Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Quick Model เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Quick Model เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง

Description: เป็นรูปแบบนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงผ่านรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้น ได้แก่ QUICK
- Q คือ Question การใช้คำถาม
- U คือ Understanding การสร้างความเข้สใจ
- I คือ Iquiry การสืบเสาะหาความรู้
- C คือ Computational Thinking การใช้แนวคิดเชิงคำนวณ
- K คือ Knowledge Sharing การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Keywords: QUICK Model,การคิดขั้นสูง

Search

Read the Text Version

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถการคดิ ขัน้ สงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ ก คำนำ นวัตกรรม “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model” เป็นนวัตกรรมที่คิดค้นและพัฒนาขึ้น เพื่อ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผเู้ รยี น ซึ่งมคี วามจำเป็นและสำคัญในการดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เพราะ หากผู้เรียนมีทักษะการคิดในระดับที่สูง ผู้เรียนจะสามารถสร้างความรู้โดยผ่านการรวบรวมและลำดับข้อมูล บูรณาการเข้ากับทักษะการค้นคว้าการใช้วิจารณญาณ และการแก้ปัญหา สามารถสื่อสารความรู้ เพื่อใช้ อธบิ ายประเด็นทเี่ ก่ยี วข้อง และแกป้ ัญหาทจ่ี ะเกิดข้ึนในบริบทของชีวติ จริงได้ ซง่ึ โรงเรยี นนาป่ามโนรถ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงคิดค้น นวัตกรรม “รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model” น้ีขึน้ ขอขอบคุณคณะครู บุคลากร โรงเรียนนาป่ามโนรถ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีร่วมกันคิดค้น และขับเคลื่อนนวัตกรรมน้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นวัตกรรม “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model” จะเป็นประโยชน์กับผู้เรียน สถานศึกษา หรือผู้ที่สนใจ ในการนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิด ขน้ั สูงของผู้เรียนต่อไป โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 26 พฤศจกิ ายน 2564

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พฒั นาสมรรถการคิดขัน้ สูงของผู้เรียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ ข สารบัญ หน้า เรื่อง ก คำนำ ข สารบญั 1 หลกั การ เหตผุ ลและทีม่ า 2 รปู แบบและกลไกนวัตกรรมที่ประยุกตข์ ึน้ มา 3 3 ลักษณะของรูปแบบ 6 ขัน้ ตอนการพฒั นานวตั กรรม 6 แนวคิดสำคัญทใี่ ช้ในการออกแบบนวัตกรรม 10 สมรรถนะการคดิ ข้นั สูง 12 แนวคิดเชงิ คำนวณ 18 รูปแบบ/วธิ กี ารจดั การเรยี นรูท้ ่พี ฒั นาสมรรถนะการคิด 5 รูปแบบ 18 กระบวนการ/ขั้นตอนนำนวัตกรรมไปใชใ้ นสถานศกึ ษาท้ังสถานศึกษา 18 การบูรณาการในแผนการจดั การเรียนรู้ 19 การบรู ณาการในกจิ กรรม 19 แผนการนำนวัตกรรมทีป่ ระยุกตใ์ นสถานศึกษาไปใช้ 19 การประชุมชีแ้ จงสมาชิกและการจดั ทีม PLC 25 การกำหนดเปา้ หมายการพัฒนาและเป้าหมายผเู้ รยี น 25 รว่ มกนั ออกแบบการสอนเพ่ือพัฒนาผเู้ รียนและวิพากษแ์ ผน 25 การเปดิ ช้ันเรยี น/สังเกตชนั้ เรียนสะทอ้ นผล 26 สรุปถอดบทเรียนนวัตกรรมการแกป้ ัญหา 26 กระบวนการกำกับตดิ ตามและประเมินผลของสถานศึกษา 26 แผนการดำเนนิ งานการกำกบั ติดตามและประเมินผล 28 กระบวนการกำกบั ตดิ ตามและประเมินผล 29 บทบาทของผกู้ ำกับติดตามและประเมนิ ผล 42 เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการกำกับตดิ ตามและประเมินผล คณะผูจ้ ดั ทำ

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พัฒนาสมรรถการคิดขัน้ สงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 1 ตอนท่ี 6 การออกแบบรปู แบบและกลไกจากการประยกุ ต์นวตั กรรมทีค่ ดั เลือกมาใชใ้ นสถานศกึ ษา 6.1 หลักการและเหตุผลและทีม่ า การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี ความสามารถสร้างสรรคน์ วตั กรรมได้ มีทกั ษะการทำงานเปน็ ทีม และเป็นผู้เรียนเชิงรุก (active learner) ซง่ึ ความ สามารถเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นและสำคัญในการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาผู้เรียนให้มี ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้ จะมีทักษะสำคัญที่เป็นปัจจัยร่วมคือทักษะการคิด (thinking skills) โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะ/สมรรถนะการคิดขั้นสูง เพราะหากผู้เรียนมีทักษะการคิดในระดับที่สูง ผู้เรียนจะ สามารถสร้างความรู้โดยผ่านการรวบรวมและลำดับข้อมูลบูรณาการเข้ากับทักษะการค้นคว้าการใช้ วิจารณญาณ และการแก้ปัญหา สามารถสือ่ สารความรู้ เพื่อใช้อธิบายประเด็นที่เก่ียวข้อง และแก้ปัญหาท่จี ะ เกดิ ขนึ้ ในบรบิ ทของชีวิตจรงิ ได้ ซง่ึ โรงเรียนนาป่ามโนรถไดต้ ระหนักถงึ ความสำคัญดังกล่าว จึงได้ดำเนินการ พัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนมาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ “กระบวนการกลุ่ม” เป็นหลักในการดำเนินงาน จัด กิจกรรมการเรียนรู้/ทำงานด้วยกระบวนการกลุ่ม ตั้งแต่ชั้น ป.1- ป.6 (ตั้งชื่อกลุ่มเป็นชื่อดอกไม้) ผ่าน กิจกรรมชุมนุม ฝกึ ให้พ่ดี แู ลนอ้ ง (Buddy) ฝกึ ใหผ้ ูเ้ รยี นวางแผนการทำงาน และคิดแกป้ ญั หาจากขอ้ ผิดพลาด ที่เกิดขึ้น ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ สืบค้นข้อมูลจากเทคโนโลยีรอบตัว สื่อโซเชียลมีเดียต่างๆ ส่งผลให้ผลการประเมินความสามารถด้านการคิดของผู้เรียนโรงเรียนนาป่ามโนรถ ปีการศึกษา 2563 มีผล การประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 88.07 และความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรียนอยู่ ในระดับดีขน้ึ ไป ร้อยละ 92.66 (โรงเรียนนาปา่ มโนรถ, 2563, หน้า 11 ) เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ โรงเรียนไม่สามารถจดั การเรยี นการสอนตามปกติ (On site) ได้ ตง้ั แตเ่ ปดิ เรียนภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จนถึงปัจจบุ ัน ทำใหผ้ ู้เรียนไมส่ ามารถมาเรียนกบั คณุ ครูทโ่ี รงเรียนได้ ไมส่ ามารถจดั กจิ กรรมกลุ่มให้กับ ผเู้ รยี นได้ ผูเ้ รยี นจึงไม่ได้รับการฝึก/พัฒนาทักษะการคดิ ผา่ นกิจกรรมกลุ่มเหมือนกับทุกปีที่ผ่านมา ดังน้ัน โรงเรียนจึงวางแผนดำเนินการพัฒนาทักษะการคิดให้กับผู้เรียน ให้มีความยืดหยุ่นเหมาะสมสอดคล้องกับ สถานการณ์การจัดการศึกษาของโรงเรียนในปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Oder Thinking Skill) ของผู้เรียน ให้สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจอย่าง มีวิจารญาณบนหลักเหตุผลอย่างรอบด้าน โดยใช้คุณธรรมกำกับการตัดสินใจได้อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลด้วยความเข้าใจถึงความเชื่อมโยงของสรรพสิ่งที่อยู่ร่วมกันอย่างเป็น ระบบ ใช้จินตนาการและความรู้สร้างทางเลือกใหม่ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างมีเป้าหมาย (กรอบ หลักสตู รฐานสรรถนะ ของ สพฐ.) ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายในการจดั การเรียนการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ คือ การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ซึ่งเป็นวิธีการ

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่อื พฒั นาสมรรถการคดิ ข้นั สงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 2 คิดและแก้ปัญหาอย่างอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ สามารถใช้จินตนาการมองปัญหา ดว้ ยความคิดเชิงนามธรรม ทำใหส้ ามารถเห็นแนวทางในการแก้ปญั หาอยา่ งเป็นขน้ั ตอนและมลี ำดับวิธีคดิ ซึ่ง ไม่จำกัดอยู่เพียงแค่การคิดให้เหมือนคอมพิวเตอร์เท่านั้น และไม่ได้จำกัดอยู่เพียงการคิดในศาสตร์ของนัก วิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่จะเป็นกระบวนการความคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาของมนุษย์ ประกอบด้วย 1) การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหา/งานย่อย (decomposition) 2) การพิจารณารูปแบบ ของปัญหาหรือวิธีการแก้ปัญหา (pattern recognition) 3) การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา (abstraction) และ 4) การออกแบบอัลกอริทึม (algorithms) และการที่จะส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะการคิดขั้นสูงได้นั้น ต้องดำเนินการผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน/ห้องเรียน หรือ กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน ซึ่งรูปแบบ/วิธีการในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดนั้น มีหลากหลาย เช่น การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Questioning Method) การจัดการเรียนรู้แบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) การจดั การเรยี นร้แู บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) การจัดการเรียนรู้ STEM ซึ่งแต่ละ รูปแบบ/วิธีการมีขั้นตอนการดำเนินงานที่มีความเหมือน/คล้ายกัน คือ การใช้คำถาม การระบุปัญหา การศึกษาคน้ คว้า สืบคน้ รวบรวมขอ้ มลู การลงมือปฏิบัตกิ จิ กรรม การนำเสนอและประเมนิ ผล ดังน้ัน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ จึงคดิ คน้ กระบวนการ/นวัตกรรมในการพฒั นาสมรรถการคดิ ขัน้ สูงของ ผู้เรียน โดยนำแนวคิดเชิงคำนวณมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามรปู แบบ QUICK Model 6.2 รูปแบบและกลไกนวัตกรรมท่ปี ระยกุ ตข์ ้ึนมา รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะการคิดขน้ั สงู ของผ้เู รยี น โรงเรียนนาป่ามโนรถที่พัฒนาขึ้น ได้มาจากการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหา ความต้องการในการพัฒนา การจัดการศึกษาของโรงเรียนศึกษา การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ตำรา งานวิจัย ฯลฯ ที่เกยี่ วขอ้ ง โดยใช้กระบวนเรยี นรแู้ ห่งวชิ าชีพ (PLC) ขบั เคลอ่ื นการดำเนินงาน ซง่ึ รปู แบบที่ได้เป็นรปู แบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง ตามกรอบของหลักสูตรฐานสมรรถะ ของ สพฐ. ประกอบด้วย 1) การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 2) การคิดเชิงระบบ 3) การคิดแก้ปัญหา 4) การคิด สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นการใช้คำถามเป็นหลัก การสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มลู การวางแผน/ออกแบบ กำหนดขนั้ ตอนการทำงาน/ การแก้ปัญหา /จัดทำ /ผลติ /ประดิษฐ์ ช้ินงาน นวัตกรรมการ การนำเสนอผลงานและการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พัฒนาสมรรถการคดิ ข้นั สงู ของผเู้ รยี น โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 3 • ลกั ษณะของรปู แบบ 1. เปน็ รปู แบบท่สี ามารถนำไปใชไ้ ด้กับ “เนื้อหา” ท่ี 1.1 ตอ้ งการใหผ้ ้เู รยี นใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ สามารถสรุปความคดิ รวบยอด ความสำคัญ ความสมั พนั ธ์ และหลกั การของเนื้อหาที่เรยี นได้ 1.2 ต้องการให้ผู้เรียนใชก้ ระบวนการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ ของเนื้อหาและระบุ กระบวนการหรือขัน้ ตอนของระบบได้ 1.3 ต้องการให้ผเู้ รียนใชก้ ระบวนการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ สามารถกำหนดเกณฑ์ พิจารณา วิธีพจิ ารณา ดำเนนิ การประเมินและตัดสนิ ใจเลือกได้อย่างเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 1.4 ต้องการใหผ้ เู้ รยี นใช้กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ในการแกป้ ัญหา พัฒนานวตั กรรมใน รปู แบบตา่ ง ๆ ได้อยา่ ง เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 1.5 ตอ้ งการให้ผเู้ รยี นใช้กระบวนการแก้ปัญหา สามารถใช้ความร้ทู ่ีเป็นผลจากการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ หรือนวตั กรรมท่ีพัฒนาข้นึ ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม กับวัตถปุ ระสงค์ 1.6 ต้องการให้ผู้เรยี นสรา้ งนวตั กรรม/สรา้ งผลงาน/ทำชน้ิ งาน/โครงงาน/แผนงาน ฯลฯ 1.7 ตอ้ งการฝึกฝนและพัฒนาพฤตกิ รรมการคิดที่เอ้ือต่อการคดิ เชงิ นวัตกรรมของผูเ้ รยี น 2. เปน็ รูปแบบทส่ี ามารถนำไปใชไ้ ด้กบั ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล/คู่/กลุ่ม 3. เป็นรูปแบบที่สามารถนำไปใช้สอนไดใ้ นรายวิชาและกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร 4. เปน็ รูปแบบทม่ี คี วามยืดหยุน่ สามารถใช้ได้กบั เปา้ หมายการจดั การเรียนการสอนที่แตกต่างกัน 5. เปน็ รปู แบบทีเ่ ป็นกลยทุ ธก์ ารสอน (Instructional Strategy) ซ่ึงจะอย่ใู นสว่ นของกจิ กรรม การเรียนการสอน • ขัน้ ตอนการพฒั นานวตั กรรม รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพฒั นาสมรรถนะการคิดขัน้ สงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ มขี ้ันตอนในการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1 ขั้นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐาน บริบท สภาพปัจจบุ นั ปัญหาของโรงเรยี น โดย วิเคราะห์ข้อมูลด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการดำเนินงาน/การจัดการเรียนรู้/การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา สมรรถนะการคดิ ของผูเ้ รียน ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการคิดข้ันสูง ฯลฯ โดยใช้กระบวนการ PLC

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอ่ื พัฒนาสมรรถการคดิ ขน้ั สงู ของผู้เรียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 4 2. ขั้นการศกึ ษา วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ขอ้ มูล เพ่ือออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลจากเอกสาร ตำรา รายงานวจิ ัย ฯลฯ เก่ยี วกบั สมรรถนะการคิดขน้ั สูง (Higher Order Thinking Skills) ระดับการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ เป้าหมายการพัฒนาแนวคิดเชิงคำนวณให้กับผู้เรียน ความสัมพันธ์ ระหว่างสมรรถนะการคิดขั้นสูงกับแนวคิดเชิงคำนวน รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการ คิดขั้นสูง จากนั้นนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนา สมรรถนะการคิดข้นั สงู ให้กับผู้เรยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 3. ขนั้ การพัฒนาสมรรถนะการคิดข้นั สูงของผ้เู รยี น โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model ซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีสังเคราะห์มาจากรูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ 1) การ จดั การเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Questioning Method) 2) การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) 3) การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) 4) การจัดการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) 5 การจัดการเรียนรู้ STEM โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบใชค้ ำถามเป็นหลกั และนำแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เป็นเครื่องมือ/กลยุทธ์ ในการพฒั นาสมรรถนะการคิดข้ันสงู ประกอบด้วยขนั้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ 5 ขั้น ดงั นี้ 3.1 การตงั้ คำถาม (Questions) เพ่ือให้ผู้เรียนเกดิ ความสนใจใคร่รู้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน และใชก้ ารตัง้ คำถามในทุกขน้ั ตอนของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 3.2. การสร้างความเข้าใจ (Understanding) เพ่ือให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ เข้าใจทถ่ี ูกต้อง ชัดเจน เก่ียวกับประเด็น/ปัญหา สามารถระบุประเด็น/ปัญหา ลำดับความสำคญั ของปัญหา 3.3 การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry) เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถสบื คน้ และรวบรวมข้อมูล จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับแนวทางการแก้ปัญหา และประเมนิ ความเปน็ ไปได้ ข้อดแี ละขอ้ จำกัด 3.4 การนำแนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เปน็ เครอ่ื งมือ/ กลยุทธ์ ในการพฒั นาผเู้ รียน ใหส้ ามารถสรา้ ง (Create) วางแผน/ออกแบบ กำหนด ขัน้ ตอนการทำงาน/การแก้ปญั หา /จดั ทำ /ผลติ /ประดิษฐ์ ช้ินงาน นวตั กรรม 3.5 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) เพื่อให้ผเู้ รยี นแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ขอ้ สรปุ ขอ้ ค้นพบ องค์ความรทู้ ีไ่ ดร้ ับกบั ผูอ้ ืน่ 4 ข้ันการประเมิน ตดิ ตามผล การพัฒนาสมรรถนะการคิดข้ันสูงของผู้เรียน โดยการวัดผล ประเมนิ ผลสมรรถนะการคดิ ข้ันสงู ของผ้เู รียน การนิเทศ ติดตามผลการจดั การเรียนการสอนของครู การ สังเกตชั้นเรยี น การใชช้ ุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถการคิดข้นั สูงของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาป่ามโนรถ 5 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพอื่ พฒั นาสมรรถนะการคิดขน้ั สงู ของผูเ้ รียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 1 ข้ันการวเิ คราะหข์ อ้ มลู พืน้ ฐาน บรบิ ท สภาพปจั จบุ ัน ปญั หาของโรงเรยี น โดยใชช้ มุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) 2. ขนั้ การศกึ ษา วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ขอ้ มูลทีเกี่ยวขอ้ ง เพื่อออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3. ข้นั การพฒั นาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผูเ้ รยี น รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational thinking) 4. ข้นั การประเมนิ ตดิ ตามผล การพฒั นาสมรรถนะการคิดขนั้ สงู ของผู้เรียน โดยการวัดผลประเมนิ ผล สมรรถนะการคิดขนั้ สูงของผู้เรยี น การนเิ ทศ ติดตามผลการจดั การเรยี นการสอนของครู การสังเกตชนั้ เรยี น PLC

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถการคิดข้ันสูงของผ้เู รยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 6 6.3 แนวคดิ สำคญั ที่ใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 1. สมรรถนะการคดิ ข้ันสูง (Higher Order Thinking Skills : HOTS) นิยาม สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจอย่างมวี จิ ารญาณบนหลกั เหตุผลอย่างรอบด้าน โดยใช้ คณุ ธรรมกำกับการตดั สินใจได้อย่างมีวจิ ารณญาณ มีความสามารถคิดอยา่ งเป็นเหตุเป็นผลดว้ ยความเข้าใจถงึ ความเชอ่ื มโยงของสรรพส่ิงท่ีอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งเป็นระบบ ใช้จนิ ตนาการและความรู้สร้างทางเลอื กใหม่ เพ่ือ แกป้ ัญหาท่ีซบั ซ้อนได้อย่างมีเปา้ หมาย องคป์ ระกอบ 1.การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking : HOT-CTC) หมายถึง การคดิ พิจารณา ไตร่ตรองอยา่ งมีเหตผุ ลที่มจี ดุ ประสงค์เพอื่ ตัดสนิ วา่ ส่ิงใดควรเช่ือหรือควรกระทำ โดยอาศัยการใช้ทักษะหรือ กลยทุ ธ์ตา่ ง ๆ เพื่อเพมิ่ ความเป็นไปได้ของผลลัพธจ์ ากการตัดสนิ ใจท่ดี ี เชน่ ทกั ษะการตีความ ประเมิน วิเคราะห์ สรปุ ความ และอธบิ าย ตามหลกั ฐาน แนวคิด วธิ กี าร กฎเกณฑ์ หรอื บริบทต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั ข้อมูลท่ี รวบรวมหรือข้อมลู จากการสงั เกต ประสบการณ์ การใชเ้ หตผุ ล การสะท้อนคิด การส่ือสาร และการโต้แยง้ 2.การคดิ เชิงระบบ (System Thinking : HOT-STM) หมายถึง การคิดท่ีแสดงให้เห็นโครงสร้าง ทั้งหมดทเ่ี ช่ือมโยงสมั พันธก์ ันเปน็ หน่งึ เดยี วกนั ภายใตบ้ รบิ ท/ปจั จัยของส่งิ แวดล้อมทเ่ี กดิ ปัญหานัน้ ๆ โดยมอง ปัญหาใหล้ กึ ลงไปกวา่ เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขึน้ ให้เหน็ ถงึ แบบแผนหรอื รปู แบบพฤติกรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ให้เหน็ รากเหง้า ของสถานการณ์และปัจจยั ตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับสถานการณ์นน้ั ๆ จนเกดิ ความเขา้ ใจในสถานการณ์ของ ระบบนน้ั อย่างลกึ ซึ้ง นำไปสู่การแก้ปัญหาท่ีรากเหง้าของปัญหาอยา่ งแทจ้ รงิ 3.การคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking : HOT-CRT) หมายถึง การคดิ ท่หี ลากหลาย ริเร่ิม ประเมิน ปรบั ปรงุ และพฒั นาต่อยอดความคิด เพื่อการแกป้ ัญหาหรือสร้างทางเลือกท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ การสร้างความก้าวหน้าในความรู้ หรือการแสดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ โดยอาศัยจินตนาการและทกั ษะพน้ื ฐาน ดา้ นการคดิ รเิ ริ่ม คดิ คล่อง คดิ ยืดหย่นุ คดิ ละเอยี ดลออ คิดหลากหลาย คดิ วเิ คราะห์และสังเคราะหเ์ พ่ือใหไ้ ด้ สิง่ ใหม่ที่ดีกว่า แตกต่างไปจากเดิม มีประโยชน์ และมีคุณค่าต่อตนเอง ผอู้ ่นื และสงั คมมากกว่าเดมิ 4.การคิดแกป้ ัญหา (Problem Solving Thinking : HOT-PRB) หมายถงึ การคิดของบคุ คลใน การระบปุ ญั หา นิยามปญั หา รวบรวมขอ้ มลู เพื่อแก้ปญั หา ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา เลือกทางเลอื กในการ แก้ปัญหาและดำเนนิ การแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมีเกณฑ์ทีช่ ัดเจนและครอบคุลมทุกมิติ

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพฒั นาสมรรถการคดิ ขัน้ สงู ของผูเ้ รียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 7 ระดับการพฒั นา HOTS ระดับ รายละเอยี ด ระดบั 1 ตง้ั คำถามหรือระบุปญั หาอย่างง่ายจากการสังเกตส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั สถานการณห์ รอื ปรากฎการณ์ในชวี ติ ระดับ 2 ประจำวนั สงั เกต จำแนก สำรวจ วางแผน รวบรวมขอ้ มลู หรือทรพั ยากร สรปุ ขอ้ มลู และเสนอแนวทางแกป้ ัญหา ระดับ 3 อย่างง่ายได้ สามารถจนิ ตนาการและเสนอความคดิ ได้อย่างอสิ ระ ตลอดจนสามารถผลติ ผลงานอยา่ งง่ายโดย อาศยั ต้นแบบ ระดับ 4 ตง้ั คำถามหรอื ระบุปญั หาอย่างงา่ ยจาการสงั เกตส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว สถานการณ์หรือปรากฎการณใ์ นชวี ิต ประจำวัน สงั เกต จำแนก หรอื ระบคุ วามสัมพันธ์ของสิ่งที่เก่ยี วข้องกบั ปรากฎการณ์หรอื สถานการณน์ นั้ ๆ ได้ ระดบั 5 สามารถสำรวจ วางแผน รวบรวมขอ้ มลู หรือทรัพยากร สรุปข้อมูล และเสนอแนวทางแก้ปัญหาอยา่ งง่ายได้ พรอ้ มแสดงเหตผุ ลและประเมนิ ความเหมาะสมของคำตอบ สามารถจินตนาการและเสนอความคิดได้อยา่ ง คล่องแคลว่ หลายประเภทและหลายทิศทาง ตลอดจนสามารถผลิตผลงานอย่างง่ายโดยอาศยั ต้นแบบ ต้ังคำถามหรือระบุปญั หาอยา่ งง่ายจากการสงั เกตส่ิงต่าง ๆ รอบตวั สถานการณห์ รอื ปรากฎการณ์ในชวี ติ ประจำวัน สังเกต จำแนก หรือระบคุ วามสมั พนั ธข์ องส่ิงทเี่ ก่ียวข้องกบั ปรากฎการณ์หรอื สถานการณ์นนั้ ๆ ได้ สามารถสำรวจ วางแผน รวบรวมขอ้ มลู หรอื ทรพั ยากร แปลความหมายขอ้ มลู ด้วยหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ และ สรปุ ข้อมลู เพื่อเปรยี บเทยี บ ประเมิน ตดั สินใจ หรือเสนอแนวทางแกป้ ัญหาอยา่ งงา่ ยได้ พรอ้ มแสดงเหตผุ ล โดย คำนึงถึงความเหมาะสมของการออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา สามารถจินตนาการและเสนอความคิดได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ หลากหลาย โดยใชค้ วามคดิ ท่แี ปลกใหม่ทไ่ี มซ่ ้ำใคร ตลอดจนสามารถผลติ ผลงานตามจนิ ตนาการ โดยอาศยั ต้นแบบ ตงั้ คำถามหรือระบปุ ญั หาอยา่ งง่ายจากการสังเกตสงิ่ ต่างๆ รอบตัว สถานการณ์ หรอื ปรากฎการณใ์ นชีวติ ประจำวัน โดยละเอียดหรือจากผลท่ไี ม่คาดคดิ มาก่อน สามารถวางแผนและดำเนินการสำรวจตรวจสอบโดยใช้ เครือ่ งมือหรอื เทคโนโลยพี ้นื ฐาน เพ่อื ใหไ้ ด้มาซ่ึงขอ้ มลู พืน้ ฐานท่ีใชเ้ ปน็ หลักฐาน เลือกวิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล พร้อมทง้ั ประเมนิ ความถูกตอ้ งและข้อจำกดั ของข้อมลู วิเคราะห์และจดั ลำดับสาเหตุของปัญหา โดยสามารถ รวบรวมปัจจัยอน่ื ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หาหรือสถานการณ์ และวเิ คราะหค์ วามสัมพันธเ์ ชิงเหตุและผลของปัจจัย ตา่ ง ๆ สามารถจินตนาการและเสนอความคดิ ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ หลากหลาย โดยใชค้ วามคิดทแี่ ปลกใหม่ไมซ่ ำ้ ใคร หรือพัฒนาตอ่ ยอดจากของเดมิ พร้อมแสดงการแปลความหมายยขอ้ มูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ ต้ังคำถามหรือระบปุ ญั หาทีซ่ ับซอ้ น จากการสังเกตสง่ิ ต่าง ๆ สถานการณ์ หรอื ปรากฎการณ์ในชีวิตประจำวัน โดยละเอียดหรอื จากผลทไี่ ม่คาดคดิ มาก่อน สามารถวางแผนและดำเนินการสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครอ่ื งมือ หรอื เทคโนโลยพี ้ืนฐาน เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงข้อมูลพ้นื ฐานท่ีใชเ้ ป็นหลกั ฐาน เลอื กวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ ขอ้ มลู โดยใช้เคร่ืองมอื ต่าง ๆ เพอ่ื สร้างข้อสรปุ ทแ่ี ม่นยำและนา่ เชอื่ ถอื สามารถพัฒนาชิน้ งานหรือวิธีการ โดยใช้ ความคิดทแ่ี ปลกใหม่ ทไี่ มซ่ ำ้ ใครหรือพฒั นาตอ่ ยอดจากของเดมิ ระบุแบบแผนของพฤตกิ รรมและองคร์ วมของ องค์ประกอบตา่ ง ๆ ในปญั หาหรือสถานการณน์ น้ั เพ่อื สรา้ งแบบจำลองอย่างงา่ ย พร้อมแสดงการแปล ความหมายขอ้ มลู และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ลงขอ้ สรุปไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และนำเสนอและเปรียบเทยี บข้อสรปุ ที่ เหมือนหรือแตกตา่ งจากข้อสรปุ ของตน

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพือ่ พัฒนาสมรรถการคิดข้นั สูงของผเู้ รยี น โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 8 ระดบั รายละเอียด ระดับ 6 ตง้ั คำถามหรือระบุปญั หาหรือสถานการณ์ท่ซี บั ซ้อน จากการสงั เกตสง่ิ ตา่ ง ๆ สถานการณ์ หรอื ปรากฎการณ์ ในชีวติ ประจำวันโดยละเอยี ด ระบุสาเหตขุ องปัญหา แยกปญั หาเปน็ ปัญหาย่อย ๆ สามารถวางแผนและ ระดบั 7 ดำเนนิ การสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื หรือเทคโนโลยีเพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ขอ้ มูลพ้ืนฐานทใี่ ช้เปน็ หลักฐาน เลือก วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปรยี บเทียบแหล่งขอ้ มลู และขอ้ เท็จจรงิ ได้ วิเคราะห์แนวโนม้ ของการเปลยี่ นแปลง ระดบั 8 ในปัญหาหรือสถานการณ์และสร้างแบบจำลองเพ่ือแสดงโครงสรา้ งของปัญหาหรือสถานการณ์ได้ พัฒนาชนิ้ งาน วิธีการ หรอื นวัตกรรม โดยใช้ความคิดที่แปลกใหม่ ทไ่ี มซ่ ำ้ ใคร หรือพัฒนาต่อยอดจากของเดมิ ให้เหมาะสม ต่อการใชง้ านจริง พรอ้ มแสดงการแปลความหมายขอ้ มลู และหลักฐานเชิงประจักษ์ ลงข้อสรปุ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง นำเสนอขอ้ สรปุ รวมท้ังเปรียบเทยี บและประเมินขอ้ สรปุ ที่แตกตา่ งหรอื ตรงกันขา้ มกบั ขอ้ สรุปของตน และ สามารถปรับปรุงขอ้ สรปุ ของตนตามข้อมลู ลและหลักฐานใหม่ ตง้ั คำถามหรือระบุปญั หาหรือสถานการณ์ท่ียากและซบั ซอ้ น จากการสงั เกตส่งิ ตา่ งๆ สถานการณ์ หรือ ปรากฏการณใ์ นชีวิตประจำวันโยละเอียดหรือจากผลท่ไี ม่คาดคดิ มากอ่ นเพอื่ หาข้อมูลเพมิ่ เตมิ และหาสมั พนั ธ์ ของสงิ่ ตา่ งๆ พรอ้ มเสนอวธิ กี ารระบสุ าเหตขุ องปัญหาแยกปยั ฆาเป็นปญั หาย่อยๆ สามารถวางแผนและ ดำเนนิ การ การสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่อื งมือหรอื เทคโนโลยเี พอ่ื ให้ไดม้ าซ่งึ ข้อมูลพื้นฐานท่ีใช้เปน็ หลกั ฐาน เลือกวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้เคร่อื งมอื ต่างๆ เพ่อื สร้างข้อสรุปท่แี ม่นยำและนา่ เชอื่ ถอื เปรยี บเทยี บแหล่งข้อมลู และขอ้ เท็จจริงได้ ประเมนิ ผลกระทบของปญั หาโดยใชว้ ิธีการทเี่ หมาะสมและ ครอบคลมุ ทุกมิติ สรา้ งแบบจำลองเพ่ือแสดงโครงสรา้ งของปญั หาหรือสถานการณไ์ ด้ พฒั นาช้ินงาน วิธกี าร หรือ นวตั กรรม โดยใช้ความคดิ ทแ่ี ปลกใหมท่ ีไ่ ม่ซำ้ ใครหรือพฒั นาต่อยอดจากของท่ใี หเ้ หมาะสมตอ่ การใช้งานจริง แจกแจงรายละเอยี ดของวิธีการแกป้ ญั หา หรือขยายความคดิ ได้ โดยสามารถลงขอ้ สรุปได้อยา่ งถกู ต้อง ระบุ เหตุผลของข้อโตแ้ ยง้ ท่สี อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ นำเสนอข้อสรปุ รวมท้ังเปรยี บเทยี บและประเมนิ ขอ้ สรปุ ที่แตกต่างหรือตรงกันข้ามกบั ขอ้ สรปุ ของตน โดยใชเ้ หตผุ ลและหลกั ฐานทีห่ ลากหลาย และสามารถปรบั ปรงุ ข้อสรุปของตนตามขอ้ มลู และหลักฐานใหม่ ตั้งคำถามหรอื ระบปุ ญั หาหรอื สถานการณท์ ่ียากและซบั ซ้อน จากการสังเกตสง่ิ ต่างๆ สถานการณ์หรือ ปรากฏการณใ์ นชีวิตประจำวนั โดยละเอยี ดหรอื จากผลที่ไม่คาดคิดมากอ่ น เพื่อหาขอ้ มลู เพิม่ เตมิ หรอื หา ความสมั พนั ธ์ของสิ่งตา่ งๆ รวมทั้งประเมนิ คำถามวา่ สามารถสำรวจหรือตรวจสอบไดห้ รอื ไม่ พร้อมเสนอวธิ กี าร ระบุสาเหตุของปัญหาแยกปัญหาเปน็ ปัญหาย่อยๆ สามารถวางแผนและดำเนนิ การการสำรวจตรวจสอบโดยใช้ เคร่ืองมือหรือเทคโนโลยีเพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงข้อมูลพน้ื ฐานท่ใี ช้เป็นหลักฐาน เลือกวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู วิเคราะห์ ขอ้ มลู โดยใช้เคร่อื งมอื ตา่ งๆ เพอ่ื สร้างข้อสรุปที่แม่นยำและนา่ เชอื่ ถอื เปรียบเทยี บแหลง่ ขอ้ มลู และข้อเท็จจรงิ ได้ ประเมินผลกระทบของปญั หาโดยใช้วธิ กี ารท่เี หมาะสมและครอบคลมุ ทกุ มติ ิ สรา้ งแบบจำลองเพ่ือแสดง โครงสรา้ งของปัญหาหรอื สถานการณไ์ ด้ สามารถพัฒาชน้ิ งาน วิธีการ หรือนวตั กรรม โดยใช้ความคิดทแ่ี ปลก ใหมท่ ีไ่ มซ่ ้ำใครหรือพัฒนาต่อยอดจากของทใี่ หเ้ หมาะสมตอ่ การใช้งานจรงิ ระบเุ หตุผลของข้อโตแ้ ยง้ ทสี่ อดคลอ้ ง กับสถานการณ์และมีความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลกนั นำเสนอขอ้ สรุปรวมทง้ั เปรยี บเทยี บและประเมนิ ขอ้ สรปุ ท่แี ตกตา่ ง หรอื ตรงกันข้ามกับข้อสรปุ ของตน โดยใชเ้ หตผุ ลและหลักฐานทหี่ ลากหลาย และสามารถปรบั ปรงุ ขอ้ สรุปของ ตนตามข้อมลู และหลกั ฐานใหม่

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพือ่ พฒั นาสมรรถการคิดขนั้ สงู ของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 9 ระดับ รายละเอียด ระดบั 9 ต้ังคำถามหรอื ระบุปญั หาหรอื สถานการณท์ ีย่ ากและซบั ซอ้ น จากการสังเกตส่ิงตา่ งๆ สถานการณห์ รอื ปรากฏ การณใื นชีวิตประจำวันโดยละเอียดหรือจากผลทไ่ี ม่คาดคดิ มาก่อน เพ่ือหาข้อมูลเพิม่ เตมิ หรอื หาความสัมพนั ธ์ ระดบั 10 ของส่ิงตา่ งๆ รวมทัง้ ประเมินคำถามวา่ สามารถสำรวจหรือตรวจสอบไดห้ รือไม่ ระบุสาเหตขุ องปญั หาแยกปญั หา เปน็ ปัญหาย่อยๆ สามารถวางแผนและดำเนนิ การการสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครอื่ งมือหรือเทคโนโลยเี พอ่ื ให้ ได้มาซึง่ ข้อมลู พืน้ ฐานทใี่ ช้เปน็ หลกั ฐาน เลือกวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู พรอ้ มทั้งประเมินความถูกต้องวิเคราะห์ ขอ้ มูลโดยใช้เครื่องมือตา่ งๆ เพื่อสร้างขอ้ สรปุ ทแ่ี มน่ ยำและนา่ เชือ่ ถือ เปรยี บเทยี บแหลง่ ขอ้ มลู และข้อเท็จจรงิ ได้ ประเมินผลกระทบของปัญหาโดยใชว้ ิธีการทเี่ หมาะสมและครอบคลมุ ทกุ มิติสามารถสร้างแบบจำลองความคดิ เพ่ืออธบิ ายแนวคิดทีใ่ ชใ้ นการออกแบบการแกป้ ัญหา ทำนายหรือประเมนิ ผลลัพธ์ในการแทรกแซงระบบทย่ี าก และซบั ซ้อนได้ สามารถพัฒาช้นิ งาน วิธีการ หรอื นวตั กรรม โดยใชค้ วามคดิ ทีแ่ ปลกใหมท่ ไ่ี ม่ซ้ำใครหรอื พฒั นา ต่อยอดจากของทใ่ี ห้เหมาะสมตอ่ การใช้งานจริง สามารถแจกแจงรายละเอียดวธี ีการแก้ปญั หาหรอื ขายความคิด ไดอ้ ยา่ งครบถว้ น เขยี นสะทอ้ นความคิดเกย่ี วกบั เนอื้ หา กระบวนการเรียนรูน้ ำเสนอข้อสรุปรวมทงั้ เปรยี บเทยี บ และประเมินขอ้ สรุปท่แี ตกต่างหรอื ตรงกนั ขา้ มกบั ข้อสรุปของตน โดยใช้เหตผุ ลและหลักฐานท่หี ลากหลายและ สามารถปรบั ปรุงข้อสรปุ ของตนตามข้อมูลและหลักฐานใหม่ ตง้ั คำถามหรือระบปุ ญั หาหรือสถานการณท์ ี่ยากและซบั ซอ้ น จากการสังเกตส่งิ ต่างๆ สถานการณห์ รือปรากฏ การณใื นชีวติ ประจำวนั โดยละเอยี ดหรือจากผลทไ่ี ม่คาดคิดมาก่อน เพือ่ หาข้อมูลเพม่ิ เตมิ หรือหาความสัมพนั ธ์ ของสง่ิ ตา่ งๆ รวมท้ังประเมนิ คำถามวา่ สามารถสำรวจหรอื ตรวจสอบได้หรอื ไม่ ระบสุ าเหตุของปัญหาแยกปญั หา เปน็ ปญั หาย่อยๆ สามารถวางแผนและดำเนนิ การการสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครอ่ื งมือหรือเทคโนโลยเี พือ่ ให้ ไดม้ าซึ่งข้อมลู พืน้ ฐานท่ใี ช้เปน็ หลกั ฐาน เลอื กวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล พร้อมทั้งประเมนิ ความถกู และขอ้ จำกดั ของขอ้ มลู วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใช้เครือ่ งมือต่างๆ เพอื่ สรา้ งขอ้ สรุปทแ่ี มน่ ยำและน่าเชือ่ ถอื รวมทงั้ พจิ ารณา ข้อจำกัดของการวิเคราะหแ์ ละตีความหมายข้อมลู สามารถเปรียบเทยี บแหล่งขอ้ มลู และขอ้ เท็จจริงได้ ประเมนิ ผลกระทบของปญั หาโดยใชว้ ิธีการที่เหมาะสมและครอบคลมุ ทุกมติ ิ สรา้ งแบบจำลองความคิดเพื่อ อธิบายแนวคิดที่ใชใ้ นการออกแบบการแก้ปญั หา ทำนายหรือประเมนิ ผลลพั ธ์ในการแทรกแซงระบบทีย่ ากและ ซบั ซ้อนได้ พฒั าช้ินงาน วธิ ีการ หรอื นวัตกรรม โดยใชค้ วามคดิ ท่แี ปลกใหม่ท่ไี มซ่ ้ำใครหรอื พฒั นาต่อยอดจาก ของทีใ่ หเ้ หมาะสมต่อการใชง้ านจริง สามารถแจกแจงรายละเอยี ดวธี กี ารแกป้ ัญหาหรือขายความคดิ ได้อย่าง ครบถ้วน นำขอ้ สรุปรวมทง้ั เปรยี บเทียบและประเมินขอ้ สรุปท่ีแตกตา่ งหรอื ตรงกนั ข้ามกับข้อสรุปของตน โดยใช้ เหตผุ ลและหลกั ฐานทหี่ ลากหลายและสามารถปรับปรุงขอ้ สรุปของตนตามขอ้ มลู และหลักฐานใหม่

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่อื พัฒนาสมรรถการคดิ ขัน้ สูงของผเู้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 10 ระดบั การพัฒนา HOTS ระดับ ระดบั การพฒั นา ความสามารถ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ป.1-ป.3 เรมิ่ ต้น กำลงั พัฒนา สามารถ กำลงั พัฒนา เหนือความคาดหวัง ป.4-ป.6 ม.1-ม.3 เริ่มตน้ สามารถ เหนือความคาดหวงั ม.4-ม.6 เริ่มต้น กำลงั พัฒนา สามารถ เหนือความคาดหวงั เริ่มต้น กำลังพฒั นา สามารถ เหนือความ คาดหวัง 2. แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) เป็นกระบวนการในการแก้ปัญหา การคดิ วิเคราะหอ์ ย่างมเี หตุผลเป็นข้ันตอน เพ่ือหาวิธกี ารแกป้ ัญหาในรูปแบบทสี่ ามารถนำไป ประมวลผลไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ทักษะน้ีมคี วามสำคญั ในการพัฒนาซอฟต์แวร์นอกจากนี้ ยงั สามารถนำไปใช้แกป้ ัญหาในศาสตร์ อื่น ๆ และปัญหาในชวี ิตประจำวนั ไดด้ ้วย ทักษะการคดิ เชิงคำนวณมีองคป์ ระกอบดงั ต่อไปนี้ 1. การแบ่งปัญหาใหญอ่ อกเปน็ ปัญหา/งานย่อย (decomposition) เปน็ การพจิ ารณา และแบ่ง ปญั หา/งาน/สว่ นประกอบ ออกเปน็ สว่ นยอ่ ย เพอื่ ให้จดั การกับปัญหาได้ ง่ายข้นึ 2. การพจิ ารณารปู แบบของปัญหาหรือวธิ กี ารแก้ปญั หา (pattern recognition) การพจิ ารณา รปู แบบ แนวโน้ม และลกั ษณะทวั่ ไปของปัญหา/ข้อมลู โดยพจิ ารณาวา่ เคยพบปัญหาลักษณะนี้ มาก่อนหรอื ไม่ หากมรี ปู แบบของปญั หาที่คล้ายกนั สามารถนำ วิธีการแก้ปัญหาน้นั มาประยกุ ต์ใช้ และพจิ ารณารูปแบบปัญหาย่อยซง่ึ อยภู่ ายใน ปัญหาเดียวกัน ว่ามสี ่วนใดท่เี หมอื นกนั เพื่อใช้ วิธีการแก้ปัญหาเดยี วกนั ได้ ทำให้ จัดการกับปัญหาได้ง่ายขึ้น และการทำงานมปี ระสทิ ธภิ าพ เพิ่มข้นึ 3. การพิจารณาสาระสำคญั ของปญั หา (abstraction) เปน็ การพจิ ารณารายละเอยี ด ทีส่ ำคัญของ ปัญหา แยกแยะสาระสำคญั ออกจากสว่ นทไี่ มส่ ำคญั 4. การออกแบบอัลกอรทิ ึม (algorithms) ข้นั ตอนในการแกป้ ัญหาหรอื การทำงาน โดยมีลำดับของ คำสง่ั หรือวิธกี ารท่ชี ัดเจนที่คอมพวิ เตอรส์ ามารถปฏิบัติตามได้

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอื่ พัฒนาสมรรถการคดิ ขั้นสูงของผู้เรียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 11 โครงสรา้ งการสอนวชิ า Coding สู่ Unplugged Coding ชน้ั เร่ือง เนอื้ หา ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 การแกป้ ัญหา 1. การรู้จกั ปญั หา 2. การลองผดิ ลองถูก วธิ ีแสดงขน้ั ตอนการแก้ปัญหา 3. การเปรียบเทยี บ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 การแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นขั้น 1. การเขยี นข้อความ 2. การวาดภาพ เปน็ ตอน 3. การใช้สญั ลกั ษณ์ 1. การทำความเข้าใจกบั ปญั หา วิธแี สดงข้นั ตอนการแกป้ ัญหา 2. รปู แบบการแก้ปัญหา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 การแก้ปัญหาด้วยแนวคดิ เชิง - การแกป้ ัญหาด้วยการลองผิด คำนวณ ลองถกู วิธีแสดงขั้นตอนการแกป้ ญั หา - การแกป้ ัญหาโดยการหา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 การใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการ ความสมั พันธ์ของข้อมลู แก้ปญั หา - การแก้ปัญหาโดยการขจดั 3. การลงมอื แกป้ ัญหา 4. การตรวจสอบและแก้ไขปญั หา 1. การเขียนข้อความ 2. การวาดภาพ 3. การใชส้ ญั ลักษณ์ 1. การแบง่ ปญั หาใหญ่ออกเปน็ ปัญหา ยอ่ ย 2. การหาสว่ นสำคัญของปัญหา 3. การหารปู แบบของปัญหา 4. การออกแบบลำดบั การแกป้ ัญหา 1. การเขยี นข้อความ 2. การวาดภาพ 3. การใช้สญั ลักษณ์ 1. การระบุ ทำความเข้าใจและ รวบรวมข้อมลู ของปญั หา

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพือ่ พฒั นาสมรรถการคิดขน้ั สูงของผ้เู รียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 12 ช้นั เรื่อง เน้อื หา 2. การวางแผนแก้ไขปัญหา การสร้างอลั กอลิทึม 3. การลงมือแกป้ ัญหา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 การใช้เหตุผลและการทำนาย 4. การตรวจสอบผลและแกไ้ ขปัญหา 1. การสรา้ งอัลกอลทิ ึม ผลลพั ธ์ 2. บตั รคำสัง่ 1. การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตผุ ล เชิงตรรกะ แก้ปญั หา 2. การทำนายผลลัพธ์ กับการ การออกแบบการแก้ปญั หา แกป้ ญั หา 1. การใหเ้ หตุผลกบั การพิจารณา ปัญหา 2. การให้เหตผุ ลกับการวางแผนแกไ้ ข ปัญหา 1. แนวคดิ การทำงานแบบลำดบั 2. แนวคิดการทำงานแบบมีเงอื่ นไข 3. แนวคิดกระบวนการวนซ้ำ 3. รูปแบบ/วธิ กี ารจัดการเรียนรูท้ ี่พฒั นาสมรรถนะการคิด 5 รปู แบบ 1. การจัดการเรยี นร้แู บบใช้คำถาม (Questioning Method) 2. การจัดการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) 3. การจัดการเรียนรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) 4. การจัดการเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) 5. การจดั การเรยี นรู้ STEM

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพือ่ พัฒนาสมรรถการคิดขั้นสงู ข การเปรยี บเทยี บ/เช่อื มโยงรปู แบบ/วธิ กี ารจ การจัดการเรยี นรูแ้ บบใช้คำถาม การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ การจดั การ (Questioning Method) 5 ข้ันตอน Problem Ba 1ข้ันวางแผนการใช้คำถาม การ 1.การสร้างความสนใจ (P วางแผนไว้ลว่ งหนา้ ว่าจะใช้คำถาม (Engagement) นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ข้ันกำหนดปัญ เพ่อื วตั ถปุ ระสงคใ์ ด รปู แบบหรือ หรือนำเข้าสเู่ ร่ืองที่อยู่ในความสนใจ problem ต้องเป ประการใดท่ีจะสอดคล้องกับเน้อื หา ทเี่ กดิ จากข้อสงสยั โดยครผู สู้ อน ผู้เรยี นใหค้ ้นหาคว สาระและวตั ถปุ ระสงค์ของบทเรียน จะต้องกระตุ้นให้ผเู้ รียนเกดิ ความ ลึกซึ้งมากข้ึน มคี ว Q สนใจใคร่รู้ เพ่ือนำเข้าสู่บทเรยี น เกิดขน้ึ ได้ในสถาน หรือเน้อื หาใหมๆ่ ความสนใจของผเู้ อยากค้นหาตอบจ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง 2.ข้นั เตรยี มคำถาม การเตรยี ม 2. การสํารวจและค้นหา 2. ข้นั ทำความเข คำถามท่จี ะใช้ในการจดั กจิ กรรม (Exploration)เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี น (Identify) ตอ้ งเป การเรยี นรู้ โดยการสร้างคำถาม ดำเนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ โดยการ สว่ นรว่ มในการวเิ อยา่ งมีหลักเกณฑ์ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆเพอ่ื ทำความเขา้ ใจใหช้ ตรวจสอบสมมตุ ิฐานและ อธิบาย อะไรและอะไรคือ และสรปุ

ของผูเ้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 13 จดั การเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาสมรรถนะการคดิ 5 รูปแบบ รเรยี นรูแ้ บบ การจดั การเรียนรแู้ บบใชโ้ ครงงาน การจัดการเรียนการสอน ased Learning เป็นฐาน STEM PBL) ญหา (Define a (PROJECT-BASED LEARNING) 1.ขนั้ ระบุปญั หา (Problem ป็นปญั หาทดี่ งึ ดดู 1. ขัน้ นำเสนอ ผ้สู อนใหผ้ ู้เรยี น Identification) ขนั้ น้ีเปน็ การ วามเขา้ ใจแนวคดิ ท่ี ศกึ ษาใบความรู้ กำหนดสถานการณ์ พจิ ารณาเปรยี บเทียบเหตุท้งั หลาย วามท้าทายสามารถ ศกึ ษาสถานการณ์ เล่นเกม ดู ของปัญหาแลว้ จัดลำดบั ความสำคญั นการณ์จรงิ กระตุ้น รูปภาพ เพือ่ เลอื กสาเหตทุ สี่ ำคญั ทสี่ ดุ เปน็ เรยี นให้รสู้ ึกสนใจ ประเด็นสำหรับค้นหาวธิ ีแกไ้ ขตอ่ ไป จากแหลง่ เรยี นรู้ 2. ข้นั วางแผน ผเู้ รียนร่วมกนั เป็นการตดั สินว่าสถานการณท์ ี่ตอ้ ง ง วางแผน โดยการระดมความคดิ แก้ไขน้ันปญั หาใดเปน็ “ปัญหาท่ี อภปิ รายหารือข้อสรปุ ของกลมุ่ เพอ่ื แทจ้ รงิ ” ขา้ ใจปัญหา ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ 2.ขั้นรวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดท่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมี เก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หา (Related เคราะห์ปัญหา เพอื่ Information Search) เป็นการ ชัดเจนว่ายังไมร่ ู้ รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทาง อสิง่ ที่ตอ้ งการศกึ ษา วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวขอ้ งกบั แนว ทางการแก้ปญั หาและประเมิน ความเป็นไปได้ ขอ้ ดีและข้อจำกดั

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่ือพฒั นาสมรรถการคิดขัน้ สูงข การจดั การเรยี นรู้แบบใชค้ ำถาม การเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ การจัดการ (Questioning Method) 5 ข้นั ตอน Problem Ba (P 3. ขน้ั การใช้คำถาม ผสู้ อนสามารถ 3.การอธบิ ายและลงข้อสรปุ 3. ดำเนินการศกึ จะใชค้ ำถามในทกุ ขน้ั ตอนของการ (Explanation)นำขอ้ มูลที่ไดม้ า (Brainstorm sol จดั กจิ กรรมการเรียนร้แู ละอาจจะ วเิ คราะห์และแปลผล เพื่อสรปุ ผล หลงั จากที่ทำความ สรา้ งคำถามใหมท่ นี่ อกเหนือจาก และนําเสนอผลทไี่ ด้ในรูปต่าง ๆ ผ้เู รยี นจะต้องแบ่ง คำถามท่ีเตรยี มไวก้ ็ได้ ทง้ั นต้ี อ้ ง เช่น การบรรยายสรปุ การสร้าง ภายในกลุม่ จดั เร เหมาะสมกับเน้อื หาสาระและ แบบจาํ ลอง ให้สอดคล้องกับป สถานการณ์น้นั ๆ กำหนดเป้าหมาย ระยะเวลาใหช้ ดั เจ 4. ขั้นสรุปและประเมนิ ผล 4. การขยายความรู้ 4. สงั เคราะห์ควา 4.1 การสรปุ บทเรยี นผสู้ อนอาจจะ (Elaboration) นําความรู้ทีไ่ ด้จาก test the best so ใชค้ ำถามเพือ่ การสรปุ บทเรยี นกไ็ ด้ ขัน้ ก่อนหนา้ นี้ มาเชือ่ มโยงกบั สมาชกิ ในกลมุ่ นำ 4.2 การประเมนิ ผล ผู้สอนและ ความรูเ้ ดมิ หรอื ใชอ้ ธบิ ายถงึ คน้ พบมานำเสนอ ผู้เรยี นร่วมกนั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ สถานการณ์หรือเหตกุ ารณเ์ กี่ยวขอ้ ง รว่ มกนั ตรวจสอบ โดยใช้วธิ กี ารประเมนิ ผลตามสภาพ โดยครผู สู้ อนอาจจดั กิจกรรมและให้ หรอื ไม่ จริง ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมน้ัน ๆ เชน่ ตั้งคำถามจากการศกึ ษาเพื่อให้ ผเู้ รยี นรว่ มกันอภปิ รายและแสดง ความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ 5. การประเมินผล (Evaluation) 5. สรปุ และประเม เปน็ ขน้ั ของการประเมินการเรียนรู้ (Evaluate resul ดว้ ยกระบวนการต่าง ๆ เชน่ การทำ

ของผู้เรียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 14 รเรียนรู้แบบ การจดั การเรยี นรแู้ บบใช้โครงงาน การจดั การเรียนการสอน ased Learning เป็นฐาน STEM PBL) กษาคน้ คว้า (PROJECT-BASED LEARNING) 3.ขน้ั ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา lutions) 3. ขัน้ ปฏิบตั ิ ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรม (Solution Design) เปน็ การ มเข้าใจปญั หาแลว้ เขียนสรุปรายงานผลท่ีเกดิ ขนึ้ จาก ประยุกตใ์ ชข้ ้อมลู และแนวคดิ ที่ งมอบหนา้ ทก่ี ัน การวางแผนรว่ มกัน เกยี่ วขอ้ งเพือ่ การออกแบบช้ินงาน รียงลำดับการทำงาน หรือวธิ กี ารในการแก้ปญั หา โดย ประเดน็ ปญั หา 4. ขั้นประเมนิ ผล การวัดและ คำนงึ ถึงทรพั ยากร ขอ้ จำกัดและ การดาเนินงานและ ประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยให้ เงือ่ นไขตามสถานการณท์ ก่ี ำหนด จน บรรลจุ ดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ี่ ามรู้ (Make and กำหนดไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ 4.ขน้ั วางแผนและดำเนินการ olution) โดยมผี สู้ อน ผเู้ รยี นและเพอื่ น แกป้ ัญหา (Planning and ำความรหู้ รือประเดน็ ร่วมกนั ประเมนิ Development) เป็นการกำหนด อภายในกลมุ่ เพือ่ ลำดบั ขนั้ ตอนของการสร้างชิน้ งาน บขอ้ มลู ว่าถูกตอ้ ง หรอื วธิ กี าร แล้วลงมอื สรา้ งชนิ้ งาน หรอื พฒั นาวิธีการเพือ่ ใช้ในการ แกป้ ัญหา มินคา่ ของคำตอบ 5.ทดสอบ ประเมนิ ผล และ lts) ปรับปรุงแกไ้ ขวิธีการแก้ปัญหา หรือชนิ้ งาน (Testing, Evaluation

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพื่อพฒั นาสมรรถการคิดขนั้ สูงข การจดั การเรยี นรู้แบบใช้คำถาม การเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ การจดั การ (Questioning Method) 5 ขนั้ ตอน Problem Ba (P ขอ้ สอบ การทำรายงานสรุป หรอื เมือ่ ไดค้ ำตอบท่ชี ดั การใหผ้ เู้ รียนประเมนิ ตัวเอง เปน็ ในกลุม่ จะตอ้ งชว่ ย ตน้ เพอื่ ตรวจสอบผู้เรยี นวา่ มคี วามรู้ ทง้ั หมดมาประมว ที่ถกู ต้องมากนอ้ ยเพียงไรจากการ ความรใู้ หม่ พรอ้ ม เรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ ประสทิ ธภิ าพการ 6. นำเสนอและป results) ให้ผเู้ รยี นจัดทำเอ สำหรับนำเสนออง ใหมต่ อ่ เพื่อนหรอื สาธารณะ ในการ โอกาสให้ผู้ฟงั สาม ประเด็นที่สงสัย ห แนวคิดได้

ของผูเ้ รียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 15 รเรยี นรู้แบบ การจดั การเรยี นรแู้ บบใช้โครงงาน การจดั การเรียนการสอน ased Learning เป็นฐาน STEM PBL) ดแจง้ แลว้ สมาชกิ (PROJECT-BASED LEARNING) and Design Improvement) เปน็ ยกนั นำข้อมูล การทดสอบและประเมินการใช้งาน วลสรา้ งเปน็ องค์ ของชิ้นงานหรือวธิ ีการ โดยผลทีไ่ ด้ มทัง้ ประเมิน อาจนำมาใช้ในการปรบั ปรงุ และ รทำงานของกล่มุ พฒั นาให้มปี ระสทิ ธภิ าพในการ แก้ปญั หาได้อย่างเหมาะสมทสี่ ดุ ประเมนิ ผล (Share 6.นำเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผล การแกป้ ญั หาหรือชน้ิ งาน อกสารหรือชนิ้ งาน (Presentation) เป็นการนำเสนอ งคค์ วามรทู้ ี่ค้นพบ แนวคิดและข้ันตอนการแกป้ ญั หา อเผยแพรต่ อ่ ของการสรา้ งช้ินงานหรือการพัฒนา รนำเสนอต้องเปดิ วิธกี าร ใหผ้ ้อู ่นื เข้าใจและได้ มารถซกั ถาม ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาตอ่ ไป หรอื สนบั สนนุ

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พฒั นาสมรรถการคิดข้ันสูงของผู้เรียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 16 จากข้อมูลการเปรียบเทียบรูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิด 5 รูปแบบ ดังกล่าวข้างต้น นำมาสังเคราะห์และคิดค้นเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนา สมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ ประกอบด้วยขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 5 ข้ัน คือ 1) การตั้งคำถาม (Questions) 2) การสร้างความเข้าใจ (Understanding) 3) การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry) 4) การนำแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เป็นเครื่องมือ/กลยุทธ์ ในการ พัฒนาผู้เรียน ให้สามารถสร้าง (Create) วางแผน/ออกแบบ กำหนดขั้นตอนการทำงาน/การแก้ปัญหา / จัดทำ /ผลิต /ประดิษฐ์ ชิ้นงาน นวัตกรรม และ 5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) รายละเอียดความสัมพันธ์/เชื่อมโยงระหว่าง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model และรูปแบบ/วิธีการ จดั การเรียนรเู้ พื่อพฒั นาสมรรถนะการคดิ 5 รปู แบบ ดังนี้

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่ือพัฒนาสมรรถการคดิ ข้ันสงู ของผู้เรยี น โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 17 ความสมั พนั ธ/์ เช่ือมโยงระหวา่ งรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model กับรปู แบบการจดั การเรียนรเู้ พื่อพฒั นาสมรรถนะการคดิ 5 รปู แบบ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ Q U I C K 1. Question method 1.1 ขั้นวางแผนการใช้คำถาม  1.2 ข้ันเตรียมคำถาม  1.3 ขน้ั การใชค้ ำถาม   1.4 ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล  2. Inquiry method 2.1 การสรา้ งความสนใจ  2.2 การสาํ รวจและค้นหา  2.3 การอธบิ ายและลงข้อสรุป  2.4 การขยายความรู้  2.5 การประเมินผล  3. Problem - based Learning 3.1 ขั้นกำหนดปญั หา  3.2 ขน้ั ทำความเขา้ ใจปญั หา  3.3 ดำเนินการศกึ ษาค้นคว้า  3.4 สังเคราะหค์ วามรู้  3.5 สรุปและประเมินคา่  3.6 นำเสนอและประเมินผล  4. Project - based Learning 4.1 ขน้ั นำเสนอ   4.2 ข้ันวางแผน  4.3 ขั้นปฏิบัติ  4.4 ขั้นประเมินผล  5. STEM 5.1 ขั้นระบปุ ัญหา   5.2 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู  5.3 ข้นั ออกแบบ 5.4 ขน้ั วางแผนและดำเนนิ การ  5.5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง  5.6 นำเสนอวิธีการแกป้ ัญหา  

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถการคิดขั้นสูงของผ้เู รยี น โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 18 6.4 กระบวนการ/ขั้นตอนนำนวัตกรรมไปใชใ้ นสถานศึกษาทง้ั สถานศกึ ษา การนำรปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะการคิดขัน้ สงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ มกี ารดำเนนิ การ 2 แนวทางดังน้ี 1. การบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้เปน็ การนำรปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model ไปใช้ในข้นั ตอนของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ พฒั นาสรรถนะการติดขน้ั สงู ของผูเ้ รยี น ผ่านผลการปฏิบัติงาน การลงมอื ปฏิบตั ิ ไม่ว่าจะเปน็ ช้ินงาน/โครงงาน/ภาระงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ซ่ึงเป็น การพัฒนาสมรรถนะการคิดของผเู้ รยี นตามขั้นตอนของรูปแบบฯ ผา่ นการจัดการเรยี นการสอนในแต่ละ รายวชิ า 2. การบูรณาการในกจิ กรรม เป็นการนำรูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK ไปใช้ในขั้นตอนของการ ทำกิจกรรมของผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นชิ้นงาน/โครงงาน/ภาระงานท่ี ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นการพัฒนา สมรรถนะการคิดของผู้เรียนตามขั้นตอนของรูปแบบฯ ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การขับเคลื่อน รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะการคดิ ในการทำงานภายในโรงเรียน เปน็ การขับเคลือ่ นโดยบรู ณาการในแผนการ จดั การเรียนรู้และในกิจกรรมควบคู่กัน การบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ทำให้ผู้เรยี นเกิดความเข้าใจใน การพัฒนาสมรรถนะการคิดตามแนวคิด/หลักการของรูปแบบ (declarative knowledge) ส่วนการบูรณา การในกิจกรรมเปน็ การฝกึ ฝนทกั ษะสมรรถนะการคดิ ผา่ นการทำงานจริง (procedural knowledge)

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพือ่ พัฒนาสมรรถการคดิ ข้ันสูงของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาป่ามโนรถ 19 6.5 แผนการนำนวัตกรรมท่ีประยุกตใ์ นสถานศกึ ษาไปใช้ แผนการนำนวตั กรรมท่ปี ระยุกตไ์ ปใช้ในสถานศึกษาทัง้ สถานศกึ ษา แบ่งออกเปน็ 5 กจิ กรรม ดงั น้ี 1. การประชุมชแี้ จงสมาชิกและการจดั ทีม PLC โรงเรียนนาป่ามโนรถดำเนนิ การจดั ประชุม เพ่อื กำหนด Model Teacher , Buddy Teacher รายวิชาและระดับชั้นท่สี อนซึ่งแบ่งได้ทัง้ หมด 8 กล่มุ ดังน้ี ลำดบั ชอื่ -นามสกุล Model teacher ระดับช้ัน วิชา ช่ือ-นามสกุล Buddy 1 นางสาวจินตนา แก้วตาแสง นางโสภนา ไวเรียบ ป.1 ภาษาองั กฤษ นางสาวรัชดา กรงิ่ กระจา่ ง 2 นายวิชาญ สวนศรี นางสาววาสนา เกาะแก้ว ป.2 สงั คมศึกษาศาสนา นางสาวกนกวรรณ ไทยประเสริฐ 3 ว่าที่รอ้ ยตรีหญงิ อมรรตั น์ อรุณเรอื ง และวัฒนธรรม นางสาวราตรี รอบคอบ 4 นางสาวราตรี รอบคอบ ว่าทรี่ อ้ ยตรีหญิงอมรรตั น์ อรุณเรอื ง ป.3 คณติ ศาสตร์ นางสาววจิ ิตรา นนุ่ ขาว 5 นางสาวอมั ราวดี ทองทา่ ชี นายณัฐวุฒิ อนิ นุ่ม 6 นางสาววาสนา เกาะแก้ว ป.4 คณิตศาสตร์ นายวชิ าญ สวนศรี นายเกรียงสทิ ธ์ิ รศั มงี าม 7 นายณฐั วุฒิ อนิ นุ่ม ป.5 ภาษาไทย 8 นางโสภนา ไวเรียบ ป.6 วิทยาศาสตร์ นางสาวอัมราวดี ทองทา่ ชี 9 นางสาวรชั ดา กริ่งกระจา่ ง นางสาวจนิ ตนา แกว้ ตาแสง ป.5 สุขศึกษาและพลศึกษา นางสาวรุ่งทิวา จันสายออ 10 นางสาวกนกวรรณ ไทยประเสรฐิ ป.4 ภาษาองั กฤษ นางสาวอุไรวรรณ สงั ขลิ ติ อ.2-3 กจิ กรรมเสริม ประสบการณ์ อ.1 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ 2. การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาและเปา้ หมายผูเ้ รยี น หลงั จากจัดกลุ่ม Model Teacher เสร็จส้ิน จงึ ทำการประชมุ เพ่ือค้นหาสมรรถนะที่ต้องการพฒั นาผเู้ รยี นโดยการสอบถามปัญหาของผเู้ รียนจาก กลุม่ Model Teacher โดยใชแ้ บบสอบถามเครอ่ื งมือชดุ ท่ี 1 ขอ้ มลู ดังนี้

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่ือพัฒนาสมรรถการคดิ ข้ันสูงของผเู้ รียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 20

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถการคดิ ข้นั สูงข แบบสอบถามเค ประเดน็ ปญั หา 1. จดุ ม่งุ หมาย เป้าหมาย 2. ปญั หาดา้ นสมรรถนะผู้เรีย จุดเนน้ ในการพัฒนาผ้เู รยี นของ ตอนนี้คือปัญหาอะไรบา้ ง สถานศกึ ษา ครูวชิ าญ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ครูวาสนา ส ุ ข ภ า พ ด ี ม ี ค ุ ณ ธ ร ร ม แกป้ ัญหา จริยธรรม คิดเป็น ทำเป็น แ ก ้ ป ั ญ ห า ไ ด้ ใ ส ่ ใ จ สิ่งแวดล้อม พร้อมสืบสาน ความเป็นไทย ก้าวไกลสู่ มาตรฐานสากล ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก ส ุ ข ภ า พ ด ี ม ี ค ุ ณ ธ ร ร ม แก้ปญั หา จริยธรรม คิดเป็นทำเป็น แ ก ้ ปั ญ ห า ไ ด ้ ใ ส ่ ใ จ สิ่งแวดล้อมสืบสานความ เ ป ็ น ไ ท ย ก ้ า ว ไ ก ล สู่ มาตรฐานสากล

ของผเู้ รียน โรงเรยี นนาป่ามโนรถ 21 ครอื่ งมอื ชุดท่ี 1 ยน 3.แนวทางไดด้ ำเนนิ การแกป้ ญั หาท่ี 4. จากปญั หาของผู้เรียน 5. จากปญั หาของผู้เรียน ขอ้ 2 พบจากข้อ 2 ผลเปน็ อย่างไร มี ขอ้ 2. ทพี่ บท่านคดิ ว่าครใู น ทพี่ บทา่ นคดิ วา่ ผบู้ ริหาร ปัญหาและอปุ สรรคอะไรบ้าง โรงเรียนควรไดร้ บั การ สถานศกึ ษา และบุคลากร พฒั นาสมรรถนะในดา้ นใด ทางการศึกษาในโรงเรยี นควร ท่จี ะส่งผลต่อการแก้ไข ไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะใน ปญั หาสมรรถนะผเู้ รียน ด้านใดทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การแก้ไข ปัญหาสมรรถนะผูเ้ รยี น า ร จดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม. พ ั ฒ น า ส ร ร ถ น ะ ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ กระบวนการจัดการ STEM เรียนรู้แบบ STEM า ร จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม พ ั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ใช้กระบวนจัดการเรียนรู้ ดอกไม้ พด่ี ูแลนอ้ ง(Buddy) ผา่ น กระบวนจัดการเรียนรู้ แบบ STEM กิจกรรมชุมนมุ แบบ STEM

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พฒั นาสมรรถการคดิ ขัน้ สูงข ประเดน็ ปญั หา 1. จุดม่งุ หมาย เปา้ หมาย 2. ปัญหาดา้ นสมรรถนะผู้เรยี จุดเนน้ ในการพฒั นาผเู้ รยี นของ ตอนนีค้ ือปัญหาอะไรบ้าง สถานศกึ ษา ครูณัฐวฒุ ิ ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนา - ความสามารถในการคดิ ครอู มั ราวดี ความสามารถด้านการอ่าน - ความสามารถในก คล่อง เขียนคล่อง คิดเลข แกป้ ญั หา เปน็ มีการคดิ แกป้ ัญหา และ - ความสามารถในการ ทักษะการสื่อสารอย่าง เทคโนโลยี ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ร ว ม ถ ึ ง มี ความสามารถเทคโนโลยีใน ก า ร ค ้ น ห า ข ้ อ ม ู ล ใ ห้ สอดคล้องกับสมรรถนะ ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนา - ความสามารถด้านการค ความสามารถตามสมรรถนะ อย่างเป็นระบบ วิเคราะ สำคัญของผู้เรียน เพื่อเป็น สงั เคราะหแ์ ละแก้ปญั หา ผู้เรียนที่มีคุณภาพในสังคม - ความสามารถในการ ศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยี

ของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 22 ยน 3.แนวทางไดด้ ำเนินการแกป้ ญั หาที่ 4. จากปญั หาของผู้เรยี น 5. จากปญั หาของผ้เู รยี น ข้อ 2 พบจากข้อ 2 ผลเปน็ อย่างไร มี ขอ้ 2. ทพ่ี บทา่ นคดิ วา่ ครูใน ที่พบทา่ นคิดว่าผบู้ ริหาร ปัญหาและอปุ สรรคอะไรบา้ ง โรงเรยี นควรได้รบั การ สถานศึกษา และบุคลากร พฒั นาสมรรถนะในดา้ นใด ทางการศกึ ษาในโรงเรยี นควร ท่จี ะส่งผลตอ่ การแก้ไข ไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะใน ปัญหาสมรรถนะผู้เรียน ด้านใดทจี่ ะสง่ ผลตอ่ การแกไ้ ข ปญั หาสมรรถนะผู้เรียน แนวทาง พัฒนาทักษะการสอนให้ การพัฒนาตนเอง ให้มี าร จัดการเรียนรู้แบบกลุ่มในชั่วโมง ม ี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ความรู้ความสามารถในการ กิจกรรมชุมนุม ฝึกให้ผู้เรียนคิด แปลกใหม่ให้เอื้อต่อการ คิดกิจกรรมการเรียนการ ใช้ แก้ปัญหารวมถึงเรียนรู้และหา เรียนรู้ของผู้เรียน เน้น สอนให้มีความหลากหลาย ข้อมูลท่ีผู้เรียนสนใจจากสื่อ กิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วน เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมีความสนใจใน โซเชียลมีเดีย เว็ป Search รว่ มมากทีส่ ุด การเรยี นรมู้ ากข้นึ Engine ต่างๆตามความสนใจ ปญั หาอุปสรรค อุปสรรคด้านเครื่องมือในด้าน เทคโนโลยีที่ไม่ทั่วถึงสำหรับ ผู้เรียนทุกคน รวมถึงความไม่ พร้อมของผู้เรียนอายุน้อย คิด จัดการเรียนรู้ในชั่วโมงกิจกรรม พัฒนาทักษะในการใช้ พั ฒนา ทั กษะในการใช้ ะห์ ชมุ นมุ ฝึกให้ผเู้ รียนเรียนรู้เรื่องท่ี เทคโนโลยีในการจัดการ เทคโนโลยีในการจัดการ ผู้เรียนสนใจ หาข้อมูลจาก เรียนการสอน เรยี นการสอน ใช้ เทคโนโลยีรอบตัว สื่อโซเชียล มีเดียต่างๆ ทำงานด้วย กระบวนการกลุ่ม ฝึกให้ผู้เรียน

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่ือพัฒนาสมรรถการคิดขั้นสูงข ประเดน็ ปญั หา 1. จุดม่งุ หมาย เป้าหมาย 2. ปัญหาดา้ นสมรรถนะผูเ้ รีย จดุ เนน้ ในการพัฒนาผู้เรยี นของ ตอนนี้คอื ปญั หาอะไรบ้าง สถานศกึ ษา ครโู สภนา มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็น - สมรรถนะหลักด้านก ครูจนิ ตนา มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ เป็นคนดี มี สือ่ สาร ครูราตรี ปัญญา มีความสุข และมี - สมรรถนะหลักด้านการค ครอู มรรัตน์ ความเป็นไทย มีศักยภาพใน ข ั ้ น ส ู ง แ ล ะ ก า ร พ ั ฒ น ครวู จิ ิตรา การศึกษาต่อ และประกอบ นวัตกรรม อาชพี

ของผ้เู รียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 23 ยน 3.แนวทางไดด้ ำเนินการแกป้ ญั หาที่ 4. จากปญั หาของผู้เรยี น 5. จากปญั หาของผู้เรยี น ขอ้ 2 พบจากข้อ 2 ผลเป็นอย่างไร มี ขอ้ 2. ทพ่ี บท่านคดิ ว่าครใู น ที่พบท่านคดิ ว่าผบู้ ริหาร ปัญหาและอุปสรรคอะไรบา้ ง โรงเรียนควรไดร้ ับการ สถานศกึ ษา และบคุ ลากร พฒั นาสมรรถนะในดา้ นใด ทางการศึกษาในโรงเรยี นควร ทีจ่ ะสง่ ผลตอ่ การแก้ไข ไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะใน ปญั หาสมรรถนะผูเ้ รยี น ดา้ นใดทีจ่ ะสง่ ผลต่อการแกไ้ ข ปัญหาสมรรถนะผเู้ รยี น วางแผนการทำงาน และคิด แก้ปัญหาจากข้อผิดพลาดท่ี เกิดขึ้น การ สมรรถนะหลักดา้ นการส่ือสาร ควรได้รับการพัฒนา ค ว ร ไ ด ้ ร ั บ ก า ร พ ั ฒ น า ดำเนนิ การแกป้ ญั หา สมรรถนะในด้านการ สมรรถนะในด้านการสื่อสาร คดิ - จัดทำบัญชีคำศัพท์พื้นฐาน สือ่ สาร และด้านการคิด และด้านการคิดขั้นสูงและ น า ภาษาอังกฤษ มอบให้ผูเ้ รียนชนั้ ขั้นสูงและการพัฒนา การพฒั นานวัตกรรม ป.๑ – ป.๖ เป็นรายบคุ คล นวัตกรรม - จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านการ ส่อื สารภาษาองั กฤษ เพื่อพัฒนา ทักษะ ฟัง พูด อ่านและเขียน ให้กับผู้เรียนทั้งทางตรงจากใน หอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น ผลเปน็ อย่างไร - พบว่า มีผู้เรียนที่สามารถพูด สื่อสารประโยค หรือข้อความ พ้นื ฐานได้เหมาะสม กับระดบั ชน้ั

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่ือพฒั นาสมรรถการคิดขัน้ สูงข ประเดน็ ปญั หา 1. จดุ ม่งุ หมาย เปา้ หมาย 2. ปญั หาดา้ นสมรรถนะผ้เู รีย จดุ เน้นในการพฒั นาผูเ้ รยี นของ ตอนนี้คอื ปัญหาอะไรบา้ ง สถานศึกษา

ของผู้เรียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 24 ยน 3.แนวทางไดด้ ำเนินการแกป้ ญั หาที่ 4. จากปญั หาของผ้เู รียน 5. จากปญั หาของผ้เู รียน ขอ้ 2 พบจากขอ้ 2 ผลเปน็ อยา่ งไร มี ขอ้ 2. ที่พบทา่ นคดิ วา่ ครใู น ทีพ่ บท่านคิดว่าผบู้ ริหาร ปญั หาและอุปสรรคอะไรบา้ ง โรงเรยี นควรได้รบั การ สถานศกึ ษา และบุคลากร พัฒนาสมรรถนะในดา้ นใด ทางการศกึ ษาในโรงเรยี นควร ทจี่ ะสง่ ผลต่อการแกไ้ ข ไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะใน ปญั หาสมรรถนะผเู้ รียน ดา้ นใดทจี่ ะสง่ ผลต่อการแก้ไข ปญั หาสมรรถนะผ้เู รยี น - ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษในการฟัง พูด อ่าน เขียนและนำไปใช้ชีวิตประจำวนั ได้ ปญั หา - ยังมีผู้เรียนบางส่วนขาดความ กล้าแสดงออก ไม่มั่นใจในการ พูด สมรรถนะหลักด้านการคิดขั้น สูงและการพัฒนานวัตกรรม ดำเนนิ การแกป้ ัญหา - จัดทำแบบฝึกทักษะการคิด คำนวณ และนำแบบฝึกไปใช้กับ ผู้เรียนชั้น ป.1-6 ในชั่วโมง คณิตศาสตร์ประมาณ 5 นาที ก่อนจัดการเรียนการสอน ตามปกติ

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่ือพฒั นาสมรรถการคิดขัน้ สูงข ประเดน็ ปญั หา 1. จดุ ม่งุ หมาย เปา้ หมาย 2. ปญั หาดา้ นสมรรถนะผ้เู รีย จดุ เน้นในการพฒั นาผูเ้ รยี นของ ตอนนี้คอื ปัญหาอะไรบา้ ง สถานศึกษา

ของผู้เรยี น โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 25 ยน 3.แนวทางไดด้ ำเนนิ การแกป้ ญั หาท่ี 4. จากปญั หาของผู้เรยี น 5. จากปญั หาของผเู้ รยี น ขอ้ 2 พบจากข้อ 2 ผลเปน็ อยา่ งไร มี ขอ้ 2. ทพ่ี บทา่ นคิดว่าครใู น ทพี่ บท่านคิดวา่ ผบู้ รหิ าร ปญั หาและอุปสรรคอะไรบ้าง โรงเรียนควรได้รบั การ สถานศึกษา และบคุ ลากร พัฒนาสมรรถนะในดา้ นใด ทางการศึกษาในโรงเรยี นควร ที่จะสง่ ผลตอ่ การแก้ไข ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะใน ปัญหาสมรรถนะผเู้ รยี น ด้านใดทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การแกไ้ ข ปญั หาสมรรถนะผูเ้ รียน ผลเป็นอย่างไร - พบว่าผู้เรียนสามารถมีทักษะ การคิดคำนวณไดด้ ีขี้น ปญั หา - มีผู้เรียนบางส่วนยังขาดทักษะ การบวก การลบ การคูณ การหาร

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพฒั นาสมรรถการคิดขน้ั สูงของผเู้ รียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 26 หลังจากได้ข้อมูลจากแบบสอบถามเครื่องมือชุดที่ 1 จึงประชุมร่วมกันและทำการสังเคราะห์ข้อมูล ท่ไี ด้เพ่ือกำหนดเป้าหมายท่ีต้องการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นและได้ข้อสรุปเป็น การพัฒนาสมรรถนะด้านการ คิดข้ันสงู 3. รว่ มกนั ออกแบบการสอนเพือ่ พัฒนาผเู้ รียนและวิพากษ์แผน หลังจากกำหนดเปา้ หมายท่ี ต้องการพัฒนาร่วมกันแล้ว กำหนดให้ Model Teacher ดำเนินการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตาม รายวชิ าทก่ี ำหนด ซึ่งในแตล่ ะแผนการสอนจะใช้รปู แบบ QUICK Model ไปใชใ้ นขัน้ ตอนของการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาสมรรถนะดา้ นการคิดข้นั สูงตามเป้าหมายทีก่ ำหนด หลังจาก Model Teacher ดำเนินการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เสร็จสิ้น กำหนดให้มีการ ประชุมเพื่อวิพากษ์แผนร่วมกันทั้งสถานศึกษาเพื่อนำประเด็นที่วิพากษ์ไปปรับปรุงแก้ไขก่อนดำเนินการใน ข้ันตอนเปดิ ชั้นเรียนต่อไป 4. การเปดิ ช้นั เรียน/สังเกตชัน้ เรียนสะทอ้ นผล ดำเนนิ การเปดิ ชั้นเรยี นทัง้ สถานศกึ ษาโดยกำหนด เป็นการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วางไว้ สงั เกตและสะท้อนผลของพฒั นาการของผูเ้ รยี นหลังผ่านข้ันตอนการใช้ นวตั กรรม 5. สรปุ ถอดบทเรยี นนวตั กรรมการแก้ปัญหา ดำเนนิ การทบทวนและสรปุ ประสบการณจ์ ากการ จัดการเรียนการสอนของ Model Teacher เพื่อให้เห็นถึงรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ว่าสำเร็จหรือ ล้มเหลวอยา่ งไร ตารางแสดงแผนการนำนวตั กรรมทปี่ ระยุกตไ์ ปใช้ในสถานศึกษาทั้งสถานศึกษา กจิ กรรม วนั เดือน ปี วงรอบท่ี 3 วงรอบท่ี 1 วงรอบท่ี 2 (ม.ี ค.) การประชุมช้แี จงสมาชิกและการจัดทมี PLC (ต.ค.- ม.ค.) (ก.พ.) การกำหนดเปา้ หมายการพัฒนาและเป้าหมายผ้เู รียน  เรยี น(PLAN)   รว่ มกนั ออกแบบการสอน (แผนการจดั การเรียนร)ู้ เพื่อ  พฒั นาผู้เรยี น (PLAN) และวิพากษ์แผน  การเปดิ ชนั้ เรียน/การสงั เกตชั้นเรยี นสะท้อนผล สรุปถอดบทเรยี นนวัตกรรมการแกป้ ัญหา   

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พฒั นาสมรรถการคดิ ข้นั สงู ของผ้เู รียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 27 6.6 กระบวนการกำกบั ติดตามและประเมินผลของสถานศกึ ษา เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมลู การสรปุ ผลและข้อเสนอแนะจากการจัดการ เรียนรเู้ พ่ือพฒั นาสมรรถนะการคิดขัน้ สูง โดยการใช้ Quick Model มแี นวทาง ดงั นี้ 1. แผนการดำเนนิ งานการกำกบั ตดิ ตามและประเมินผล รายการ ระยะเวลา แต่งต้ังผู้รับผดิ ชอบการกำกับติดตามและประเมนิ ผล 1 ตลุ าคม – 30 พฤศจิกายน 2564 จัดทำปฏิทินกำหนดภารกจิ กำกับติดตามประเมินผลและรายงาน 1 ตลุ าคม – 30 พฤศจิกายน 2564 จัดเตรียมเคร่ืองมือในการตรวจสอบ กำกบั ติดตามและ 1 ตลุ าคม – 30 พฤศจิกายน 2564 ประเมนิ ผล แจง้ ทกุ ฝ่าย งาน กลุ่มสาระตามแผนปฏิบัติการตามระยะเวลา 1 ตลุ าคม – 30 พฤศจิกายน 2564 ทก่ี ำหนด ดำเนนิ การติดตามและประเมินผลตามปฏทิ นิ ที่กำหนด 3 วงรอบ 1 มกราคม 2565 – วงรอบที่ 1 ระหวา่ งวันที่ 1-31 มกราคม 2565 15 มนี าคม 2565 วงรอบท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 1-28 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 วงรอบที่ 3 ระหว่างวันที่ 1-15 มีนาคม 2565 สรุปและรายงานผล 15-31 มีนาคม 2565 2. กระบวนการกำกับตดิ ตามและประเมนิ ผล 2.1 มอบหมายผู้รบั ผดิ ชอบการกำกับติดตามผลการจัดการการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคิด ขนั้ สงู ของผเู้ รยี น ด้วย QUICK Model และประเมนิ ผลโครงการตามแผน ดังน้ี ลำดบั ชือ่ -นามสกุล Model teacher ระดับชน้ั วิชา ผกู้ ำกบั ตดิ ตามงาน 1 นางสาวจินตนา แก้วตาแสง ป.1 ภาษาองั กฤษ - ผู้อำนวยการโรงเรียน 2 นายวชิ าญ สวนศรี ป.2 สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม - หัวหน้าฝา่ ยวิชาการ 3 วา่ ทรี่ อ้ ยตรหี ญิงอมรรัตน์ อรุณเรอื ง ป.3 คณติ ศาสตร์ 4 นางสาวราตรี รอบคอบ ป.4 คณิตศาสตร์ 5 นางสาวอมั ราวดี ทองท่าชี ป.5 ภาษาไทย 6 นางสาววาสนา เกาะแก้ว ป.6 วทิ ยาศาสตร์ 7 นายณัฐวุฒิ อินนมุ่ ป.5 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 8 นางโสภนา ไวเรยี บ ป.4 ภาษาอังกฤษ

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พัฒนาสมรรถการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 28 2.2 จัดทำปฏิทินกำหนดภารกิจกำกบั ติดตามประเมนิ ผลและรายงาน สัปดาห์ ปฏทิ ินกำกบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ ท่ี เพือ่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงดว้ ย QUICK Model มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม 1 หอ้ งเรียนคณติ ศาสตร์ ป.3 ห้องเรียนสุขศึกษา ป.5 MT วา่ ท่รี ้อยตรีหญิงอมรรตั น์ MT นายณัฐวฒุ ิ อนิ นุ่ม อรุณเรือง 2 ห้องเรยี นคณิตศาสตร์ ป.4 ห้องเรียนภาษาองั กฤษ ป.4 MT นางสาวราตรี รอบคอบ MT นางโสภนา ไวเรยี บ 3 หอ้ งเรยี นภาษาอังกฤษ ป.1 หอ้ งเรยี นภาษาไทย ป.5 MT นางสาวจินตนา แกว้ ตาแสง MT นางสาวอมั ราวดี ทองท่าชี 4 หอ้ งเรียนสังคมศึกษา ป.2 ห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.6 MT นายวิชาญ สวนศรี MT นางสาววาสนา เกาะแกว้ 5 2.3 จดั เตรียมเครอ่ื งมอื ในการตรวจสอบ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผล 2.4 ดำเนินการแจ้ง Model Teacher, Buddy Teacher เพื่อให้เตรียมพร้อมสำหรับเข้ารับการ นเิ ทศจากผู้รับผดิ ชอบท่ีไดร้ บั มอบหมายตามกำหนด 2.5 ผู้รับผิดชอบดำเนินการติดตามและประเมินผลตามปฏิทินที่กำหนด โดยการลงพื้นที่ สัมภาษณ์ หรอื นิเทศนร์ ปู แบบออนไลนต์ ามความเหมาะสม 2.6 สรุปและรายงานผล ดำเนินการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลจดั ทำเปน็ สารสนเทศ รายงานกำกับ ติดตาม และประเมินผล

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพื่อพฒั นาสมรรถการคดิ ขั้นสงู ของผู้เรยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 29 3. บทบาทของผกู้ ำกับติดตามและประเมนิ ผล การดำเนนิ งานกำกบั ติดตาม และประเมินผล ในการพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สูงของผู้เรียน ด้วย QUICK Model ทั้งสถานศึกษา เกี่ยวข้องกับทุกฝ่ายในสถานศึกษา ดังนั้น จึงควรเข้าใจบทบาทของผู้มีส่วน เกี่ยวขอ้ ง ดังนี้ 3.1 ผอู้ ำนวยการโรงเรียน มบี ทบาทหน้าที่ ดงั นี้ 1) ส่งเสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจในเรือ่ งความรู้เก่ียวกับหลักสตู รฐานสมรรถนะในทุกมติ ิ รวม ถึงนวัตกรรม QUICK Model 2) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ คณะทำงาน และมอบหมายหนา้ ที่รับผดิ ชอบในการดำเนนิ งาน ตามแผนที่วางไว้ รวมทั้งกำหนดบทบาทหน้าที่และแนวความร่วมมือของ Model Teacher , Buddy Teacher และผูเ้ รียน 3) รว่ มประชุมปฏบิ ตั กิ ารและระดมพลงั สมองในการคน้ หาปญั หา กำหนดปญั หา ออกแบบ นวัตกรรม และแนวทางการจดั การเรยี นรู้ 4) สนับสนุน อำนวยความสะดวก รวมทั้งการแก้ไข ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการจัดการ เรียนรู้ 5) ตรวจสอบ กำกับ ติดตาม กระบวนการจัดทำแผน การจัดการเรียนรู้ รวมทั้งจัดให้มีการ ประเมินพัฒนาการและผลสัมฤทธ์ิของการจดั การเรยี นรู้ 3.2 หัวหนา้ ฝ่ายวิชาการ 1) สรุปข้อมลู สารสนเทศเก่ยี วกบั ผลการดำเนนิ งานทัง้ หมด 2) ร่วมประชุมปฏบิ ตั ิการและระดมพลังสมองในการคน้ หาปัญหา กำหนดปัญหา ออกแบบ นวัตกรรม และแนวทางการจดั การเรียนรู้ 3) ดำเนินกิจกรรมการจดั การเรียนรู้จามแผนทกี่ ำหนดไว้

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอ่ื พฒั นาสมรรถการคดิ ขัน้ สูงของผู้เรยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 30 4. เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการกำกบั ติดตามและประเมนิ ผล แบบนิเทศการสอน ประจำภาคเรยี นที.่ ......ปีการศกึ ษา………………. โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ ช่ือผ้รู ับการนเิ ทศ .................................................................กลมุ่ สาระการเรียนร.ู้ ............................................ รหัสวชิ า ...................................... ชือ่ วชิ า......................................................................................................... ระดบั ชนั้ ..................................... ว/ด/ป ทส่ี อน ................................................เวลา .................................... ชอื่ ผนู้ ิเทศ ........................................................................................................................................................ **************************************************************************** คำชีแ้ จง กรุณาเขยี นเครื่องหมาย  ในชอ่ งระดับคะแนน เพ่อื แสดงผลการประเมินพฤตกิ รรมการสอนของ ครู เกณฑ์ระดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไมผ่ ่าน หวั ข้อการประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ 54321 1. สภาพทั่วไป 1.1 การเข้า classroom ตรงต่อเวลา 1.2 การควบคมุ ความเป็นระเบยี บในช้ันเรยี น 1.3 การใชเ้ วลาในการสอนเหมาะสมกบั การเรยี น ออนไลน์ 2. บุคลิกภาพ 2.1 การแต่งกายเหมาะสม 2.2 การใช้นำ้ เสียง มีความชัดเจน 2.3 ความม่ันใจตนเอง 2.4 การใช้ภาษาสื่อสารและสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ 3. การดำเนินการสอน 3.1 เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.2 เน้ือหาเหมาะสมกบั ระยะเวลาในการเรยี น 3.3 มีการต้ังคำถามทีก่ ระตุ้นผูเ้ รยี นใชก้ ระบวนการคิด และร่วมแสดงความคดิ เห็น (Q) 3.4 มีการสรา้ งความเขา้ ใจ เพื่อใหผ้ ้เู รียนมคี วามร้เู ข้าใจ ในประเดน็ ชดั เจน (U)

รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่อื พฒั นาสมรรถการคิดข้ันสงู ของผเู้ รียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 31 หวั ข้อการประเมิน 5 ระดับคะแนน หมายเหตุ 432 1 3.5 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นสืบค้นและรวบรวมข้อมลู ด้วย วิธกี ารท่หี ลากหลาย (I) คดิ เป็น % 3.6 นำแนวคิดเชิงคำนวณมาใช้ในการจัดการเรยี นการ สอน เช่น การออกแบบใบงาน การวางแผน/กำหนด ข้นั ตอนการทำงาน/การแก้ปัญหา/จดั ทำ/ผลิต/ประดิษฐ์ ช้นิ งาน นวัตกรรม ฯลฯ (C) 3.7 มกี ารนำเสนอขอ้ สรปุ ข้อค้นพบ องคค์ วามรู้ และ แลกเปลี่ยนเรียนรใู้ นช้ันเรียน (K) 4. การวดั และประเมนิ ผล 4.1 สอดคล้องและครอบคลมุ จุดประสงค์ 4.2 การประเมินผลตามสภาพจริง (สอบปรนยั ,สอบอัตนัย,การทำแบบฝึกหดั ,สงั เกต พฤติกรรม) รวมคะแนน รวม ส่วนที่จดั การไดด้ ี ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................... ........................................................................................ สว่ นทคี่ วรพัฒนา ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................................................................................. .......... ......................................................................................................................... ...................................................

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอื่ พัฒนาสมรรถการคดิ ข้ันสงู ของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 32 สรปุ ผลการนเิ ทศ ตามเกณฑ์  ลงช่ือ......................................................ผู้รับการนเิ ทศ 91 % - 100 % = ดมี าก  (...........................................................) 81 % - 90 % = ดี  71 % - 80 % = พอใช้  ตำแหน่ง .................................................. 61 % - 70 % = ควรปรบั ปรุง  ตำ่ กวา่ 60 % = ไม่ผา่ น ลงชอื่ ......................................................ผูน้ เิ ทศ (...........................................................) ตำแหนง่ .................................................. เกณฑก์ ารประเมนิ ช่วงช้ันที่ 1

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอื่ พัฒนาสมรรถการคดิ ข้นั สงู ข เกณฑ์ประเมินคุณภาพ (Rubric) ในการประเมินสมรรถนะการคดิ ขนั้ ประกอ สมรรถนะท่ี 1 การคิดอ สมรรถนะท่ี 2 การคดิ เช สมรรถนะท่ี 3 การคดิ ส สมรรถนะที่ 4 การคดิ แ

ของผเู้ รยี น โรงเรยี นนาปา่ มโนรถ 33 สำหรบั ครูผสู้ อนประเมินนักเรียน นสงู ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 อบด้วย อยา่ งมีวจิ ารณญาณ ชงิ ระบบ สร้างสรรค์ แกป้ ญั หา

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพือ่ พฒั นาสมรรถการคดิ ข้ันสงู ข ชั้นประถมศึก สมรรถนะการคิดขนั้ สูง/ ระดับ 1 ระด ระดบั การพฒั นา เริ่มตน้ กำลงั พ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 1.จ ำ แ น ก แ ล ะ บ อ ก เ ห ต ุ ผ ล ที่ 1.จำแนกและแส ดำเนนิ การได้ หลักฐาน ประกอ เลือกดำเนินการ สถานการณ์ พร้อ การคดิ เชิงระบบ 1.บอกหรืออธิบายขั้นตอนการ 1.บอกหรืออธิบ แก้ปัญหาโดยมี รูปแบบหรือ แก้ปัญหา ตามจ ขั้นตอนในการ อธิบายที่อาจไม่ รปู แบบหรอื ขนั้ ตอ ชัดเจนแต่มีความ เป็นไปได้ใน ที่ชัดเจน มีความ การ แก้ปัญหา แก้ปญั หา

ของผูเ้ รียน โรงเรียนนาป่ามโนรถ 34 กษาปีที่ 1-3 ดับ 2 ระดับ 3 ระดบั 4 พฒั นา สามารถ เหนอื ความคาดหวัง สดง เหตุผลหรือ 1.จำแนกและแสดงเหตุผล หรือ 1.จ ำ แ นก แ ล ะ แ ส ด งเ ห ต ุ ผ ล ห รื อ อบการตัดสินใจ หลักฐานประกอบการ ตัดสินใจเลอื ก หลักฐานประกอบการ ตัดสินใจเลือก รที่ เหมาะสมกับ ด ำ เ น ิ น ก า ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ดำเนินการที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ อมท้ังแสดงเหตผุ ล สถานการณ์ พรอ้ มท้งั แสดงเหตผุ ล พร้อมทงั้ แสดงเหตผุ ล 2. มกี ารยกตวั อยา่ งและ เปรยี บเทียบ 2. มีการยกตัวอย่างและ เปรียบเทียบ ขอ้ มลู ท่ี สอดคล้องกับสถานการณ์ ขอ้ มูลที่ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ 3. มหี ลกั ฐานประกอบ 3. มหี ลักฐานประกอบ 4. มีการยกตัวอย่างเปรียบเทียบ ข้อมูล ที่สอดคล้องกับ สถานการณ์ มีการ ไตร่ตรอง เสนอทางเลือกพร้อมให้ เหตผุ ล บาย ขั้นตอนการ 1. บอกหรืออธิบาย ขั้นตอนการ 1. บอกหรืออธิบาย ขั้นตอนการ จินตนาการโดยมี แก้ปัญหา ตามจินตนาการโดยมี แก้ปัญหา ตามจินตนาการโดยมี อน ในการอธบิ าย รปู แบบหรอื ขน้ั ตอน ในการอธิบาย ที่ รูปแบบหรือขั้นตอน ในการอธิบาย ท่ี เป็นไปได้ในการ ชัดเจน มีความ เป็นไปได้ในการ ชัดเจน มีความ เป็นไปได้ในการ แกป้ ัญหา แกป้ ัญหา 2. เขียนหรือวาดภาพประกอบ 2. เขียนหรือวาดภาพประกอบขั้นตอน ขน้ั ตอน ของกระบวนการทำงาน ได้ ของกระบวนการทำงาน ได้ 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เชิงเหตุและ ผลของปัจจัย ต่าง ๆ สามารถพัฒนา

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พฒั นาสมรรถการคิดขน้ั สงู ข สมรรถนะการคิดขั้นสูง/ ระดับ 1 ระด ระดับการพฒั นา เร่ิมต้น กำลงั พ การคิดสร้างสรรค์ 1. เสนอความคิดได้ อย่าง 1. เสนอความคิด หลากหลาย ในชว่ งเวลาทจี่ ำกดั คำตอบ หลากห 2. ผลิตผลงานอย่างง่าย จาก ชว่ งเวลาทจ่ี ำกดั ต้นแบบ 2. ผลิตชิ้นงานจ ภายใต้ เงื่อนไขง จากตน้ แบบ การคิดแก้ปัญหา 1. ระบุปัญหาอย่างง่าย นิยาม 1. ตั้งคำถามบาง ปญั หา ปัญหาอย่าง ง่าย 2. รวบรวมข้อมูลและ แนวคิดที่ ปญั หา เกีย่ วขอ้ งกับปญั หา 2. รวบรวมข้อม 3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หา เกย่ี วขอ้ งกับปญั ห 4.เสนอแนวทางในการแกป้ ัญหา 3. ออกแบบวธิ ีกา 5. ดำเนินการแกป้ ญั หา 4. เสนอแนวทางใ

ของผู้เรียน โรงเรียนนาปา่ มโนรถ 35 ดบั 2 ระดบั 3 ระดับ 4 พัฒนา สามารถ เหนอื ความคาดหวัง ชิ้นงานหรือวิธีการ โดยใช้ ความคิดที่ แปลกใหม่ที่ไม่ ซ้ำใครหรือพัฒนาต่อ ยอดจากของเดิม ดได้ หลากหลาย 1. เสนอความคิดได้ หลากหลาย 1. เสนอความคิดได้ หลากหลายคำตอบ หลายมุมมองใน คำตอบ หลากหลายมุมมองใน หลากหลายมมุ มองใน ชว่ งเวลาทจ่ี ำกดั ช่วงเวลาที่จำกัด 2. ผลิตชิ้นงานจากจินตนาการภายใต้ จากจินตนาการ 2. ผลติ ชน้ิ งานจากจนิ ตนาการภายใต้ เงื่อนไขงา่ ยๆ ท่ี แตกตา่ งจากต้นแบบ ง่ายๆ ที่ แตกต่าง เงอื่ นไขง่ายๆ ที่ แตกตา่ งจากต้นแบบ 3. ทำผลงาน ชิ้นงาน หรือ นำเสนอ 3. ทำผลงาน ชิ้นงาน หรือ นำเสนอ วิธีการเพื่อ แก้ปัญหาอย่างง่าย ไม่ วิธีการเพื่อ แก้ปัญหาอย่างง่าย ไม่ ซับซ้อน โดยการดัดแปลง จากความคดิ ซับซ้อน โดยการดัดแปลง จาก เดิม อาจมกี าร นำเสนอการแกป้ ญั หาได้ ความคิดเดิม อาจมีการ นำเสนอการ เพยี ง 1 วธิ ีในเวลาที่กำหนด แก้ปัญหาได้ เพียง 1 วิธีในเวลาที่ 4. มกี ารตรวจสอบผลงานเบอ้ื งตน้ กำหนด งคำถาม เพื่อระบุ 1. ตั้งคำถามบางคำถาม เพื่อระบุ 1. ตั้งคำถามบางคำถามเพื่อระบุปัญหา นิยามปัญหาบาง ปัญหาอย่าง ง่าย นิยามปัญหาบาง อยา่ งง่าย นิยามปัญหา บางปญั หา ปญั หา 2. ระบุปัญหาที่พบจาก สถานการณ์ได้ ูลและ แนวคิดที่ 2. รวบรวมข้อมูลและ แนวคิดท่ี 3. รวบรวมข้อมูลและแนว คิดที่ หา เก่ียวขอ้ งกบั ปญั หา เกี่ยวข้องกับปัญหาโดยคำนึงถึงความ ารแก้ปัญหา 3. ระบุปัญหาที่พบจากสถานการณ์ เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ในการแกป้ ญั หา ได้

รูปแบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพ่อื พัฒนาสมรรถการคิดขัน้ สงู ข สมรรถนะการคดิ ขั้นสงู / ระดับ 1 ระด ระดบั การพัฒนา เร่มิ ต้น กำลงั พ 5. ดำเนินการแก้ป ออกแบบ