี 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาตอเนื่อง ในประเด็นการดําเนินงานที่เปน กระบวนการในการสง เสริม หรือพัฒนาวทิ ยากรการศึกษาตอ เนือ่ งใหมคี ณุ ภาพ

20 ดา นผูเ รียนสวนใหญเ ปนกลมุ ทส่ี นใจและตองการจะพัฒนาอาชพี ของตนเอง และยังพบวาผูเรียนบาง รายไมสามารถพัฒนาชิ้นงานไดเสร็จตามกําหนดของหลกั สูตร และผเู รียนไมส ามารถมารวมกิจกรรมการเรียน การสอนไดทุกวันเนื่องจากมีภารกิจประกอบอาชีพสวนตัว ผูเรียนสวนใหญเปนกลุมเปาหมายเดิมในรอบปที่ ผานมาเปนการตอ ยอดความรูส ูการมงี านทําหรือประกอบอาชีพ การติดตามผลผเู รียนหลงั จบหลักสูตรพบวาสวนใหญการตดิ ตามผูเรียนหลังจบหลักสูตรยงั ขาดความ ตอ เน่ือง ขาดแหลงเงนิ ทุนเพื่อลงทุนในการประกอบอาชพี ซง่ึ เปนอุปสรรคในการเขา สูอาชีพหลังจบหลักสูตร ซ่งึ การนาํ ความรูไปใชหลังจากจบหลักสูตรจะสอดคลองกับมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน ตวั บง ช้ที ่ี 1.4 ผูเรยี นหรอื ผเู ขา รบั การอบรมมคี วามรู ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชพี การวัดและประเมินผล สถานศกึ ษาสวนใหญป ระเมนิ การมีสว นรวมมากกวาการวดั ความรูห รอื ทักษะ ตามจุดประสงคหลักสูตรกําหนด สวนใหญประเมินความพึงพอใจเปนหลัก โดยสถานศึกษากําหนดใหมีการ ประเมินความพึงพอใจทุกกิจกรรม ตามท่ีสํานักงาน กศน.กําหนด รวมทั้ง มีการสรุปรายงานผลการจบ หลักสูตร เสนอผูบริหารแตพบวา ครตู องทําแบบประเมินความพึงพอใจเปนจํานวนมาก ซึ่งจะเพ่ิมปรมิ าณการ ใชกระดาษมากขึน้ ขอนเิ ทศ 1. เสนอแนะให กศน.ตําบล ดําเนนิ การจัดกจิ กรรมศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยพิจารณาหลกั สูตรท่ีสอน จะตอ งสอดคลองกับวถิ ีชีวติ และสามารถนําไปประกอบอาชีพไดจรงิ ที่สง ผลตอการลดรายจา ยและเพ่ิมรายได ในครัวเรือน 2. เสนอแนะใหจัดทําขอมูลผูจบหลักสูตรและมรี ะบบติดตามอยางตอเนอ่ื ง เพื่อทราบความสําเร็จของ ผูเรียนวาสามารถนําองคความรูไปประยุกตใชในดานใดบาง และเพื่อเปนขอมูลซึ่งนํามาใชในการปรับปรุง พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหตอบสนองความตองการของผูเรียนและชุมชนใหมีประสิทธิภาพ มากยงิ่ ขึน้ ปจจยั แหง ความสาํ เร็จ เมื่อจบหลักสูตรผูเรียนบางสวนสามารถนําไปพัฒนาตอยอดเปนอาชีพเสริมได เชน การสานกระเปา จากเสนพลาสติก การถักตะกรา จากเชือกมดั ฟาง การทําไมกวาดทางมะพรา วทม่ี กี ารสง ขายอยางตอ เน่อื ง ปญ หาอุปสรรค ครูตองทาํ แบบประเมนิ ความพึงพอใจเปนจํานวนมาก ซ่ึงจะเพมิ่ ปรมิ าณการใชก ระดาษมากขนึ้ ขอเสนอแนะตอ สถานศึกษา 1. สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูมีการสรางแบบฟอรมออนไลนเพื่อลดจํานวนการใชกระดาษ และ สามารถประมวลผลระดับความพึงพอใจไดทันที นําผลการประเมินมาใชไดสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งสามารถ นําไปประยกุ ตใชกับกิจกรรม กศน.ไดทกุ กิจกรรม 2. สถานศึกษาควรสงเสริมใหมีการพัฒนาวิทยากรทางอาชีพใหทราบเกี่ยวกับการจัดกระบวนการ เรียนรู ตามคมู อื การจัดกจิ กรรมของ สํานกั งาน กศน. 3. สถานศึกษาควรมีการกํากับติดตามครูในการติดตามผลผูเรียนหลังจบหลักสูตรอยางเปนระบบ มากขน้ึ โดยจดั ทาํ ทําเนียบผูจบหลักสูตร ท่ปี ระสบความสําเรจ็ ใหเปน ปจ จบุ ัน เผยแพรใ หเปนตวั อยางในชมุ ชน ขอ เสนอแนะตอ สํานกั งาน กศน.จังหวดั สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการจัดประกวด Best Practice ของแตละสถานศึกษา เพ่ือให เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรซู ึ่งกนั และกัน

21 3.2 การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ติ สภาพท่พี บ การดําเนินงานจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสถานศึกษาไดมีการจัดกิจกรรมโครงการสงเสริม ดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน โดยมีการเก็บรวบรวมขอ มูลปญหาสขุ ภาวะสขุ อนามัยของ ประชาชนในชมุ ชน ๔ กลุม คอื กลุมแม กลุมเด็ก กลมุ ผูส งู อายุ และกลุมคนทเ่ี ปนโรคไมต ิดตอ โดยไดประสาน ความรวมมือกับโรงพยาบาลวัดเพลง และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ทั้ง 4 แหง และมีการวางแผน การดําเนินงานรวมกับทีมอําเภอสุขภาวะซ่ึงครู กศน.ตําบลไดรับการแตงต้ังเปนคณะกรรมการดําเนินงาน อําเภอสุขภาวะระดับตําบล ทําใหมีการประสานงานการจัดกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอ ในประเด็นการ ประชาสัมพันธการสรางการรับรู ครูกศน.ตําบลไดรวมกับคณะกรรมการดําเนินงานอําเภอสุขภาวะในการ ประชาสัมพันธการสรางการรับรู สรางความเขาใจใหแกประชาชน และมีการจัดอบรมใหความรูกับประชาชน โดยแบงเปน 2 รุน คือ รุนท่ี 1 ดําเนินการอบรมใหความรูเก่ียวกับโรคไมติดตอเรื้อรัง NCDs และรุนที่ 2 คือ การสง เสรมิ สุขภาพอนามยั ของผูส ูงอายุ โดยแตละ กศน.ตาํ บลไดดําเนนิ การใหค วามรูแ กป ระชาชนไดค รบ ดานวิทยากร ครู กศน.ตําบลไดมีการประสานความรวมมือกับคณะกรรมการดําเนินงานอําเภอสุข ภาวะระดับตําบลเพื่อมาเปนวิทยากรใหความรู ซ่ึงไดรับความอนุเคราะหจากโรงพยาบาลวัดเพลง และ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานเวียงทุน และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลจอมประทัด ซึ่งเปน ผรู ับผิดชอบดานสขุ ภาพของประชาชนทาํ ใหสามารถถา ยทอดความรูใหกับประชาชนไดอยา งชัดเจน และมีการ ยกกรณีตวั อยา งเพอื่ ใหป ระชาชนสามารถมองไดเหน็ ภาพไดอ ยางงา ย ดานผูเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละรุนผูเรียนเปนกลุมเปาหมายตรงกับหลักสูตร ครูมีการคัดกรองผูเรียน การเขารวมกิจกรรมการเรียนการสอนพบวาแตละรุนมีผูเรียนเกินเปา ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนแบงออกเปน 2 สวน คือ ชวงเชาเปนการใหความรูลักษณะการบรรยาย และ ชวงบายเปนการแบงกลุมเพื่อระดมความคิดในเรื่องท่ีไดรับผิดชอบ การวัดและประเมินผลยังไมชัดเจนวา เปน ไปตามจดุ ประสงคก ารเรียนรูหรือไม ขอนิเทศ เสนอแนะใหครู กศน.ตําบล มีการศึกษาขอมูลเพิ่มเติมโดยเฉพาะอยางย่ิงกลุมแมและกลุมเดก็ เพ่ือให สามารถดาํ เนินงานไดครอบคลมุ ทุกกลมุ เปาหมาย ปจ จยั แหง ความสาํ เร็จ ครู กศน.ตําบล ทุกคนเปนคณะกรรมการดําเนินงานอําเภอสุขภาวะระดับตําบล และเจาหนาท่ีงาน การศกึ ษาตอเน่อื ง เปนคณะกรรมการดาํ เนินงานอาํ เภอสขุ ภาวะ ทําใหการดาํ เนินงานจัดกจิ กรรมตาง ๆ บรรลุ ตามวัตถุประสงค ขอเสนอแนะตอ สถานศกึ ษา 1. สถานศกึ ษาควรมีการกํากับติดตามการดําเนินงานอยางตอ เน่ือง และควรมีการดําเนนิ งานสงเสริม สุขภาวะและสขุ อนามยั แกป ระชาชนใหครบทกุ กลมุ เปาหมาย 2. สถานศึกษาควรมีการทําบันทึกขอตกลงความรวมมือกับสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ หรือ โรงพยาบาลวดั เพลง หรือโรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบล ขอเสนอแนะตอ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการกํากับ ติดตามผลการดําเนินงานของสถานศึกษาอยาง ตอ เน่ือง

22 3.3 การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสังคมชุมชน สภาพที่พบ การดาํ เนินการจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน สถานศึกษาไดนํานโยบายของรัฐมนตรีชว ยวา การกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกสุรเชษฐ ชยั วงศ) มาเปนแนวทางในการดาํ เนนิ งานโดยจัดเปน โครงการชมุ ชน ตนแบบตามโครงการไทยนิยมย่ังยืน โดยครูกศน.ตําบลพิจารณาจากความพรอมของชุมชนและการเขารวม กิจกรรมของประชาชนซ่ึงคัดเลือกตามภารกิจหลัก 4 ศูนย กศน.ตําบล ไดแก กศน.ตําบลวัดเพลง คัดเลือก บานบึงทาใหญ ตามภารกิจศูนยฝกอาชีพชุมชน กศน.ตําบลจอมประทัด คัดเลือกบานบางกลวย ตามภารกิจ ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบล และ กศน.ตําบลเกาะศาลพระ คดั เลือกบานคลองขดุ ตามภารกิจศนู ยเรยี นรปู รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป ระจาํ ตําบล โดยครู กศน.ตําบลและผูนําชุมชนมีการวางแผนการดําเนินงานเพื่อใหสอดรับกับภารกิจ 4 ศูนย กศน.ตําบล และสามารถขับเคลื่อนการดําเนินงานตามโครงการโดยกิจกรรมโครงการตางๆที่จะดําเนินการจัดใหกับ ประชาชนในพ้ืนท่ีเปนการนาํ เสนอขอมูลความตองการของประชาชนจากเวทีประชาคมตามโครงการไทยนิยม ยงั่ ยนื ของแตละชมุ ชน หลังจากครมู ีการจัดเวทปี ระชาคมเรียบรอยแลว นาํ ขอมูลมาวางแผนการจัดกจิ กรรมโดย มีการเสนอขอเปลี่ยนแผนการจัดกิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ใหผูบริหาร สถานศึกษาอนมุ ัติ เพอ่ื ใหสอดคลองกบั ความตอ งการของประชาชนในชมุ ชน ครู กศน.ตําบล การพัฒนาผลิตภัณฑของชุมชนตนแบบ ครูกศน.ตําบล และผูนําชมุ ชนมีการประชุมเพ่ือวางแผนการ จดั ทาํ ผลิตภัณฑ การออกแบบผลติ ภัณฑ การประชาสมั พันธ การจัดจําหนายผลิตภัณฑในชุมชน มกี ารนําวัสดุ ในทองถิ่นมาทําเปนผลิตภัณฑชุมชน เชน กลวย นํามาแปรรูปเปนกลวยกวน กลวยอบมวน กลวยแผน มะพราว นํามาแปรรูปเปนมะพราวแกว เปนตน กระบวนการผลิตสินคา ในชุมชนเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน โดยไดรับคําแนะนําจากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอวัดเพลง สํานักงานเกษตรอําเภอวัดเพลง ในดาน กระบวนการออกแบบผลิตภณั ฑอยูระหวางการพัฒนาบรรจภุ ัณฑซ่ึงไดรับคาํ แนะนําจากมหาวิทยาลัยราชภัฎ หมบู านจอมบึง ในดานการใชสื่อ และเทคโนโลยี เขามามีสวนรวมในการเรียนรู และเปนชองทางการจําหนาย ผลิตภัณฑอาชีพของชุมชน ชุมชนมีการนําส่ือเทคโนโลยีเขามาใชในการจําหนายผลิตภัณฑของชุมชนผาน โครงการดิจทิ ัลชมุ ชน หลักสูตรการคาออนไลน โดยมีการบูรณาการขายสนิ คาของชุมชนผานสื่อออนไลน เชน แฟนเพจเฟสบุคของชุมชน และกลุม OOCC กศน.อําเภอวัดเพลง โดยครูมีการติดตามผลการดําเนินงานและ รายงานผลการดาํ เนินงานเปนรายเดอื น และไตรมาส ดา นการสรางรายไดและการพัฒนาตอ ยอด ครกู ศน.ตําบลและผูนําชุมชนไดม ีการประชุมวางแผนเพื่อ ผลิตสินคาและวางแผนการขาย และติดตามความกาวหนาของผลิตภัณฑเปนประจําทุกเดือนผานเวที ประชาคมหมูบาน และการประชุมประจําเดือนของกํานันผูใหญบาน ครู กศน.มีการจัดทําโครงการเพื่อให ความรเู ก่ียวกับการทําบัญชรี ายรบั -จายโดยเชญิ วิทยากรจากธนาคารออมสินสาขาวัดเพลง และสํานักงานคลัง จังหวัดราชบุรี ชุมชนตนแบบท้ัง 3 ชุมชนไดมีการนําผลิตภัณฑไปจําหนายนอกพ้ืนที่และจําหนายออนไลน และอยูร ะหวางพัฒนาเปน สินคา OTOP ของชุมชน และผนู ําชมุ ชนไดม กี ารประชุมสมาชิกเพ่ือรวมวางแผนการ ผลิตและการพฒั นาผลติ ภณั ฑอยา งสมํ่าเสมอเพอ่ื ความย่ังยืนของชุมชน ดานการสรางการรับรูในหัวขอ 05 รสู ิทธิรูหนาท่ี รูกฎหมาย หัวขอ 06 รูกลไกการบริหารราชการ สถานศึกษาไดมีการสอดแทรกความรูเรื่องสิทธิ หนาท่ีและกฎหมายในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง และวิชาศาสนาและหนาที่พลเมอื ง และสถานศกึ ษาไดจัดทําโครงการชมุ ชนตนแบบ ตามโครงการไทยนิยมย่ังยืน เพ่ือใหความรใู นเร่ืองรูสิทธิ รหู นาที่ รูกฎหมาย รกู ลไกการบริหารราชการ โดยมี นายอําเภอวัดเพลง และปลดั อาํ เภอวัดเพลง เปน วิทยากรใหค วามรู และสถานศกึ ษาไดจ ดั ทาํ ส่ือความรเู กยี่ วกับ

23 รูสิทธิ รูหนาท่ี รูกฎหมายเผยแพรใหความรูแกประชาชน เชน โรลอัพ แผนพับ เอกสารประกอบการอบรม และส่ือมัลติมีเดีย เปนตน สถานศึกษามีการใชส่ือที่ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการ เลือกตั้งไปประชาสัมพันธใหความรูแกประชาชน และยังไดจัดกระบวนการสรางการรับรูโดยการอบรมให ความรแู ละการจดั เวทีประชาคมหมบู า น ขอนเิ ทศ 1. ควรสรางการมีสว นรวมในการดาํ เนินการขบั เคลอื่ นชมุ ชนตน แบบอยา งเปน รูปธรรม 2. ควรมีการสงเสริมใหชุมชนนําผลิตภัณฑของชุมชนข้ึนทะเบียนเปนสินคา OTOP ของชุมชนโดย ประสานงานกับสํานกั งานพัฒนาชุมชนอาํ เภอวัดเพลง 3. ควรมีการสงเสริมใหนําผลิตภัณฑข องชุมชนประชาสัมพันธและขายผานระบบออนไลนใน OOCC ของสถานศกึ ษาอยางตอเนือ่ ง 4. ควรมีการขยายผลใหความรูเกี่ยวกับการรูสิทธิ รูหนาท่ี รูกฎหมาย และกลไกการบริหารราชการ ใหแกป ระชาชนใหครอบคลุมทกุ หมูบ า น ปจจัยแหงความสําเรจ็ 1. ครู กศน.ตําบลทุกคนเปนคณะกรรมการดําเนินงานของผูนําชุมชนในตําบลทําใหการดําเนินงาน การประสานงาน การจัดกิจกรรมตางๆในชุมชนไดรับความรวมมือจากประชาชนในชุมชนเปนอยางดีทําให สามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงคต ามโครงการ 2. ผูนําชุมชน คณะกรรมการหมูบาน และครูกศน.ตําบลไดมีการดําเนินการวางแผนการจัดกจิ กรรม การติดตามอยางตอ เนื่องทาํ ใหช ุมชนสามารถจดั ทําผลติ ภณั ฑของชมุ ชนสงขายสูทองตลาดในทอ งถิ่นและตลาด ออนไลนไดอยางย่ังยืน โดยชุมชนบานบางกลวยไดรับเชิญจากรายการแจว สถานีโทรทัศนชอง 3 เพื่อไปถาย ทาํ รายการแนะนําผลิตภัณฑในชุมชนการแปรรูปผลิตภัณฑจากวัตถุดิบในชุมชนคอื กลวยอบมวน กลวยกวน และมะพรา วแกว ทําใหช ุมชนสามารถดาํ เนินงานไดอยา งยง่ั ยนื 3. มหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึงไดมีการจัดทําโครงการวิจัยเพ่ือชุมชนโดยการสํารวจ และ ดําเนินการวิจัยดานการออกแบบผลิตภัณฑ การพัฒนาบรรจุภัณฑรวมกับคณะกรรมการหมูบานบางกลวย ทาํ ใหการดําเนินงานโครงการเปน การทํางานเชงิ บูรณาการ ปญหาอปุ สรรค การพัฒนาอาชพี หลงั จากที่สถานศึกษาไดจดั กจิ กรรมเพือ่ พัฒนาอาชีพใหกับชุมชนแลว บางชุมชนไมมี แหลงทุนในการดาํ เนนิ การอยา งตอเน่ือง ซึง่ วสั ดุอุปกรณในการดาํ เนนิ งานบางอยางมรี าคาคอนขางสูง ขอเสนอแนะตอ สถานศกึ ษา 1. สถานศึกษาควรมีการสงเสริมใหชุมชนนําผลิตภัณฑของชุมชนขึ้นทะเบียนเปนสินคา OTOP ของชุมชนโดยประสานงานกับสํานกั งานพัฒนาชุมชนอําเภอวัดเพลง และสงเสริมใหมกี ารจําหนายสินคาผาน ระบบออนไลนโดยมีการใหค วามรูอ ยางตอเนือ่ ง และควรมีระบบในการกาํ กับติดตามการดําเนนิ งาน 2. สถานศึกษาควรมีการขยายชุมชนตนแบบในแตละตําบลเพิ่มมากข้ึนปงบประมาณละ 1 ชุมชน เพ่อื ใหการดาํ เนินงานเปน ไปอยา งตอ เนอ่ื ง ขอเสนอแนะตอสาํ นักงาน กศน.จงั หวดั สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการจัดประกวดชุมชนตนแบบตามโครงการไทยนิยมยั่งยืนเปน ประจําทุกปงบประมาณ เพอื่ แลกเปลยี่ นเรียนสรางขวญั และกาํ ลงั ใจใหแ กชุมชน และครกู ศน.ในการดาํ เนินงาน

24 3.4 การจดั กระบวนการเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สภาพที่พบ สถานศึกษามีการนอมนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมมาสูก ารปฏิบัติโดย จัดทําโครงการสงเสริมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ครูมีการวางแผนการ ดาํ เนินงานของศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม โดยการสํารวจความตองการ ของประชาชนผานเวทีประชาคมของหมูบาน นํามาสูการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ของสถานศึกษา ครูมีการประสานภูมปิ ญญาทองถิ่น ปราชญชาวบานเพื่อเปนวทิ ยากรในการถายทอดความรู และมีการจัดทําหลักสูตรการเรียนรูที่หลากหลาย เชน การทําปุยนํ้าชีวภาพ การทําเกษตรธรรมชาติ สูการพัฒนาอยางย่ังยืน การปลูกพืชผักในตะกรา โดยมีการจัดอบรมประชาชนเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงโดยเนนใหประชาชนท่ีไดมีนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการดําเนิน ชีวิตประจําวัน การดําเนินโครงการไดจัดในลักษณะการฝกอบรมรูปแบบการบรรยายและการฝกปฏิบัติ ซง่ึ กศน.ตําบลแตละแหงไดมีการดําเนินงานตําบลละ 2 รุน แตละรุนมีเน้ือหาท่ีสอดรับกันเพื่อใหผูเขารับการ อบรมมีการนําความรูไ ปตอยอดในการประยุกตใชในชวี ติ ประจาํ วนั ดงั นี้ กศน.ตาํ บล รนุ ที่ 1 รนุ ที่ 2 วดั เพลง หลกั สูตรการเรียนรูตามหลักปรชั ญาของ หลักสตู รการทาํ ปยุ นํ้าชวี ภาพ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมส ู การปฏิบัติ หลกั สูตรการปลกู พืชผักในตะกรา จอมประทดั หลักสตู รการปรบั ปรงุ ดินเพอ่ื การปลกู พืชผัก หลักสูตรการทําเกษตรธรรมชาตสิ ูการพัฒนา สวนครวั อยา งยง่ั ยนื เกาะศาลพระ หลักสูตรการปลกู พืชในโรงเรือนดว ยปยุ ชวี ภาพ วิทยากรสว นใหญเ ปนภมู ิปญญาทองถ่นิ ปราชญชาวบา นทีม่ คี วามรูค วามสามารถในดานการทาํ เกษตร และประสบความสําเร็จในการทําการเกษตร และวิทยากรท่ีเปนนักวิชาการสงเสริมการเกษตรจากสํานักงาน เกษตรอําเภอวดั เพลง เปนผูถายทอดความรใู หกบั ผูเขา รบั การอบรมโดยมีการอธิบายองคประกอบของหลักคิด ของเศรษฐกิจพอเพียง 3 หว ง 2 เง่อื นไข นาํ หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชว ิเคราะหและตดั สินใจ ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต สรา งภมู ิคุมกนั ในชีวติ ของผเู ขารบั การอบรม ผูเรียนสวนใหญเปนผูที่มีความสนใจในการทําการเกษตรพอเพียงซ่ึงมาเพ่ิมเติมความรูเพ่ือนําไป ประยกุ ตใชในการประกอบอาชีพของตนเอง ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนผูเรียนมคี วามสนใจและต้งั ใจ รับความรจู ากวิทยากรเปนอยา งดี ครู กศน.ตําบลจัดทาํ นิทรรศการเปน ไวนิลความรูเร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงใหผูเรียนไดเรียนรูประกอบการบรรยาย มีการแลกเปล่ียนความรูโดยการนําปญหาท่ีพบเจอในการ ประกอบอาชีพมาสอบถามวิทยากร อีกทั้งครู กศน.ตําบลยังไดมีการนําผูเรียนไปศึกษาดูงานแหลงเรียนรูใน พนื้ ท่ตี ําบลท่ีประสบความสําเร็จ เชน กศน.ตําบลวัดเพลง มกี ารนําผเู รยี นไปศึกษาเรียนรูในแหลงเรียนรูการทํา เกษตรผสมผสานบานบึงทาใหญ หมู 6 ตําบลวัดเพลง และกศน.ตําบลเกาะศาลพระ มีการศึกษาเรียนรูใน ศูนยเรียนรูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตรอําเภอวัดเพลง (ศพก.อําเภอวดั เพลง) สวน กศน.ตาํ บล จอมประทัด จะเนนการฝกปฏิบัติและการแลกเปล่ียนเรียนรกู ับวิทยากรเพื่อใหผูเรียนสามารถนําไปปรับใชใน การดาํ เนนิ ชีวิตประจําวัน

25 ในดานการติดตามผูเรียน ครมู ีการติดตามผูเรียนโดยใชแบบติดตามผูเรียนตามคูมือการจัดการศึกษา ตอเน่อื งของสาํ นักงาน กศน. เพอ่ื ติดตามการนําความรูไปใชของผเู รียน มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจตอการเขา รว มกจิ กรรมเพ่อื สรุปผลการดาํ เนนิ งาน และมกี ารรายงานใหผบู รหิ ารทราบ ในสวนการนําความรูไปใชห ลงั จาก จบหลักสูตรจะสอดคลองกับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในตัวบงช้ี ๑.๕ ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรม ปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขอ นิเทศ 1. ควรมีการติดตามผูเรียนท่ีประสบความสําเร็จในการนําความรูจากการอบรมไปใชในการดําเนิน ชีวติ ประจําวันหรือการประกอบอาชีพ 2. ควรมีการนํา Google form มาใชในการทําแบบประเมินความพึงพอใจออนไลนเพื่อลดปริมาณ กระดาษและสามารถประมวลผลไดอยา งรวดเรว็ ปจ จัยแหงความสาํ เร็จ 1. นโยบายสถานศึกษาพอเพียง และอตั ลักษณของสถานศกึ ษาทาํ ใหการดําเนนิ งานโครงการสงเสริม การเรยี นรูต ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมในชมุ ชนไดสาํ เรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค 2. สถานศึกษามีการจัดต้ังศูนยเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม ประจําตําบล โดยมีครูกศน.ตําบลเปนผูขับเคล่ือนการดําเนินงาน มีการจัดทําทําเนียบแหลงเรียนรูเศรษฐกิจ พอเพียงของอําเภอซึ่งสามารถเชื่อมโยงการเรียนรทู ําใหสามารถนําผูเขารับการอบรมเขาไปศึกษาเรียนรูและ แลกเปลยี่ นเรยี นรไู ดอยางตอเน่ือง ขอเสนอแนะตอ สถานศกึ ษา 1. สถานศึกษาควรมีการจัดทําทําเนียบผูท่ีประสบความสําเร็จในการนําความรูจากการเขารวม โครงการไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน หรือประกอบอาชีพเพ่ือเปนฐานขอมูลในการตอบสนองตัวบงช้ี การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2. สถานศึกษาควรมีการขยายผลการดําเนินงานการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสําหรับนักศึกษาโดยบูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน หรอื กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือสงเสริมใหนักศึกษามีการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยกุ ตใ ชใ นการดําเนนิ ชีวิตประจําวันและเปนกิจกรรมท่ีสอดคลองกบั อัตลักษณข องสถานศึกษา คือ พอเพยี ง และมอบหมายใหมีการติดตามประเมินผลการดาํ เนินงานพรอมรายงานความกาวหนา ตอหนวยงานที่เกีย่ วของ อยา งเปนระบบ 3. สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูกศน.นาํ เทคโนโลยีมาใชใ นการปฏิบัติงาน เชนการจัดทําแบบสํารวจ ความพึงพอใจตอการเขารวมโครงการโดยใช Google form ซ่ึงจะทําใหประหยัดกระดาษในการทํา แบบสอบถาม และสามารถประมวลผลไดอยา งรวดเร็วหลงั จากการกจิ กรรมเสร็จสิ้น ขอ เสนอแนะตอสาํ นักงาน กศน.จังหวัด 1. สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการกํากับติดตามการดําเนนิ งาน และรวบรวมจัดทําทําเนียบ ผูประสบความสําเร็จ หรือตนแบบผูนําความรูไปใชจากการเขารวมโครงการเพื่อเปนฐานขอมูลในการ ดาํ เนินงาน 2. สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการสงเสริมใหสถานศึกษารวบรวมรายช่ือหรอื จัดทําทําเนียบ วิทยากรหรือปราชญชาวบานในการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเปน ฐานขอ มูลสนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านในปงบประมาณตอ ไป

26 4. การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สภาพที่พบ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีการดําเนินการโครงการสงเสรมิ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ 2562 เพ่ือสงเสริมใหประชาชนมีนิสัยรักการอาน และสามารถนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวัน และเพ่ือสรางเครือขายสงเสริมการอานในชุมชน โดยไดมีการนํายุทธศาสตรการขับเคล่ือน นโยบายการสงเสริมการอานของสํานักงาน กศน. พ.ศ. 2561-2564 มาเปนแนวทางในการดําเนินงาน ซึ่งสถานศึกษาไดมีการจดั กิจกรรมเพ่อื ใหส อดคลองกบั ยุทธศาสตร ดังนี้ 4.1 กิจกรรมประชุมสรางความรูความเขาใจเก่ียวกับบทบาทของอาสาสมัครสงเสริมการอาน สถานศึกษาไดมีการจัดประชุมอาสาสมัครสงเสริมการอาน และเจาของบานหนังสือชุมชนเพื่อสรางความรู ความเขา ใจในนบทบาทของอาสาสมัครสงเสริมการอานใหไ ดรบั ทราบแนวทางการดาํ เนินงานของ กศน.อําเภอ วัดเพลงในดานการศึกษาตามอัธยาศัย บรรณารักษหองสมุดประชาชนไดมีการช้ีแจงบทบาทและกิจกรรมใน การใหบ รกิ ารและวางแผนการดําเนนิ งานรวมกับอาสาสมคั รสง เสริมการอาน บรรณารกั ษไดมกี ารชแ้ี จงบทบาท และกิจกรรมในการใหบริการและวางแผนการดําเนินงานรวมกับอาสาสมัครสงเสริมการอานและครู กศน. ตําบล โดยไดจัดทําสมุดลงช่ือผูใชบริการบานหนังสือชุมชน ปายQR Code ลงช่ือเขาใชงาน และปาย QR Code ประเมินความพึงพอใจ ในการใชบริการมอบใหกับอาสาสมคั รสงเสริมการอานเพื่อนําไปใหบริการ ประชาชน 4.2 กิจกรรมพัฒนาหองสมุดประชาชน สถานศึกษาไดมีการดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาหองสมุด ประชาชนเพ่ือใหมีสภาพเอ้ือตอการอาน เน่ืองจากอาคารท่ีทําการหองสมุดเปนอาคารโรงเรียนวัดเกาะ ศาลพระหลังเดิมท่ีไดมีการยุบเลิกไปแลวซึ่งไมไดถูกออกแบบมาเปนหองสมุดโดยเฉพาะ และมีสภาพท่ี ทรุดโทรมตามอายุการใชงาน บรรณารักษ ครู กศน.ตําบล และนักศึกษาไดมีการรวมกันพัฒนาทั้ง สภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองสมุดประชาชน เชน การปรับสวนหยอมบริเวณดานขางหองสมุด ใหเปนสนามเด็กเลนโดยไดรบั ความอนุเคราะหอุปกรณเคร่อื งเลนจากองคการบรหิ ารสวนตําบลเกาะศาลพระ มีการจัดทําปายประชาสัมพันธดานหนาหองสมุด การซอมหลังคาหองสมุดประชาชน จัดทําปายสงเสริมการ อานภายในหองสมุด จัดทําปายการใหบริการการอานและการเรียนรูโดยใหสามารถเขาถึงไดผาน QR Code และจัดทําปายสติกเกอร ประชาสัมพันธการใหบรกิ ารแอปพลเิ คชันหอ งสมุดมือถอื ติดต้ังบนประตบู านกระจก หอ งสมุดประชาชน เพ่อื ใหเ อื้อตอการอา นและการเรียนรูอ ยางตอ เนอ่ื งและตลอดชวี ิต 4.3 การจัดหาหนังสือ หนังสือพิมพ วารสารเพื่อใหบริการการอานและการเรียนรูแกประชาชน บรรณารกั ษม ีการสาํ รวจความตอ งการอานและการเรียนรูเพื่อเปน ขอ มูลในการวางแผนการจดั ซื้อหนังสือและ ส่ือเขามาใหบริการภายในหองสมุดประชาชน มีการแตงตั้งคณะกรรมการคัดเลือกหนังสือตามสรุปผลความ ตอ งการของผูรบั บริการ หองสมุดไดประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการโดยใชแบบประเมินออนไลนซ่ึงให ผูใชบริการสแกนQR Code เพื่อตอบแบบประเมินและสามารถประมวลผลไดอยางรวดเร็ว ในการจัดซ้ือ หนังสือและสื่อหองสมุด หนังสือพิมพ วารสารไดดําเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการ บริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.2560 โดยใชวิธีเฉพาะเจาะจง ตามระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยการจัดซอ้ื จดั จา ง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 โดยหองสมุดไดมีการบอกรับหนังสือพิมพวันละ 2 ฉบับ คือ หนงั สือพิมพไ ทยรฐั และหนงั สือพิมพเดลินิวส ซึ่งใหบ ริการทุกวัน และวารสารไดบ อกรบั วารสารรายปกษ และ

27 รายสัปดาห จํานวน 16 ฉบับตอเดือน สําหรับหนังสือพิมพ กศน.ตําบลไดบอกรับหนังสือพิมพไทยรัฐวันละ 1 ฉบับ เวนวันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษ การใหบริการการอานและการคนควาแกประชาชน มผี ูรับบริการเฉล่ียวนั ละ 5-10 คน ตอตําบล รวมตลอดปงบประมาณโดยเฉล่ีย จํานวน 2,738 คน จํานวน สมาชิกหองสมุดเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง มีการรับสมัครสมาชิกหองสมุดในการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอาน และ หนวยบริการเคลื่อนท่ีทุกคร้ัง มีสมาชิกจํานวน 1,520 คน สถิติการยืมคืนของผูใชบริการในชวงตน ปงบประมาณลดลง หลังจากท่ีหองสมุดไดนําแอปพลิเคชันหองสมุดมาใชในการใหบริการทําใหประชาชน สามารถเขาถึงการอานไดสะดวกขึ้นทําใหสถิติการใชบริการเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง บรรณารักษและครูกศน. ตําบลไดติดตามผลหลังจากการรับบริการการอานของหองสมุด โดยไดจัดทําแบบติดตามผูใชบริการ โดยสวน ใหญผใู ชบ รกิ ารไดอ านหนงั สอื เพื่อใชเ วลาวางใหเปนประโยชน 4.4 กิจกรรมหองสมุดเคลื่อนท่ีสําหรับชาวตลาด สถานศึกษาไดมีการดําเนินงานกิจกรรมหองสมุด เคลื่อนที่สําหรับชาวตลาด ประจําป 2562 เพ่ือสงเสริมใหประชาชน ชุมชนชาวตลาดอานหนังสือมากข้ึน ตามพระราชดําริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถานศึกษามีการแตงตั้งผูรับผิดชอบดูแลหองสมุดเคลื่อนท่ีสําหรับชาวตลาด และแตงตั้งครู และบุคลากร กศน.อําเภอวัดเพลง เปนคณะกรรมการดําเนินงานโครงการฯ หองสมุดเคลื่อนท่ีสําหรับชาวตลาดวัดเกาะ ศาลพระเปดใหบริการอานการคนควาทุกวันทั้งในรูปแบบหนังสือ และแอพลิเคชันหองสมุด และมีการจัด กิจกรรมสงเสริมการอานในวันจันทร ไดรับการสนับสนุนจากวัดเกาะศาลพะใหใชพื้นที่เปนท่ีตั้งหองสมุด เคลื่อนที่สําหรับชาวตลาด และไดรับการบริจาคหนังสือจากบริษัทรักลูก และบริษัทซีพีออลล เพ่ือใหบริการ อา นและการคนควา หองสมุดฯมีพ้นื ท่ใี กลกับ กศน.ตาํ บลเกาะศาลพระ และหองสมุดประชาชนอําเภอทําใหมี การหมุนเวยี นหนงั สือจากหองสมุดประชาชนอยางตอเน่ืองและหนงั สือมีความเพียงพอตอ การใหบรกิ าร และมี การใหบริการอินเทอรเน็ตจากกศน.ตําบลเกาะศาลพระ มีการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานทุกวันจันทร ไดแก กจิ กรรมพบั เหรียญโปรยทาน กจิ กรรม DIY ประดิษฐพวงกญุ แจ กิจกรรมพับโมเดลกระดาษ กิจกรรมประดษิ ฐ ดอกไมกระดาษ กิจกรรมพับใบเตย ในการใหบริการแตละคร้ังมีการจัดทําสมุดลงช่ือผูใชบริการ จัดทําสถิติ ผูใชบริการโดยมีผูใชบริการการอานลดลงเนื่องจากสถานศึกษาไดเพิ่มชองทางใหบริการผานแอปพลิเคชัน หอ งสมดุ ประชาชน สถานศกึ ษายังไมไดม กี ารติดตามผลผูร ับบริการหองสมุดเคลอ่ื นทีส่ าํ หรับชาวตลาด 4.5 กิจกรรมครอบครัวรักการอาน สถานศึกษามีการการดําเนินงานกิจกรรมครอบครัวรักการอาน โดยมกี ารจดั ทํากระเปาครอบครัวรักการอานเพ่ือเปนอุปกรณในการนําหนังสือและสอ่ื การเรียนรจู ากหองสมุด ประชาชนและกศน.ตําบลกลับไปอานรว มกับครอบครัวและเมื่ออานเสร็จแลวจึงนํามาเปลี่ยนเลมใหมอีกครั้ง การรับสมัครสมาชิกครอบครัวรักการอาน บรรณารักษและครู กศน.ตําบล ทั้ง 3 แหง มีการรวมกันรับสมัคร นักศึกษา และประชาชนที่มีความสนใจเปนสมาชิกครอบครัวรักการอาน ซึ่งไดมอบหมายใหทําหนาที่เปน อาสาสมัครสงเสรมิ การอานของกศน.อาํ เภอวัดเพลงอีกหนาท่ีหน่ึง สถานศึกษาตั้งเปาหมายสมาชิกครอบครัว รกั การอา นไว จาํ นวน 120 คน ผลจากการดําเนินงาน มีสมาชกิ จํานวน 165 คน การหมุนเวียนหนงั สือและ ส่ือการอา น และการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอาน ไดดาํ เนินการ 2 ชอ งทาง คอื หมุนเวยี นผานกศน.ตาํ บล และ ผานหองสมุดประชาชน โดยครู กศน.ตําบล ยืมหนังสือจากหองสมุดประชชนอําเภอวัดเพลง นําสื่อมา หมุนเวียนใหบ รกิ ารสมาชกิ ครอบครวั รักการอานท่ี กศน.ตําบล และสมาชิกครอบครวั รักการอา นหนังกระเปา หนังสือมาเลอื กหนังสือที่ตองการยืมกลับไปอานกบั ครอบครวั ในหองสมุดประชาชน การติดตามและการเย่ียม สมาชิกครอบครัวรักการอาน บรรณารักษหองสมุดและครูกศน.ตําบลมีการสรางกลุมไลนเพื่อเปนชองทางใน การตดิ ตอสอ่ื สารระหวา งสมาชกิ และคณะกรรมการดาํ เนินงาน

28 4.6 กิจกรรมสงเสริมการอานสําหรับผูสูงอายุ สถานศึกษาไดมีการดําเนินกิจกรรมสงเสริมการอาน รวมกับภาคีเครือขาย ไดแก กิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูสําหรับผูสูงอายุ ประจําป 2562 ซ่ึงได มอบหมายใหงานการศึกษาตามอัธยาศัยรวมกับกศน.ตําบล และชมรมผูสูงอายุในพ้ืนท่ีอําเภอวัดเพลง มีการ วางแผนการจัดกิจกรรมรวมกบั ชมรมผสู งู อายุ กิจกรรมทีด่ าํ เนินการใหบริการ เชน บรกิ ารการอาน การยืม-คืน หนังสือ การแนะนําหนังสือ เพื่อสงเสริมการอาน กิจกรรมปองกันการลืมหนังสือแกผูสูงอายุ การประดิษฐ ดอกไม กิจกรรมกายบริหาร และกิจกรรมนันทนาการ ผูสูงอายุโดยสวนใหญมีความสนใจในกิจกรรมที่ สถานศึกษาจัดใหบริการ ผลการดําเนินงานมีผูเขารวมกิจกรรม 382 คน กิจกรรมสงเสริมการอานสําหรับ ผูสูงอายุเปนกิจกรรมที่สามารถสรางเครือขายในการอานไดอยางดี เนื่องจากผูสูงอายุเปนวัยท่ีมีเวลาวาง คอนขางมากทําใหอานหนังสือเปนกจิ กรรมยามวางสําหรับผูสูงอายุได หนังสือที่ไดรบั ความสนใจจากผูสูงอายุ ไดแก นวนิยาย การทําอาหาร ธรรมะ การประดิดประดอย และการเกษตร หนังสือเหลาน้ีเปนเนื้อหาท่ี สามารถอานและทดลองฝกทําไดในครัวเรือนของผูสูงอายุ บรรณารักษมีการสํารวจความพึงพอใจตอการเขา รวมกจิ กรรมและมกี ารจัดทํารายงานผลการดาํ เนนิ งานเสนอใหผบู ริหารทราบ 4.7 กิจกรรมหองสมุดเคล่ือนที่ หองสมุดประชาชนอําเภอวัดเพลง ไดวางแผนโครงการหองสมุด เคลื่อนที่สูชุมชน ประจําป 2562 รวมกับครู กศน.ตําบล และภาคีเครือขาย พรอมทั้งจัดทําแผนการใช รถหองสมุดเคล่ือนที่ เสนอขออนุมัติจากสํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี กิจกรรมที่ดําเนินการใหบริการ ประกอบดวย กิจกรรมจิตรกรนอย เปนการวาดภาพระบายสจี ากการอานนิทานแลวระบายสีตามจนิ ตนาการ ของผูรับบริการ กิจกรรมบันไดงู เปนกิจกรรมที่สงเสริมการอานผานเกมส รถหองสมุดเคล่ือนท่ี เปนการ ใหบริการอานและการคนควาจากหนังสือ และมีการถามตอบจากการอาน กิจกรรมเรียนรูศาสตรพระราชา เปนกิจกรรมที่เผยแพรพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยผานวิดิโอการตูนและมีการตอบคําถามหลังจากที่รับชมแลวเสร็จ และกิจกรรมประดิษฐสมุดเลมเล็ก บรรณารักษมีการติดตามประเมินผลการจัดกิจกรรม พบวาการดําเนิน กิจกรรมหองสมุดเคลื่อนที่ในปงบประมาณ 2562 ไมสามารถเคล่ือนที่ออกใหบริการโรงเรียนไดครบทุก โรงเรยี นทําใหก ารเพ่มิ โอกาสในการเขา ถึงแหลง เรียนรูไดไมครอบคลุมทั้งพน้ื ทอี่ าํ เภอวดั เพลง เชน โรงเรียนวัด ศรัทธาราษฎร โรงเรียนจรูญศรีวิทยาประชานุกูล โรงเรียนโสภณศิริราษฎร และโรงเรียนเรืองวิทยพระหฤทัย เปน ตน 4.8 กิจกรรมวันรักการอา น สถานศึกษาไดม อบหมายใหหองสมดุ ประชาชนอําเภอวัดเพลง ไดดําเนิน กิจกรรมวันรักการอาน รวมกับ กศน.ตําบลวัดเพลง ในวันท่ี 2 เมษายน 2562 ณ บานหนังสือชุมชน บา นละวา ตาํ บลวดั เพลง อาํ เภอวัดเพลง จังหวดั ราชบุรี เพ่ือเทิดพระเกียรตสิ มเด็จกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยใหบริการการอาน ตอบปญหา และเลาเรื่องไดโนเสาร กิจกรรมโมเดลกระดาษ อานสรางสรรคงานประดิษฐหนากากแฟนซี การทําพวงมะโหด กิจกรรมวาดภาพ ระบายสี และกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูอาชีพการทําน้ํายาลางจานและนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยผานกลไกของกิจกรรม สงเสรมิ การอา นของหองสมุดประชาชน กศน.ตําบล และอาสาสมัครสงเสรมิ การอา น ผเู ขารว มกจิ กรรมมีความ สนใจ และ มีความกระตือรือรนในการเขารวมกิจกรรม อีกทั้งยังมีการชักชวนเพื่อนท่ีรูจักมาเขารวมกิจกรรม สงเสริมการอานเพิ่มขึ้น และมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดซ้ือวัสดุอุปกรณในการจัดกิจกรรมสงเสริม การอานและผูเขารวมกิจกรรมมีการสอบถามถึงกิจกรรมในคร้ังตอไป แสดงใหเห็นถึงการใหความสนใจ กิจกรรมสงเสริมการอาน สวนประเด็นการนําความจากการอานไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวันน้ันยังมี คอ นขางนอย โดยสว นใหญผเู ขารว มโครงการจะอานเพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ และใชเ วลาวางใหเกดิ ประโยชน

29 4.9 กิจกรรมบานหนังสือชุมชน สถานศึกษาไดมอบหมายใหหองสมุดประชาชนอําเภอวัดเพลง รวมกับกศน.ตําบลทั้ง 3 แหง ไดดําเนินกิจกรรมสงเสริมการอานบานหนังสือชุมชน โดยในปงบประมาณ 2562 ไดมีการจัดตั้งบานหนังสือชุมชนเพิ่มตําบลละ 1 แหง ซึ่งไดจัดทําประกาศรายช่ือบานหนังสือชุมชน และอาสาสมคั รสงเสริมการอานท่ีดูแลรับผิดชอบ ซ่ึงเปนเจาของบาน และเปนผทู ี่ผนู าํ ชุมชนมอบหมายใหดแู ล รบั ผิดชอบ มีการวางแผนการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานรวมกับอาสาสมัครและครูกศน.ตําบล มีกิจกรรมท่ี เกิดข้ึนตามสภาพวิถีชีวิตของชุมชน จากการอาน และการฝกปฏิบัติ กิจกรรมศิลปะประดิษฐ เชน การทํา เหรียญโปรยทาน งานประดิษฐจากเศษวัสดุเหลือใชกิจกรรมสงเสริมดูแลสุขภาพ กิจกรรมวาดภาพระบายสี กิจกรรมสงเสริมอาชีพ การจัดมุมสงเสรมิ การอานอยางหลากหลาย สถานศึกษามีการประสานงานกับองคกร ปกครองสว นทองถ่นิ ในการรบั การสนับสนนุ ส่ือการอา น เชน บา นหนังสือชุมชนในพืน้ ท่ตี ําบลจอมประทัดไดร ับ การสนับสนุนหนังสือพิมพรายวันจากองคการบริหารสวนตําบลจอมประทัด บานหนังสือชุมชนบานฝร่ัง ตําบลวัดเพลงไดรับการสนับสนุนช้ันวางหนังสือจากเทศบาลตําบลวัดเพลง และไดรับการบริจาคหนังสือและ ส่ือจากบริษัท ซีพอี อลล จํากัด จํานวน 1,350 เลม ในดานความพรอมในการใหบ ริการ ครู กศน.ตําบล ไดมี การหมุนเวยี นหนังสอื และส่ือจากหอ งสมุดประชาชน และ กศน.ตําบลมาใหบ รกิ าร มกี ารจัดสถานท่ีมีสิง่ อํานวย ความสะดวกใหกับผูมารบั บรกิ ารบา นหนงั สือชุมชนอยา งเพยี งพอทัง้ เกา อ้ี โตะอานหนงั สอื ในบานหนังสือชมุ ชน และบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษาไดจัดทําสมุดบัญชีรายชื่อผูใชบริการบานหนังสือชุมชน เพ่ือจัดทําสถิติการ ใชบ ริการ โดยมีสถิติการใชบ ริการโดยมผี ูใชบริการจํานวน 1,230 คน เฉล่ียวนั ละ 25-30 คน ซึ่งเพ่มิ ข้ึนจาก ปงบประมาณ 2561 การติดตามผลการดําเนินงานของบานหนังสือชุมชนและประชาชนที่มารับบริการ บรรณารักษและครูกศน.ตําบลไดติดตามผลหลังจากการรับบริการการอานของหองสมุด โดยไดจัดทําแบบ ติดตามผูใชบ รกิ าร โดยสว นใหญผ ใู ชบ รกิ ารไดอ า นหนังสอื เพอื่ ใชเวลาวางใหเปน ประโยชน 4.10 กิจกรรมสงเสริมการอานผานแอปพลิเคชัน Watpleng Library สถานศึกษาไดมีการนํา เทคโนโลยีเขา มาใชในการสงเสรมิ การอาน จัดทาํ นวัตกรรมการใหบริการทท่ี นั สมยั เพ่อื สนับสนุนการเปนแหลง การเรียนรู ตลอดชวี ิต (Lifelong Learning Center) ในรูปแบบแอปพลิเคชันหองสมุดประชาชน มีการแตงตั้ง คณะกรรมการดําเนินงานพัฒนาปรับปรุงแอปพลิเคชันหองสมุดประชาชน เพื่อใหสามารถนําเขาขอมูล สารสนเทศใหบริการแกประชาชน โดยสถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบล นํา QR Code ลงติดตั้งใน สถานที่ราชการ กศน.อําเภอ กศน.ตําบล ศาลาหมูบาน และแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อประชาสัมพันธการใช ใหกับผูรับบริการ สถานศึกษาไดติดตั้งเคานเตอรเพื่อนับจํานวนผูเขาใชบริการในแอปพลิเคชัน มีการจัด นิทรรศการเผยแพรผลการดําเนินงาน เพ่ือขยายผลการใหบริการไปอยางท่ัวถึงกลุมเปาหมายและขยายผล แลกเปล่ียนเรยี นรใู หกบั หนวยงานท่สี นใจในการพัฒนาแอปพลเิ คชันหอ งสมุดประชาชน และมีการศกึ ษาดงู าน จากหนวยงานตา ง ๆ ไดแก สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงศึกษาดงู านการจัดกิจกรรมสงเสริมการอา น โดยการใชแอปพลิเคชันหองสมุดประชาชน ในวันท่ี 26 สิงหาคม 2562 โดยมีผูบริหารสถานศึกษา ขาราชการ เจาหนาที่ และบรรณารักษหองสมุดประชาชนในสังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดสุพรรณบุรี ในสวน ความสําเร็จที่เปนจุดเดนของโครงการ คือ ประชาชนมีทางเลือกเพื่อการสงเสริมการอานและการคนควาหา ความรู ผานบริการบนสมารทโฟน ทําใหประชาชนสามารถอานและคนควาหาความรูไดทุกท่ี ทุกเวลา ตามความตองการ สําหรับการติดตามประเมินผลการดําเนินงาน สถานศึกษาไดลงพื้นท่ีติดตามผลการ ดําเนินงานจากผูใชบริการ โดยมีการสัมภาษณผูใชบริการในการใชงานซ่ึงไดใหขอเสนอแนะในการพัฒนา ปรับปรุงเนื้อหา และกลา วถึงประโยชนท่ีไดจากการใชงานแอปพลิเคชันหองสมุดประชาชน และศึกษาความพึง พอใจของผูใ ชบ ริการหองสมุดมอื ถือ และนําขอ เสนอแนะมาปรบั ปรุงการดําเนนิ งาน

30 4.11 สําหรับบุคลากรหองสมุดจบการศึกษาทางดานบรรณารักษศาสตรสารสนเทศศาสตรเปนผูมี ความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน โดยเฉพาะอยางย่ิงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมี การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชในการดําเนินงานหองสมุด และเปนผูพัฒนาคิดคนแอปพลิเคชัน หองสมุดประชาชนเปนส่ือในการใหบริการอานและการเรียนรูผานระบบออนไลน ทําใหสถานศึกษามี นวตั กรรมการบริการการอา นแกป ระชาชน ขอ นเิ ทศ 1. ควรรวบรวมขอมูลความตองการอานของผูรับบริการใชในการวางแผนจัดหาหนังสือและส่ืออยาง ตอ เนือ่ งเพ่ือใหก ารดําเนนิ งานเปนไปตามความตองการของประชาชน 2. ควรมีการจัดทาํ แผนการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอาน และสรุปผลการจดั กิจกรรมอยา งตอเนื่องและ เปนปจจุบนั 3. บรรณารกั ษ และครู กศน.ตําบลควรมีการจัดทําแบบตดิ ตามผใู ชบรกิ ารของหองสมดุ อยางตอเนอ่ื ง เพ่ือใหท ราบการนาํ ความรูไปใชประโยชนในดา นตาง ๆ และเปน ฐานขอ มลู ในการประกันคุณภาพภายใน 4. ควรมกี ารสรางอาสาสมัครสงเสริมการอา นเพ่อื สนับสนนุ การดําเนินงาน และดาํ เนินการจดั กจิ กรรม สงเสรมิ การอานและการเรยี นรอู ยา งตอ เน่ือง ปจจัยแหงความสาํ เรจ็ 1. เครือขายในพ้ืนที่อาํ เภอวัดเพลง สงเสรมิ และสนับสนนุ ทรัพยกรในดานตาง ๆ และใหค วามรวมมือ ในการจดั กจิ กรรมสงเสริมการอา นเปนไปตามวัตถปุ ระสงคของโครงการ 2. สถานศึกษามกี ารจดั ทําแอปพลิเคชันหอ งสมุดประชาชน เปนชอ งทางประชาชนมที างเลือกเพอ่ื การ สง เสรมิ การอานและการคน ควา หาความรู ผา นบริการบนสมารท โฟน ทําใหประชาชนสามารถอานและคนควา หาความรูไดทกุ ที่ ทกุ เวลา ตามความตอ งการ ปญหาอปุ สรรค 1. ประชาชนสวนใหญไมคอยเดินทางมารับบริการอานที่หองสมุดประชาชน ทําใหผูใชบริการลดลง เปนอยา งมาก เน่ืองจากมีการเขา ถงึ ขอมลู ขาวสาร และการอานหนงั สอื ผา นส่อื ออนไลนมากขน้ึ 2. สถานท่ีในการจดั ตั้งหองสมุดเคล่อื นท่ีสาํ หรับชาวตลาดยงั ไมมีความพรอมในการดาํ เนนิ งานซงึ่ เปน สถานที่ชัว่ คราวในการจัดกิจกรรมทําใหไมทนตอสภาพอากาศ และสภาพแวดลอมไมเอื้อตอการอานและการ เรียนรูจึงทาํ ใหก ารจดั กิจกรรมตา ง ๆ ไมเ ปน ไปอยางตอเนอ่ื ง ขอเสนอแนะตอ สถานศึกษา 1. สถานศึกษาควรมีการจัดตั้งคําของบประมาณรายจายประจําป เพ่ือเปนงบลงทุน (คาท่ีดินและ ส่ิงกอ สราง) เพอ่ื เปนงบประมาณในการพัฒนาปรับปรงุ หองสมุดประชาชนใหม ีสภาพเอ้ือตอการใหบ ริการ โดย มีการจัดทํา ปร.4 และ ปร.5 เพ่ือประมาณการคาใชจายในการปรับปรุงซอมแซมเสนอสํานักงาน กศน. เพือ่ ขอรบั งบประมาณในปงบประมาณถดั ไป 2. สถานศกึ ษาควรมีการประชาสัมพันธใหมากขึ้นเพื่อใหกลมุ เปาหมายทุกชวงวัยมาเขามามีสวนรวม กจิ กรรมสงเสริมการอา น เพ่ือทจ่ี ะใหเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิในการดําเนินงานอยา งเปน รูปธรรม

31 3. ควรมกี ารประสานหาสถานท่ีที่ต้ังของหองสมุดเคลอ่ื นทสี่ ําหรับชาวตลาดใหมคี วามเหมาะสม และ เอื้อตอการจัดใหบริการการอานและการเรียนรู โดยอาศัยกลไกการดําเนินงานของภาคีเครือขายและกศน. ตาํ บลในการขบั เคล่อื นงาน 4. สถานศึกษาควรมีการประกวดครอบครัวรักการอานตนแบบ หรือบานหนังสือชุมชนตนแบบ เพื่อ เปน การสรางขวัญและกาํ ลงั ใจในการอา นแกผ รู บั บรกิ าร ขอเสนอแนะตอ สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ประชาชนเขาถึงสอื่ ออไลนม ากข้นึ สาํ นักงาน กศน.ควรมีมาตรการหรือมแี นวทางในการจัดหาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส และส่ือประเภทอื่น ๆ ที่อยูในรูปแบบออนไลนมาใหบริการประชาชนเพ่ือใหตรงกับความ ตองการของประชาชน 5. โครงการสง เสรมิ ประชาธิปไตยในชุมชน สภาพที่พบ สถานศึกษาไดรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัดราชบุรี (กกต.) ในการจัด กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย ครูกศน.ตําบลจัดทําแผนการดําเนินงานของศูนยสงเสริมและพัฒนา ประชาธิปไตยประจําตําบลที่ไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการสถานศึกษา โดยจัดโครงการสงเสริมประชาธิปไตย ในชุมชน ซึ่งไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังประจําจังหวัดราชบุรี เพอ่ื สรางความตระหนกั ของประชาชนในการมสี วนรวมในการปกครองระบอบประชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยจัดทําปายรณรงคสงเสริมประชาธิปไตย การคัดเลือกหมูบานตนแบบไมซ้ือสิทธ์ิขายเสียงระดับตําบล และระดับอําเภอ กิจกรรมสรางจิตสํานึกพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมรณรงคหมูบานไมขายเสียง กิจกรรมเผยแพรความรูเรื่องการเลือกตงั้ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรเปนการทวั่ ไป กิจกรรมสรางจิตสํานึกในการ ยบั ยงั้ การตระหนกั รูภยั ของการซอ้ื สิทธิ์ขายเสยี งและการทจุ ติ การเลือกตัง้ โดยมีการรณรงสงเสรมิ ใหป ระชาชน ออกมาใชสิทธิเ์ ลือกตั้ง สถานศึกษามีการคัดเลอื กชมุ ชนตน แบบหมูบานไมซอื้ สิทธิ์ขายเสียงตนแบบระดับตาํ บล และมีการมอบปายชุมชนตน แบบใหกับผูนําชุมชน ไดแก ตําบลวดั เพลง บานเพลง หมูท่ี 5 ตําบลจอมประทัด บานปลายคลองเล็กหมูท่ี 5 และตําบลเกาะศาลพระ บานเวียงทุน หมูที่ 2 อีกท้ังสถานศึกษายังไดมีการ มอบหมายใหครู กศน.ตําบลเขารับการอบรมพัฒนาคณะกรรมการศูนยสงเสรมิ พัฒนาประชาธิปไตยตําบลใน ฐานะท่ีเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ ทาํ ใหครูมีความรู ความเขาใจ เรื่องประชาธิปไตยและ บทบาทของศูนยสงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจําตําบล และไดมีการประสานงานกับคณะกรรมการ ศูนยใ นการจัดกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชนเพ่ือสง เสรมิ ประชาธปิ ไตยในชุมชน โดยเฉพาะการประกาศเจตนรมณ หมูบานไมซื้อสิทธ์ิขายเสียง ครูมีการรวบรวมขอมูลความรูเก่ียวกับประชาธิปไตยโดยมีการจัดมุมสงเสริม ประชาธิปไตยในกศน.ตําบล ใหบริการขอมูล ขาวสาร และการประชาสัมพันธเผยแพรความรูเกี่ยวกับ ประชาธิปไตย และครูมีการประเมินผลการดําเนินงานโครงการมีการสรุปผลการดําเนินงานเสนอผูบริหาร สถานศึกษาทราบ ขอนิเทศ 1. การจัดกิจกรรมใหผ เู รียนไดใชก ระบวนการประชาธิปไตยอยา งสม่ําเสมอ เชน การแบงกลุม 2. ควรมีการสวนรวมในการรวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมประเมินผลจดั กระบวนการเรียนรู และการจดั กจิ กรรมอื่นๆ

32 ปจ จยั แหง ความสําเรจ็ 1. สถานศึกษามีคณะกรรมการศูนยสงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจําตําบลท่ีเขมแข็งและ สามารถประสานงานการจดั กิจกรรมในชมุ ชนไดอ ยางตอเนอ่ื ง 2. สถานศกึ ษามีชุมชนตน แบบหมบู านไมซ้อื สทิ ธ์ิขายเสยี งในระดับตําบลทุกตําบล เปนตนแบบในการ ดาํ เนินงานสง เสรมิ ประชาธปิ ไตย ปญหาอปุ สรรค 1. การดําเนินการจัดกิจกรรมมีขอจํากัดเร่ืองเวลาของประชาชนท่ีเขารวมกิจกรรมซ่ึงจะตองจัด กิจกรรม ในชวงตอนเยน็ ตัง้ แตเวลา 17.00 เปน ไป 2. การจัดกิจกรรมของสํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังประจําจังหวัดราชบุรีเปนกิจกรรมท่ี คอนขางเรง ดวนตลอด ทําใหค รไู มม เี วลาเตรียมตัวและประสานงานซ่งึ ทาํ ใหมีระยะเวลาในการทํางานนอย ขอ เสนอแนะตอสถานศึกษา สถานศึกษาควรมีการจัดกิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตยใหกับนักศึกษาโดยผานกระบวนการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อปลูกฝงให นักศึกษาเรียนรูกระบวนการทางประชาธิปไตย และการตระหนักรูภัยของการซ้ือสิทธ์ิขายเสียงและการทุจิต การเลอื กต้งั ขอเสนอแนะตอ สํานกั งาน กศน.จงั หวัด สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการจัดประกวดศูนยสงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจํา ตําบลดีเดนระดับจังหวัดอยางตอเน่ืองเพ่ือเปนการประเมินผลการปฏิบัติงานและสรางขวัญและกําลังใจแก คณะกรรมการศนู ยส งเสรมิ และพฒั นาประชาธิปไตยประจําตําบล 6. โครงการเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาใหก บั ประชากรวัยเรียนทอ่ี ยนู อกระบบการศกึ ษา สภาพท่พี บ กระทรวงศึกษาธกิ ารนําขอมูลรายช่ือ ประชากร ประมาณ 1,900,000 คน ไมมีรายชอ่ื อยูในระบบ ฐานขอมูลนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ มาเปนกลุมเปาหมายในการติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผล ผานระบบฐานขอมูลสารสนเทศเพื่อการติดตามและประเมินผล ของสํานักงานติดตามและประเมินผล การศกึ ษา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ภายใต “โครงการขับเคล่อื นการดําเนินงานแกปญหา ประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษา” โดยนําโมเดลของจังหวัดชายแดนภาคใตมาเปนตนแบบปรับ ประยุกตใ ชตามบริบทของแตล ะพ้ืนท่ี สถานศึกษาไดดําเนินการแกไขปญหา เพื่อรวมกันตรวจสอบขอมูลตัวตนของกลุมเปาหมาย รวมทั้ง การวิเคราะหความตองการวา เด็กเหลานี้ตองการเขาเรียนตอในระดับการศึกษาใด ประเภทใด ทั้งการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และสายอาชีพ ท่ีเอื้อตอ สภาพจรงิ ของผูเรียน ซึ่งจะทําใหการดาํ เนินงานเปนบรรลุตามเปาหมายท่ี รัฐบาลกําหนดไว และเพ่ือใหประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับการศึกษาทุกคนอยางมีคุณภาพ โดยสถานศึกษามี การสรางการรับรูของทุกฝาย โดยการประชุมชี้แจง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหไดรับทราบแนวทาง ในการดําเนินงานการจัดเก็บขอมูลประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษา แตงต้ังคณะกรรมการ ดาํ เนินงาน มีการคัดกรองกลุมเปาหมาย โดยจําแนกขอมูลออกเปนรายตําบล หมูบา น และเรียงบานเลขท่ีของ กลุมเปาหมาย ครูมีการประสานงานกับผูนําชมุ ชนเพ่ือลงพื้นท่ีสอบถาม ติดตามกลุมเปาหมายท่ปี รากฏระดับ อําเภอ ระดับตําบล และระดับหมูบาน และรายงานการติดตามกลุมเปาหมายเขาสูระบบฐานขอมูล และ

33 การสงตอกลุมเปาหมายที่คัดกรองจากการติดตามในพนื้ ทใ่ี หก ับหนวยจดั การศึกษา ไดแก การเขารับการศึกษา กับ กศน. การเขารับการศึกษากับ สพฐ. การเขารับการศึกษากับอาชีวศึกษา หรือหนวยงานสังกัดอื่น ผล สํารวจขอมูลของประชากรวยั เรียนทอี่ ยูนอกระบบการศึกษา และการคัดกรองกลมุ เปาหมาย โดยสถานศกึ ษา ไดรวมกับผูนําชุมชนในการสํารวจ ตรวจสอบขอมูลประชากร และมีการนํากลุมเปา หมายสงตอใหสถานศกึ ษา ในพ้ืนที่ตามความตองการของกลุมเปาหมาย และไดมีการตรวจสอบขอมูลเพื่อยืนยันความถูกตองกับ สถานศกึ ษา สถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบลลงพื้นที่สอบถามติดตามกลุมเปาหมายที่ปรากฏใน ระดับ อําเภอ ระดับตําบล และระดบั หมบู าน จาํ นวนกลมุ เปาหมายท่ีเปน ประชากรวัยเรยี นทง้ั ส้ิน 189 คน มีผลการ สาํ รวจ ตรวจสอบ และติดตามกลุมเปาหมายซ่ึงในการสํารวจและติดตามคร้ังท่ี 1 ไดดําเนินการสงตอ เพ่ือเขา สู ระบบการศึกษา จํานวน 78 คน และจําหนายออกจากระบบเน่ืองจากไมมีตัวตนในพื้นที่ และจบการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป จํานวน 31 คน และคงเหลือใหดําเนินการจํานวน 80 คน ในการ ดาํ เนินการสํารวจติดตามขอมลู ในครง้ั ท่ี 2 คณะกรรมการดําเนินงานไดลงพ้ืนที่ติดตามและสํารวจขอมูลเพ่ือนํา ขอ มูลมาประมวลผลโดยไดมีการสงตอใหเขารับการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ จํานวน 60 คน และ จําหนายออกจากฐานขอมูลเนื่องจากไมมีตัวตนในพ้ืนท่ี และจบการศึกษาระดับ ม.6 ขึ้นไป จํานวน 19 คน และยังคงเหลือซึ่งอยูระหวางการสงตอใหศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดราชบุรี จํานวน 1 คน และ สถานศกึ ษาไดมอบหมายใหคณะทาํ งานระดับอาํ เภอท่ที ําหนาที่วิเคราะหผลและสรปุ ผลการดาํ เนินงานเขารวม ประชมุ สรุปผลการดําเนินงาน และนําเสนอขอมูลรวมกับสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี เพือ่ ติดตาม และ รายงานผลในภาพรวมทง้ั ในระดบั หมูบาน ระดบั ตําบล และสรปุ ผลการดาํ เนินงานในภาพรวมของจังหวดั ขอ นเิ ทศ 1. สถานศึกษาควรมีการประสานงานหนวยงานทางการศึกษาตาง ๆ เขาไปแนะนําชวยเหลือ ประชากรที่อยูนอกระบบการศึกษาท่ียังไมสําเร็จการศึกษาข้ันพื้นฐานใหนําเขาสูระบบการศึกษาตามความ พรอ มและความตองการ 2. สถานศึกษาควรมีการประสานงานกับสํานักทะเบียนอําเภอ หรือ สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาฯ เพื่อตรวจสอบขอมลู ของประชากรใหม ีความถกู ตอ ง ปจ จัยแหงความสาํ เรจ็ สถานศึกษามีการประสานงานกับผูนําชุมชนเพื่อลงพื้นท่ีสอบถาม ติดตามกลุมเปาหมายที่ปรากฏ ระดับอําเภอ ระดับตําบล และระดับหมูบาน และสรา งการรับรูของทุกฝายเพ่ือใหไดรับทราบแนวทางในการ ดําเนินงานการจัดเก็บขอมูลประชากรวัยเรยี นที่อยูนอกระบบการศึกษา โดยการคัดกรองกลุมเปาหมาย โดย จําแนกขอ มูลออกเปนรายตําบล หมบู าน และเรยี งบานเลขทขี่ องกลมุ เปาหมาย ทําใหส ามารถสาํ รวจขอมลู ได อยา งรวดเร็วและสงตอขอ มูลใหห นวยงาน สถานศกึ ษาอ่นื ไดช ว ยเหลือกลมุ เปา หมายไดอ ยา งรวดเรว็ ปญ หาอุปสรรค 1. ครู กศน.ลงไปสาํ รวจยังพนื้ ท่ีจรงิ โดยพบปญหาวา ขอมลู ผสู ํารวจรายนัน้ ๆ จบการศึกษาแลว และ บางรายกําลังศึกษาในระดับอุดมศึกษา ประชาชนไมเขาใจวาทําไมตองมีการสํารวจขอมูล ทําใหครู กศน. ตอ งอธิบายเหตผุ ลความจําเปน จึงเปนเหตุใหใชเวลาในการสาํ รวจนาน จนกวา ผูปกครองจะเขา ใจ 2. ขอมูลผูสํารวจบางรายพักอาศัยเปนบานเชา และไดมีการยายถ่ินฐานไปแลว จึงไมสามารถหาผู ยนื ยันขอมูลได

34 ขอ เสนอแนะตอ สถานศกึ ษา กรณีที่ขอมูลบางรายไมชัดเจน สถานศึกษาควรประสานกับอําเภอ หรือฝายทะเบียนราษฎรของ กรมการปกครอง หรือประสานกับผูนําชมุ ชน เพื่อหาตวั ตนของบุคคลในพน้ื ท่ี ขอเสนอแนะตอสํานักงาน กศน.จังหวดั สํานักงาน กศน.จังหวดั ราชบุรีควรมีการประสานงานกับสาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ศนู ยก ารศกึ ษา พเิ ศษประจําจังหวดั ราชบุรี และสํานักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัด เพ่ือตรวจสอบขอมูลของกลุมเปา หมายท่ีมี รายชือ่ เขาศกึ ษาในสถานศกึ ษา ซึง่ จะทาํ ใหการดําเนินงานสาํ รวจขอมลู ของกลุมเปาหมายรวดเรว็ ขึ้น 7. การขยายผลการอบรมหลกั สูตรการคาออนไลน สภาพท่พี บ สถานศึกษาไดดาํ เนนิ งานตามนโยบายของสํานกั งาน กศน. ดา นการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจและสงั คมโดย ใชเทคโนโลยีดิจิทัล โดยสถานศึกษาไดมีการจัดตั้งศูนยดิจิทัลชุมชนใน กศน.ตําบลซ่ึงดําเนินงานตามภารกิจ ของ 4 ศูนย กศน.ตําบล โดยไดจัดทําโครงการศูนยดิจิทัลชุมชน เพื่อสรางการรับรูในเร่ืองการรูและเขาใจ เทคโนโลยีดิจิทัล และสงเสริมการจํานายสินคาผานระบบออนไลน ซึ่งไดจัดทําหลักสูตรอบรมประชาชน จํานวน 2 หลักสูตร คือ Digital Literacy และ E-commerce โดยสถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน. ตําบลเกาะศาลพระไดเขารับการอบรมเปนวิทยากร ครู ก และครู กศน.ตําบลทั้ง 2 ตําบล เขารับการอบรม เปนวิทยากร ครู ค โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งทําใหครู กศน.ตําบลมีความรูความสามารถในการ ดําเนินงานถายทอดความรูใหแกประชาชน โดยมีกลุมเปาหมายในการดําเนินงาน จํานวน 90 คน และ สถานศึกษาไดมอบหมายใหครู กศน.ตําบลไดดําเนินการใหความแกประชาชนท้ัง 2 หลักสูตร ผลการ ดําเนินงานมีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน 100 คน หลังจากเสร็จส้ินการอบรมแลวสถานศึกษาไดมีการจัดทํา ทําเนียบผูเขาอบรมหลักสูตรการขายสินคาออนไลน (E-commerce) เพ่ือติดตามผลการดําเนินงานของผูเขา รับการอบรม และมีการจัดตง้ั ศูนย OOCC จาํ นวน 1 แหง คือ ศนู ย OOCC กศน.อาํ เภอวัดเพลง เพอ่ื ทําหนา ที่ ใหคาํ แนะนําผูทมี่ คี วามสนใจในการจัดทําหนา ยสนิ คาออนไลน โดยมกี ารประชาสัมพนั ธผานส่อื ออนไลน ไดแ ก Facebook และ Line การติดตามผูผานการอบรม ครูกศน.ตําบล ไดมีการติดตามผลงานของผูเขารับการอบรมโดยใชวิธี สังเกตการโพสขายสินคาในกลุม OOCC ของสถานศึกษา และติดตามผานแฟนเพจเฟซบุคของผูเรียน ซ่ึงใน ปจจุบันมีสมาชิกในกลุม OOCC กศน.อําเภอวดั เพลง จํานวน 162 คน และครู กศน.ตําบลไดมีการสอบถาม สมาชิกในกลุมพบวา สมาชิกมีชองทางในการประชาสัมพันธสนิ คา และบริการเพิ่มมากขนึ้ และทาํ ใหม ีรายได เพ่ิมช้ึนจากเดิม ขอ นเิ ทศ 1. แนะนําใหมีการเพ่ิมชองทางในการประชาสัมพันธใหมีความหลากหลายและเขาถึงทุก กลุม เปาหมายเพ่อื ใหการดาํ เนนิ งานครอบคลุมทกุ กลุม เปาหมาย 2. ในการจัดอบรมทั้ง 2 หลักสูตร ผูเขารับการอบรมมีชวงวัย และมีทักษะในการใชเทคโนโลยีที่ แตกตางกนั วิทยากรผูสอนควรมีการสอบถามผูเ รยี นและชว ยเหลอื ผูเ รยี นอยางใกลชิด 3. ครู กศน.ตําบลควรมกี ารเพิ่มจาํ นวนสมาชิกในกลมุ OOCC ของสถานศกึ ษาใหเพิ่มมากขึ้นโดยการ ประชาสมั พันธใหก ับผเู รยี นการศกึ ษาตอ เน่อื ง และนกั ศกึ ษา กศน.

35 ปจ จยั แหงความสําเรจ็ 1. สถานที่ในการจัดอบรมมีความพรอมดานสัญญาณอินเทอรเน็ตซึ่งเอื้อตอการเรียนรูและการ ฝกปฏิบตั ิ 2. ผเู ขารับการอบรมมีความสนใจและเอาใจใสในการเรียนรู และบางรายมีความรพู ื้นฐานความรูดาน การประกอบธุรกิจมาบางแลวทําใหการบริหารจัดการช้ันเรียนเปนไปอยางงาย และผูเขารับการอบรมมีการ จับคูเ พ่อื ชวยเหลือซง่ึ กันและกนั 3. ครู กศน.ตําบลทุกแหงไดร ับการอบรมเปนวิทยากรครู ค โดยเฉพาะอยางย่ิง ครู กศน.ตําบลเกาะ ศาลพระไดผา นการอบรมวิทยากรครู ก (ระดับจังหวัด) ทําใหสามารถถา ยทอดความรูแกผูเขารับการอบรมได อยางชดั เจน ปญหาอุปสรรค ผูเขารับการอบรมมีชวงวัย และมีทักษะในการใชเทคโนโลยีท่ีแตกตางกันทําใหการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนคอนขางชา และวิทยากรจะตองใหการชว ยเหลอื อยา งใกลชดิ ขอเสนอแนะตอ สถานศกึ ษา 1. สถานศึกษาควรมีการจัดตงั้ ศนู ย OOCC ในกศน.ตําบล ซ่ึงจะทาํ ใหสามารถใหคาํ แนะนําผูทม่ี ีความ สนใจไดอ ยางทวั่ ถึง 2. สถานศึกษาควรมีการประสานงานกับหนวยภาครัฐและเอกชนมาใหความรูเกี่ยวกับโลจิสติกส ระบบการขนสงสินคา ขอเสนอแนะตอ สํานักงาน กศน.จงั หวดั สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการจัดประกวดผูทําการคาออนไลนดีเดนโดยใหมีการคัดเลือก ระดบั ตาํ บล อําเภอ และจังหวัด เพอื่ สรางขวญั และกาํ ลงั ใจใหด าํ เนินงานตอ ไป 8. โครงการภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สารดานอาชีพ สภาพท่พี บ สถานศกึ ษาไดน าํ นโยบายสง เสริมการทองเท่ียวเมอื งรองหรือสง เสรมิ การเท่ียวเชิงอนุรักษ เปน การเปด บานตอนรับนักทองเท่ียว เพ่ือสรางโอกาสสรางรายไดใหกับประชาชนในชุมชน สรางมูลคาใหกับสินคาและ บริการที่มาจากประชาชนโดยตรง มาจดั ทําเปนโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารดานอาชพี เพ่ือฝกทักษะ การสื่อสารภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาชีพที่ประชาชนทําอยูใหกับชาวตางชาติ หรือนําเสนอผลิตภัณฑชุมชนใน สื่อโซเชียลมีเดียเปนภาษาอังกฤษได โดยมีกลุมเปาหมายคือ ประชาชนทั่วไป และเนนกลุมโอทอปนวตวิถีใน พนื้ ที่อาํ เภอวัดเพลง จํานวน 20 คน ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ผูเรยี นมคี วามสนใจและเอาใจใสใน การเรยี นเปนอยา งดี วิทยากรเปนครูท่จี บการศึกษาทางดานภาษาองั กฤษโดยตรงมีเทคนคิ และวธิ ีการสอนท่ีหลากหลายทํา ใหผูเรียนสามารถเขาใจไดอยางรวดเร็ว มีการสรา งบรรยากาศดวยกิจกรรมที่เหมาะสมกบั วัยของผูเรยี นเพื่อให เกิดความคุนเคยและกลาพูด กลาแสดงออก วิทยากรมีการสุมผูเรียนท้ังจับคูเพ่ือแสดงการแนะนําตนเองกับ ผูอื่นและจับกลุม การแนะนําผูอื่นใหรูจักกัน การแสดงความยินดีที่ไดรูจัก และการบอกสถานท่ีทองเท่ียวท่ี สาํ คญั ในพนื้ ท่อี าํ เภอวัดเพลง การวัดผลประเมินผล วิทยากรประเมินความสามารถผูเรยี นจากการสังเกตหรือจากแบบประเมินขณะ ผูเรียนรวมกิจกรรม ท้ังดานระยะเวลาผูเขารับการพัฒนาตองมีเวลาในการพัฒนาไมนอยกวารอยละ 80

36 ดานหลักสูตร ผูเรียนตองผานการประเมินความรู ความสามารถและทักษะในการสื่อสารโดยการสอบทักษะ การส่ือสาร การติดตามผูเรียนหลังจากการอบรมเสร็จส้ิน สถานศึกษายังไมไดมีระบบการติดตามผูเรียน หลังจากการอบรมเสร็จส้ิน วามีการนําความรูไปใชในการประกอบอาชีพหรือนําไปใชในการสื่อสารเพื่อการ ทองเท่ยี ว ในชมุ ชนอยา งไร ขอนิเทศ 1. ควรมีการสง เสรมิ ใหผ ูเรยี นไดแ สดงออกมากขึ้น 2. ควรสงเสริมใหผ เู รียนไดน าํ ความรูไปใชในการไปประกอบอาชีพจรงิ ปจ จยั แหงความสาํ เร็จ ผเู รียนมีความเอาใจใส และมีความตั้งฝจในการเรียนรูเปนอยางดี วิทยากรมีเทคนิคและวิธกี ารมีการ สรางบรรยากาศดวยกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับวยั ของผเู รยี นเพอื่ ใหเ กิดความคนุ เคยและกลา พูด ปญ หาอปุ สรรค ในพ้ืนท่ีอําเภอวดั เพลงไมมีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเพื่อใหผเู รยี นสามารถนําความรไู ปใชหลังจากการ อบรมเสรจ็ สิ้น ทําใหผ ูเ ขา อบรมไดรับความรทู ่เี ปนเพียงทฤษฎแี ละไมส ามารถนําไปใชจรงิ ขอ เสนอแนะตอ สถานศกึ ษา สถานศึกษาควรมีการจัดหลักสูตรท่ีมีการฝกปฏิบัติจริงโดยใหผูเขาอบรมมีสถานที่ฝกการใช ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารกับเจาของภาษาโดยตรง เชน ตลาดน้ําดาํ เนนิ อําเภอดําเนนิ สะดวก เปน ตน ขอเสนอแนะตอ สํานักงาน กศน.จงั หวัด สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ควรมีการทบทวนเรื่องการจัดสรรงบประมาณโครงการภาษาอังกฤษ เพ่ือการสื่อสารดานอาชีพ ควรมีการจัดสรรงบประมาณใหกับสถานศึกษาท่ีมีความพรอมหรือเปนสถานที่ ทองเท่ียวท่ีมีนักทองเท่ียวชาวตางชาติมาทองเท่ียวเปนประจําซึ่งจะทําใหการใชจายงบประมาณเปนไปอยาง คมุ คาและเกดิ ประโยชนสงู สดุ 9. การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการขยะมลู ฝอย สภาพทพี่ บ สถานศึกษาไดมีการดําเนินงานกิจกรรมการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใน สถานศึกษาโดยไมใชงบประมาณรายจายประจําป ซ่งึ ไดดําเนินการตอเนื่องมาจากปงบประมาณ 2561 โดย สถานศึกษาไดมีการจัดทาํ ประกาศ เรื่อง การบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา เพื่อใหเปนแนวทางใน การบริหารจัดการขยะในสถานศกึ ษา และมกี ารประชุมสรา งการรับรูแนวทางการดําเนินงานการบริหารจดั การ ขยะมูลฝอยในสถานศึกษา และมีการแตงต้ังครูและบุคลากรในสงั กัดเปน คณะกรรมการดําเนนิ งานการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษาและรวมกันดําเนินงานตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย และวางแผนการ ดําเนินงานโดยสอดแทรกเขากับกิจกรรมการเรียนการสอน มีการจดั ทําส่ือประกอบการใหความรเู กี่ยวกับการ คัดแยกขยะตามหลัก 3Rs เชน แผนพับ และการจัดนิทรรศการใหความรู โดยสถานศึกษามีการจัดกิจกรรม รวมกับภาคีเครือขาย เชนการรณรงคคัดแยกขยะรวมกับเทศบาลตําบลวัดเพลง และการจัดทําธนาคารขยะ รไี ซเคิล สถานศึกษาไดมกี ารสอดแทรกเน้ือหาและบูรณาการเขากับรายวิชาสังคมศกึ ษา และมีการจัดกิจกรรม พัฒนาคณุ ภาพชีวิตโดยใหนักศึกษาไดมีการเร่ิมตนคัดแยกขยะในบานของตนเอง และใหแนะนําเพอื่ นบานไดมี การคัดแยกขยะกอ นนําไปทง้ิ

37 สถานศึกษาไดมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด เพ่ือใหมีความรูความเขาใจในการ บริหารจัดการขยะโดยการศึกษาดูงานจากมูลนิธิฉือจ้ี โรงพยาบาลโพธาราม ซึ่งเปนตนแบบในการบริการ จดั การขยะ และไดมอบหมายใหครูไดศึกษาหาความรูจากแหลงตาง และไดมีการนําความรูไปเผยแพรใหกับ องคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นท่ีอําเภอวัดเพลง และครู กศน.ตําบลไดรับเชิญจากโรงเรียนวัดแจงเจริญ ตําบลจอมประทัดใหเปนวิทยากรในการสรางจิตสํานึกในการบริหารจัดการขยะในสถานศึกษาใหแกครู และ นักเรียน และในขณะเดียวกันในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยไดมีการบูรณาการเรื่องการบริหาร จัดการขยะ เชน การจัดทําสมุดเลมเล็กจากกระดาษท่ีใชแลวหนาเดียว การประดิษฐกระปุกออมสินจากแกน กระดาษ เปนตน และสถานศึกษาไดมีการสรางความตระหนักใหครูและบุคลากรเกีย่ วกับกับการคัดแยกขยะ โดยมีการจดั ทําธนาคารขยะรไี ซเคิลเพ่อื คดั แยกขยะที่สามารถนํามาแปรรูปหรือนํามาสรางมูลคาได และมีการ รณรงคใ หมีการใชกระดาษ 2 หนาอยางคุมคา อีกท้งั ยงั ไดมอบหมายใหค รสู รางจิตสาํ นกึ ใหกับนกั ศึกษาในการ จัดการขยะมูลฝอย โดยมีการนําขยะที่สามารถจําหนายไดท่ีเหลือจากการใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมา รวบรวมจําหนา ยเพื่อนําเงินมาเปนกองกลางจัดทําเปนโครงการกระปกุ ออมบุญตามอตั ลกั ษณของสถานศึกษา คอื ความพอเพียง ขอ นเิ ทศ 1. ครูควรมีการดําเนินงานอยา งตอเน่ืองและมกี ารรายงานผลการดาํ เนินงานอยา งสมาํ่ เสมอ 2. ควรมกี ารจดั ทาํ หลกั สูตรเก่ยี วกับบริหารจดั การขยะมลู ฝอย 3. ครู และบุคลากรที่ไดรับมอบหมายในการดําเนินงานควรมีการรายงานผลการดําเนินงานอยาง ตอ เนือ่ งและรายงานใหผ ูบริหารสถานศึกษาทราบ ปจ จยั แหงความสาํ เร็จ 1. ผูบริหาร ครู บคุ ลากร และนักศึกษามีความตระหนักถึงการบริหารจดั การขยะมูลฝอยโดยมีการคัด แยกขยะกอนท้ิง มีการจัดต้งั ธนาคารขยะรไี ซเคลิ เพื่อคัดแยกขยะท่ีสามารถนํามาแปรรูปหรือนํามาสรางมูลคา และมีการรณรงคใ หมีการใชก ระดาษ 2 หนาอยางคุมคา 2. อัตลักษณสถานศึกษา ดานความพอเพียง ทําใหการดําเนินงานในดานตาง ๆ ของสถานศึกษา รวมถึงการใชทรพั ยากรอยางประหยัดและคุมคา ขอ เสนอแนะตอ สถานศึกษา 1. ควรมีการขยายผลความรูใหกับประชาชนในชุมชนใหสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน อยางเปน รปู ธรรม และสรา งชมุ ชนตน แบบในการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยในชมุ ชน 2. สถานศึกษาควรมีการจัดทําบันทึกขอตกลงความรว มมือในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยรวมกับ หนว ยงานภาคีเครอื ขา ยท่ีเก่ียวของ 3. สถานศึกษาควรมีการจัดประกวดโครงงานเก่ียวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยกําหนดให เปน สวนหนง่ึ ของรายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรยี น เชน วิชาวสั ดุศาสตร วชิ าสังคมศกึ ษา เปน ตน ขอ เสนอแนะตอสํานกั งาน กศน.จังหวัด สํานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรีควรมีการเสนอใหสํานักงาน กศน.จัดตั้งงบประมาณรายจายประจําป ในเร่อื งการบรหิ ารจดั การขยะเพอื่ สง เสรมิ ใหการดาํ เนินงานเปนไปอยา งตอ เนอ่ื งและเปน รปู ธรรมมากยง่ิ ข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook