Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SMTE physics Abstract 2562

SMTE physics Abstract 2562

Published by 542_3D, 2019-08-06 11:24:52

Description: SMTE physics Abstract 2562

Keywords: SMTE physics

Search

Read the Text Version

คาํ นํา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เห็นชอบใหมีการจัดกจิ กรรม “การประชุมวิชาการนักเรียนหองเรียนพเิ ศษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ครั้งท่ี11 เพื่อใหนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ชั้นมัธยมศึกษาปที่6 ประจําปการศึกษา 2562 ไดนําเสนอผลงานโครงงานทางดานวิทยาศาสตรและ คณิตศาสตร พรอมท้ังแลกเปลี่ยนองคความรูกับเพ่ือนๆ นักเรียนตางโรงเรียน จํานวน 32 แหง ไดแก โรงเรียนขอนแกนวิทยายน โ ร ง เ รี ย น กั ล ย า ณ วั ต ร โ ร ง เ รี ย น แ ก น น ค ร วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ชุ ม แ พ ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ก า ฬ สิ น ธุ พิ ท ย า ส ร ร พ โรงเรียนอนุกูลนารี โรงเรียนสารคามพิทยาคม โรงเรียนผดุงนารี โรงเรียนบรบือวิทยาคาร โรงเรียนวาปปทุม โ ร ง เ รี ย น ป ย ะ ม ห า ร า ช า ลั ย โ ร ง เ รี ย น น ค ร พ น ม วิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ร อ ย เ อ็ ด วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ส ก ล ร า ช วิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ธ า ตุ น า ร า ย ณ วิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ชั ย รั ก ษ พิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น เ ต รี ย ม อุ ด ม ศึ ก ษ า ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ร า ชิ นู ทิ ศ โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ จั ก ษ ศิ ล ป า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ห น อ ง บั ว พิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ศ รี บุ ญ เ รื อ ง วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ป ทุ ม เ ท พ วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ชุ ม พ ล โ พ น พิ สั ย โ ร ง เ รี ย น เ ล ย พิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น เ ล ย อ นุ กู ล วิ ท ย า โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯหนองบัวลําภู โรงเรียนศึกษาสงเคราะหธวัชบุรี โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ร อ ย เ อ็ ด แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ส ก ล น ค ร โ ด ย ก า ร แ บ ง รู ป แ บ บ การนําเสนอโครงงานออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมนําเสนอแบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอแบบโปสเตอร (Poster Presentation) ซ่ึงจําแนกสาขาโครงงานท้ังสองกลุม ออกเปนการนําเสนอแบบปากเปลาจํานวน 7 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและส่ิงแวดลอม 7) ประเภทการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษ การนําเสนอแบบโปสเตอรจํานวน 6 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและสิ่งแวดลอม สําหรับเอกสารเลมน้ีเปนการรวบรวมบทคัดยอของโครงงานทั้งหมดในกลุมนําเสนอ แบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอโปสเตอร(Poster Presentation) และรายละเอียดของการจัด กิจกรรมฯ ในคร้ังน้ี คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับบน้ีจะเปนประโยชนตอนักเรียน ครู คณะกรรมการตัดสินและผูเขารวม กิจกรรม และขอขอบพระคุณผเู กี่ยวขอ งทุกทา นที่ไดใหความรวมมือสนบั สนนุ การจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี คณะผูจดั ทาํ 7 สิงหาคม 2562

สารบญั นําเสนอแบบปากเปลา หนา O_PHY 01 โมเดลโนต บุก สองระบบ 1 O_PHY 02 อุปกรณด กั จบั ไขมันโดยใชสารสม 2 O_PHY 03 โครงสรา งและสมบัตกิ ารตอบสนองตอแกส ของโครงสรางนาโนซิงคออกไซด เจอื ดว ย 3 สารแมเ หลก็ สงั เคราะหโดยวิธีการทางความรอ นโดยตรง 4 O_PHY 04 กรวยและระดับความเขมเสียง 5 O_PHY 05 การจดั เรยี งเซลลแ สงอาทิตยร ปู แบบจามจุรี 6 O_PHY 06 การศึกษาปจ จัยท่มี ีผลตอ อัตราการลดลงของการแกวงของลกู ตมุ โมเมนตมั 7 O_PHY 07 การศึกษาการหมุนชา ลงของไจโรสโคป 8 O_PHY 08 ตอู บพลงั งานแสงอาทติ ย 9 O_PHY 09 ระบบตรวจจบั ควนั บหุ ร่ี 10 O_PHY 10 ตรวจจับการส่ันสะเทือน 11 O_PHY 11 การศกึ ษาความสมั พนั ธแ นวโนมความถเี่ สยี งทีม่ ผี ลตอรูปแบบการไหลของสายน้ํา 12 O_PHY 12 แผน กันกระแทกจากวสั ดธุ รรมชาติ 13 O_PHY 13 อปุ กรณควบคุมการเปด – ปด ไฟ ผานทางอนิ เทอรเ นต 14 O_PHY 14 การศึกษาสารเคลือบแผงโซลารเ ซลลท ่ีสงผล O_PHY 15 การพฒั นาประสทิ ธิภาพเตาอบอุณหภมู ิสงู พลังงานแสงอาทิตยจ ากเลนสน ูนและกระจก 15 16 เวา 17 O_PHY 16 การศึกษาประสทิ ธิภาพของแผนปพู ื้นจากยางพาราผสมสารตวั เติมจากเย่อื กระดาษ 18 O_PHY 17 การศึกษาปจจัยในการสรา งโอโซนจากปรากฏการณโคโรนา 19 O_PHY 18 เคร่อื งเขยา เช้ือเห็ดถัง่ เชา 20 O_PHY 19 เครือ่ งปมน้าํ แบบพลงั งานฟรี 21 O_PHY 20 บรรจุภณั ฑกันกระแทกไขจ ากเสน ใยกลวย 22 O_PHY 21 รถตัดหญา อตั โนมัติ โดยการสัง่ งานผานบอรดควบคมุ IPST-SE 23 O_PHY 22 เคร่อื งเตือนภัยภายในรถยนต1 .0 24 O_PHY 23 ราวตากผา 25 O_PHY 24 การศกึ ษาประสทิ ธิภาพการทาํ ความเย็นของเครือ่ งคลู ล่งิ คอมเพรสเซอรแฟน 26 O_PHY 25 ถว ยใบไม-2 O_PHY 26 เคร่อื งดูดแมลงจากพลังงานธรรมชาติ 27 นําเสนอแบบโปสเตอร 28 P_PHY 01 กญุ แจระบบปลดลอ็ กดว ยรหสั รปู แบบ 29 P_PHY 02 การผลิตเสน ใยสบนู าโนจากกระบวนการปน เสนใยดวยไฟฟา สถติ P_PHY 03 เครอ่ื งไถพรวนดนิ หยอดเมล็ดขา วโพดกลบหนาดินลดข้นั ตอนการปลกู

นาํ เสนอแบบโปสเตอร หนา P_PHY 04 วงจรตรวจสอบความสกุ ของผลไม 30 P_PHY 05 เครื่องปอกผลไม 31 P_PHY 06 ตอู บรองเทา 32 P_PHY 07 เครื่องถอนมันสําปะหลัง 33 P_PHY 08 เตาจากเศษวสั ดเุ หลือใช 34 P_PHY 09 เครอ่ื งหยอดนํ้ากรดอตั โนมตั ิ (ไมสงไฟลม า) 35 P_PHY 10 เคร่ืองปอกกระเทียม 36 P_PHY 11 การศึกษาปจจยั ทีม่ ผี ลตอคาความสอ งสวางปรากฏของดาวโดยวธิ กี ารทาํ โฟโตเมตรีดวย 37 ภาพถา ยจากกลอ ง DSLR 38 P_PHY 12 ศกึ ษาปรากฎการณการสน่ั พอ งของสอมเสียงโดยใชกระดาษเปนตัวหนว ง P_PHY 13 การศกึ ษาปรากฏการณก ารกระดกิ ของเหรียญบนปากขวดท่เี ย็นจดั เมือ่ อณุ หภูมภิ ายใน 39 40 ขวดเปลีย่ นไป 41 P_PHY 14 แบบจําลองเครอ่ื งหยอดเมลด็ ขาวโพด 42 P_PHY 15 กลอ งอ่มิ อนุ 43 P_PHY 16 กาลกั นาํ้ 44 P_PHY 17 อปุ กรณฉายภาพจากโทรศพั ทมือถือ 46 P_PHY 18 ประตูบานเลื่อนปดอตั โนมตั ิสุญญากาศ 47 P_PHY 19 เคร่อื งยนตสเตอรล งิ ในการผลติ กระแสไฟฟา 48 P_PHY 20 คาการเก็บประจขุ องขั้วไฟฟาที่ทําจากพืช 49 P_PHY 21 เครอ่ื งมอื อเิ ล็กทรอนกิ สวดั คา ความชืน้ ในดิน 50 P_PHY 22 เครื่องปดหยากไยอ ตั โนมัติ613 51 P_PHY 23 เครอ่ื งปม ออกซเิ จนตปู ลา P_PHY 24 เมาไมใ หขับ 52 P_PHY 25 การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของถานอดั แทงทไี่ ดจากเครื่องอัดแทง ถา น 53 54 ระบบคาน 55 P_PHY 26 เครอ่ื งเขยา สารอยา งงา ย 56 P_PHY 27 การพฒั นาชุดทดลองคลื่นนิ่งบนเสน เชือก P_PHY 28 ไฟฟาสองลาํ P_PHY 29 การพฒั นาอปุ กรณนบั เสน ดายเพอ่ื ประยุกตใชนบั ในการทอ ผา พ้ืนเมือง



หนา 1 การนาเซลล์แสงอาทิตยม์ าประยกุ ต์ใชใ้ นการออกแบบโมเดลโน้ตบกุ๊ สองระบบ ก่ิงแกว้ หลักหนองบัว1 , ณฏั ฐณชิ า ประดบั ศิลป์1 , ภทั รียาภา แสนอนิ ทร์1 วิฑูรย์ พลแสน2 , ชำนำญ เพรดิ พรำว2 1นกั เรียนโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ, E-mail:Nattanicha564@gmail.com 2โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื บทคัดย่อ โครงงำนเรื่อง กำรนำเซลลแ์ สงอำทิตยม์ ำประยุกตใ์ ช้ในกำรออกแบบโมเดลโนต้ บุ๊กสองระบบจดั ทำขนึ้ เนือ่ งจำกใน ปจั จบุ นั โน้ตบุก๊ ไดเ้ ขำ้ มำมบี ทบำทและควำมสำคญั ตอ่ กำรดำเนนิ ชวี ติ ของมนุษย์อย่ำงหลีกเลยี่ งไมไ่ ด้ ในบำงพน้ื ทีถ่ น่ิ ทรุ กันดำร สงิ่ อำนวยควำมสะดวกเขำ้ ถงึ ได้ยำก ไฟฟ้ำไม่มใี ชห้ รือมไี มเ่ พยี งพอตอ่ ควำมตอ้ งกำรของคนในพื้นท่ี ทำให้คนบำงกลุ่มท่มี ีควำม จำเปน็ ต้องใช้ไฟฟ้ำหรือใชง้ ำนอปุ กรณไ์ ฟฟำ้ ต่ำงๆ โดยเฉพำะโน้ตบกุ๊ เม่ือมกี ำรใช้งำนเป็นเวลำนำนทำให้แบตเตอรลี่ ดลงและ อำจไม่เพียงพอตอ่ กำรใช้งำน ยุ่งยำกตอ่ กำรหำแหลง่ จำ่ ยไฟ ส่งผลให้ไมส่ ำมำรถใช้งำนตอ่ ในเวลำน้นั ได้ ดงั นนั้ คณะผ้จู ดั ทำจึง ได้จัดทำโครงงำนน้ขี นึ้ โดยมีจดุ ประสงค์ดงั น้ี 1) เพอ่ื ศึกษำหลกั กำรและกำรทำงำนของโนต้ บกุ๊ สองระบบ 2) เพอื่ ให้ได้ต้นแบบ หลกั กำรและวธิ ีกำรทำงำนของโนต้ บุก๊ สองระบบ โดยมีวิธีกำรศึกษำดงั นี้ เริม่ จำกกำรศึกษำโครงสรำ้ งองค์ประกอบและ กำลังไฟฟ้ำของแบตเตอรี่โนต้ บุ๊ก ศกึ ษำระบบแปลงไฟจำกเซลล์แสงอำทิตย์ และทำกำรทดลองโดยนำเซลล์แสงอำทติ ย์ขนำด กวำ้ ง 22.5 ซม. ยำว 17.5 ซม. และสำมำรถผลติ แรงดันไฟฟำ้ สูงสดุ ได้ 22.4 โวลต์ กระแสไฟฟำ้ สงู สดุ 0.28 แอมแปร์ และ กำลังไฟฟำ้ ได้สูงสดุ 5 วัตต์ นำไปทดลองวัดค่ำควำมเขม้ แสง (Lux) แรงดันไฟฟำ้ (V) และกระแสไฟฟำ้ (A) วัดใน 3 บริเวณ ได้แก่ ในห้อง ใต้อำคำรและท่ีโลง่ แจ้ง โดยทำกำรปรบั มมุ ของแผงเซลลแ์ สงอำทติ ยใ์ หท้ ำมุมตัง้ แต่ 0˚- 180˚ ซงึ่ จะปรับเพ่มิ ขน้ึ ทลี ะ15˚กบั ทศิ E,W,NและS โดยทำกำรวัดทกุ ชัว่ โมงต้ังแตเ่ วลำ 08.00น.-16.00น. ผลกำรทดลองพบวำ่ บริเวณท่ีให้ แรงดนั ไฟฟ้ำสูงสดุ คอื บริเวณทโ่ี ลง่ แจง้ ใหแ้ รงดนั ไฟฟำ้ เฉล่ียเทำ่ กบั 20.89 โวลต์ รองลงมำคือบรเิ วณใตอ้ ำคำร และในห้อง ซ่ึง ใหค้ ำ่ แรงดนั ไฟฟำ้ เฉลี่ยเท่ำกบั 17.85 โวลต์ 15.43 โวลต์ ตำมลำดบั ทิศท่ใี หค้ ่ำแรงดันไฟฟำ้ สงู สุดคอื ทิศเหนือ ให้ค่ำ แรงดันไฟฟำ้ เฉลยี่ 20.62 โวลต์ รองลงมำคือทิศตะวนั ตก ทศิ ใตแ้ ละทศิ ตะวนั ออก โดยให้ค่ำแรงดันไฟฟ้ำเฉลย่ี เทำ่ กับ 20.54 โวลต์ 20.52 โวลต์ และ 20.52 โวลต์ ตำมลำดับ มมุ ท่ีใหค้ ่ำแรงดันไฟฟ้ำสงู สุดคือ 0 องศำ ใหค้ ่ำแรงดนั ไฟฟำ้ เฉลี่ยเทำ่ กับ 21.03 โวลต์ รองลงมำคือมมุ 15 องศำ และ 30 องศำ โดยใหค้ ่ำแรงดันไฟฟำ้ เฉลย่ี เท่ำกบั 19.63 โวลต์ และ 19.57 โวลต์ ตำมลำดับ เวลำท่ใี ห้แรงดันไฟฟ้ำสูงสุดคือ 13.00 น. ใหค้ ำ่ แรงดันไฟฟ้ำเฉลี่ยเท่ำกับ 21.20 โวลต์ รองลงมำคือเวลำ 14.00 น. และ 12.00 น. โดยให้คำ่ แรงดนั ไฟฟ้ำเฉลี่ยเทำ่ กบั 21.08 โวลต์ และ 21.02 โวลต์ ตำมลำดบั คำ่ แรงดนั ไฟฟำ้ เฉลยี่ ตลอดทัง้ วันเท่ำกับ 20.56 โวลต์ ค่ำกระแสไฟฟำ้ เฉลี่ย 0.20 แอมแปร์ ซึ่งเมอ่ื นำไปทดสอบใช้กบั โนต้ บุ๊กพบว่ำกระแสไฟฟำ้ ทไี่ ดจ้ ำก เซลลแ์ สงอำทติ ยไ์ ม่เพยี งพอตอ่ กำรชำร์จโนต้ บุ๊กเนอ่ื งจำกกำลงั ไฟฟ้ำไม่เพียงพอ สรุปผลกำรทดลองเซลล์แสงอำทิตยใ์ ห้พลงั งำนไฟฟ้ำไดส้ งู สดุ เม่ืออยใู่ นทโ่ี ล่งแจง้ ทำมุม 0 องศำกบั พืน้ ณ เวลำ 13.00 น. เซลลแ์ สงอำทิตย์ท่ีนำมำใชย้ งั ไมส่ ำมำรถนำไปชำร์จโนต้ บกุ๊ ไดแ้ ตส่ ำมำรถประยกุ ตใ์ ช้ไดเ้ มือ่ มีจำนวนแผงเซลล์ แสงอำทติ ย์มำกพอ คาสาคญั :โนต้ บ๊กุ สองระบบ,ประสทิ ธิภำพในกำรชำร์จแบตเตอรโ่ี นต้ บกุ๊

หนา 2 อปุ กรณ์ดักจับไขมันโดยใช้สารส้ม นางสาวกริ ยิ า เพ็งวงษา1 , นางสาวนติ ยา นามตะ1 นายกิตติศักดิ์ สุมนนอก2 และ นายภทั รวฒุ ิ ฉววี งค์2 1 นกั เรียนโรงเรียนศรีบญุ เรืองวทิ ยาคาร , E-mail aomnittaya09@gmail.com 2โรงเรียนศรีบุญเรอื งวิทยาคาร บทคัดยอ่ โครงงานเร่อื ง อปุ กรณด์ กั จบั ไขมันโดยใชส้ ารส้ม มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ แยกไขมันจากน้าเสียวางแผนการทดลองโดย การน้าถ่านปริมาน 1 กิโลกรัม ทราย 3 กิโลกรัม และ กรวด 5 กิโลกรัม เป็น ส่วนผสมในการทดลองล้าดับตอ่ มา เกบ็ ตวั อย่างนา้ จากเศษอาหารที่ไมผ่ า่ นสารซักล้าง จ้านวน 250 ml น้าน้าจากเศษอาหาร ที่ไมผ่ ่านสารซกั ล้างมาเทลงอปุ กรณด์ ักจบั ไขมันผ่านตะแกรงพลาสติก น้าน้าจากเศษอาหารท่ีไม่ผ่านอุปกรณ์ดักจับไขมันและ น้าท่ีผ่านตัวดกั จบั ไขมันมาวัดคา่ ความใส และค่า ph น้าน้าจากเศษอาหารที่ไม่ผ่านอุปกรณ์ดักจับไขมันและน้าที่ผ่านอุปกรณ์ ดักจับไขมัน จ้านวนอย่างละ 250 ml มาผสมกับสารสกัดเอกเซนในปริมาน 10 ml โดยใส่กรวยกรองแล้วเขย่าให้เข้ากัน จากนน้ั รอให้สารสกัดทา้ ปฏิกริ ยิ าแยกน้ามนั กบั นา้ ออกจากนั ปล่อยส่วนท่เี ป็นน้าออกแล้วเก็บส่วนท่ีเป็นน้ามันน้ามาวัดปริมาณ แลว้ บันทกึ ปริมาณ นา้ ผลลัพธม์ าหาคา่ เฉล่ยี และคิดเปน็ รอ้ ยละเพื่อประเมนิ คณุ ภาพเครอื่ งดกั จับไขมนั ด้าเนินการดังกล่าว โดย เปลีย่ นเป็นน้าจากเศษอาหารปกติที่ไม่ผ่านสารซักล้างไม่ผ่านอุปกรณ์ดักจับไขมันท่ีมีสารส้มมาเพิ่ม มาเป็นน้าจากเศษอาหาร ปกตทิ ผี่ ่านสารซักล้างผ่านอุปกรณ์ดักจับไขมันท่ีไม่มีสารส้มมาเพิ่ม โดยใช้น้าจากเศษอาหารปกติที่ไม่ผ่านสารซักล้างมาผ่าน อุปกรณ์ดักจบั ไขมันที่มสี ารสม้ มาเพิ่ม ด้าเนนิ การ โดยใช้นา้ จากเศษอาหารปกติทผ่ี ่านสารซักลา้ งมาผ่านอุปกรณ์ดักจับไขมันท่ีมี สารส้มมาเพม่ิ คณะผู้จัดทา้ จงึ แบ่งการทดลองเป็น 4 ตัวแปร พบว่า น้าท้ิงท่ีผ่านสารซักล้างไม่ผ่านสารส้มมีปริมานไขมันและ เฮกเซนกอ่ นดัก 8.6 ml เมื่อผ่านถังดักไขมนั สามารถดักได้ 4.8 ml คิดเปน็ ร้อยละ 55.82% มีความใสก่อนดัก 1.8 cm หลังดัก 16.4 cm คา่ ph เฉลยี่ เท่ากบั 6% น้าท่ีผา่ นสารซกั ลา้ งผ่านสารส้มมีปริมานไขมันและเฮกเซนก่อนดัก 8.6 ml เม่ือผ่านถังดัก ไขมันสามารถดักได้ 5.6 ml คิดเป็นร้อยละ 65.12 % มีความใสก่อนดัก 1.8 cm หลังดัก 14.3 cm ค่า ph เฉลี่ยเท่ากับ 5% นา้ ท่ีไมผ่ ่านสารซกั ล้างไมผ่ ่านสารส้มมีปรมิ านไขมันและเฮกเซนก่อนดัก 9.5 ml เม่ือผ่านถังดักไขมันสามารถดักได้ 3.2 ml คิด เป็นร้อยละ 33.68% มีความใสก่อนดัก 0.8 cm หลังดัก 16.4 cm ค่า ph เฉล่ียเท่ากับ 6% น้าที่ไม่ผ่านสารซักล้างผ่าน สารส้มมีปรมิ านไขมันและเฮกเซนก่อนดัก 8.6 ml เมื่อผ่านถังดักไขมันสามารถดักได้ 2.1 ml คิดเป็นร้อยละ 24.03% มีความ ใสกอ่ นดัก 0.8 cm หลงั ดกั 6.5 cm ค่า ph เฉลย่ี เทา่ กับ 5% สรุปผลได้วา่ สารส้มสามรถน้ามาใช้ในการดักไขมันได้ดีกว่าการ ดักไขมนั ปกติ เนือ่ งจากสารส้มทา้ ให้ไขมนั จับตวั กันไดด้ ขี ้ึนจงึ สง่ ผลใหเ้ กดิ การแยกไขมนั จากน้าท่ไี ด้จากการดักน้ันถูกบ้าบัดให้มี คณุ ภาพที่ดีขึ้นก่อนถูกปลอ่ ยส่แู หล่งน้า

หนา 3

หนา 4 กรวยและระดับความเข้มเสยี ง ร่งุ นภารัตน์ ประมายะยัง1 , จิตประภัส พ้องเสยี ง1 , จริ ฐั ตกิ าล ปทมุ เพชร1, ขนษิ ฐา เตชะนอก2 และ เพญ็ ณภา ขันไสว2 1นักเรยี นโรงเรียนวาปปี ทุม, E-mail: rainy5742@gmail.com 2โรงเรียนวาปีปทมุ บทคัดย่อ โครงงานเร่ืองกรวยและระดบั ความเข้มของเสยี งมีจดุ ประสงคเ์ พอื่ ศกึ ษารปู รา่ งของกรวยที่มีผลตอ่ ระดบั ความเข้ม ของเสยี ง และศกึ ษาความยาวเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของกรวยท่มี ีผลต่อระดบั ความเข้มของเสยี งโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน ตอนที1่ ศึกษารูปรา่ งของกรวยโดยทากรวยใหม้ รี ปู รา่ งแตกตา่ งกนั 3รูปร่าง โดยมรี ูปร่างดงั นี้ รูปรา่ งที่1 คือรูปทรงกรวย สามเหลีย่ ม กรวยรปู ร่างท2ี่ คือกรวยรปู ทรงสามเหลีย่ มตอ่ ดว้ ยทอ่ กระดาษยาว 10 เซนติเมตรและกรวยรปู รา่ งท3่ี คอื กรวย รปู ทรงกระบอกตอ่ ดว้ ยท่อกระดาษยาว 10 เซนตเิ มตร ตอนที2่ คือศกึ ษาความยาวเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของกรวยโดยสร้างกรวย ที่มีความยาวเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 3 เซนตเิ มตร 6 เซนตเิ มตรและ 9 เซนติเมตร บนั ทกึ ระดบั ความเข้มเสียงที่ได้จากการทดลอง ตอนตา่ งๆ จากการศึกษาพบว่า ตอนที่1 กรวยรปู ร่างที่ 1 คอื รปู รา่ งทรงกรวยสามเหลยี่ มให้ระดับความเข้มเสียงมากทส่ี ดุ โดยมรี ะดบั ความเขม้ เสยี งเฉลย่ี 75.8 เดซิเบล กรวยทีใ่ หค้ วามเข้มเสียงรองลงมาคอื กรวยรูปรา่ งท่ี 2 คือกรวยรปู ทรง สามเหลี่ยมต่อด้วยท่อกระดาษยาว 10 เซนตเิ มตร โดยมคี า่ ระดบั ความเขม้ เสียง 71 เดซิเบล ละกรวยที่ใหร้ ะดับความเขม้ เสียง นอ้ ยทสี่ ุดคอื กรวยรปู ร่างที่ 3 คอื กรวยรูปทรงกระบอกตอ่ ด้วยทอ่ กระดาษยาว 10 เซนตเิ มตร โดยมคี า่ ความเขม้ เสียง 68.86 เดซเิ บล ตอนที่ 2 กรวยที่มีเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 3 เซนตเิ มตรมีระดบั ความเข้มเสียงมากทสี่ ดุ โดยให้คา่ ระดบั ความเขม้ เสยี ง 77.46 เดซิเบล กรวยท่ใี หร้ ะดับความเขม้ เสยี งรองลงมาคือกรวยทีม่ เี สน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 6 เซนติเมตร โดยใหร้ ะดบั ความเขม้ เสียง 76.70 เดซิเบล และกรวยทีใ่ ห้ระดับความเข้มเสยี งน้อยท่สี ดุ คอื กรวยที่มคี วามยาวเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 9 เซนติเมตร มี ระดบั ความเข้มเสียงที่ 74.96 เดซเิ บล ดังนน้ั รปู ร่างของกรวย ความยาวเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางของกรวยมผี ลตอ่ ระดบั ความเข้ม ของกรวย คาสาคญั : กรวย,ระดับความเขม้ เสยี งในหน่วยเดซเิ บล

หนา 5 การศกึ ษาการจดั เรียงเซลล์แสงอาทิตย์รูปแบบจามจรุ ี อนนั ตชยั เหลา่ เจริญ1, กนกพชั ร หลายทวีวฒั น์1, ปิยวรรณ นนทะคาจันทร1์ สวัสน์ ช่างหลอ่ 2 และ อารีวรรณ ธาตุด2ี 1 นกั เรียนโรงเรยี นสารคามพิทยาคม , E-mail: kanokplat_la@spk.ac.th 2 โรงเรียนสารคามพทิ ยาคม บทคัดย่อ การศึกษานมี้ ีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ เปรียบเทยี บประสิทธิภาพของรูปแบบการวางเซลล์แสงอาทิตย์รูปแบบจามจุรีกับรูปแบบการ วางเซลล์แสงอาทิตย์รูปแบบปกติและศึกษาหลักการทางานของเซลล์แสงอาทิตย์ โดยระบบการผลิตไฟฟ้าประกอบด้วย เซลล์ แสงอาทติ ยท์ ่ที ามาจากอะมอร์ฟัสซิลิคอน ขนาด 1.2 วัตต์ จานวน 24 แผง แต่ละรูปแบบใช้เซลล์แสงอาทิตย์รูปแบบละ 12 แผง ตอ่ แบบผสมเขา้ กับวงจรไฟฟา้ ไปยงั แบตเตอรขี่ นาด 15 โวลต์ เพ่ือบันทึกข้อมูลแรงดันไฟฟ้าท่ีผ่านไปยังแบตเตอร่ี โดยทาการเก็บ ข้อมูลต้ังแต่เวลา 12.00 – 14.00 น. ซ่ึงทาการเก็บข้อมูลทุก ๆ 30 นาที และนาค่าที่ได้มาหาประสิทธิภาพของการวางเซลล์ แสงอาทติ ย์แตล่ ะรูปแบบเพอื่ เปรียบเทียบ จากการศกึ ษาพบว่า ประสทิ ธิภาพโดยรวมของการวางเซลล์แสงอาทิตย์รูปแบบจามจุรี มปี ระสทิ ธิภาพรวมมากกวา่ ประสทิ ธิภาพโดยรวมของการวางเซลลแ์ สงอาทิตยร์ ูปแบบปกติ ดังน้นั ส่งผลให้การวางเซลล์แสงอาทติ ย์ รูปแบบจามจรุ ีเหมาะแกก่ ารผลิตไฟฟ้ามากกว่าการวางเซลล์แสงอาทิตยร์ ูปแบบปกติ คาสาคญั : เซลลแ์ สงอาทติ ย์ ประสิทธภิ าพ

หนา 6 การศึกษาปัจจยั ทม่ี ีผลต่ออัตราการลดลงของการแกว่งของลกู ตมุ้ โมเมนตมั บณุ ยวรี ์ วรรณการ1, จิรภทั ร พลตรี1 ศุภากร พวงยอด2, ชลฤชา คะสาราช2 1 นกั เรยี นโรงเรยี นสกลราชวิทยานกุ ูล, E-mail: phoungyod53010213027@gmail.com 2โรงเรยี นสกลราชวิทยานกุ ลู บทคัดยอ่ สืบเสาะอตั ราการลดลงของการแกวง่ ของเปลนิวตันที่ข้นึ อยกู่ ับปจั จยั ต่าง ๆ เช่น จานวน วสั ดุ และการเรยี งตัวของ ทรงกลม โดยตดิ ต้งั อุปกรณก์ ารทดลองการแกวง่ ของเปลนิวตนั แลว้ ทาการทดลองการจดั เรยี งของลูกตุ้ม วสั ดุของลูกต้มุ มวล ของลกู ต้มุ จานวนของลูกตุ้ม และมุมของการปล่อยลูกตมุ้ โดยใชโ้ ปรแกรม Tracker และ Excel ในการหาค่าสมั ประสิทธิก์ าร ลดลงของการแกว่งของเปลนวิ ตนั โดยในการทาโครงงานในครั้งน้ีมวี ตั ถปุ ระสงค์ 1) ศึกษาการจัดเรยี งของลูกตุม้ ทีม่ ผี ลตอ่ สัมประสทิ ธก์ิ ารลดลงของการแกวง่ 2) ศกึ ษาวสั ดุท่ีมีผลตอ่ สัมประสทิ ธิ์การลดลงของการแกว่ง 3) ศกึ ษามวลที่มผี ลตอ่ สัมประสทิ ธ์กิ ารลดลงของการแกวง่ ของลกู ตมุ้ 4) ศึกษาจานวนลกู ตมุ้ ท่มี ผี ลตอ่ สมั ประสทิ ธกิ์ ารลดลงของการแกวง่ 5) ศกึ ษาขนาดของมุมในการปล่อยทีม่ ผี ลต่อสมั ประสทิ ธิ์การลดลงของการแกวง่ จากการศกึ ษาพบว่า การจดั เรียงลูกตุ้มแบบ แนวเดียวกันมสี มั ประสทิ ธกิ์ ารลดลงของการแกวง่ นอ้ ยทส่ี ุด คอื 0.034 ลกู แกว้ ใหญม่ สี ัมประสิทธก์ิ ารลดลงของการแกว่งเป็น 0.039 ซึง่ มีค่านอ้ ยกว่าลกู ตุ้มเหลก็ และลกู ตมุ้ พลาสติก ขนาดของลกู แกว้ ลกู ใหญ่มสี มั ประสิทธ์กิ ารลดลงของการแกวง่ น้อยกวา่ ลกู แก้วกลาง และลกู แกว้ เลก็ มีค่า 0.3036, 0.3052 และ 0.120 ตามลาดบั ศึกษาจานวนของลกู แก้วท่ีมีจานวนลกู ตมุ้ น้อยมี สมั ประสิทธิ์การลดลงของการแกวง่ คือ 0.023 ซ่ึงนอ้ ยกวา่ จานวนลกู ตมุ้ มาก และลูกแกว้ ที่มมี มุ ในการปลอ่ ยมากจะมี สัมประสิทธก์ิ ารลดลงของการแกวง่ คอื 0.088 คาสาคญั : เปลนวิ ตนั , อัตราการลดลงของการแกวง่ , ลูกตุ้มโมเมนตมั

หนา 7 การศกึ ษาการหมุนชา้ ลงของไจโรสโคปท่สี ร้างจากตวั นาทที่ าจาก Non-ferromagnetic จณิ ณะพัต ฆารไสว1 ,ชุลติ า ชศู รโี ฉม1 ,อารยิ า นาไชย1 สายวสนั ต์ วารี2 และ อรนุช โวหารกลา้ 2 1นักเรยี นโรงเรยี นกาฬสินธ์พุ ิทยาสรรพ์ ,E-mail:42242@kalasinpit.ac.th 2โรงเรยี นกาฬสนิ ธพุ์ ิทยาสรรพ์ บทคัดย่อ ไจโรสโคปเป็นอุปกรณท์ อ่ี าศัยแรงเฉ่ือยของลอ้ หมุนเพ่ือช่วยรกั ษาระดบั ทศิ ทางของแกนหมุน ประกอบด้วยล้อหมนุ เรว็ บรรจอุ ยใู่ นกรอบอีกทหี นง่ึ ทาให้เอยี งในทิศทางตา่ งๆได้โดยอิสระ ไจโรโคป สามารถนาไปใช้เพ่ือสรา้ งเข็มทิศไจโรสโคป หรอื ไจโรคอมแพสส์ (gyrocompasses) ซึ่งจะมาชว่ ยเสรมิ หรือ แทนที่เข็มทิศแบบแมเ่ หลก็ เพือ่ ช่วยในการรักษาความมเี สถยี รภาพในการทรงตัว หรอื นามาใชเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของระบบการนาวถิ ีดว้ ยความเฉือ่ ย คณะผ้จู ัดทาจงึ มีวตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะศึกษาความหนว่ งของไจโรสโคปสรา้ ง จากตวั นาทีท่ าจากวัสดุ non-ferromagnetic โดยเฉพาะจะหมุนชา้ ลงเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหลก็ ได้ แบ่งออกเปน็ 2 ขน้ั ตอนการศึกษา คือตอนท่ี 1ศึกษาจานวนแทง่ แมเ่ หล็กมีผลต่อความหนว่ ง หรอื ไม่อยา่ งไร ตอนที่ 2ศึกษาจานวนตาแหน่งการวางแท่งแม่เหล็กมผี ลตอ่ ความหน่วง หรือไม่อย่างไร โดยมีการศึกษาปัจจัย ใดทท่ี าให้ไจโรสโคปสร้างจากตัวนาท่ที าจากวัสดุ non-ferromagnetic หมุนช้าลง หรือเกิดความหน่วงและ ได้ผลการศึกษาปัจจยั ดังน้ี ตอนท่ี 1 เมือ่ จานวนแท่งแม่เหล็กมากข้นึ จะใชเ้ วลาหยดุ นอ้ ย เนอ่ื งจากเม่อื จานวน แทง่ แม่เหล็กเพิ่มข้นึ สนามไฟฟา้ ก็จะเพ่ิมขึ้นจากเดิม และตอนท่ี 2 เม่อื มตี าแหน่งการวางแมเ่ หลก็ มากขึน้ จะใช้ เวลาหยุดน้อยและความเรง่ เชิงมมุ มากขนึ้ เนื่องจากเกดิ แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ เหนีย่ วนาขึน้ ต่อต้านการเปล่ยี นแปลง ของฟลักซ์แมเ่ หลก็ คาสาคัญ: ไจโรสโคป,ความหน่วง

หนา 8 ตอู้ บพลังงานแสงอาทิตย์ ตณิ ณ์ เดชทะสอน¹, รังสมิ า อึ่งพอง¹, ธญั นาฎ โกษาแสง¹, ศิลปกรณ์ จนั ทไชย² และ ทศพร สวนแก้ว² ¹นกั เรียนโรงเรียนปิยะมหาราชาลัย, E-mail:tindettason@gmail.com ²โรงเรียนปยิ ะมหาราชาลัย บทคดั ย่อ เน่อื งจาก อุณหภูมิของประเทศไทยท่ีสูงแต่กย็ งั ทาให้การตากแหง้ เพ่ือการถนอมอาหารน้นั ใช้เวลาทนี่ าน ทาให้เกดิ ความ ล่าช้าในการทางานของผู้ท่ีต้องการตากแห้ง คณะผู้วิจัยจึงคิดค้นสิ่งท่ีจะมาช่วยในการลดเวลาการตากแห้ง มีจุดประสงค์เพ่ือเพิ่ม อุณหภูมิของตอู้ บพลงั งานแสงอาทิตย์ และลดระยะเวลาในการตากแหง้ โดยการใช้แผน่ อลูมิเนียม-ซงิ ค์ และถ่านเข้ามาช่วยในการ รับแสงและเพ่ิมความร้อนให้กับตัวตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ โดยการยกตู้อบขึ้น และต่อส่วนแยกออกมาจากตู้อบ ทาให้ส่วนแยก ออกมากาง 15 องศา เพ่ือรับแสงอาทติ ยใ์ หไ้ ดม้ ากที่สุด จากนั้นนาแผ่นอลูมเิ นียม-ซิงค์ที่ขดเป็นวงกลม และถ่านกอ้ นเล็กไปใส่ไว้ใน ช่องของส่วนแยกออกมาจากตอู้ บ เพื่อท่ีจะรับแสงให้รอ้ นข้ึน และความรอ้ นถ่ายเทไปยังตวั ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่ือท่ีจะเพม่ิ ความร้อนให้กับตัวตู้ โดยจะทดลองโดยการใช้ตัวอย่างในการตากแห้งภายนอกตู้อบและภายในตู้อบเพ่ือสังเกตระยะเวลาในการ เปล่ยี นแปลงของปรมิ าณนา้ ในตัวอยา่ งทท่ี ดลอง จากการทดลองพบว่าอุณหภูมิของตัวเครื่องอบได้ 50 องศาเซลเซียส ซึ่งมากกว่าอณุ หภมู ิภายนอกอยู่ 17 องศาเซลเซียส และการตากแห้งแบบปกติใช้เวลา 1 วัน ในการลดน้าลง 5.32 กรัม และการตากแห้งโดยใช้ตู้อบใน 1 วัน ลดน้าได้ 12.72 กรัม ทาให้ทราบว่าการอบโดยใช้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตยใ์ ช้เวลาที่น้อยกว่าการตากแบบปกติและยงั สามารถป้องกันแมลง จากผลการ ทดลองของตัวอย่างทดลอง 2 ตัวอย่างท่ีอยู่ในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ และภายนอกหรือการตากแห้งแบบปกติ ซึ่งสังเกตได้ว่า ระยะเวลาในการตากแห้งภายในตู้อบพลังงานแสงอาทิตยน์ ้อยกว่าระยะเวลาในการตากแห้งภายนอกตู้อบ จากการวดั ปรมิ าณน้าท่ี ลดลงชองการตากแหง้ ในตู้อบใช้และการตากแห้งแบบปกติ และยังสามารถป้องกันแมลงรวมท้งั ยังป้องกันฝุน่ ท่ีจะมาเกาะกับอาหาร ทเ่ี ราตากแหง้ อยู่

หนา 9 ระบบตรวจจับควนั บุหร่ี ชนิดาภรณ์ พรมดี1, ปรยี าภัทร์ กองคา1, นรี ชา ตงั้ สวสั ด1ิ์ , พัสกร กมลรตั น2์ 1นกั เรยี นโรงเรียนเลยพิทยาคม, Email: lpk34985@loeipit.ac.th 2ครโู รงเรียนเลยพทิ ยาคม, Email:harrythekop@gmail.com บทคดั ยอ่ การศึกษาครง้ั น้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบระบบตรวจจบั ควันบุหร่ีที่มีความสามารถในการแจง้ เตือนผ่าน โทรศัพท์โดยใช้ Node MCU (ESP8266) มาประยุกต์ใช้งานเพอื่ ให้อุปกรณส์ ามารถสอ่ื สารกันบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ และรบั สัญญาณพรอ้ มท้งั ประมวลผลออกมาเปน็ คา่ แรงดนั ไฟฟ้าจากเซนเซอร์MQ-135 ซ่ึงเปน็ อปุ กรณ์ตรวจวัดคุณภาพ ของอากาศซ่ึงจะนามาใช้ในการตรวจจับควันบุหร่ี เมอ่ื เซนเซอร์ MQ-135ได้รบั ควันบุหร่จี นค่าแรงดนั ไฟฟ้าเกินจากที่กาหนด ไว้ระบบจะสรา้ งสัญญาณเพ่ือสง่ การแจง้ เตือนใหก้ ับผดู้ ูแลทราบ โดยจะไปยงั อปุ กรณ์ที่กาหนดไว้ซ่ึงกค็ ือโทรศัพท์ผ่าน Blynk Application คาสาคัญ: Node MCU(ESP8266); MQ-135; ระบบตรวจจับควนั บุหร่ี

หนา 10 ชุดต้นแบบตรวจจับการส่ันสะเทอื นของพ้ืนดินด้วยอุปกรณ์พโิ ซอเิ ล็กทรกิ ทิพยช์ นก เคนสี1 , มนฑติ า มาตราช1 , อารยี า มาตราช1 , ณฐั กร นนั ทะแพง2 , และหรรษกร วรรธนะสาร3 1นักเรียนโรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา, E-mail: info@tnw.ac.th 2โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา, 3มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรือ่ งชุดต้นแบบตรวจจับการส่ันสะเทอื นของพื้นดินด้วยอปุ กรณ์พิโซอิเล็กทริก มวี ตั ถุประสงค์ เพอื่ 1) เพ่ือประดิษฐ์ชุดต้นแบบตรวจจับการสน่ั สะเทอื นด้วยอุปกรณ์พโิ ซอิเล็กทริก 2) เพอื่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงกล จากลูกตมุ้ กับแรงดันไฟฟา้ ทไ่ี ดจ้ ากอปุ กรณ์พโิ ซอิเล็กทริก โดยแบ่งข้ันตอนในการทดลองออกเป็น 2 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ประดษิ ฐ์ชุดต้นแบบตรวจจับการสั่นสะเทอื นด้วยอุปกรณ์พิโซอิเลก็ ทริก ทดลองโดยนาลกู ต้มุ แขวนทีก่ ระบอกพลาสติกโดยจะ เพ่ิมมวลของลูกตุ้มคร้ังละ 10 กรัม คือ 70, 80, 90, 100, 110 และ 120 กรัม นาอุปกรณ์พิโซอิเล็กทริกต่อเข้ากับ เพาเวอร์ซัพพลายปรับค่าได้ โดยกาหนดความถ่ีของชุดจาลองการสน่ั ที่ 3 เฮิรตซ์ นาชุดจาลองการเกิดแผน่ ดินไหวต่อเขา้ กบั เคร่ืองออสซิสโลสโคป ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงกลจากลูกตุ้มกับแรงดันไฟฟ้าที่ได้จากอุปกรณ์ พิโซอเิ ลก็ ทริก ชุดต้นแบบตรวจจับการสั่นสะเทือนของพ้ืนดินด้วยอุปกรณ์พิโซอเิ ล็กทรกิ ประดิษฐ์ข้ึนโดยใช้หลักการการแกว่ง ของลูกต้มุ นาฬกิ าอย่างงา่ ยเพอ่ื กาเนิดแรงกลขึ้นผันเป็นพลังงานไฟฟา้ ด้วยอุปกรณ์พิโซอิเล็กทรกิ และเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้าเป็น สัญญาณแจ้งเตือนการส่ันสะเทือนของพ้ืนดินด้วยอุปกรณ์ Arduino เมื่อมวลของลูกตุ้มมีค่าเพิ่มข้ึนจะทาให้มุมในการแกว่ง ลดลงส่งผลใหแ้ รงกลจากลูกตุ้มมีคา่ ลดลงด้วย ในการทดลองน้ไี ดก้ าหนดความถี่ของชุดจาลองการสนั่ อยทู่ ่ี 3 เฮิรตซ์ จะพบวา่ ท่ีมวล 100 กรัมจะทาให้ได้แรงกลมีขนาด 0.335 นิวตัน กระทาต่ออุปกรณ์พิโซอิเล็กทริกตัวที่ 1 และ 2 เกิดแรงดันไฟฟ้า สูงสดุ ท่ี 2.96 และ 3.08 โวลต์ ตามลาดับ เมอ่ื เพิ่มมวลของลกู ตมุ้ มากกว่า 100 กรัม จะทาใหแ้ รงดนั ไฟฟา้ มคี ่าลดลง แสดงให้ เห็นว่าการผลิตไฟฟ้าจากอุปกรณ์พิโซอิเล็กทริกจะต้องใช้แรงกลจากมวลของลูกตุ้มนาฬิกาที่มคี ่าเหมาะสมซ่ึงจะนาไปใช้ใน การพฒั นาชุดตรวจจับการสัน่ สะเทือนของพ้นื ดนิ ตอ่ ไป คาสาคัญ : พิโซอิเลก็ ทริก การสนั่ สะเทือน หลักการลกู ตุ้มนาฬกิ าอยา่ งงา่ ย ชุดจาลองการส่ัน

หนา 11 การศกึ ษาความสมั พันธ์แนวโน้มความถ่เี สยี งที่มีผลต่อรูปแบบการไหลของสายน้า ณัฐนิช ฤทธิวงศ์1, สปุ ระวณี ์ ยะวร1 , วชั รพงศ์ ภบู านเชา้ 1 สายวสนั ต์ วาร2ี , เสาวนติ ย์ อาจวิชัย2 1นกั เรยี นโรงเรยี นกาฬสนิ ธุ์พทิ ยาสรรพ์, E-mail : 41181@kalasinpit.ac.th 2โรงเรยี นกาฬสินธ์พุ ิทยาสรรพ์ บทคดั ย่อ การทาโครงงานเรื่อง การศกึ ษาความสมั พนั ธแ์ นวโน้มความถ่เี สียงทีม่ ีผลต่อรปู แบบการไหลของสายนา้ มีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือศกึ ษาความถีเ่ สียงทีม่ ีผลตอ่ รูปแบบการไหลของสายน้า 2) เพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างความถี่เสียงกับรูปแบบการไหล ของสายนา้ ขันตอนการด้าเนินงาน 1) จดั เตรยี มชดุ อปุ กรณ์การทดลอง 2) ศึกษารปู แบบการไหลของสายน้าโดยเปดิ เคร่อื งเสยี งที่ มีความถี่แตกตา่ งกนั 3) บันทกึ ผล วิเคราะหผ์ ล สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 4) น้าขอ้ มลู ที่ศึกษามาเรียบเรยี งคัดสรรสิง่ ที่ ส้าคญั แลว้ น้าไปวเิ คราะห์ผล 5) น้าผลการวิเคราะหม์ าสรา้ งเป็นความสมั พันธข์ องความถ่เี สยี งทม่ี ผี ลตอ่ รปู แบบการไหลของสายนา้ 6) สรปุ ผลทีไ่ ด้จากการศกึ ษา จากการศกึ ษาพบวา่ ถา้ ความถค่ี ลื่นเสยี งตรงกบั ความถใี่ นการจับภาพของกลอ้ งวิดีโอ ซ่ึงเกดิ จากการแทรกสอดของคลน่ื 2 ขบวนท่ีมเี ฟสตรงกัน จะมองเห็นนา้ หยุดนงิ่ ได้ ถ้าความถ่ีเสยี งกับความเร็วในการจบั ภาพของกล้องวดิ โี อแตกตา่ งกัน ซงึ่ เกดิ การ ซ้อนทับของคล่ืน 2 ขบวน จะมองเห็นสายนา้ ไหลในทิศขนึ สลบั กบั ทิศลงและ ณ จุดเปล่ียนนนั จะมองเหน็ สายนา้ ไหลในทศิ ขนึ กบั สายนา้ ไหลในทศิ ลงพร้อมกันได้ โดยถ้าเฟสของคลน่ื เสยี งตามเฟสของความถ่ีการจบั ภาพของกล้องวดิ โี อจะมองเห็นสายน้าไหลขนึ ถ้าเฟสของคลน่ื เสียงนา้ เฟสของความถใี่ นการจับภาพของกลอ้ งวิดีโอจะมองเหน็ สายน้าไหลลง โดยรปู แบบการไหลของน้าในแต่ละ รูปแบบ เป็นการไหลอย่างมีแบบแผนตามค่าท่ีค้านวณไดจ้ ากสมการ น้าไปสูค่ วามสัมพนั ธ์ โดยมเี งือ่ นไข รปู แบบ Keywords: รูปแบบ กา้ หนดให้ 4 1 2 1 11 1 9 1 ลักษณะสายนา้ ลง แทนด้วย สีแดง ลักษณะสายน้า สวนทาง แทนด้วย สีเขียว ลักษณะสายน้า ขนึ แทนดว้ ย สีฟา้ ลักษณะสายน้า นิ่ง แทนดว้ ย สีน้าตาล

หนา 12 แผน่ กันกระแทกจากวัสดุธรรมชาติ นางสาวกนกวรรณ กระจา่ งกลาง1 , นางสาวจนั ทกานต์ ไตรยวงค1์ , นางสาวศวิ พร สาลกี ิจ1 นางสุทธถิ าพร ทวยหมื่น2 1นักเรยี นโรงเรียนศึกษาสงเคราะหธ์ วชั บุรี จังหวดั รอ้ ยเอ็ด, E-mail paempaem44@gmail.com 2 โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหธ์ วัชบุรี จังหวดั รอ้ ยเอด็ บทคัดยอ่ โครงงานเรื่อง แผ่นกันกระแทกจากวัสดุธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างแผ่นกันกระแทกที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อมและศึกษาคุณสมบัตใิ นการดูดซับแรงของแผ่นกันกระแทกท่ีได้จากวัสดุธรรมชาติ โดยการนาผักตบชวา ฟางข้าว และกาบกล้วย ท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินมาสร้างเป็นแผ่นกันกระแทกแทนพลาสติก และโฟม ท่ีย่อยสลายได้ยาก วิธีการทดลอง แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนท่ี 1 การสร้างแผ่นกันกระแทก ตอนที่ 2 ทดสอบคุณสมบัติในการดูดซับแรงกระแทกของแผ่นกัน กระแทกท่ีสรา้ งข้ึน โดยการปล่อยลูกตุ้มท่รี ะยะความสูง 30, 40, 50 และ 60 เซนติเมตร ลงมากระทบกับแผ่นกันกระแทกที่ สร้างจากวสั ดธุ รรมชาติ แลว้ วัดระยะการกระดอนขน้ึ ของลูกตุ้ม ถา้ ลกู ตมุ้ กระดอนขนึ้ สูงแสดงวา่ แผน่ กนั กระแทกดดู ซบั แรงได้ นอ้ ย ลกู ต้มุ กระดอนขึ้นตา่ แสดงวา่ แผน่ กันกระแทกดูดซบั แรงได้มาก จากการทดลองพบว่า ระยะการกระดอนของลูกตุ้มที่กระทบกับแผ่นกันกระแทกที่สร้างจากกาบกล้วยมีระยะ การกระดอนมากท่สี ดุ รองลงมาคอื ผกั ตบชวา และฟางข้าว ตามลาดับ น่ันคือแผ่นกันกระแทกที่สร้างจากฟางข้าวสามารถดูด ซับแรงได้มากท่ีสดุ รองลงมาคือ ผักตบชวา และกาบกล้วย การสรา้ งแผ่นกันกระแทกจากผักตบชวา ฟางขา้ ว และกาบกลว้ ย สามารถนามาใช้งานไดจ้ รงิ ตามวตั ถุประสงค์ และสามารถดดู ซบั แรงได้แตกต่างกัน คาสาคัญ : การดูดซับแรง, แผ่นกนั กระแทก, กฎความโนม้ ถว่ งของนิวตัน

หนา 13 ชอื่ โครงงาน : อุปกรณ์ควบคุมการเปิด – ปิดไฟ ผ่านทางอนิ เทอร์เนต ผู้จัดทา : นางสาว วิรงรอง ทองบ่อ Email : Wtongbor45@gmail.com นางสาว ชลธชิ า กุลมัย Email : cholthichaza2544@gmail.com โครงงานสาขา : ฟสิ ิกส์ โรงเรียน : ประจกั ษศ์ ิลปาคาร ปีการศกึ ษา : 2562 อาจารย์ทีป่ รึกษา : คณุ ครูสหัสชัย ถมยา คุณครูคฑาวุธ อ่อนผุย บทคดั ย่อ โครงงานเร่ืองอุปกรณค์ วบคุมการเปิด – ปิดไฟผ่านทางอินเทอร์เนต เปน็ โครงงานวิชาฟสิ ิกส์ ประเภท สิ่งประดิษฐ์ มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อสร้างอุปกรณ์สาหรับควบคมุ การเปิด-ปดิ ไฟผ่านอินเทอร์เนต ท้ังนี้จะเป็นการอานวย ความสะดวกต่อบุคคลทัว่ ไป นกั การภารโรง ผสู้ ูงอายุและผู้พิการทางขาทไ่ี ม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง ให้ทางานได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น ซึง่ ปญั หาผู้จัดทาโครงงานพบกค็ ือในแตล่ ะวันหลงั เลิกเรียน นกั เรยี นมกั จะลมื ปิดไฟใน หอ้ งเรยี นไม่ว่าจะเป็นพดั ลม หรือหลอดไฟ ซง่ึ เป็นภาระของนักการภารโรงจะต้องมาปิด และหากมาปดิ ชา้ กจ็ ะเป็น การส้นิ เปลอื ง ผจู้ ัดทาคดิ วา่ หากมีระบบทีช่ ่วยทาใหน้ กั การตรวจสอบการใชไ้ ฟฟ้าในแต่ละห้องและสามารถควบคุม การปดิ เปดิ ได้ กจ็ ะทาให้การปัญหานแ้ี ก้ไขได้ และยงั ประยุกต์ไปในครัวเรือนไดอ้ ีกดว้ ย กระบวนการสร้างผจู้ ดั ทาได้ ใชเ้ ซน็ เซอร์ และเพื่อตรวจจับกระแสไฟฟ้าและความสวา่ งภายในห้องจากนน้ั ใชต้ ัวประมวลผลคอื ESP8266 ทา หนา้ ทปี่ ระมวลผลและสง่ ข้อมูลมายงั ระบบอนิ เทอรเ์ นต ซง่ึ มหี ลกั การทางานคือ ใช้ ESP8366 เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้ใน การเก็บคาสง่ั และข้อมลู เพ่ือใชใ้ นการประมวลผลจะทางานร่วมกบั Relay ซง่ึ เป็นอปุ กรณ์ในการตัด - ตอ่ วงจรแบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเชอ่ื มต่อ Relay เขา้ กบั อปุ กรณ์ไฟฟ้าท่ีตอ้ งการควบคุม อาศยั การเขียนโปรแกรมหรอื ชดุ คาสงั่ ผา่ น ArduinoIDE ลงใน ESP8266 แล้วทาการเขยี นคาสั่งของอุณหภูมิลงใน ESP8266 อีกคร้ัง เพ่อื ให้อุปกรณ์ ดังกล่าวได้ทางานอย่างเป็นระบบ โดยมกี ารนาแอปพลเิ คชันมาประยุกตใ์ ชใ้ นการควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi หรือ สัญญาณอนิ เตอร์เน็ตมือถือ เพอื่ ให้ผใู้ ช้งานได้สามารถควบคุมอุปกรณ์ไฟไดจ้ ากระยะไกล จากการทดสอบอุปกรณ์ควบคุมการเปิด – ปิดไฟผา่ นทางแอปพลเิ คชัน พบวา่ สามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริง และไดร้ บั ความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้ในระดับดีมาก

หนา 14 การศึกษาสารเคลอื บแผงโซลา่ เซลล์ท่ีส่งผลต่อความสัมพนั ธ์ ระหว่างความเขม้ แสงและแรงดนั ไฟฟ้า พงศกร บญุ หนา1, พรภิตา นาเชียงเครอื 1, ศนั สนยี ์ ขมุ่ ดว้ ง1 อธิวัฒน์ ยางคา2 1 นกั เรียนโรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคาร, E-mail: jiho_2556@hotmail.com 2 โรงเรียนหนองบวั พิทยาคาร บทคัดยอ่ การหาสารเคลือบแผงโซล่าเซลล์ทส่ี ่งผลตอ่ ความสัมพันธ์ระหว่างความเขม้ แสงอาทติ ย์และแรงดันไฟฟ้า มีวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ หาสารเคลอื บแผงโซล่าเซลล์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเข้มแสงและแรงดันไฟฟ้า และประดษิ ฐ์เครื่องวดั ความเขม้ แสงอาทิตย์จากแผงโซลา่ เซลล์ รวมทัง้ เปรียบเทียบประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งวดั ความเขม้ แสงอาทติ ย์ท่ีประดิษฐ์ขน้ึ กบั เคร่ืองวดั ความเข้มแสงอาทิตย์ทไ่ี ดม้ าตรฐาน โดยจะเก็บขอ้ มูลความเขม้ แสงอาทิตย์และแรงดันไฟฟ้าจากแผงโซลา่ เซลลท์ เี่ คลือบดว้ ยสารหรอื วตั ถุทมี่ ีคุณสมบัติ โปร่งแสง นาข้อมูลทไี่ ดม้ าสร้างกราฟ โดยนาสมการทสี่ ัมพนั ธ์กับกราฟมากที่สุด มาเขยี นชดุ คาสั่งควบคมุ บอรด์ Aduino เพ่อื แปลงคา่ แรงดันไฟฟา้ เปน็ ความเขม้ แสงอาทติ ย์ ให้แสดงผลในรูปแบบดิจติ อลผา่ นหนา้ จอ LCD พรอ้ มนามาเปรยี บเทียบกับ เครอ่ื งวดั ความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน จากการวิเคราะห์ขอ้ มลู แผงโซล่าเซลล์ท่เี คลอื บโดยพลาสติก 3 ช้นั สมการมคี วามสมั พนั ธก์ บั กราฟมากทีส่ ุดคือ y  2.239104  X9.63 และเปรยี บเทยี บเคร่อื งวดั ความเข้มแสงอาทติ ยท์ ่ปี ระดิษฐก์ ับเครือ่ งวดั ความเข้มแสงอาทิตยท์ ีไ่ ด้ มาตรฐาน พบวา่ ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งวัดความเข้มแสงอาทิตยท์ ปี่ ระดษิ ฐ์ มคี ่าความคลาดเคลื่อนเพยี ง 4.8 Keyword: สารเคลอื บ

หนา 15 การพฒั นาประสิทธภิ าพเตาอบอุณหภมู สิ งู พลังงานแสงอาทิตย์จากเลนสน์ ูนและกระจกเว้า ปฏพิ ล แสงสขุ 1 , ณฐั วฒุ ิ สวุ รรณภักดี1 , ปารมี นารจี นั ทร์1, ดสุ ิต วรวัฒนธรรม2 1นกั เรียนโรงเรียนผดงุ นารี , E-mail:dekdynamiczx@gmail.com 2โรงเรียนผดุงนารี บทคัดย่อ ปจั จุบนั โดยทั่วไปเตาอบพลังงานแสงอาทิตย์มอี ณุ หภมู คิ วามร้อนไม่เกิน 40 - 60 องศาเซลเซยี ส และใชเ้ วลาในการ อบท่ีนาน คณะผู้จัดทาจึงสนใจท่ีจะศึกษาการพัฒนาประสิทธิภาพเตาอบอุณหภูมิสูงท่ีมีความร้อนมากกว่า 100 องศา เซลเซียส และต้องการที่จะนาวัสดุอุปกรณ์ท่ีเหลือทิ้งจากการใช้งานภายในโรงเรียนมาใช้ในการประดิษฐ์ เตาอบอุณหภูมิสูง พลงั งานแสงอาทิตย์ เป็นการลดต้นทนุ การผลติ อีกท้งั ยังเปน็ การเพ่มิ คณุ คา่ ให้แก่วัสดอุ ุปกรณ์ทเ่ี หลือทิง้ จากการใช้งานอีกด้วย วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาหลักการและวิธีการประดิษฐ์เตาอบอุณหภูมิสูงพลังงานแสงอาทิตย์จากเลนส์นูนและกระจกเว้า ประดิษฐ์เตาอบอณุ หภูมิสูงพลงั งานแสงอาทิตย์จากเลนสน์ นู และกระจกเวา้ และศึกษาหาประสทิ ธภิ าพดว้ ยจานวนเลนสน์ นู 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 2 เลนส์ 4 เลนส์ 6 เลนส์ และกระจกเวา้ ผลการศึกษา พบว่า 1) คณะจัดทาได้ทราบถึงหลักการทางานของเตา อบอุณหภูมิสูง และทราบถึงวิธีการประดิษฐ์เตาอบอุณหภูมิสูงพลังงานแสงอาทิตย์จากเลนส์นูนและกระจกเว้า 2) สามารถ ประดษิ ฐเ์ ตาอบอุณหภมู สิ ูงพลังงานแสงอาทิตย์จากเลนส์นูนและกระจกเว้าที่สามารถทางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ อีกทั้งยัง เป็นการนาวัสดุอุปกรณ์เหลือทิ้งจากการใช้งานมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3) เม่ือใส่เลนส์ครบทั้ง 6 เลนส์ เวลาผ่านไป 240 นาที พบวา่ อุณหภูมเิ พมิ่ สูงถึง 103 องศาเซลเซียส คาสาคัญ : เตาอบพลังงานแสงอาทติ ย์ , อุณหภมู สิ งู , กระจกเวา้ , เลนสน์ นู

หนา 16 การศึกษาประสิทธภิ าพของแผน่ ปูพน้ื จากยางพาราผสมสารตวั เติมจากเย่อื กระดาษ เจตนพิ ิฐ จนั ทร์งาม1, ชฎาทพิ ย์ วัฒนกิตกิ ุล1, อรเทพิน โงว้ ศิริ1 กลุ ธิดา ทนี อ้ ย2 และ ภทั รวดี นามวงษ์2 1นกั เรียนโรงเรยี นขอนแก่นวิทยายน , Email: auning000@gmail.com 2โรงเรียนขอนแก่นวทิ ยายน บทคัดยอ่ การศึกษาประสิทธิภาพของแผ่นปูพ้ืนจากยางพาราผสมสารตัวเติมจากเย่ือกระดาษ เตรียมได้จากการนายาง ธรรมชาติท่ีอยู่ในสภาวะน้ายางข้น มาผสมกับเย่อื กระดาษรีไซเคิล (0.1% 0.3% และ0.5% ของน้าหนักยางแห้ง) แลว้ ขึ้นรูป เป็นแผ่นยาง โดยการศึกษาปริมาณของเย่ือกระดาษท่ีมีผลต่อสมบัติเชิงกล การบวมตัวในสารละลาย เอทานอลและ กรดแอซิติก ผลการศึกษาพบว่า เมื่อผสมเย่ือกระดาษลงในยางธรรมชาติ ทาให้ค่าความทนต่อแรงดึงสูงข้ึน และยังทาให้ คา่ ร้อยละการยืดออก ณ จุดขาดสูงข้ึนอีกด้วย แสดงว่าอนภุ าคเย่ือกระดาษทาให้ยางธรรมชาติมีความแขง็ แรงมากข้ึน โดยท่ี ความยืดหยุ่นไม่ได้ลดลง เมื่อทาการทดสอบการบวมตัวในสารละลาย พบว่า อนุภาคเยื่อกระดาษทาให้ยางธรรมชาติ มีโครงสรา้ งที่มคี วามแขง็ แรงขน้ึ จึงทาให้ยางมีสมบตั ใิ นการคงรปู ในสารละลายมากข้ึน โดยปริมาณเยอื่ กระดาษทีผ่ สมลงไปใน ยางธรรมชาติที่ให้ผลลัพธ์ดีท่ีสุด คือ 0.5% ของน้าหนกั ยางแหง้ คาสาคญั : แผ่นปูพืน้ ยางพารา, เยอ่ื กระดาษ

หนา 17 การศึกษาปจั จัยในการสร้างโอโซนจากปรากฏการณ์โคโรนา่ ธนารัชจก์ ร ประโคทัง1, ศุภฤกษ์ ปะกาเวสา1, กนนท์ เพชรมแี กว้ 1, ชัยวฒั นา ประภาศรี2 1นกั เรียนโรงเรยี นวาปีปทมุ , E-mail: Kanon@gmail.com 2โรงเรยี นวาปปี ทมุ บทคดั ย่อ การทดลองเรื่องการสร้างโอโซนจากปรากฏการณ์โคโรนา่ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาอุณหภูมหิ อ้ งสง่ ผลต่อความเร็ว ของมอเตอร์และมีผลต่อการปลอ่ ยไอออนของแกส๊ ออกซเิ จนอย่างไร และความหา่ งของช่องแผ่นอะลมู ิเนยี มฟอยล์ส่งผลต่อ ความเรว็ ของมอเตอร์และมผี ลตอ่ การปลอ่ ยไอออนของแก๊สออกซเิ จนอย่างไร โดยเอาฟรอยมาพนั รอบเเก้วเเลว้ ปล่อยไฟฟา้ ศกั ยส์ ูงผ่านเข็มกระจายประจุใหม้ รี ะยะหา่ งจากผิวเเก้วกบั เขม็ หลังจากนั้นวดั ความเร็วดว้ ยเครื่องวัดรอบแลว้ บันทกึ ผลการ ทดลอง ผลการศึกษาพบวา่ ตอนท่ี 1พบวา่ อุณหภมู ิท2ี่ 6.5 องศาเซลเซยี สสามารถความถ่ีในการหมนุ ของมอเตอรเ์ ฉลยี่ 4.95 รอบต่อวินาที อณุ หภมู ิ 25 องศาเซลเซยี สสามารถความถ่ใี นการหมนุ ของมอเตอรเ์ ฉลย่ี 5.79 รอบตอ่ วินาที และอุณหภูมิ 24.8 องศาสามารถความถใี่ นการหมนุ ของมอเตอรเ์ ฉล่ยี 6.32 รอบตอ่ วนิ าที และตอนท่ี 2 ระยะหา่ งของชอ่ งแผ่นอะลูมิเนียม ฟอยล์ 0.8 เซนติเมตรสามารถความถใี่ นการหมุนของมอเตอร์เฉล่ยี 3.62 รอบตอ่ วนิ าที ระยะห่างของช่องแผ่นอะลูมิเนยี ม ฟอยล์ 1 เซนตเิ มตรสามารถความถใี่ นการหมุนของมอเตอรเ์ ฉลยี่ 4.28 รอบต่อวนิ าที และระยะหา่ งของชอ่ งแผ่นอะลมู เิ นียม ฟอยล์ 1.5 เซนติเมตรสามารถความถ่ีในการหมนุ ของมอเตอรเ์ ฉลยี่ 5.05 รอบต่อวินาที ดงั นั้นความถใี่ นการหมุนของมอเตอร์ จะมีความสัมพันธแ์ บบผกผนั กันกบั อณุ หภูมหิ ้อง และความถใี่ นการหมุนของมอเตอร์จะมีความสัมพันธแ์ บบแปรผันตรงกับ ความห่างของชอ่ งแผน่ อลมู เิ นียมฟอยล์ คาสาคญั : โคโรนา่ ,มอเตอร,์ ไอออน

หนา 18 เคร่อื งเขย่าเชื้อเหด็ ถ่ังเช่า วิจิตรา เดวี1, ศิรวิ ดี วฒุ สิ าร1, ศุภาวรรณ เลิศชะกจิ 1 , ปาฏิหารยิ ์ สาฆ้อง2 , ศรายุทธ วฒุ ิเสน2 นักเรยี นโรงเรยี นสตรีราชินูทศิ , Email : beemjkjm@gmail.com โรงเรียนสตรีราชนิ ูทศิ บทคัดย่อ โครงงานนจี้ ดั ทาขน้ึ เพื่อประดิษฐเ์ ครื่องเขยา่ เชอ้ื เห็ดถ่ังเชา่ อยา่ งง่ายโดยใชห้ ลกั การทางานของมอเตอร์ ความเรว็ ตา่ และเครื่องจบั เวลาในการตัง้ เวลาเปดิ – ปิด โดยได้นาหลกั การการชนกนั ของเช้ือเหด็ ถัง่ เชา่ ใน อาหารเหลวขณะทที่ าการเขย่า ซึ่งมีผลตอ่ การกระจายตวั ของเชอ้ื เหด็ ถั่งเช่า จากการศึกษาพบวา่ อัตราเร็วในการเขยา่ มีผลตอ่ การกระจายตวั ของเชอ้ื เหด็ ถั่งเชา่ ในช่วงท่ีอยใู่ น อาหารเหลว ดังน้ี เมือ่ อัตราเร็วในการเขยา่ เชอื้ เห็ดถั่งเช่าเพิ่มขน้ึ อนั เปน็ ผลมาจากการเพ่มิ ความถ่ใี นการ หมุนของมอเตอร์ความเรว็ ต่า และเพมิ่ ระยะระหว่างจดุ หมุนถึงเส้นรอบวง จะทาให้การกระจายตัวของเช้ือเหด็ ถ่งั เช่าในอาหารเหลวนนั้ เพิม่ มากข้นึ สง่ ผลใหไ้ ด้ผลผลติ ทมี่ ากขน้ึ และจากการประเมนิ ความพึงพอใจของ ผใู้ ชเ้ ครอื่ งเขย่าเชื้อเห็ดถ่ังเชา่ จากกลุม่ ตวั อย่างบุคลากรในโรงเรยี นสตรีราชินทู ิศ จานวน 40 คน พบว่า ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลยี่ รวมเทา่ กับ 3.02 คาสาคัญ : เครอื่ งเขย่าเชือ้ เห็ดถ่งั เช่า, เห็ดถ่งั เช่า

หนา 19 เคร่อื งป๊มั นำ้ พลังงำนฟรี สญั ญำ ศรีโคตร1 , ศักดด์ิ ำ มำตรเลงิ 1 , วดลิ ดำ กงซยุ 1 อทุ ิศ แสนสุข2 1 นกั เรียนโรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร, E-mail:vy533400@gmail.com 2 โรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร บทคัดยอ่ เนื่องจากการทาการเกษตร เช่น ปลกู ขา้ ว ข้าวโพด ฯลฯ ในทส่ี งู อาจมีการใช้จา่ ยในการนาน้าขึ้นมาเพอ่ื ใชท้ า การเกษตร และอาจจะทาให้เสยี คา่ ใช้จา่ ยสงู ดงั นัน้ คณะผจู้ ดั ทาจงึ เกดิ ความสนใจที่จะจัดทาโครงงาน ประเภท สง่ิ ประดิษฐส์ าขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เร่อื งเคร่ืองปั๊มนา้ แบบพลงั งานฟรี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ประดษิ ฐ์เครื่องป๊ัมนา้ แบบพลังงานฟรี และหาประสิทธิภาพของสงิ่ ประดิษฐ์ จากผลการทดลอง พบวา่ สิ่งประดษิ ฐ์ “เครือ่ งปั๊มน้าพลังงานฟร”ี มีประสิทธิภาพในการปมั๊ น้าโดยมอี ัตราการ ปมั๊ น้าเฉลย่ี ไมน่ ้อยกว่า 14.83 ลติ ร ต่อหน่งึ ช่วั โมง คำ้ สำ้ คัญ: เคร่อื งป๊มั น้า, พลงั งานฟรี

หนา 20 บรรจุภณั ฑก์ ันกระแทกไขจ่ ากเยือ่ กลว้ ย ชตุ กิ าญจน์ บรุ ะณะสุทธิ์1 , เจนจริ า ชัยมานนั ท์1 , ธัญวรัตน์ นามราช1 , จักรี แกว้ น้าคา้ 2 , นิสา ภอู ดื 2 1 นักเรียนโรงเรยี นปทมุ เทพวทิ ยาคาร, E-mail: 36603@schoolptk.ac.th 2 โรงเรยี นปทุมเทพวทิ ยาคาร บทคดั ยอ่ การศึกษาครังนีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการขึนรูปของเส้นใยกล้วย 2) ค้นคว้าและออกแบบ รูปแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณภาพ 3) ศึกษาประสิทธิภาพของบรรจุภัณฑ์กันกระแทกไข่ไก่จากวัสดุธรรมชาติ ส้าหรับใชเ้ ป็นทางเลือกของวัสดุกันกระแทกท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมแทนการใช้โฟมพอลีสไตรีน เป็นการน้า วัสดุจากธรรมชาตทิ สี่ ามารถหาไดท้ ่ัวไปในท้องถนิ่ ซ่งึ สามารถนา้ มาประดษิ ฐแ์ ปรรปู เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ เพิ่มมูลค่าของบรรจุภัณฑ์ที่สามารถกันกระแทกไข่ไก่ได้ โดยผู้วิจัยได้ท้าการผลิตวัสดุกันกระแทก แบ่งการ ทดลองเป็น 3 ขนั ตอน ไดแ้ ก่ 1) ทดลองขึนรูปบรรจุภณั ฑ์กนั กระแทกไข่ไก่โดยใช้เส้นใยกล้วยต้มกับโซเดียมไฮ ดรอกไซด(์ NaOH) ทเ่ี ตรียมไว้จนได้เย่ือกล้วยท่ีต้องการ น้าเยื่อกล้วยเข้าสู่กระบวนการปั่นแล้วจึงน้ามาขึนรูป บนแม่พิมพ์ทไ่ี ดท้ า้ การออกแบบไว้ พกั ใหแ้ ห้งในเวลาท่ีเหมาะสม 2) คน้ คว้าหารปู แบบและรูปทรงในการขึนรูป ออกแบบให้ได้ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 3) น้าไปทดสอบความสามารถในการดูดซับแรง กระแทกโดยเทียบกับบรรจุภัณฑ์ในท้องตลาด จากผลการทดสอบพบว่าบรรจุภัณฑ์กันกระแทกไข่จากเยื่อ กล้วยที่ผู้วจิ ยั พัฒนาขนึ มานนั สามารถใช้งานได้จริง ขึนรูปได้ตามแบบที่ได้ท้าการออกแบบไว้ โดยรูปแบบของ บรรจุภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพท่ีดีที่สุดคือรูปแบบท่ีมีฐานเป็นรูปกรวย ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดูดซับแรงกระแทก และไม่เป็นมลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดล้อม สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ คา้ สา้ คญั : เสน้ ใยกล้วย กนั กระแทก

หนา 21 รถตดั หญา้ อตั โนมตั โิ ดยการสง่ั งานผ่านบอรด์ ควบคมุ IPST-SE กรรณกิ าร์ เกดิ สบาย1 , จติ ประภสั สร ทองยนื 1 , ปยิ วรรณ ดอมไธสง1 นเิ วศน์ ชารี2และนฤดล พนมคา2 1โรงเรียนหนองบวั พิทยาคาร,nim4099@gmail.com 2โรงเรียนหนองบวั พิทยาคาร บทคดั ยอ่ โครงงานเรื่องรถตัดหญ้าอัตโนมัติโดยการส่ังงานผ่านบอร์ดควบคุม IPST-SE มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง รถตัดหญ้าอตั โนมตั มิ ี หลักการทางานคือ ควบคมุ การเคลื่อนที่ด้วยบอร์ดIPSTโดยการเขียนคาสั่งจากโปรแกรม Arduino1.8.8 เพอ่ื ความสะดวกสบาย โดยใช้พลงั งานจากแบตเตอรเ่ี ปน็ ตวั จา่ ยไฟ รถตัดหญ้าอัตโนมัติโดยการ สั่งงานผ่านบอร์ดควบคุม IPST-SE นี้ใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนที่โดยใช้มอเตอร์ปัดน้าฝน 12Vและขับเคล่ือนหมุน ใบมีดด้วยมอเตอร์ DC12V ควบคุมกลไกการเดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้ายเล้ียวขวาด้วยบอร์ดIPST ผลการ ทดสอบรถตัดหญ้าอัตโนมัติโดยการส่ังงานผ่านบอร์ดควบคุม IPST-SE จากการทดสอบประสิทธิภาพในการ ทางานของเคร่ืองตัดหญา้ สามารถใชง้ านในพน้ื ท่สี นามราบเรยี บสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและผ่อน การใชแ้ รงงานไดค้ อ่ นขา้ งมาก คาสาคญั : รถตดั หญา้ , บอรด์ IPST

หนา 22 เครือ่ งเตอื นภยั ภายในรถยนต์ นางสาวอารยา ภูแย้มไสย์1 , นางสาวณฐั ภทั ร ภูผวิ เหลือง1 , นางสาวนภัส แกว้ สขี าว1 นายจนั ทราทติ ย์ ภูผานลิ 2 , นายศภุ วชิ ญ์ ภารจนิ ดา2 1นกั เรียนโรงเรยี นอนุกลู นารี , piploy_dekwe@hotmail.com 2โรงเรียนอนกุ ลู นารี บทคดั ยอ่ การประดิษฐ์เครอ่ื งเตอื นภัยภายในรถยนตม์ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ออกแบบและสรา้ งแบบจาลองเครอ่ื งเตอื นภัยภายใน รถยนต์และเพื่อศึกษาประสิทธภิ าพการทางานของเครื่องเตือนภัยภายในรภยนต์และเพอื่ ป้องกนั อันตรายภายในรถยนต์ ซอฟแวร์ทใี่ ช้ในการสรา้ งและพัฒนา คอื โปรแกรม Arduino IDE ฮารด์ แวร์ทใี่ ชใ้ นการสร้าง คอื Arduino UNO , MH-Z14 CO2 NDIR Gas Sensor , 1602 LCD (Blue Screen) , Active Buzzer DC 1.5V-12V Buzzer , Resisto 100 ohm (3W) , Based ESP 32 หลกั การทางานของเคร่ืองเตอื นภยั ภายในรถยนต์ คอื เมื่อ ปริมาณคารบ์ อนไดออกไซด์ถงึ คา่ ทกี่ าหนดเคร่ืองเตือนภัยภายในรถยนต์จะทาการแจง้ เตือนโดยการสง่ สญั ญาณผา่ นลาโพง และขอ้ ความไปยังโทรศพั ทม์ อื ถือของเจ้าของรถท่ีบันทึกไว้ จากผลการศึกษาพบวา่ ในการทางานของเคร่ืองเตือนภยั ภายในรถยนต์โดยเขียนคาส่ังถกู ตง้ั ค่าการแจง้ เตอื นลง Arduino UNO แล้วทาการอ่านค่าโดย MH-Z14 CO2 NDIR Gas Sensor ท่ีเชื่อมตอ่ อุปกรณส์ มบรู ณแ์ บบแลว้ จะตรวจจบั ปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซด์ เมื่อปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซด์ถึงค่าทก่ี าหนด เครอ่ื งเตอื นภยั ภายในรถยนต์จะทา การแจ้งเตือนโดยการส่งสญั ญาณผา่ นลาโพง และขอ้ ความไปยังโทรศพั ทม์ ือถอื ของเจา้ ของรถที่บนั ทกึ ไว้

หนา 23 ราวตากผา้ ตรวจจับความชนื้ เก็บผา้ อัตโนมตั ิ กฤตวทิ ย์ กฤตเวทนิ ¹ , รเณศ แสนเทพ¹ นางไพรนิ ทร์ เจริญศริ ²ิ ¹ นกั เรยี นโรงเรยี นแก่นนครวิทยาลัย, E-mail renetsantep5993@gmail.com, ² โรงเรยี นแกน่ นครวทิ ยาลัย บทคดั ยอ่ โครงงาน ราวตากผา้ ตรวจจับความชน้ื เก็บผ้าอตั โนมัติ จดั ทาขน้ึ เพอ่ื แก้ไขปัญหาที่ตากผ้าทิ้งเอาไว้แล้วฝนตกในเวลา ทค่ี นไมอ่ ยบู่ ้าน แลว้ ไม่มีใครเกบ็ ผา้ จนทาให้ปญั หาผา้ อับชื้นตอนจะใสห่ รอื ผ้าแห้งช้ากว่าเดิมหมดไป เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิต และเพมิ่ ความสะดวกสบายใหแ้ กผ่ ใู้ ชง้ าน โดยในตัวราวตากผ้าตรวจจับความชื้นเก็บผ้าอัตโนมัติเราจะประกอบท้ังตัวราวตาก ผ้าขึ้นมาใหม่จากท่อPVC และนาไปเชื่อมต่อกับ ระบบเซนเซอร์ตรวจจับความช้ืนที่ทางานกับมอเตอร์ โดยเมื่อเซนเซอร์ ตรวจจับความชื้นทางาน จะส่งสัญญาณไปยังตัวมอเตอร์ ทาให้มอเตอร์ดึงผ้าท่ีแขวนอยู่กลับเข้าในมาร่ม และเมื่อฝนหยุดตก และตวั เซนเซอรร์ ะเหยนา้ จนหมดแลว้ น้นั จะมกี ารสง่ สัญญาณไปท่ีมอเตอร์ เพือ่ ดงึ กลับออกไปสู่แดดเช่นเดิม โดยจากผลการ ทดสอบ ตัวราวตากผ้าตรวจจบั ความชน้ื เก็บผา้ อัตโนมตั สิ ามารถใช้งานไดจ้ รงิ ตามวัตถปุ ระสงค์ เซนเซอร์ตอบสนองต่อความชนื้ ได้อย่างสมเหตุสมผล และมอเตอร์ทางานเขา้ กับเซนเซอร์ตรวจจับความชืน้ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ คาสาคญั : เซนเซอร์ตรวจจบั ความชื่น,มอเตอร์,ทอ่ PVC,ฝนตก

หนา 24 การศึกษาประสิทธภิ าพการท าความเย็นของเครอื่ งคลู ล่ิงคอมเพรสเซอรแ์ ฟน นครรนิ ทร์ รัตนะ1 , จตุรพร รัตนะเลิศนภา1 , จณสิ ตา ค าหาญพล1 , ชวี นิ พูลสวัสดิ์2 1 นักเรียนโรงเรยี นปทุมเทพวทิ ยาคาร, Email:janissata2001@gmail.com 2 โรงเรียนปทมุ เทพวิทยาคาร บทคดั ยอ่ การศกึ ษาประสิทธภิ าพการทาความเย็นของเครอ่ื งคลู ล่ิงคอมเพรสเซอร์แฟน เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภท สิ่งประดษิ ฐ์ มีวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทาขน้ึ เพ่ือ 1.ออกแบบและประดิษฐ์เครื่องทาความเย็นด้วยคอมเพรสเซอร์จาก ตู้เย็น 2. เปรียบเทียบการใช้กาลังไฟฟ้าของเครื่อง Cooling Compressor Fan กับเคร่ืองปรับอากาศ 3. เปรียบเทียบประสทิ ธิภาพการทาความเย็นของเคร่อื ง Cooling Compressor Fan กบั เครอื่ งปรับอากาศ การดาเนินงานแบ่งขั้นตอนออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (1) ส่วนของการประดิษฐ์เคร่ือง Cooling Compressor Fan มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็นแบบลูกสูบ ¼ แรงม้า คอยล์ร้อนชนิด 2 แถว พัดลมตงั้ โต๊ะขนาด 12 น้ิว พดั ลมระบาย ทองแดงชนิดเส้น ตัวควบคุมอุณหภูมิต้เู ย็น ชุดสวติ ช์หมุน ชดุ พน่ หมอก สารทาความ เย็น R-134 (2) สว่ นของการทดลองและเปรยี บเทยี บข้อมูล แบง่ การทดลองเป็น 3 การทดลอง ดังนี้ การทดลองท่ี 1 ศึกษาการทาความเย็นของเครื่อง Cooling Compressor Fan ทดลองใช้เคร่ือง Cooling Compressor Fan โดย ทาการทดลองในห้องที่มีอุณหภูมิปกติ ห้องขนาด 3.5 x 4 ตารางเมตร ทาการวัดอุณหภูมิก่อนทาการทดลอง ขณะทาการทดลอง ทง้ั หมด 5 ตาแหน่ง เป็นจานวน 5 คร้ัง ใชเ้ วลาในการทดลองคร้ังละ 10 นาที การทดลองที่ 2 ศึกษาการใช้พลังงานไฟฟ้าของเคร่ือง Cooling Compressor Fan และเครื่องปรับอากาศยี่ห้อ Haier รุ่น HSU- 10CTR03T(N) ในระยะเวลา 1 ชวั่ โมง จานวน 2 คร้ัง ในหอ้ งท่ีมอี ุณหภูมปิ กติ ขนาด 3.5 x 4 ตารางเมตร โดยการ ใชม้ ัลติมเิ ตอร์วัดปรมิ าณกระแสไฟฟ้า กาลงั ไฟฟ้า ความต่างศักย์ จากนัน้ นาข้อมูลทีแ่ สดงผลมาคานวณหาพลังงาน ไฟฟ้าท่ีถูกใช้ไปโดยใช้สูตร W = Pt และทาการเปรียบเทียบปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปของท้ัง 2 เครื่อง การทดลองที่ 3 ศึกษาการทาความเย็นของเคร่ือง Cooling Compressor Fan และเคร่ืองปรับอากาศย่ีห้อ Haier รุ่น HSU-10CTR03T(N) โดยทาการทดลองในห้องท่มี ีอุณหภมู ิปกติ ขนาด 3.5 x 4 ตารางเมตร ทาการวัดอุณหภูมิ ก่อนทาการทดลอง ขณะทาการทดลอง และหลังทาการทดลอง โดยใช้เทอร์มอมิเตอรท์ ้ังหมด 5 อัน โดยแต่ละอัน จะวัดตามจุดต่างๆของห้อง โดยการวัดอุณหภูมิขณะทาการทดลองใช้เวลา30 นาที จานวน 3 คร้ัง จากน้ันนา อุณหภูมขิ องทัง้ 2 เครื่อง มาหาคา่ เฉล่ียและทาการเปรยี บเทยี บ จากผลการทดลอง พบว่าเคร่ือง Cooling Compressor Fan สามารถทาความเย็นได้ และใช้พลังงานไฟฟ้า น้อยกว่าเคร่อื งปรบั อากาศยห่ี ้อ Haier รุ่น HSU-10CTR03T(N) Keywords: คอมเพรสเซอร์, ประสิทธภิ าพการทาความเย็น

หนา 25 อปุ กรณ์ขึ้นรูปถว้ ยใบไม้ ภาณเุ ดช วงคส์ ธุ า1, ฐิติมา ขอสขุ 1, ขวญั นภา ชนะชยั 1 อาสรา ควั อกั เถิง2 และ กิตนุรตั น์ พฤกษชาติ2 1นกั เรียนโรงเรยี นศรีบุญเรืองวิทยาคาร, E-mail: Ttm310144@gmail.com 2โรงเรียนศรบี ุญเรืองวทิ ยาคาร บทคดั ย่อ อปุ กรณข์ ึน้ รปู ถว้ ยใบไม้ที่สร้างขึ้นมีขนาด 40 x 50 x 100 ซม3 (ก x ย x ส) ประกอบด้วย ฐานวางเตาแก๊ส, แบบพิมพ์ ตัวเมยี , แบบพิมพ์ตวั ผู้ และโครงสร้างยึดแบบพมิ พ์ตวั ผู้ ซ่ึงมีค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งส้ิน 1,640 บาท สามารถขึ้นรูปถ้วยใบไม้จาก ใบไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 25 ซม. ข้ึนไป ในการศึกษาครั้งน้ีได้คัดเลือกใบไม้ในท้องถ่ินมา 5 ชนิด ได้แก่ ใบทองกวาว, ใบสัก, ใบตองตึง, ใบยอบ้าน และใบตองแห้ง พบวา่ ถ้วยใบไม้มรี ูปทรงตามแบบพมิ พ์ (เส้นผ่านศูนย์กลาง 18 ซม. ลึก 8 ซม.) ซ่งึ การข้นึ รปู ถ้วยใบไมท้ ่ีทาจากใบสด (ใบทองกวาว, ใบสัก, ใบตองตึง และใบยอบ้าน) จะใช้เวลานานกว่าใบแห้ง (ใบตอง แห้ง) โดยใบสดจะมีความอ่อนตัวในช่วงแรกหลังจากขึ้นรูปมากกว่าใบแห้งแต่จะคงรูปเช่นเดียวกับใบแห้งเมื่อเวลาผ่านไป 3-5 นาที เม่ือศึกษาอัตราการผลิตถ้วยใบไม้ของอุปกรณ์ข้ึนรูปถ้วยใบไม้ พบว่า อัตราการผลิตถ้วยใบไม้จากใบตองแห้ง, ใบสัก, ใบ ทองกวาว, ใบตองตึง และใบยอบ้าน มีค่าเท่ากับ 31, 26, 24, 24 และ 20 ใบต่อช่ัวโมง ตามลาดับ โดยถ้วยใบไม้จากใบไม้ทุก ชนิดที่ข้ึนรูปมีความคงทน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรง เมื่อตกจากที่สูงในระดับ 250 ซม. แต่ถ้วยใบไม้จากใบทองกวาวและ ใบตองตึงมีความคงรูปสงู สุด คือสามารถรองรับน้าได้ 500 มล. โดยที่ถ้วยไม่เกิดการรั่วหรือฉีกขาด ในขณะท่ีถ้วยใบไม้จากใบสัก สามารถรองรบั นา้ ได้ 300 มล. แลว้ เกดิ การรั่วทีบ่ ริเวณกน้ ถว้ ย ซง่ึ ถ้วยใบไม้จากใบยอบ้านและใบตองแห้งสามารถรองรับน้าได้น้อย ที่สุด คือ 200 มล.และยังเกิดการร่ัวแล้วฉีกขาดของถ้วยที่บริเวณก้นถ้วย เมื่อทาการศึกษาความเหนียวของถ้วยใบไม้จากใบ ทองกวาวและใบตองตึงสามารถทนแรงดึง 15 นวิ ตัน ซ่งึ เป็นค่าความเหนยี วสงู สุด รองลงมาคือ ใบสกั , ใบตองแห้ง และ ใบยอบ้าน ท่ีสามารถทนแรงดึงได้ 10, 10 และ 5 นิวตัน ตามลาดับ ทั้งน้ีเม่ือนามาทดสอบการรั่วซึม โดยนาถ้วยใบไม้มาใส่อาหาร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าวตม้ ข้าวสวย และ น้าแข็ง พบว่าถ้วยใบไม้จากใบทองกวาว, ใบสัก และใบตองตึง สามารถบรรจุอาหารทั้ง 3 ชนิด ได้ โดยที่ไม่มีการรวั่ ซมึ ของอาหารและคงรูปได้ตลอดการใช้งาน ในขณะทถี่ ว้ ยใบไม้จากใบยอบ้านและใบตองแห้งสามารถบรรจุอาหาร ทัง้ 3 ชนิด แต่พบการซมึ ของของเหลวจากอาหารและไมส่ ามารถคงรปู ได้เมอ่ื เวลาผ่านไป 6 ชวั่ โมงหลงั การบรรจอุ าหาร คาสาคญั : ถ้วยจากใบไม,้ อุปกรณข์ ึ้นรูปถ้วยจากใบไม้

หนา 26 ชอื่ ส่ิงประดษิ ฐ์ เครื่องดดู แมลงจากพลงั งานธรรมชาติ โครงงานสาขา ฟสิ ิกส์ ผศู้ กึ ษาค้นคว้า 1. นางสาวนลพรรณ นามอาษา 2. นางสาวชลณิดา เพยี งงาม 3. นางสาวพรชติ า เคนถาวร Email pureriku2545@gmail.com ครูที่ปรกึ ษา นายทะนงศักด์ิ ศาสนสพุ นิ ธ์ บทคดั ย่อ เน่อื งจากในปัจจุบันแมลงเปน็ ส่ิงมีชีวติ ทรี่ บกวนผอู้ ยู่อาศัยในบ้านตอนกลางคืนและยังเป็นสิ่งมีชวี ิตที่ ทาลายพชื ผลของเกษตรกร การกาจัดเป็นไปได้ยาก จึงมีการใช้สารเคมี ในการป้องกันและกาจัดแมลงที่เป็น อนั ตรายต่อมนษุ ย์ ดังน้นั ทางคณะผู้จดั ทาจึงมีการคดิ คน้ ส่งิ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์(Invention) คือ เครื่องดดู แมลงจากพลังงานธรรมชาติ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อกาจัดแมลงทท่ี าความเสยี หายให้กับพืชผลทางเกษตรกร และลด การสัมผัสสารเคมขี องเกษตรกรและผบู้ ริโภค โดยทางคณะผ้จู ดั ทาไดใ้ ชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ในการทดลอง คือ พัดลม ระบายอากาศในคอมพิวเตอร์ทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้ว แบตเตอร์ร่รี ถจักรยานยนต์ ขนาด12โวลต์ หลอดไฟDC 12โวลต์ สายไฟฟา้ ท่อพีวีซี แผงโซลาร์เซลล์ 5 วตั ต์ 12โวลต์ โดยใชห้ ลกั การของพัดลมดดู อากาศ คอื เมอ่ื พดั ลมทางาน ด้านหนงึ่ จะมีลักษณะดูดอากาศเข้าหาตัวเครื่อง ส่วนด้านตรงข้ามจะมีลักษณะดดู อากาศออกจากตัวเครื่อง และ ใช้หลอดไฟเปน็ ตวั ลอ่ แมลงให้มาตอมหลอดไฟและใช้พัดลมเปน็ ตัวดูดแมลงใหต้ กลงในถุงพลาสตกิ จาการประดิษฐ์เครื่องเครื่องดูดแมลงจากพลังงานธรรมชาติในครงั้ นี้ประสิทธภิ าพการทางานของเครอ่ื ง เครือ่ งดดู แมลงจากพลงั งานธรรมชาติพบว่าสามารถดดู และกาจัดแมลงศตั รพู ชื ที่มาทาความเสียหายให้กบั พชื ทาง เกษตรไดส้ ะดวก รวดเร็วและประหยัดเวลา และเครื่องเคร่อื งดูดแมลงจากพลังงานธรรมชาติก็สามารถทางานได้ เป็นอย่างดีเพ่ิมปริมาณการผลติ และลดตน้ ทนุ การผลติ ใหต้ ่าลง



หนา 27 กุญแจระบบปลดล็อกด้วยรหัสรปู แบบ ภาคภูมิศรสี วสั ด1ิ์ , ปาณศิ า เทียมฉมิ 1 จตร์วะดีิิิผสุ ด2ี ิและิศภุ วชญ์ิิิภารจนดา2 1นกั เรียนโรงเรียนอนุกลู นาร,ี E-mail pncpndpnt@gmail.com 2โรงเรียนอนกุ ลู นารี บทคดั ย่อ กญุ แจเป็นส่งสาคัญพนื้ ฐานสาหรับการรักษาความปลอดภัยิโดยถือว่าเป็นส่งสาคัญที่ทุกๆบ้านิหรอื จะว่าแทบทุกๆคนก็ เปน็ ได้ที่ตอ้ งมีกญุ แจพกไวเ้ พ่ือใช้ปอ้ งกันและเก็บสง่ ของมีคา่ ของตนไว้เพ่ือมให้บุคคลทีไ่ ม่มีอานาจหน้าที่เขา้ ถึงได้โดยง่ายิเนื่องดว้ ย สภาวะเรง่ รีบในการใชช้ วี ตประจาวนั ของเราทุกวันนิ้ี อาจทาให้เราอาจมักจะลมื สง่ ของตา่ งๆอยเู่ ปน็ ประจาิปัญหาการลืมหรือทาลูก กุญแจสูญหายเป็นปัญหาที่นอกจากจะทาให้ต้องเสียเวลาหาเเล้วิยังอาจนามาซ่ึงการเสียทรัพย์สนตามมาอีกด้วยิจากปัญหาที่ เกดข้ึนจึงได้มีแนวคดการพัฒนากุญแจข้ึนิโดยการสร้างกุญแจระบบปลดล็อคด้วยรูปแบบซ่ึงมีการออกแบบให้ส่วนข องแม่กุญแจ และลกู กุญแจตดเข้าไว้ดว้ ยกนั เพือ่ ลดปญั หาการสูญหายของลูกกญุ แจิิิิิ คณะผู้จัดทาจึงได้นาิArduino มาควบคุมการทางานของิPhoto interrupterิที่มารับสัญญาณในการสัมผัสแล้วส่ง สญั ญาณให้ Servo Motor หมุนเพือ่ ทาการปลดล็อกกุญแจระบบปลดล็อกดว้ ยรหัสรูปแบบ ซง่ึ แบง่ ส่วนในการทดลองเป็นสามสว่ น ดว้ ยกันิคือิการทดลองท1ี่ ิการสรา้ งกุญแจปลดล็อกดว้ ยรหสั รปู แบบไดอ้ อกแบบรหัสรูปแบบการปลดล็อกเป็น3 รูปแบบดงั นีิ้ ตัวิZ โดยลากผ่านเซนเซอร์ตัวที่ิ1,2,3,5,7,8,9 ตามลาดับิตัวN โดยลากผ่านเซนเซอร์ตัวท่ีิ7,4,1,5,9,6,3 ตามลาดับิและตัวP โดยลาก ผ่านเซนเซอร์ตัวท่ี 7,4,1,2,3,6,5 ตามลาดับิการทดลองที่2 พบว่าิเซนเซอร์ตัวที่ิ1,2,3,4,5,6,7,8ิและ9 สามารถแสดงผลการ ทางานได้ปกติและหลอดLEDสีเขยี วิทางานเม่ือวาดรปู แบบของรหสั ถกู ตอ้ งิและไมท่ างานเมอื่ วาดรูปแบบของรหสั ผดิหลอดLEDสี แดงิทางานเมื่อวาดรูปแบบของรหัสผดิและไม่ทางานเม่ือวาดรูปแบบของรหัสถูกต้อง การทดลองที่3 การทางานของกุญแจพบว่าิ เม่ือวาดรหัสถูกต้องตามรูปแบบท่ีได้ตั้งไว้ิในระยะห่าง2mmิพบว่าหลอดLEDสีเขียวทางานิและกุญแจสามารถปลดล็อกได้ิและ เมื่อวาดรหสั ผดจากรปู แบบที่ได้ต้ังไวิ้ ในระยะห่าง2mm พบว่าหลอดLEDสเี ขียวไม่ทางานิแตห่ ลอดLEDสีแดงทางานิซึง่ อยู่ภายใต้ การทางานในสภาวะปกติการทางานของกุญแจจงึ ไม่สามารถปลดลอ็ กไดิ้ ิ คาสาคัญ: กญุ แจ, Arduino, Photo interrupter, Servo Motor

หนา 28 การผลติ เสน้ ใยสบ่นู าโนจากกระบวนการปั่นเสน้ ใยด้วยไฟฟา้ สถติ เจตพร ค้าทว1ี , จีรนันท์ ศิริสวัสดิ์1, ทพิ ยต์ ะวัน แสงด1ี ปยิ ะดา วงั วร2 และ ฉลอง มหวิ รรณ2 1นกั เรยี นโรงเรยี นนครพนมวิทยาคม, E-mail:pang_naka_31@hotmail.com 2โรงเรยี นนครพนมวิทยาคม บทคัดยอ่ โครงงานน้ีได้ทาการศึกษาการผลิตเส้นใยสบู่นาโนจากกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศกึ ษาปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ ขนาดของเสน้ ใยสบนู่ าโน การผลติ เสน้ ใยสบู่นาโนดว้ ยกระบวนการปั่นเสน้ ใยดว้ ยไฟฟา้ สถิต โดยเตรยี ม สารละลายต้ังต้นจากสารต้ังต้นท่ปี ระกอบไปด้วย ไฮดรอกซเี อทลิ เซลลูโลส เอทิลแอลกอฮอล์ เจลสบทู่ ่ีผสมตามสตู รการทาสบู่ เหลว ในขั้นตอนการปั่นเสน้ ใยสบู่นาโนใช้ความตา่ งศักย์ไฟฟา้ 15 กโิ ลโวลต์ และได้เปลีย่ นเสน้ ผ่านศูนย์กลางปลายเขม็ ฉีดยา 0.55 0.90 และ 1.20 มิลลิเมตร และระยะห่างระหว่างปลายเข็มฉีดยากับอุปกรณ์รองรับเส้นใย 5 10 และ 15 เซนติเมตร เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อขนาดของเส้นใยสบู่นาโน จากนั้นนาเส้นใยมาเผาเพื่อกาจัดตัวทาละลายที่ตกค้างในเส้นใยที่ อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส และนาเส้นใยท่ีได้ไปวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่า ท่ีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.55 0.90 และ 1.20 มิลลิเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉล่ีย 349 ± 12 367 ± 10 และ 398 ± 15 นาโนเมตร ตามลาดับ และระยะห่างระหวา่ งปลายเข็มกบั อปุ กรณ์รองรบั เสน้ ใย 5 10 และ 15 เซนติเมตร มขี นาดของเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง เฉลย่ี เทา่ กบั 483 ± 17 437 ± 14 และ 346 ± 12 นาโนเมตร ตามลาดับ คาสาคัญ: เสน้ ใยสบู่นาโน, การป่ันเส้นใยดว้ ยไฟฟ้าสถติ

หนา 29 เครือ่ งไถพรวนดนิ หยอดเมล็ดข้าวโพดกลบหน้าดนิ ลดข้นั ตอนการปลูก ชนพัฒน์ พลไชย1 , ธวัชชัย ทลู นะเหม1 , ภิญญดา ชินเนหนั หา1 , รัฐพล แสนมติ ร2 1 นกั เรียนโรงเรยี นบรบอื วิทยาคาร, E-mail: tawatchaitoolnahem@gmail.com 2 โรงเรียนบรบือวทิ ยาคาร บทคัดย่อ ขา้ วโพดเป็นธญั พืชสาคัญอยา่ งหนง่ึ ของโลกนบั เปน็ พืชอาหารหลักท่ใี ช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งกว้างขวางทัง้ ใน และตา่ งประเทศเพราะนอกจากใชเ้ ป็นอาหารมนษุ ยแ์ ละสัตวโ์ ดยตรงแลว้ ยงั ใชป้ ระโยชน์ในอตุ สาหกรรมได้หลาย อย่าง ในการเพาะปลกู ข้าวโพดทวั่ ไปน้นั ต้องใช้แรงงานและระยะเวลาคอ่ นข้างมาก ซึ่งคณะผู้ศกึ ษามีจดุ ประสงค์เพอ่ื ออกแบบเครือ่ งไถพรวนดนิ หยอดเมล็ดขา้ วโพดกลบหนา้ ดินลดข้นั ตอนการปลกู เพ่ือดาเนินการสรา้ งเครอื่ งไถพรวน ดินหยอดเมลด็ ข้าวโพดกลบหน้าดนิ ลดขนั้ ตอนการปลูก เพ่ือศึกษาประสทิ ธิภาพของเครือ่ งไถพรวนดนิ หยอดเมล็ด ขา้ วโพดกลบหน้าดินลดข้นั ตอนการปลูก เพ่ือศกึ ษาอัตราการหยอดเมล็ดข้าวโพด โดยมลี กั ษณะเป็นเคร่ืองหยอดทม่ี ี ผานอยขู่ า้ งหน้าเชอ่ื มกบั เคร่อื งหยอดทีท่ าจากวสั ดเุ หลอื ใช้เชือ่ มกับเหลก็ ทม่ี ไี ว้กลบหนา้ ดนิ แล้วนาไปตดิ กับ แทรกเตอรเ์ ดนิ ตาม จากนน้ั เปรยี บเทียบระยะเวลาในการทาการทดลอง และอัตราการหยอดเมลด็ ขา้ วโพดท่ีหลน่ ลง พนื้ ในแต่ละครงั้ คือ 5-7 เมลด็ ซ่ึงขนาดของรูท่ที าการศกึ ษา คือ 2.5 เซนตเิ มตร พบวา่ ในการทดลองปลูกข้าวโพดโดยใช้อุปกรณแ์ ละการปลูกแบบปกติให้ผลของตน้ ขา้ วโพดไมต่ ่างกนั แต่ การปลูกโดยใช้เครือ่ งไถพรวนดินหยอดเมลด็ ข้าวโพดกลบหน้าดนิ ลดข้นั ตอนการปลูกสามารถลดขน้ั ตอนการ ยอ้ นกลบั มาปลูกและการกลบหนา้ ดนิ จงึ ทาให้ประหยดั เวลาและทรพั ยากรต้นทนุ ในการปลกู ขา้ วโพด Keywords: อุปกรณ์หยอดขา้ วโพด, แทรกเตอรเ์ ดินตาม, ขา้ วโพด

หนา 30 วงจรตรวจสอบความสุกของผลไม้ พัชริดา ภวู งแหวน1 , ฐานติ า อาทะวิมล1 , มุกลดา อิม่ เขจร1 สายวสนั ต์ วารี2 , ลนิ ดา เขจรแข2 1นักเรยี นโรงเรยี นกาฬสนิ ธุ์พทิ ยาสรรพ์, E-mail: @kalasinpit.ac.th 2โรงเรยี นกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ บทคดั ยอ่ การไปเลอื กซอ้ื ผลไมท้ ี่ตลาดเราจะไม่สามารถร้ไู ดว้ ่าผลไมล้ กู ใดสกุ หรอื ไมส่ กุ เราอาจดไู ดท้ สี่ หี รอื ขนาดของผลไม้ แต่ถา้ เราตอ้ งตรวจสอบผลไม้หลายๆ ลกู และถา้ เราอยใู่ นโรงงานทต่ี อ้ งคดั แยกผลไมส้ กุ และผลไม้ดิบหลายๆ ลูกในเวลาท่ี กาหนด ซ่ึงเปน็ เรื่องยากและตอ้ งใช้เวลานาน และปญั หาสว่ นใหญ่ในโรงงานมกั จะมีแรงงานไมเ่ พียงพอ คณะผจู้ ดั ทาจงึ ได้ คดิ ค้นวงจรตรวจสอบความสุกของผลไม้เพ่อื ตรวจสอบความสกุ ของผลไม้ เพอื่ ศึกษาหาความตา้ นทานของแต่ละสีของผลไมท้ ี่ แสงสะทอ้ นกลับมายงั ตัววงจรวา่ แตกต่างกันอยา่ งไร และเพ่ือสร้างวงจรทส่ี ามารถแยกความแตกต่างระหวา่ งการผลิตสแี ดง และสเี ขียว วธิ ีการทาวงจรกค็ ือใหน้ าอุปกรณ์ทเ่ี ราเตรยี มไวม้ าตอ่ ให้เปน็ จงจร เม่อื ตอ่ เสรจ็ แล้วให้นาวงจรมาตรวจสอบกบั กระดาษสีแดงและสเี ขยี วทีเ่ ราใช้แทนสขี องผลไม้ โดยจะใชห้ ลกั การการสะทอ้ นของแสง และอาศัยหลกั การทางานของ LDR คอื ความต้านทานชนิดที่ไวตอ่ แสง กลา่ วคอื ตัวความต้านทานนส้ี ามารถเปลยี่ นสภาพทางความนาไฟฟา้ ไดเ้ มอ่ื มีแสงมาตก กระทบ และใช้มัลตมิ ิเตอร์ เพอื่ ตรวจสอบคา่ ความต้านทานของแตล่ ะสีของกระดาษเพอ่ื ตรวจสอบวา่ ผลไม้แตล่ ะสีมคี ่าความ ต้านทานแตกตา่ งกันหรอื ไม่และจะดูไดอ้ ย่างไรวา่ เป็นผลไมส้ กุ หรือไม่ ปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการทดลองไดแ้ ก่ ระยะทางจากวงจรถงึ ผิวของกระดาษหรือผลไม้ มุมของพื้นผิวของกระดาษหรอื ผลไม้ ระดบั แสงโดยรอบในห้องทดลอง ในการทดลองเพือ่ หาความ ต้านทานของแต่ละสี ผลคอื เม่ือตอ่ วงจรวดั ความตา้ นทานของกระดาษแตล่ ะสีทห่ี ลอดไฟ LED สีแดงสอ่ งไปยงั กระดาษแต่ละ สแี ลว้ สะทอ้ นกลบั มายงั ตวั LDR ปรากฏวา่ สคี ราม, ฟ้า, เขียว มคี วามตา้ นทานทม่ี ากกว่า 10 โอหม์ เฉลี่ยแลว้ อยูท่ ี่ 15.23 โอห์ม และสีมว่ ง, เหลอื ง, สม้ , แดง, ชมพู มคี วามต้านทานน้อยกว่า 10 โอหม์ ซ่งึ เฉลยี่ แลว้ อยทู่ ี่ 5.28 โอหม์ และในการ ทดลองสร้างวงจรทแ่ี ยกความแตกต่างระหว่างผลติ สีแดงและสเี ขียว ผลคือหลอดไฟ LED สแี ดง จะยังตดิ อยเู่ มอื่ นากระดาษสี แดงมาก้นั แต่หลอดไฟ LED สีแดง จะดับเมือ่ นากระดาษสีเขียวมากนั้ จงึ สรุปไดว้ ่าชว่ งท่ีผลไมส้ กุ จะอยู่ในชว่ งสแี ดง, ส้ม, เหลอื ง, ชมพู และมว่ ง เน่อื งจากมคี า่ ความต้านทานแสงสแี ดงค่อนขา้ งตา่ และผลไม้ดิบจะอยใู่ นช่วงสีเขียว, น้าเงนิ และฟ้า เนือ่ งจากมีค่าความต้านทานแสงสแี ดงค่อนข้างสูง คาสาคัญ: วงจร, ความสกุ ของผลไม,้ หลอดไฟ LED, ตรวจสอบ

หนา 31 อุปกรณ์ปอกเปลือกผักและผลไมต้ ามแนวยาว นายณัฐวุฒิ จนั ทะแจ่ม1 , นางสาวนิราวลั ย์ บารงุ ภกั ดี1 , นางสาวภนิ ญดา ศรวเิ ศษ1 นายกิตตศิ กั ดิ์ สมุ นนอก2 และ นายวุฒิภทั ร ชาตภิ ธู ร2 1 นกั เรียนโรงเรยี นศรีบุญเรอื งวิทยาคาร, E-mail benz55443322@gmail.com 2 โรงเรยี นศรบี ุญเรืองวทิ ยาคาร บทคดั ยอ่ การศึกษาวิจยั เร่ืองอปุ กรณป์ อกเปลอื กผกั และผลไม้ตามแนวยาวโดยนาหลักการทางวทิ ยาศาสตร์เร่ืองคาน และแรง เพื่อทดสอบประสิทธภิ าพการทางานของอปุ กรณ์ปอกเปลอื กผักและผลไมต้ ามแนวยาวกับการปอกเปลอื กด้วยมดี โดยสามารถนาไปใช้ไดจ้ ริงในชีวิตประจาวัน เชน่ การปอกเปลือกผักและผลไม้ของร้านอาหาร การใช้อุปกรณ์ปอกเปลือกผัก และผลไม้ตามแนวยาวจะช่วยเพ่ิมความสะดวกสบาย รวดเร็วและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตราย และยังเป็นการนาวัสดุ เหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นช้ินงาน คือ อุปกรณ์ปอกเปลือกผักและผลไม้ตามแนวยาว ที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง โดยผักและ ผลไมท้ น่ี ามาทดลองคือ มะละกอ สับปะรด และฟกั เขียว ผลการทดลองพบว่าพบว่าการปอกเปลือกมะละกอ สับปะรด และ ฟกั เขยี วด้วยมดี จะใชเ้ วลาเฉล่ียในการปอกอยทู่ ่ี 47.2, 25.5 และ 37.3 วนิ าที ตามลาดบั แตก่ ารใชเ้ ครือ่ งปอกเปลือกผักผลไม้ ตามแนวยาว ที่สรา้ งขน้ึ พบวา่ จะใชเ้ วลาเฉลี่ยในการปอกอยู่ที่ 36.9, 16.7 และ 33.7 วนิ าที ตามลาดับ แสดงใหเ้ หน็ ว่าเครื่อง ปอกเปลือกผักผลไม้ตามแนวยาวท่ีสร้างขึ้น สามารถปอกได้เร็วกว่าการปอกด้วยมีด สรุปได้ว่าอุปกรณ์ปอกเปลือกผักและ ผลไมต้ ามแนวยาวมีความสะดวกสบาย รวดเรว็ และลดความเส่ียงในการเกดิ อันตรายไดม้ ากกวา่ การใชม้ ีดในการปอกเปลือก คาสาคัญ : อุปกรณ์ปอกเปลือกผักและผลไมต้ ามแนวยาว

หนา 32 ต้อู บรองเท้า (Shoe Drying Device) วราภรณ์ ศรวี งราช1, น้าเพชร อินทร์วเิ ศษ1, ปยิ ากร ค้าวงศ์1, นายปาฏหิ าริย์ สาฆ้อง2, นายประไพย สงิ หพงศ์2 ¹นกั เรยี นโรงเรียนสตรีราชนิ ูทิศ , E-mail : piyagorn.dear@gmail.com ²โรงเรียนสตรรี าชินทู ิศ บทคดั ยอ่ โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทส่ิงประดษิ ฐ์ เร่ือง ตอู้ บรองเท้า จัดทาข้ึนโดยมวี ัตถุประสงค์ (1) เพ่ือ สร้างตู้อบรองเท้า ซ่งึ สามารถใชง้ านได้จริงและมปี ระสทิ ธภิ าพ (2) เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีผลตอ่ การทางานของ ตู้อบรองเทา้ โดยตู้อบรองเท้าทีป่ ระดิษฐข์ ้ึนมีขนาด กว้าง 40 เซนตเิ มตร ยาว 55 เซนติเมตร และสงู 61 เซนตเิ มตร มชี นั้ สาหรับวางรองเท้า 2 ชัน้ ซ่งึ สามารถวางรองเท้าได้ทัง้ หมด 4 คู่ หลักการทางาน คือ อาศยั ความรอ้ นจากฮีตเตอร์อินฟราเรด กาลงั ไฟฟา้ 650 วตั ต์ ทาให้นา้ ระเหยออกจากรองเท้า และระบายอากาศช้นื ออกจากตู้อบด้วยพัดลมระบายอากาศขนาดเล็ก กาลังไฟฟ้า 3-6 วัตต์ ซง่ึ ทาใหร้ องเท้าแหง้ ได้เร็วกว่าวิธีตาก แบบธรรมดาท่วั ไป จากการตรวจสอบปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการทางานของตอู้ บรองเทา้ พบว่าการติดเทป อะลูมเิ นยี มที่ผนงั ดา้ นในของตูอ้ บ และการเปดิ พัดลมระบายอากาศทง้ั 2 ตวั มผี ลทาใหร้ องเท้าแหง้ ไดเ้ ร็วยิง่ ข้นึ ค้าส้าคญั : ตู้อบรองเท้า, รองเท้า

หนา 33 เคร่ืองถอนมันสาปะหลงั สทิ ธิพงษ์ บญุ สี1 , อรรถพล เหล่าดวงดี1 , ณรงค์ศักดิ์ สิงห์โท1 , พัฒนวงศ์ ดอกไม้2 และ อรรถพล พนั ธงุ์ าม2 1 นกั เรยี นโรงเรยี นบรบอื วิทยาคาร, E-mail Sitthipongbunsee@gmail.com 2 โรงเรียนบรบอื วทิ ยาคาร บทคัดย่อ การทาโครงงานเรอื่ ง เคร่ืองถอนมนั สาปะหลัง มวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือออกแบบและดาเนนิ การสร้างเครอื่ งถอนมัน สาปะหลงั เพอ่ื ประดษิ ฐเ์ ครื่องถอนมนั สาปะหลงั และเพอ่ื ทดสอบประสทิ ธภิ าพของเครื่องถอนมนั สาปะหลัง แบง่ วิธีการ ออกเป็นข้ันตอนดงั นคี้ ือ ขั้นตอนทห่ี น่งึ ศกึ ษาคุณลักษณะออกแบบและดาเนินการสร้างของเคร่อื งถอนมนั สาปะหลัง ขั้นตอนที่ สองเรมิ่ ทาการประดษิ ฐ์เครือ่ งถอนมันสาปะหลัง ขนั้ ตอนทสี่ ามทดสอบประสิทธภิ าพของเคร่ืองถอนมนั สาปะหลงั ในสภาพดนิ ต่างๆ พรอ้ มทง้ั สรุปผล โดยใช้หลกั การทางานของคาน โมเมนตข์ องแรง และรอกเด่ียวเคลื่อนท่ี ได้ผลการศึกษาดงั น้ี 1) การออกแบบเคร่อื งถอนมันสาปะหลังและดาเนินการสร้างเครอื่ งถอนมนั สาปะหลงั เพือ่ ที่จะได้ผอ่ นแรงให้กับ เกษตรกรในการถอนมันสาปะหลังและลดตน้ ทนุ ในการใช้เคร่ืองจกั รขนาดใหญแ่ ละค่าแรงในการจา้ งคน 2) การประดษิ ฐ์เครือ่ งถอนมนั สาปะหลังจะไดเ้ ครื่องถอนมันสาปะหลังทมี่ ีโครงสรา้ งท่ีเหมาะสาหรับการใช้ถอนมัน สาปะหลงั ในสภาพดนิ ต่างๆ โครงเคร่ืองมขี นาดเหมาะสมสามารถเคลอ่ื นยา้ ยไดอ้ ย่างสะดวก 3) เครอื่ งถอนมันสาปะหลังสามารถท่นุ แรงในการถอนมนั สาปะหลังได้ ทาให้ได้เปรยี บเชิงกลประมาณ 2.33 และ ประสทิ ธภิ าพประมาณ 86% และในสภาพพื้นทป่ี ลกู ตา่ งๆ เครือ่ งถอนมันสาปะหลังสามารถถอนต้นมันสาปะหลังไดโ้ ดยใช้ เวลาต่างกันในแตล่ ะพน้ื ที่ปลกู ในสภาพดนิ เหนยี วใช้เวลาถอนเฉลี่ยต้นละ 0.26 นาที ในสภาพดินรว่ นเฉลี่ยตน้ ละ 0.22 นาที ในสภาพดินทรายเฉลี่ยตน้ ละ 0.20 นาที และในสภาพดินลกู รังเฉลยี่ ต้นละ 0.24 นาที Keywords: เครื่องถอนมันสาปะหลัง, รอกเด่ียวเคลอื่ นท,ี่ คาน, โมเมนตข์ องแรง

หนา 34 เตาจากเศษวสั ดเุ หลอื ใช้ พรี พัฒน ์ บตุ รทา\", ราชัน เพญ็ ประชุม\" , ศภุ ณัฐ หันชยั ศร\"ี จันทราทติ ย์ ภูผานลิ $, จติ ร์วะดี ผุสด$ี 1นกั เรียนโรงเรยี นอนกุ ูลนารี , palmrachan000@gmail.com , โรงเรียนอนกุ ูลนารี บทคัดย่อ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง เตาจากเศษวสั ดุเหลือใช้ มีวตั ถุประสงค์เพอื่ นำวสั ดเุ หลือใชม้ าใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในครัวเรือน อีกยงั มที มี่ าเน่ืองจากในปัจจุบนั ทรัพยากรพลงั งานเช้ือเพลิงของโลกมปี รมิ าณท่ีลดลง ซ่ึงไมเ่ พยี งพอ ต่อความตอ้ งการของมนุษยท์ างคณะผู้จัดทำได้เลง็ เหน็ ถึงปัญหาในจุดน้ี จงึ ไดค้ ดิ จดั ทำอปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือทสี่ ามารถใช้ได้ จรงิ อกี ยังสามารถลดการใช้พลงั งานเช้ือเพลิงบนโลก โดยประดษิ ฐจ์ าก การเจาะฝาป๊ีบออก และตอ่ ท่อเพ่ือเปน็ ช่องทางการไหลเข้าของออกซิเจน เพอื่ ใหม้ ีอากาศซึ่งทำ ใหส้ ามารถเกดิ การเผาไหมข้ ึ้นได้ หลังจากนั้นนำทอ่ วางตรงกลางและเริ่มบรรจเุ ชอ้ื เพลิงลงไปรอบๆท่อภายในเตา และบีบอัด เชอื้ เพลิงใหแ้ น่น และเริ่มทำการทดลองพรอ้ มจดบนั ทึกผลการทดลอง ระยะเวลาการเผาไหมโ้ ดยเฉลย่ี ของเตาคือ 3.07 ชัว่ โมงและมีอณุ หภูมิโดยเฉลี่ยทเี่ ตาสามารถเผาไหม้ไดค้ ือ 531 องศาเซลเซียส เน่อื งจากมีควันเล็กน้อยในช่วงแรกของการทดลอง ซึ่งไมเ่ ปน็ อันตรายต่อผู้ใช้งานผู้ใช้งานสามารถใช้งานในการ ประกอบอาหารให้สกุ ได้ Keywords : เตาจากเศษวสั ดุ

หนา 35 เคร่อื งหยอดนำ้ กรดอตั โนมัติ

หนา 36 เครอื่ งปอกกระเทยี ม อภิสทิ ธ์ิ ลาป1ู้ , พลิ าภรณ์ วรรณแวงควง1 ,จริญาพร สีออ่ น1, อทุ ิศ แสนสุข2 1 นักเรยี นโรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร, E-mail: mbnoljyd-7.68@hotmail.com 2 โรงเรียนบรบือวิทยาคาร บทคัดย่อ โครงงานเรอื่ งเครอื่ งปอกกระเทียม มจี ดุ ประสงค์ คือ 1. เพ่ือสร้างเครอ่ื งปอกกระเทยี ม 2. เพ่อื ศึกษาและ เปรียบเทยี บแรงดันลมคกู่ บั เวลา 3. เพือ่ ศกึ ษาและเปรียบเทยี บแรงดันลมควบคู่กบั ปรมิ าณ แบ่งวิธีการศกึ ษาออกเป็นข้ันตอน ดงั นค้ี ือ ขัน้ ตอนท่หี น่ึงศึกษาคุณลกั ษณะออกแบบดาเนนิ การสร้างของเครอ่ื งปอกกระเทยี มขนั้ ตอนท่ีสองเริ่มทาการประดษิ ฐ์ เครอื่ งปอกกระเทยี ม ขนั้ ตอนท่สี ามทดสอบการศกึ ษาเครื่องปอกกระเทียมตามจดุ ประสงค์ทั้งสรุปผล จากผลการทดลอง 1.) การออกแบบเคร่อื งปอกกระเทยี มและดาเนนิ การสรา้ งเครื่องปอกกระเทยี มเพอื่ ประหยดั เวลาในการจดั เตรยี มวตั ถุดบิ ท่ีไดป้ รมิ าณกระเทียมท่ีเพ่ิมขนึ้ ประหยดั แรงงานคนในการทางาน และเพมิ่ ทางเลือกใน การปอกเปลอื กกระเทียมใหก้ ับผปู้ ระกอบอาหารในรา้ นอาหารครวั เรอื น รา้ นอาหาร และอตุ สาหกรรมอาหารขนาดใหญ่ 2.) ศกึ ษาและเปรยี บเทียบการปอกเปลอื กกระเทียมด้วยแรงลม 110 kg/cm2 เพอ่ื ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บแรงดันลมคูก่ บั เวลา ผลการทดลองครง้ั ท่ี 1,2,3 ในจานวนกระเทียม 20 กลบี ในเวลา 10,20,30 วนิ าที ได้จานวนกระเทยี มที่เปลอื กหลดุ คือ 11,16 และ 20 กลบี ตามลาดบั 3.) ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บการปอกเปลือกกระเทยี มด้วยแรงลม 110 kg/cm2 เพ่อื ศกึ ษาและเปรยี บเทียบแรงดนั ลมควบคูก่ ับ ปรมิ าณ ผลการทดลองคร้งั ท่ี 1,2,3 ในจานวนกระเทียม 10,20,30 กลบี ได้จานวนกระเทียมทเ่ี ปลอื กหลดุ คือ 10,18 และ 26 กลีบ ตามลาดับ Keywords : เครอ่ื งปอกกระเทยี ม กระเทยี ม

หนา 37 การศกึ ษาปจั จัยที่มีผลตอ่ ค่าความส่องสว่างปรากฏของดาวโดยวิธีการทาโฟโตเมตรดี ว้ ย ภาพถา่ ยจากกล้อง DSLR ปนดั ดา วงษา1,รุจนี พิณรัตน์1 , ศศิประภา นารินทร์1, กลุ วรรณ สวนแก้ว2 และ ปิยะพงศ์ หริ ญั รตั น์3 1 นกั เรียนโรงเรยี นผดงุ นารี, E-Mail:sasipapa.love21@gmail.com 2 โรงเรยี นผดุงนารี , 3สถาบันวจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ บทคดั ย่อ การศกึ ษาปัจจัยท่มี ผี ลต่อคา่ ความสอ่ งสว่างปรากฏของดาวโดยวธิ ีการทาโฟโตเมตรดี ้วยภาพถ่ายจากกลอ้ ง DSLR มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อหาค่าความส่องสว่างปรากฏด้วยวิธีการทาโฟโตเมตรีโดยใช้ภาพถ่ายจากกล้อง DSLR 2.เพ่ือศึกษา ความสัมพันธ์ระหวา่ งมุมเงยของดาวกับความส่องสว่างปรากฏของดาว โดยทาการถายภาพเเละรวมภาพถายทางดาราศาสตร์ เเลวนาภาพที่ไดมาวิเคราะหเเละคานวณคาโชติมาตรปรากฏเชิงเครื่องมือของดาว โดยใชโปรเเกรม IRIS ซึ่งในโครงงานน้ีได เลือกใชวิธีโฟโตเมตรี จากภาพถ่ายท่ีได้จากกล้อง DSLR ไดใชคามาตรฐานโชติมาตรปรากฏจากเเคตาล็อค II/168 เพ่ือ เปรียบเทียบคาโชติมาตรปรากฏแล้วจึงนาค่ามาสร้างกราฟเเสดงความสัมพันธข์ องความเข้มของเเสง (intensity)เเละค่ามุม เงยของดาวฤกษ์ในกลุ่มดาวนายพราน จากผลการทดลองสรุปได้ว่า เม่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าความเข้มของแสง (intensity) และค่ามุมเงย ณ ตาแหนง่ 90 ° พบว่ามีค่าความส่องสว่างลดลง อยา่ งเห็นไดช้ ัดและตาแหน่งมุมเงย 30° ถึง 80° จะพบว่า ค่าความเข้มของแสง (intensity) มีการเพ่ิมขึ้นและลดลงใกล้เคียงกันสลับกันและเม่ือนามาเปรียบเทียบกับค่าโชติ มาตรปรากฏ(v magnitude) มาตรฐานจากเเคตตาล็อก พบวา่ ณ มุมเงย 90° ค่าโชตมิ าตรปรากฏ (v magnitude)ของดาว ฤกษ์ทุกดวงในกลุ่มดาวนายพรานมีค่าใกล้ เคียงกับค่าโชติมาตรปรากฏ ( v magnitude) มาตรฐานจากเเคตตาล็อค โดยมี ความคลาดเคลือ่ นรอ้ ยละ 4.53 ถึงร้อยละ 13.81 ส่วนมุมเงยที่ 30° ถงึ 80 °จะมีค่าโชติมาตรปรากฏ (v magnitude) ทีต่ ่าง จากค่าโชติมาตรมาตรฐาน โดยมีความคลาดเคล่ือนรอ้ ยละ 31.64 ถงึ ร้อยละ 227.55 แสดงให้เห็นว่า ณ ตาแหน่งมุมเงย 90° มีผลทาให้เกิดการหักเหของแสงดาวที่น้อยว่ามุมเงย 30° ถึง 80° เพราะมุมตกกระทบย่ิงมากขึ้น การหักเหจะน้อยลงซึ่ง สอดคลอ้ งกบั กฎการหักเหของสเนล คาสาคญั : ดาวฤกษ์,กล้อง DSLR

หนา 38 ศกึ ษาปรากฎการณก์ ารส่ันพอ้ งของสอ้ มเสยี งโดยใชก้ ระดาษเปน็ ตวั หน่วง ฉตั รสุดา สวารกั ษ์¹ , ธญั ชนก สีมดื ¹ , กลุ นิษฐ์ ธรรมชาติ¹ กาญจนา ทองจบ² และ สรุ ชัย สกุ ใส² ¹นักเรยี นโรงเรยี นชมุ พลโพนพสิ ยั , E-mail : namfon1212@icloud.com ²โรงเรียนชุมพลโพนพสิ ัย บทคดั ยอ่ ศึกษาปรากฎการณ์การสั่นพ้องของส้อมเสียงโดยใช้กระดาษเป็นตัวหนว่ ง มีวตั ถุประสงค์เพอื่ อธบิ ายปรากฎการณก์ าร ส่ันพ้องท่มี กี ระดาษเปน็ ตัวหน่วงได้ผลจากการศึกษาพบว่า เมื่อส้อมเสยี งที่มีขายาวต่างกันความถข่ี องส้อมเสยี งทีไ่ ดย้ ินต่าลง ความถีท่ ี่ได้ยินข้นึ อยูก่ บั ความยาวของขาของส้อมเสียง ดังสมการ ������ = 1 √������������������ แสดงวา่ ������ ∝ 1 เมื่อน่าส้อมเสยี งที่สั่นไป ������2 ������2 สมั ผัสกระดาษท่ีมีมวลมาก ความถ่เี สยี งทไี่ ด้ยินตา่ กว่ากระดาษท่ีมมี วลนอ้ ย เน่ืองจากกระดาษที่มีมวลมากจะหน่วง การสนั่ ของ สอ้ มเสียงมากกวา่ กระดาษทมี่ ีมวลนอ้ ย ������������ = ������ √������������ ,µ =������ หรือ ������������ = ������ √������������ แสดงว่า ������������ ∝ 1 และเมอ่ื น่า 2������ 2������ √������ ������ ������ ส้อมเสยี งท่ีสนั่ ไปสัมผัสกรดาษที่มีความยาวมากขึ้นความถี่เสยี งจะมีค่าตา่ ลง เนือ่ งจากกระดาษแผน่ ใหญส่ อ้ มเสยี งจะถ่ายโอน พลงั งานและเกดิ การหนว่ งของระบบมากท่าใหก้ ารส่ันของส้อมเสียงลดลงและความถ่ีจะต่าลงด้วย ดังสมการ ������������ = ������������ 2������ 1 แสดงวา่ ������������ ∝ ������

หนา 39 การศกึ ษาปรากฏการณก์ ารกระดกิ ของเหรยี ญบนปากขวดท่เี ยน็ จัด เมอื่ อุณหภมู ภิ ายในขวดเปลีย่ นไป ฐติ ยิ ากรณ์ ลครพล1 , ปิยะฉัตร ศกึ สงคราม1 , ศนิตา เทพชมพ1ู , รัฐพล แสนมติ ร2 1 นกั เรยี นโรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร, E-mail: 01sanita29ee@gmail.com 2 โรงเรยี นบรบอื วิทยาคาร บทคดั ย่อ การศกึ ษาปรากฏการณ์การกระดิกของเหรียญบนปากขวดทเ่ี ย็นจดั เมือ่ อุณหภูมภิ ายในขวดเปล่ยี นไป มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ศึกษาปรมิ าตรของขวดทม่ี ีผลตอ่ การเปลยี่ นความดันเม่อื อณุ หภมู ิภายในขวดเปลี่ยนไป ศึกษาปัจจัยท่ีสง่ ผลตอ่ ความดันท่ี ทาใหเ้ หรยี ญกระดกิ ไดแ้ ก่ ปรมิ าตรขวด เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางปากขวด มวลเหรยี ญ อณุ หภูมิเรม่ิ ต้น โดยมวี ิธีการทดลองนาขวด ไปแช่ในน้าเกลอื ที่เยน็ จดั จนอุณหภมู ติ า่ กวา่ -8 องศาเซลเซยี ส แลว้ นาขวดมาไวท้ ี่อณุ หภมู ิห้องแลว้ เหรียญมาวางไว้บนปาก ขวดทเ่ี ยน็ จัดเมอื่ อณุ หภมู ภิ ายในขวดเรมิ่ ต้น -5 องศาเซลเซียส แลว้ ใช้หลอดหยดสารหยดนา้ เปล่าลงบนเหรียญ 2 หยด วดั และตรวจจับอณุ หภูมิ ความดนั ด้วย gas pressure บนั ทึกผลดว้ ย data logger โดยทาการทดลองซ้าจานวน 3 ครั้ง จากนั้นเปลี่ยนตวั แปรในแตล่ ะการทดลองตามวัตถปุ ระสงค์ จากผลการทดลองพบวา่ เมื่อปรมิ าตรของขวดลดลงจะส่งผลใหค้ วามดนั ภายในขวดเพิม่ ขนึ้ ทาให้เกิดปรากฏการณ์ เหรียญกระดิก ซึ่งปรมิ าตรของขวดไมม่ ผี ลตอ่ ความดนั ทจี่ ะทาให้เหรียญกระดกิ เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางมีผลต่อการกระดิกของ เหรยี ญไปตามสมการ F=PA มวลเหรยี ญมผี ลตอ่ แรงดันท่จี ะทาให้เหรียญกระดกิ เนื่องจากมวลเหรียญมากขึน้ จะตอ้ งใช้แรงดนั มากข้นึ จึงจะทาใหเ้ หรยี ญกระดกิ อุณหภูมเิ รม่ิ ตน้ ทีแ่ ตกตา่ งกนั ไมม่ ผี ลตอ่ แรงดันภายในขวดท่ีทาใหเ้ หรยี ญกระดิก แตจ่ ะส่งผล กบั เวลาทีท่ าให้เหรยี ญกระดิกกล่าวคือเม่ือใชข้ วดทีม่ อี ุณหภมู ิเรมิ่ ตน้ น้อยแตอ่ ุณหภูมิภายนอกขวดสงู จะทาใหเ้ หรยี ญที่วางไว้ บนปากขวดกระดกิ อย่างรวดเร็ว Keywords: การกระดิกของเหรยี ญ, ปากขวดท่ีเยน็ จดั

หนา 40

หนา 41 กล่องอม่ิ อนุ่ ศิรอิ าภา บญุ ทรง1 , วนัสนันท์ เรืองสวัสด์ิ1 อุไร สตี ะวนั 2 , ครรชิต สิงหส์ ขุ 3 1นักเรยี นโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา, E-mail : info@tnw.ac.th 2โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา , 3มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง กล่องอิ่มอุ่น จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือประดิษฐ์กล่องอ่ิมอุ่นโดยใช้อุปกรณ์ เทอร์โมอิเล็กทริกเป็นตัวทาความร้อนและสามารถควบคุมอุณหภูมิได้ (2) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของกล่องอิ่ม อุ่นที่ประดษิ ฐ์ขน้ึ โดยแบง่ ข้นั ตอนการทดลองออกเป็น 2 ขัน้ ตอนดังน้ี ข้นั ตอนที่ 1 ออกแบบและสรา้ งกลอ่ งอิ่มอนุ่ มีวิธีการทา ดังน้ี ประกอบแผ่นระบายความร้อนเข้ากับอุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กทริกแล้วนาไปติดกับโลหะด้านล่างของกล่อง ติดตั้งพัดลม ระบายอากาศเข้ากับแผ่นระบายความร้อน ต่อวงจรควบคุมกับอุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กทริกและพัดลมระบายอากาศ ข้ันตอนท่ี 2 ทดสอบการใช้งานของกล่องอิ่มอุ่นโดยการให้กระแสไฟฟ้าแก่อุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กทริก 1 ถึง 4 โมดูล เพื่อหา จานวนอุปกรณเ์ ทอรโ์ มอิเลก็ ทรกิ ในการให้อุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอ่ การอุน่ อาหาร ซึ่งอยู่ในช่วง 60-70 องศาเซลเซียส มีวธิ ีการ ทดลองดังน้ี ให้กระแสไฟฟ้า 0.2-1.6 แอมแปร์ พบว่าท่ีกระแสไฟฟ้า 1.6 แอมแปร์ สามารถทาให้อุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กให้ อณุ หภูมิเหมาะสมกับการอนุ่ อาหารได้ โดย 1 โมดูล วัดอุณหภมู เิ ฉลีย่ ภายในกลอ่ งอมิ่ อุน่ ได้ 32.26 องศาเซลเซียส 2 โมดูล วดั อุณหภูมิเฉลี่ยภายในกล่องอ่ิมอุ่นได้ 40.86 องศาเซลเซียส 3 โมดูล วัดอุณหภูมิเฉล่ียภายในกล่องอ่ิมอุ่นได้ 45.44องศา เซลเซียส และ 4 โมดูล วัดอณุ หภูมิเฉลี่ยภายในกล่องอิ่มอุ่นได้ 52.72 องศาเซลเซียส พบวา่ จานวนอุปกรณ์เทอร์โมอิเล็กทริก ทใี่ ห้อณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสมตอ่ การอุ่นอาหาร คอื 4 โมดูล ซึง่ เราทาการทดลองแบบเปิดฝากล่องอม่ิ อ่นุ และเมือ่ ทาการปดิ ฝากลอ่ ง อิ่มอุ่นในการทาการทดลอง พบว่าอุณหภูมิภายในกล่องอ่ิมอุ่นเพิ่มข้ึนได้อุณหภูมิเฉลี่ย 62.44 องศาเซลเซียส และทาการ ทดลองให้กระแสไฟฟ้า 1.6 แอมแปร์ วดั อุณหภูมภิ ายในกล่องอ่มิ อุ่นทม่ี ขี า้ ว 200 กรัม พบวา่ ทีเ่ วลา 60 นาที วดั อุณหภูมิเฉลยี่ ภายในกล่องอ่ิมอุน่ สูงสุดได้ 78.19 องศาเซลเซียส ข้าว 300 กรัม วัดอุณหภูมิเฉล่ียภายในกล่องอ่ิมอุ่นสูงสุดได้ 71.63 องศา เซลเซียส และข้าว 400 กรัม วัดอุณหภูมิเฉล่ยี ภายในกล่องอ่ิมอุ่นสูงสุดได้ 63.19 องศาเซลเซียส พบว่าเมื่อปริมาณอาหารที่ อุน่ เพมิ่ มากขึ้นอณุ หภมู ภิ ายในกล่องอ่ิมอนุ่ ลดลง และจะใช้เวลาในการอุ่นอาหารเพิ่มมากขึ้น หรือถา้ ลดปริมาณอาหารลงกจ็ ะ ทาใหใ้ ช้เวลาในการอนุ่ อาหารลดลงดว้ ย คาสาคัญ : อุปกรณ์เทอรโ์ มอิเลก็ ทริก, กลอ่ งอุ่นอาหารแบบพกพา

หนา 42 เคร่ืองเพ่ิมปริมาณออกซเิ จนจากพลงั งานทดแทนโดยอาศัยหลกั การกาลักนา้ เยาวลกั ษณ์ ไตรพษิ 1 , พชั ชรี อม่ิ บญุ ส1ุ , ศริ ิวฒั น์ อตุ ศาสตร์1 ชาคริสต์ พอ่ ปากด2ี และ วิทยา ผวิ งาม2 1นกั เรียนโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา, E-mail:20762@tnw.ac.th 2โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง เคร่ืองเพ่ิมปริมาณออกซิเจนจากพลังงานทดแทนโดยอาศัยหลักการกาลักน้า มวี ตั ถุประสงค์ 1)เพือ่ ออกแบบและประดิษฐเ์ ครื่องเพ่ิมปริมาณออกซิเจนในแหล่งน้า โดยอาศัยหลักการกาลักน้ามา บ้าบัดน้าเสียโดยไม่อาศัยพลังงานไฟฟ้า 2)เพ่ือศึกษาปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าโดยใช้เครื่องเพิ่มปริมาณ ออกซิเจนจากพลงั งานทดแทนโดยอาศัยหลักการกาลักนา้ 3)เพ่อื เปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพโดยใช้เคร่ืองเพ่ิมปริมาณ ออกซเิ จนจากพลังงานทดแทนโดยอาศัยหลกั การกาลกั น้ากบั ระบบกาลกั น้าทใี่ ชใ้ นการบา้ บัดน้าเสีย โดยแบ่งขันตอน การทดลองออกเป็น 4 ขันตอน ดังนี ตอนท่ี 1 ออกแบบเคร่ืองเพ่ิมปริมาณออกซิเจนโดยอาศัยหลักกาลักน้า ตอนท่ี 2 ประกอบเคร่อื งเพ่ิมปริมาณออกซิเจนโดยเอาตัวถังน้ากับตัวกังหันประกอบเข้ากัน ตอนท่ี 3 ก้าหนดแหล่ง น้าเพื่อติดตังอุปกรณ์ ตอนที่ 4 ทดสอบประสิทธิภาพเครื่องเพิ่มปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้า พบว่า จาก การศึกษาการใช้เคร่ืองเพ่ิมปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าโดยอาศัยหลักการกาลักน้า และแบบไม่ใช้เคร่ืองเพ่ิม ปริมาณออกซิเจนจากพลังงานทดแทนโดยอาศัยหลักการกาลักน้าและระบบกาลักน้าในการทดลองเป็นเวลา 30 นาที ท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ท้าให้เครื่องเพ่ิมปริมาณออกซิเจนโดยอาศัยหลักการกาลักน้า สามารถเพ่ิม ปริมาณออกซเิ จนทลี่ ะลายในน้าได้เฉลีย่ 11.19 มลิ ลิกรมั ต่อลิตร ซ่งึ มากกกวา่ ระบบกาลักนา้ ท่ีใหป้ รมิ าณออกซเิ จนท่ี ละลายในนา้ เฉลย่ี 9.28 มิลลิกรมั ตอ่ ลติ ร และแบบไม่ใช้เครื่องเพ่ิมปริมาณออกซิเจนจากพลังงานทดแทนโดยอาศัย หลักการกาลักน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายในน้าเฉลี่ย 8.15 มิลลิกรัมต่อลิตร ซ่ึงส่งผลให้เครื่องเพิ่มปริมาณ ออกซิเจนจากพลังงานทดแทนโดยอาศัยหลักกาลักน้ามีประสิทธิภาพสามารถเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า ไดม้ ากที่สดุ และมีประสิทธิภาพในการบ้าบัดนา้ เสยี ได้มากกวา่ ระบบกาลักน้าท่ีทางโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยาใช้ใน การบา้ บดั น้าเสีย ค้าส้าคญั : ดีโอ (Dissolved Oxygen, DO) ระบบกาลกั น้า ออกซเิ จน



หนา 43