Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อแผ่นใสหน่วยที่ 5

สื่อแผ่นใสหน่วยที่ 5

Published by aofzanaja85, 2017-07-11 03:30:29

Description: สื่อแผ่นใสหน่วยที่ 5

Search

Read the Text Version

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 1 / 21 5.1 องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม โปรแกรม ( Program ) หมายถงึ การรวมกนั ของบลอ็ คหลาย ๆ บลอ็ คทเี่ ขยี นตามลาดบั ข้นั ตอนในการทางานตามทก่ี าหนดไว้ ในตวั โปรแกรมจะประกอบด้วยคาสั่งทเ่ี กย่ี วกบั การทางานและคาสั่งทชี่ ่วยในการทางาน เช่น คาสั่งการเคล่ือนทเ่ี ร็ว ( G00 ) คาสั่งในการเคล่ือนทแ่ี นวเส้นตรง ( G01 ) เป็ นต้นส่วนคาสั่งช่วยในการทางานประกอบด้วย คาส่ังทท่ี าให้เพลาสปิ นเดลิ หมุน ( Spindle Speed )คาส่ังการเคล่ือนทข่ี องชุดทูล ( Feed rate ) เป็ นต้น

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซีหน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 2 / 21 โปรแกรมเอน็ ซี ( หรือ NC Program) จะมลี กั ษณะเหมือนกบั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทวั่ ไป โดยประกอบด้วยหลายบรรทดั ในแต่ละบรรทดั ประกอบด้วยคาสั่งต่าง ๆ สาหรับ NC โปรแกรมมศี ัพท์เรียกเฉพาะเมื่อเทยี บกบั โปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ทวั่ ไปดงั นี้ภาษาคอมพวิ เตอร์ทวั่ ไป NC โปรแกรมบรรทดั (Line) บลอ็ ก (Block)คาส่ัง เวริ ์ด (Word)ตารางเปรียบเทียบระหวา่ งภาษาคอมพิวเตอร์กบั ภาษาของ NC โปรแกรม

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 3 / 21บลอ็ ก ( Block ) หมายถึง คามาประกอบกนั เป็ นคาสั่งควบคุมการทางานของเครื่องจักร CNC คา ( Word ) หมายถงึ กลุ่มของตวั อกั ษรหรือสัญลกั ษณ์ทป่ี ระกอบกนั ขนึ้ มาเพ่ือกาหนดเงื่อนไข ในการทางานของเครื่องจักรกล CNC โดยทใี่ นแต่ละบลอ็ กประกอบด้วยหลายเวริ ์ด ในแต่ละเวริ ์ดประกอบด้วยหนึ่งตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ หรือเรียกว่า “โค้ด” (Code) ซ่ึงเป็ นคาส่ังให้เคร่ืองจักรกล CNC ทางานในลกั ษณะทตี่ ้องการแล้วตาม ด้วยตัวเลข (Numbers) สาหรับประกอบการสั่งการหรือการทางานน้ัน ๆ

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซีหน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 4 / 21ตวั อย่าง 5.1 NC โปรแกรม N1 G90 F0.5 S 200 T1 M3 N2 G00 X50 Z 2 N3 G01 Z-1จะเห็นว่า NC โปรแกรมประกอบด้วยหลาย ๆ บลอ็ ก (หรือบรรทดั ) แต่ละบลอ็ กประกอบด้วยหลายเวริ ์ด (Word) หรือคาสั่งต่าง ๆ ดงั น้ันตัวอย่างนีเ้ ป็ นการแสดงโปรแกรมเพยี ง 3 บลอ็ กโดยบลอ็ กที่ 1 คือ : N1 G90 F0.5 S200 T1 M3ในบลอ็ กที่ 1 นีม้ ี 6 เวริ ์ด ได้แก่ : N1, G90, F0.5, S200, T1 และ M3ในแต่ละเวริ ์ดประกอบด้วย : 1. โค้ด (Code) หรือ Address เป็ นตัวอกั ษร 2. ตัวเลข (Number)โค้ด ของบลอ็ กที่ 1 ได้แก่ : N, G, F, S, T และ Mตัวเลข ได้แก่ : 1, 90, 0.5, 200, 1 และ 3

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 5 / 215.1.1 ชนิดของคาส่ังของโปรแกรม ซีเอน็ ซี โปรแกรมซีเอน็ ซีโดยปกติแล้วในโปรแกรม จะมคี าส่ังทแี่ บ่งได้เป็ น 4 ประเภท 1.โค้ดคาสั่งการควบคุมโปรแกรม (Program Control Instructions) ยงั แบ่งออกเป็ น 3 ลกั ษณะ - หมายเลขโปรแกรม เช่น O 47511 - หมายเลขบลอ็ ค เช่น N5 , N10 - บรรทดั ทส่ี ่ังให้ข้ามไป เช่น / N7 2.โค้ดคาส่ังทางเรขาคณติ (Geometric Instructions) เป็ นการบอกตาแหน่งการเคล่ือนทข่ี องเครื่องมือตดั ( Tools ) เช่น G00 , G01 ,G02 ,G03

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซีหน่วยการเรียนที่ 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 6 / 213 .โค้ดคาส่ังทางเทคนิค ( Technical Instructions ) เป็ นคาสั่งทเี่ กย่ี วกบั การเคลื่อนที่ เช่น F = อตั ราป้อน ( มม. / นาที ) S = ความเร็วรอบ ( รอบ / นาที ) T = เครื่องมือตัด ( Tools)4.โค้ดคาสั่งช่วย เป็ นคาสั่งทใ่ี ช้ช่วยในการทางานหรือใช้ในการเปิ ดสวทิ ซ์อุปกรณ์ช่วยอ่ืน ๆ เช่น M1 , M3N1 G90 F0.5 S200 T1 M3N2 G00 X50 Z2N3 G01 Z-1 โคด้ คาส่งั ทางเรขาคณิต โค้ดคาส่ังทางเทคนิคและโค้ดคาสั่งช่วยโค้ดคาสั่งการควบคุมโปรแกรม

5.1.2 ชนิดของคา วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี ชนิดของคา หน่วยการเรียนที่ 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 7 / 21 หน้าที่ ตวั อย่าง1. คาบอกบรรทดั กาหนดว่าเป็ นการขนึ้ ต้นบรรทัด N5 , N10 X-5 , Z-102. คาบอกขนาด กาหนดโคออดเิ นตของทางเดนิ ของเครื่องมือตดั I3 J12 , I-3 K0 หรือ R123. คาบอกจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง กาหนดโคออดเิ นตของจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง F100 G90 , G91 , G01 ,4. คาบอกการป้อน กาหนดอตั ราป้อนในการตดั เฉือน G00 ,G02 ,G035. คาบอกลกั ษณะการทางาน กาหนดโหมดคาสั่งซึ่งจะแสดงว่าต้องการจะทา M00 , M30 อะไรในบรรทดั น้ัน S2500 T5 , T106. คาบอกหน้าท่ีอื่น ๆ กาหนดโหมดในการควบคุม เช่นหยุดโปรแกรม จบโปรแกรม7. คาบอกเพลางาน กาหนดความเร็วของเพลางาน8. คาบอกเคร่ืองมือตดั กาหนดหมายเลขของเครื่องมือตดั ทจี่ ะเลือกใช้ ตารางท่ี 2 แสดงชนิดของคาในโปรแกรมซีเอน็ ซี

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนที่ 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 8 / 215.2 สัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในการโปรแกรมสัญลกั ษณ์ / ตวั อกั ษร ลกั ษณะสาคญั A การหมุนรอบแกน X B การหมุนรอบแกน Y C การหมุนรอบแกน Z D หมายเลขกาชดเชยขนาดของเครื่องมือ E อตั ราป้อนรอง F อตั ราป้อน G คาสั่งการเคลื่อนท่ี H การชดเชยความยาวของทูล I จุดศูนย์กลางของโคออดเิ นทวงกลม / โพลาร์โคออดเิ นทในแกน X J จุดศูนย์กลางของโคออดเิ นทวงกลม / โพลาร์โคออดเิ นทในแกน Y K จุดศูนย์กลางของโคออดเิ นทวงกลม / โพลาร์โคออดเิ นทในแกน Z

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 9 / 21สัญลกั ษณ์ / ตวั อกั ษร ลกั ษณะสาคญั L ใช้ในการวนลูป ( Loop ) สาหรับทางานทซี่ ้า ๆ M การทางานเสริม N หมายเลขบลอ็ ก O ( ไม่มกี าหนด ) P การเคล่ือนทขี่ นานกบั แกน X แนวแกนที่ 3 Q การเคลื่อนทขี่ นานกบั แกน Y แนวแกนที่ 3 R การเคลื่อนทข่ี นานกบั แกน Y แนวแกนท่ี 3 S ความเร็วของเพลางาน T เคร่ืองมือตดั ( Tools ) U การเคลื่อนทขี่ นานกบั แกน X แนวแกนที่ 2 V การเคลื่อนทข่ี นานกบั แกน Y แนวแกนที่ 2

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 10 / 21สัญลกั ษณ์ / ตัวอกั ษร ลกั ษณะสาคญั W การเคล่ือนทข่ี นานกบั แกน Z แนวแกนที่ 2 X การเคลื่อนทใ่ี นแนวแกน X Y การเคล่ือนทใ่ี นแนวแกน Y Z การเคลื่อนทใี่ นแนวแกน Z % การเริ่มต้นโปรแกรม * สิ้นสุดบรรทดั ; สิ้นสุดบรรทดั + ( ไม่มกี าหนด ) - ถ้าอยู่หน้าตัวเลขน้ัน เช่น Z-10.0 คือ เคล่ือนทท่ี ูลไปทตี่ าแหน่ง Z – 10.0 / ( ไม่มกี าหนด ) : ( ไม่มกี าหนด )

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 11 / 21 5.3 ภาษาหรือคาสั่งท่ใี ช้ในการโปรแกรม กลุ่มโค้ดหลกั ทใี่ ช้ในโปรแกรมเอน็ ซี คือ โค้ดจี หรือ จโี ค้ด (G Code) และโค้ดเอม็ หรือ เอม็ โค้ด ( M Code) 5.3.1 จโี ค้ด (G Code) จโี ค้ด เป็ นคาสั่งทที่ าให้ระบบควบคุมหรือคอนโทรลเลอร์สั่งการให้เคร่ืองจกั รกล CNC ทาการแมชชีนให้เป็ นรูปทรงเรขาคณติ ตามความต้องการ จโี ค้ด มมี าตรฐานอุตสาหกรรม เช่น มาตรฐาน ISO6983/BS 3635 มาตรฐาน ANSI/EIA RS-274D,( ประเทศสหรัฐอเมริกา ), BS3635 ( ประเทศองั กฤษ ) และมาตรฐาน DIN 66025 ( ประเทศเยอรมนั ) เป็ นต้น

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 12 / 21 G-Code โค้ดพืน้ ฐานโค้ด คาสั่งG00 การเคล่ือนทแ่ี นวเส้นตรงจากจุดหน่ึงไปยงั อกี จุดหน่ึงด้วยความเร็วฟี ดสูงสุด โดยไม่โดนชิ้นงาน หรือวงิ่ “แรพพดิ ” (Rapid)G01 การเคล่ือนทแี่ นวเส้นตรงลกึ เข้าไปในเนื้อของชิ้นงานด้วยความเร็วฟี ดทก่ี าหนดG02 การเคล่ือนทแี่ นวเส้นโค้งวงกลมลกึ เข้าในเนื้อของชิ้นงานในทศิ ตามเขม็ นาฬิกาG03 การเคลื่อนทแ่ี นวเส้นโค้งวงกลมลกึ เข้าในเนื้อของชิ้นงานในทศิ ทวนเขม็ นาฬิกาG04 หยุดการเคล่ือนทใี่ นระยะเวลาทกี่ าหนดหรือ ดะเวลล์ (Dwel)G17 กาหนดใช้ ระนาบ XYG18 กาหนดใช้ ระนาบ XZG19 กาหนดใช้ ระนาบ YZ

โค้ด วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 13 / 21 G20/G70G21/G71 G-Code โค้ดพืน้ ฐาน G80G81 ถงึ 83 คาส่ัง G84G85 ถงึ 88 กาหนดหน่วยความยาวเป็ นนิว้ (Inch) G90 กาหนดหน่วยความยาวเป็ นมลิ ลเิ มตร (mm) G91 ยกเลกิ ไซเคลิ (Cycle) ต่าง ๆ G94 ไซเคลิ การเจาะรู (Driling cycle) ต่าง ๆ G95 ไซเคลิ การทาเกลยี ว G96 ไซเคลิ การคว้านรู (Boring cycle) ต่าง ๆ G97 กาหนดการโปรแกรมให้เป็ นแบบสัมบูรณ์ (Absolute)G98 ถงึ 99 กาหนดการโปรแกรมให้เป็ นแบบสัมพนั ธ์ (Increment) ให้ค่าฟี ดเป็ น มม/นาที (mm/min) หรือ นิว้ /นาที (inch/min) ให้ค่าฟี ดเป็ น มม/รอบ (mm/rev) หรือ นิว้ /รอบ (inch/rev) ให้ความเร็วผวิ (Surface speed) คงที่เป็ น เมตร/นาที (m/min) ให้สปิ นเดลิ หมุนด้วยความเร็วรอบคงที่เป็ น รอบ/ นาที (rpm) ไม่ได้ใช้ใน ISO6983 และ RS-274D

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนที่ 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 14 / 21 5.3.2 เอม็ โค้ด (M Code) เอม็ โค้ด (M Code) คือ คาสั่งอ่ืน ๆ (Miscellaneous Functions) ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การควบคุมกลไกการทางานของเครื่องจักรกล CNC ทไ่ี ม่เกย่ี วข้องกบั การเคลื่อนทข่ี องทูลหมายเหตุ 1. ท้งั G-Code และ M-Code โดยทว่ั ไปจะตามด้วยตัวเลข 2 ตวั แต่ในคอนโทรลเลอร์ บางรุ่นอาจมตี ัวเลข 3 ตวั ได้ เพื่อเพมิ่ คาส่ังให้หลากหลายมากขนึ้ โค้ดบางช่วง เช่น G22 ถึง G32 และ G98 ถึง G99 มาตรฐาน EIA ( Electronic Industries Association ) และมาตรฐานโค้ด ASC ( American Standard Code For Information Interchange ) ( ISO ) ไม่ได้กาหนด ทาให้ผู้ผลติ คอนโทรลเลอร์สามารถกาหนดเป็ นคาส่ังพเิ ศษเพม่ิ เตมิ ได้เอง 2. NC โปรแกรมหรือ จีโค้ดโปรแกรม อาจเรียกโปรแกรมทใ่ี ช้โค้ดของ EIA และ โค้ด ISO (EIA / ISO Code)

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนที่ 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 15 / 21 M - Code โค้ดพืน้ ฐานโค้ด คาสั่งM00 หยุดโปรแกรมชั่วคราว แล้วจะทางานต่อเม่ือกดสวทิ ซ์สั่งM01 หยุดโปรแกรมเม่ือต้องการ (Optional Stop) โดยเมื่อจะให้หยุดต้องกดป่ ุม Optional Stop ทแี่ ผงควบคุมของคอนโทรลเลอร์M03 ให้สปิ นเดลิ หมุนตามเขม็ นาฬิกาM04 ให้สปิ นเดลิ หมุนทวนเขม็ นาฬิกาM05 หยุดหมุนสปิ นเดลิM06 สลบั เปลยี่ นทูลM07 เปิ ดให้นา้ หล่อเยน็ ( Coolant 2 ) ให้ไหลเป็ นละออง ( Mist )M08 เปิ ดให้นา้ หล่อเยน็ ( Coolant 1 ) ให้ไหลท่วมทูล ( Flood )M09 ปิ ดการไหลของนา้ หล่อเยน็M13 ให้สปิ นเดลิ หมุนตามเขม็ นาฬิกาและเปิ ดนา้ หล่อเยน็M14 ให้สปิ นเดลิ หมุนทวนเขม็ นาฬิกาและเปิ ดนา้ หล่อเยน็M30 จบโปรแกรมแล้วกลบั ไปบลอ็ กแรกหรือทเี่ ริ่มต้นโปรแกรม

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 16 / 215.3.3 โค้ดอื่น ๆ ในเวริ ์ด 5.3.3.1 เลขทบี่ ลอ็ ก (Block Number, Sequence Number) : N 5.3.3.2 ตาแหน่ง หรือ ระยะทาง (Dimension) : X Y Z 5.3.3.3 ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของวงกลม 5.3.3.4 ความเร็วสปิ นเดลิ (Spindle Speed) : S 5.3.3.5 ความเร็วฟี ด : F 5.3.3.6 เลขทท่ี ูล : T 5.3.3.7 อ่ืน ๆ

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 17 / 215.3.4 โครงสร้างพืน้ ฐาน โปรแกรมซีเอน็ ซีโดยปกติแลว้ ในโปรแกรม จะมีคาสง่ั ท่ีแบ่งไดเ้ ป็น 5.3.4.1 ส่วนหวั โปรแกรม ไดแ้ ก่ เคร่ืองหมาย % และชื่อโปรแกรมหมายเลข 5.3.4.2 ตวั โปรแกรม หรือตวั NC โปรแกรม 5.3.4.3 ส่วนทา้ ยโปรแกรม ประกอบดว้ ย M30 และเครื่องหมาย % หมายเหตุ ควรศึกษารายละเอยี ดจากบริษทั ผู้ผลติ สาหรับคอนโทรลเลอร์แต่ละรุ่น

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 18 / 211. เราไม่จาเป็นตอ้ งกาหนดเลขที่บลอ็ ก (N) ทุกบรรทดั เช่น ท่ีคาอธิบายลาดบั ท่ี 11 ถึง 13 และ 17 ถึง 24 (ในตารางแถวขวา)ตวั อยา่ ง 5.1 การป้อนเลขท่ีบลอ็ ก เดมิ หรือN6 G0 X0 Z0.1 G0 X0 Z0.1N7 M8 M8N8 G95 G95N9 G1 X0 Z0.1 G1 X0 Z0.1N10 X20 X20

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซีหน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 19 / 212. โคด้ บางตวั จะเรียกวา่ เป็น “โมดเดิล” (Modal) โคด้ เหล่าน้ีจะยงั คงมีผลตอ่ เนื่องตอ่ ๆ ไปในโปรแกรม โดยไม่ตอ้ งเรียกหรือเขียนซ้า จนกวา่ จะมีการเปล่ียนแปลงเป็นอยา่ งอื่น3. ไม่จาเป็นตอ้ งใหค้ ่า X, Y, Z ท้งั หมด สามารถใชเ้ ฉพาะโคออร์ดิเนตท่ีเปล่ียนค่าไป จากเดิมได้ และไม่ตอ้ งใส่ จีโคด้ (G1) ซ้าตวั อยา่ ง 5.2 การป้อนโคออร์ดิเนตเดมิ หรือN9 G1 X0 Z-0.5 G1 X0 Z-0.5N10 G1 X20 Z-0.5 X20N11 G1 X20 Z-25 Z-25N12 G1 X28 Z-25 X28N13 G1 X32 Z40 X32 Z40

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนท่ี 5 : องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม แผ่นใส 20 / 214. เราสามารถเขียนคาสง่ั G และ M บลอ็ กเดียวกนั ได้ เช่น ในคาอธิบายลาดบั ท่ี 19 และ 22 เป็นตน้ แต่จะมีจานวนจากดั เช่น ในหน่ึงบลอ็ กจะไดโ้ คด้ เอม็ สูงสุดจานวน 3 ตวั และโคด้ จี จานวน 2 ตวั เป็นตน้ ตวั อยา่ ง 5.3 การป้อนเอม็ โคด้ เดมิ หรือN5 M3 N5 M3 M8N10 M8

วชิ า : พืน้ ฐานเทคโนโลยซี ีเอน็ ซี หน่วยการเรียนที่ 4 : การกาหนดตาแหน่ง เอน็ ซี โปรแกรม แผ่นใส 21 / 215. โคด้ บางตวั จะถูกกาหนดข้ึนเองเมื่อเริ่มโปรแกรม หรือเป็น “ดิฟอลท”์ (Default หรือ Self Start) เช่น G90, G71 และ G95 สาหรับเคร่ืองกลึง และ G90, G71 and G94 สาหรับเคร่ืองกดั ตวั อยา่ ง 5.5 การป้อนที่เป็น Default ของเคร่ืองกดั เดมิ หรือ N10 G90 N20 G71 N30 G94 N40 G0 X20 Y10 Z10 N10 G0 X20 Y10 Z10 N50 G1 X20 Y10 Z-1 F100 N20 G1 Z-1 F100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook