Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรปฐมวัย

หลักสูตรปฐมวัย

Published by Wannipa Rungrueangsri, 2021-01-14 06:19:47

Description: หลักสูตรปฐมวัย

Search

Read the Text Version

37หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคญั สาระที่ควรรู้ ลรักษา ๑.๓.๒การดูแลรกั ษาธรรมชาติ ธรรมชาติรอบตัว ละ มด้วยตนเอง และสง่ิ แวดลอ้ ม 1.การอนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ มและ ขยะได้ถูกที่ (1)การทากจิ วัตรประจาวนั ที่ การรกั ษาสาธารณสมบตั ิ บตั ติ นตาม ร่วมรบั ผดิ ชอบในการดแู ล 2.การประดษิ ฐเ์ ศษวัสดุ ยได้ตาม ส่งิ แวดลอ้ มทงั้ ภายในและ 3.ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวัน ภายนอก 4.วิธกี ารปลกู ต้นไม้ (2)การทางานศลิ ปะทน่ี าวัสดุ สิ่งของท่ีใช้แลว้ มาใชใ้ หม่ (3)การเพาะปลกู และการดแู ล ตน้ ไม้ (4)การสนทนาข่าวและ เหตุการณท์ ่ีเก่ยี วกับธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม ๑.๓.๒การดแู ลรกั ษาธรรมชาติ บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ มเดก็ และส่งิ แวดล้อม 1.ขอ้ ตกลงของห้อง (1)การทากิจวตั รประจาวันที่ 2.ระเบียบวินยั ร่วมรับผิดชอบในการดูแล ธรรมชาตริ อบตัว สงิ่ แวดลอ้ มทง้ั ภายในและ 1.ถังขยะแตล่ ะประเภท ภายนอก ๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ิตาม เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก วฒั นธรรมท้องถิ่นท่ีอาศัยและ 1.การแสดงมารยาททดี่ ี ความเป็นไทย (1)การเลน่ บทบาทสมมตกิ าร

มาตรฐานที่ ตัวบง่ ชีท้ ี่ สภาพท่พี งึ ประสงค์ สภาพทพี่ งึ ป 4-5 ปี 5- 7.2.2 กล่าวคาขอบคุณ 7.2.2 กล่า และขอโทษด้วยตนเอง และขอโทษ 7.2.3 หยดุ ยนื เม่ือได้ยิน 7.2.3 ยืนต เพลงชาตแิ ละเพลง ร้องเพลงชา สรรเสรญิ พระบารมี เพลงสรรเส มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๘.๑ 8.1.1 เล่นและทา 8.1.1 เล่นแ รว่ มกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ ง ยอมรับความ กิจกรรมร่วมกับเดก็ ท่ี กจิ กรรมรว่ ม มคี วามสุขและ เหมอื นและ แตกตา่ งไปจากตน แตกตา่ งไปจ ปฏบิ ตั ติ นเป็น ความแตกตา่ ง สมาชกิ ท่ดี ขี อง ระหว่างบคุ คล

38หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระทคี่ วรรู้ ปฏบิ ตั ติ นในความเปน็ คนไทย าวคาขอบคณุ ๑.๓.๓ การปฏิบัตติ าม เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก ษดว้ ยตนเอง วฒั นธรรมท้องถน่ิ ที่อาศยั และ 1.การแสดงมารยาททีด่ ี ความเป็นไทย 2.การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดี ตรงและรว่ ม (1)การเล่นบทบาทสมมตกิ าร ของครอบครวั และโรงเรยี น าติไทยและ ปฏบิ ัตติ นในความเปน็ คนไทย สรญิ พระบารมี (2)การปฏบิ ัติตนตาม เรือ่ งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นท่ีอาศยั และ 1.การแสดงมารยาทท่ดี ี และทา ประเพณไี ทย 2.การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ที่ดี มกับเดก็ ที่ ของครอบครัวและโรงเรียน จากตน ๑.๓.๓ การปฏบิ ัติตาม วฒั นธรรมท้องถ่ินที่อาศัยและ เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก ความเปน็ ไทย 1.การปฏบิ ัติต่อผอู้ ื่นอยา่ ง (1)การเล่นบทบาทสมมติการ ปลอดภัย ปฏิบัตติ นในความเปน็ คนไทย เรื่องราวเกย่ี วกับบุคคลและ (2)การปฏิบตั ิตนตาม สถานทีแ่ วดลอ้ มเด็ก วัฒนธรรมท้องถน่ิ ที่อาศัยและ ประเพณไี ทย 1.๒.4 การแสดงออกทาง อารมณ์ (1)การแสดงบทบาทสมมติ 1.๒.6 การเหน็ อกเห็นใจผอู้ ่ืน (1) การแสดงความยินดเี มื่อ

มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ช้ที ่ี สภาพท่ีพึงประสงค์ สภาพท่ีพึงป 4-5 ปี 5- สงั คม ในระบอบ 8.2.2 เลน่ แ ประชาธิปไตยอนั มี ร่วมกบั เพื่อ พระมหากษัตรยิ ์ เป้าหมาย ทรงเป็นประมุข ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๘.๒ มี 8.2.2 เล่นหรอื ทางาน ปฏสิ ัมพันธท์ ่ีดี ร่วมกับเพ่ือนเป็นกลุ่ม กับผูอ้ น่ื 8.2.3 ย้ิม ทักทายหรอื 8.2.3 ย้มิ ท พูดคุยกับผูใ้ หญ่และบคุ คล พูดคยุ กับผใู้ คุ้นเคยได้ดว้ ยตนเอง บุคคลทคี่ ุ้นเ เหมาะสมกับ ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๓ 8.3.1มีสว่ นร่วมสรา้ งขอ้ ตกลง 8.3.1มสี ว่ น ปฏบิ ัติตน และปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงเม่ือมี ข้อตกลงแล เบอ้ื งตน้ ในการ ผู้ชแ้ี นะ ข้อตกลงด้ว เปน็ สมาชกิ ทดี่ ี ของสงั คม ใน ระบอบ

39หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระทค่ี วรรู้ ผูอ้ ่ืนมคี วามสุข เหน็ อกเหน็ ใจ 1.เร่อื งราวของบคคลในครอบ เมอื่ ผ้อู ืน่ เศรา้ หรอื เสียใจ และ ครัว สถานศึกษา ชุมชน และ ช่วยปลอบโยนเม่ือผู้อน่ื ได้รับ บคุ คลต่าง ๆ ทเี่ ด็กเกี่ยวขอ้ งหรือ บาดเจ็บ ใกลช้ ดิ และทางาน 1.๒.2 การเลน่ เรอื่ งราวเกย่ี วกับบคุ คลและ อนอย่างมี (1)การเล่นอสิ ระ สถานท่ีแวดล้อมเดก็ (2)การเลน่ รายบุคคล กลมุ่ 1.การเล่นและทากิจกรรม ยอ่ ย กลมุ่ ใหญ่ รว่ มกบั ผู้อืน่ (3)การเล่นตามมุม 2.ความปลอดภยั ในการเลน่ ประสบการณ์ -การเล่นนอกห้องเรยี น(การ เลน่ น้า เล่นทราย) ทักทายและ 1.2.4 การแสดงออกทาง เรื่องราวเกี่ยวกับบคุ คลและ ใหญ่และ อารมณ์ สถานทแ่ี วดล้อมเด็ก เคยได้ (1) การสะท้อนความรูส้ ึกของ 1.เรยี นร้กู ารร่วมมอื ทางาน บสถานการณ์ ตนเองและผู้อื่น ร่วมกบั ผอู้ น่ื ไดน้ าน 2.การทักทายผู้ใหญ่ เพ่ือน น้อง นรว่ มสร้าง 1.๓.๔ การมีปฏสิ มั พนั ธ์ มี เรื่องราวเกย่ี วกับบคุ คลและ ละปฏบิ ัติตาม วนิ ยั มสี ว่ นร่วมและบทบาท สถานท่ีแวดลอ้ มเด็ก วยตนเอง สมาชิกของสังคม 1.รว่ มกนั สร้างข้อตกลง (1)การรว่ มกาหนดข้อตกลง 2.เดก็ ร่วมกันปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง ของห้องเรียน (2)การเป็นสมาชิกทดี่ ีของ

มาตรฐานที่ ตัวบ่งชีท้ ี่ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพทีพ่ งึ ป 4-5 ปี 5- ประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ 8.3.2 ปฏิบตั ติ นเป็นผนู้ า 8.3.2 ปฏบิ และผตู้ ามได้ด้วยตนเอง ผู้นาและผู้ต เหมาะสมกับ 8.3.3 ประนปี ระนอม 8.3.3 ประ แก้ไขปญั หาโดยปราศจาก แก้ไขปญั หา ความรนุ แรงเม่ือมผี ูช้ ีแ้ นะ ปราศจากก รนุ แรงดว้ ยต

40หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรรู้ ห้องเรียน (3)การให้ความร่วมมือในการ ปฏบิ ตั ิ กิจกรรมตา่ งๆในห้องเรยี น (4)การดแู ลห้องเรยี นร่วมกัน บัติตนเปน็ 1.๓.๔ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ มี เรอ่ื งราวเกีย่ วกับบุคคลและ ตามได้ วนิ ยั มีสว่ นรว่ มและบทบาท สถานที่แวดล้อมเดก็ บสถานการณ์ สมาชกิ ของสังคม 1.ร่วมกันสร้างข้อตกลง (1)การรว่ มกาหนดข้อตกลง 2.เด็กร่วมกนั ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ของห้องเรยี น 3.การเป็นผนู้ าผู้ตาม (2)การเป็นสมาชิกท่ดี ีของ ห้องเรียน (3)การให้ความร่วมมือในการ ปฏิบตั ิ กิจกรรมต่างๆในห้องเรยี น (4)การดูแลห้องเรียนร่วมกัน ะนีประนอม 1.๒.๗การเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น เร่ืองราวเก่ียวกบั บคุ คลและ าโดย (1)การเลน่ บทบาทสมมนุติ สถานทีแ่ วดล้อมเด็ก การใช้ความ เข้าใจความรู้สึกของผู้อ่นื 1.รับรูเ้ รื่องราวของเพ่อื น ตนเอง 2.รับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่น

มาตรฐานท่ี ตวั บ่งช้ที ่ี สภาพท่ีพึงประสงค์ สภาพท่พี งึ ป 4-5 ปี 5- มาตรฐานท่ี ๙ใช้ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๙.๑ ภาษาสอ่ื สารได้ สนทนาโตต้ อบ 9.1.1 ฟังผอู้ น่ื พูดจนจบ 9.1.1 ฟังผ เหมาะสมกับวยั และเลา่ เรือ่ งให้ และสนทนาโตต้ อบ และสนทนา ผอู้ ่นื เข้าใจ สอดคลอ้ งกบั เรื่องท่ีฟัง ต่อเน่อื ง เชื่อ เร่ืองท่ีฟัง 9.1.2 เลา่ เรอื่ งเปน็ 9.1.2 เลา่ เ ประโยคอย่างตอ่ เนื่อง ตอ่ เน่อื งได้ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๙.๒ 9.2.1 อา่ นภาพ 9.2.1 อา่ น อา่ น เขียนภาพ สญั ลกั ษณ์ คา พรอ้ มท้ังช้ี สญั ลกั ษณ์ ค และสัญลกั ษณ์ หรอื กวาดตามองขอ้ ความ ชห้ี รอื กวาด ได้ ตามบรรทัด มองจุดเริ่มต ของขอ้ ความ

41หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรรู้ ผ้อู นื่ พดู จนจบ 1.4.1 การใชภ้ าษา เร่ืองราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก าโต้ตอบอย่าง อมโยงกบั (1)การฟังและปฏบิ ตั ิตาม 1.การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและ เป็นเรื่องราว คาแนะนา ผ้อู นื่ นภาพ (2)การพูดกับผู้อนื่ เกี่ยวกับ สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก คา พรอ้ มทงั้ ดตา ประสบการณ์ของตนเอง หรอื 1.การใช้ภาษาเพื่อสอื่ ตน้ และจดุ จบ ม พดู เลา่ เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ตนเอง ความหมายในชีวติ ประจาวัน ความรูพ้ ้นื ฐานเก่ียวกับการฟัง และการพดู 2.เทคโนโลยแี ละการสื่อสาร ต่างๆ ทใี่ ช้อยู่ในชวี ิตประจาวัน 1.4.1 การใชภ้ าษา สิง่ ต่างๆ รอบตัวเดก็ (1)การพดู กบั ผู้อ่ืนเกี่ยวกับ 1.การใชภ้ าษาเพ่ือส่อื ประสบการณ์ของตนเอง หรือ ความหมายในชวี ติ ประจาวนั พดู เลา่ เรื่องราวเก่ียวกับตนเอง ความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกับการฟัง (2) พดู เรยี งลาดับเพื่อใช้ใน และการพูด การส่ือสาร 1.4.2 การใชภ้ าษา สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเดก็ (1)การอ่านหนงั สือภาพ 1.สญั ลักษณ์ประจาตวั เอง นทิ าน หลากหลายประเภท/ 2.การใช้หนังสือและตวั หนงั สือง รปู แบบ 3.การอา่ นนิทาน (2)การอ่านอิสระตามลาพงั การอ่านรว่ มกนั การอ่านโดยมู้ ชแี นะ

มาตรฐานที่ ตวั บง่ ชที้ ่ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพท่พี งึ ป 4-5 ปี 5- 9.2.2 เขยี นคลา้ ย 9.2.2 เขยี น ตัวอกั ษร ตนเองตามแ ขอ้ ความด้ว เอง มาตรฐานท่ี ๑๐มี ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑๐.๑ 10.1.1 บอกลักษณะและ 10.1.1 บอ ความสามารถใน มคี วามสามารถ สว่ นประกอบของสงิ่ ต่างๆ ส่วนประกอ การคดิ ทเี่ ป็น ในการคิดรวบ จากการสังเกต โดยใช้ เปลย่ี นแปล พื้นฐานในการ ยอด ประสาทสัมผัส ความสัมพนั เรยี นรู้ ต่างๆจากกา ใช้ประสาทส

42หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรรู้ (3)การอา่ นและช้ีขอ้ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงลา่ ง นชอ่ื ของ 1.4.1 การใช้ภาษา เร่อื งราวเกีย่ วกบั ตัวเดก็ แบบเขียน วยวธิ ีที่คดิ ข้นึ -การเขยี นในหลายรูปแบบ -เด็กควรร้จู ักชอ่ื นามสกุล อกลกั ษณะ ผา่ นประสบการณ์ทสี่ อ่ื สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเดก็ อบ การ ลง หรือ ความหมายต่อเดก็ เขยี นภาพ 1.เด็กควรรู้การใช้หนงั สือและ นธ์ของสง่ิ ารสงั เกตโดย เขยี นขดี เขยี่ เขียนคลา้ ย ตวั หนงั สอื สมั ผสั ตัวอักษร เขียนเหมอื น สัญลักษณ์ 1.3.1 การคดิ รวบยอด การ ส่งิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก คดิ เชงิ เหตุผล การตัดสนิ ใจ 1.เด็กควรเรยี นร้รู จู้ กั ช่อื ลกั ษณะ และแก้ปัญหา สี ผิวสมั ผสั (1) การสงั เกตลักษณะ 2.เด็กควรเรียนรขู้ นาด รปู รา่ ง สว่ นประกอบ การ รูปทรง ปรมิ าตร น้าหนกั จานวน เปลยี่ นแปลง และ ส่วนประกอบ ความสมั พนั ธข์ องสิ่งต่าง ๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผัสอยา่ ง เหมาะสม (2)การบอกและแสดง ตาแหนง่ ทศิ ทางและ ระยะทางของส่งิ ต่าง ๆ ดว้ ย การกระทา ภาพวาด ภาพถา่ ย

มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชี้ท่ี สภาพท่พี ึงประสงค์ สภาพที่พงึ ป 4-5 ปี 5- 10.1.2 จับคู่และ 10.1.2 จบั เปรียบเทยี บความแตกต่าง เปรียบเทียบ หรือความเหมือนของสง่ิ แตกตา่ งแล ต่างๆ โดยใชล้ กั ษณะท่ี เหมือนของส สงั เกตเพียงลกั ษณะเดยี ว ใชล้ กั ษณะท ลกั ษณะขน้ึ 10.1.3 จาแนกและจดั 10.1.3 จา กลุ่มส่งิ ตา่ งโดยใชอ้ ย่าง กลมุ่ สง่ิ ต่างๆ น้อย 1 ลกั ษณะเปน็ เกณฑ์ 2 ลกั ษณะข เกณฑ์

43หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรรู้ และรปู ภาพ บคแู่ ละ 1.3.1 การคดิ รวบยอด การ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวบคุ คล บความ คิดเชงิ เหตผุ ล การตดั สนิ ใจ 1.เด็กควรเรียนรขู้ นาด รูปร่าง ละความ และแก้ปัญหา รูปทรง ปริมาตร นา้ หนกั จานวน สิ่งต่างๆโดย (1) การสังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ ท่ีสังเกตพบ2 สว่ นประกอบ การ 2.เด็กควรเรยี นรกู้ ารเลน่ เกม ไป เปลี่ยนแปลง และ การศึกษา ความสัมพันธข์ องสิง่ ต่าง ๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผสั อย่าง เหมาะสม (2)การเปรียบเทียบและ เรียงลาดับจานวนของสง่ิ ต่าง ๆ (3) การจับคู่ การเปรยี บเทียบ และการเรียงลาดบั สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว ความ สงู นา้ หนกั ปริมาตร าแนกและจัด (1)โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่า เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ตัวบุคคลและ ๆโดยใชต้ ง้ั แต่ งเหมาะสม สถานทแี่ วดลอ้ มเดก็ ขน้ึ ไปเป็น (2)การคัดแยก การจดั กลมุ่ 1.เด็กควรรู้จกั ชอื่ ลักษณะ สี 3 และการจาแนกสิง่ ต่าง ๆ ผวิ สมั ผัส ตามลกั ษณะและรูปร่าง 2.เด็กควรเรยี นรขู้ นาด รูปร่าง รปู ทรง รปู ทรง ปริมาตร น้าหนัก จานวน

มาตรฐานท่ี ตวั บ่งช้ที ี่ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สภาพท่ีพงึ ป 4-5 ปี 5- 10.1.4 เรียงลาดับสงิ่ ของ 10.1.4 เรีย หรอื เหตุการณอ์ ย่างนอ้ ย ส่งิ ของและเ 4 ลาดบั อยา่ งน้อย 5

44หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรรู้ ยงลาดบั เหตกุ ารณ์ (3)การรวมและการแยกสิ่ ส่วนประกอบ 5 ลาดบั งต่าง ๆ การคิดรวบยอด การ คิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจ และแก้ปัญหา (1) การสังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ การ เปลี่ยนแปลง แล 1.3.1 การคิดรวบยอด การ เรือ่ งราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก คิดเชงิ เหตผุ ล การตัดสนิ ใจ 1.กิจวัตรประจาวัน และแก้ปัญหา เรอ่ื งราวเก่ียวกบั ตัวบุคคลและ (1) การสงั เกตลกั ษณะ สถานท่แี วดลอ้ มเดก็ ส่วนประกอบ การ 1.เดก็ ควรรูจ้ กั ช่ือ ลักษณะ สี เปล่ยี นแปลง และ ผิวสัมผัส ความสัมพันธ์ของสิง่ ต่าง ๆ 2.เดก็ ควรเรยี นรู้ขนาด รูปรา่ ง โดยใชป้ ระสาทสัมผัสอยา่ ง รูปทรง ปริมาตร น้าหนัก จานวน เหมาะสม ส่วนประกอบ (2) การบอกและเรยี งลาดับ กจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ์ตาม ช่วงเวลา

มาตรฐานที่ ตัวบ่งชี้ที่ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สภาพทพี่ งึ ป 4-5 ปี 5-6 มาตรฐานที่ ๑๑ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๑.๑ 11.1.1สรา้ งผลงาน 11.1.21 ส มีจนิ ตนาการและ ทางานศลิ ปะ ศลิ ปะเพ่อื ส่ือสารความคิด ศลิ ปะเพ่อื สื่อ ความคดิ สร้างสรรค์ ตามจนิ ตนาการ ความรสู้ กึ ของตนเองโดย ความร้สู ึกขอ และความคิด มีการดดั แปลงและแปลก มกี ารดดั แปล สร้างสรรค์ ใหม่จากเดิมหรอื มี ใหม่จากเดิม รายละเอยี ดเ

45หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ 6 ปี ประสบการณ์สาคัญ สาระทค่ี วรรู้ สรา้ งผลงาน ๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเนอ้ื เล็ก ธรรมชาตริ อบตัว อสารความคิด (1)การเขยี นภาพและการเลน่ 1.การอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มและ องตนเองโดย กับสี การรกั ษาสาธาณสมบตั ิ ลงและแปลก (2)การป้นั ส่งิ ต่างๆ รอบตัวเด็ก มหรอื มี (3)การประดษิ ฐ์สิ่งต่าง ๆ 1.จกั สี ขนาด รูปร่าง รปู ทรง เพมิ่ ข้นึ ด้วยเศษวัสดุ ผวิ สัมผสั ของสิง่ ต่างๆ รอบตวั (4)การหยบิ จบั การใช้ 2.การเลือกใช้ส่งิ ของ กรรไกร การฉกี การตัด การ ปะ และการรอ้ ยวสั ดุ ๑.๒.1 สุนทรยี ภาพf (1)การสร้างสรรคส์ ิ่งสวยงาม ๑.๒.4 การแสงออกทาง อารมณ์ (1) การทางานศลิ ปะ 1.4.3จนิ ตนาการและ ความคดิ สร้างสรรค์ (1) การสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานโดย ใชร้ ูปรา่ งรปู ทรงจากวัสดทุ ่ี หลากหลาย

มาตรฐานท่ี ตวั บ่งช้ที ่ี สภาพท่ีพึงประสงค์ สภาพท่ีพงึ ป 4-5 ปี 5-6 มาตรฐานท่ี ๑๒ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๒.๑ 12.1.1 สนใจซกั ถาม 12.1.1 สน หนังสอื มาอา่ มเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ การ มเี จตคติทด่ี ีต่อ เกยี่ วกบั สัญลักษณ์หรอื สือ่ ความคดิ ด เป็นประจาอ เรียนรู้ และมี การเรียนรู้ ตัวหนงั สอื ที่พบเหน็ ความสามารถใน กระตือรือรน้ ในการเข้า การแสวงหาความรู้ รว่ มกิจกรรม ได้เหมาะสมกบั วัย 12.2 มี 12.2.1 คน้ หาคาตอบ 12.2.1 กระ ความสามารถ ของข้อสงสัยตา่ งๆตาม การรว่ มกิจก ในการแสวงหา วิธีการของตนเอง จนจบ ความรู้

46หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ 6 ปี ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรรู้ นใจหยบิ 1.2.4 การแสดงอารมณ์ สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก านและเขียน (1) การสะท้อนความรสู้ ึกของ 1.การใชภ้ าษาเพื่อสอ่ื ดว้ ยตนเอง ตนเองและผูอ้ ่นื ความหมายในชีวติ ประจาวนั อย่างต่อเนอ่ื ง 1.4.1 การใช้ภาษา (1) การรอจังหวะทีเ่ หมาะสม ในการพูด (2) การแสดงความคิด ความรสู้ กึ ความต้องการ 1.4.4 เจตคตทิ ่ีดตี ่อการ เรียนรู้และการแสวงหาความรู้ (1) การตั้งคาถามในเร่ืองท่ี สนใจ (2) สืบเสาะหาความรู้เพ่ือ คน้ หาคาตอบของข้อสงสัย ต่าง ๆ ะตือรือร้นใน 1.2.4 การแสดงอารมณ์ ส่ิงต่างๆ รอบตัวเด็ก กรรมตัง้ แตต่ น้ (1) การรอจังหวะท่ีเหมาะสม 1.การใช้ภาษาเพ่ือสือ่ ในการพูด ความหมายในชวี ิตประจาวนั (2) การแสดงความคดิ 2.การทดลองวิทยาศสตร์ ความรสู้ กึ ความต้องการ 1.4.4 เจตคติที่ดีต่อการ เรยี นร้แู ละการแสวงหาความรู้

มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชี้ท่ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สภาพที่พงึ ป 4-5 ปี 5-6 12.2.2 ใชป้ ระโยค 12.2.2 ใช้ป คาถามวา่ คาถามวา่ “เ “ท่ไี หน” “ทาไม” ใน “อย่างไร” ใ การค้นหาคาตอบ คาตอบ

47หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ 6 ปี ประสบการณ์สาคัญ สาระท่ีควรรู้ (1) การต้งั คาถามในเรื่องที่ สนใจ (2) สืบเสาะหาความรูเ้ พ่ือ ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่าง ๆ ประโยค 1.2.4 การแสดงอารมณ์ สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก เมื่อไหร่” (1) การรอจังหวะทีเ่ หมาะสม 1.การใชภ้ าษาเพ่ือสอ่ื ในการค้นหา ในการพูด ความหมายในชวี ติ ประจาวนั (2) การแสดงความคดิ 2.การทดลองวิทยาศสตร์ ความรู้สกึ ความต้องการ 1.4.4 เจตคตทิ ี่ดีตอ่ การ เรยี นรแู้ ละการแสวงหาความรู้ (1) การตัง้ คาถามในเร่ืองท่ี สนใจ (2) สืบเสาะหาความรเู้ พื่อ ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่าง ๆ

๔๘หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 9. การจดั ประสบการณ์ การจัดประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๔ – ๖ ปี เปน็ การจดั กจิ กรรมในลกั ษณะบูรณาการผ่านการ เล่น การลงมือกระทาจากประสบการณ์ตรงอยา่ งหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รวมทงั้ เกิดการ พัฒนาท้งั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ไมจ่ ดั เปน็ รายวิชา โดยมีหลกั การ และแนวทางการจัด ประสบการณ์ ดังนี้ ๑. หลักการจัดประสบการณ์ ๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรยี นรู้หลากหลาย เพ่ือพฒั นาเด็กโดยองคร์ วมอย่างสมดลุ และ ตอ่ เน่ือง ๑.๒ เนน้ เดก็ เป็นสาคญั สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและบริบทของ สงั คมทีเ่ ด็กอาศยั อยู่ ๑.๓ จัดใหเ้ ด็กได้รับการพัฒนา โดยให้ความสาคญั กับกระบวนการเรียนรแู้ ละพัฒนาการของเด็ก ๑.๔ จัดการประเมินพฒั นาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเน่อื ง และเปน็ ส่วนหน่งึ ของการจัด ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั นาผลการประเมินมาพฒั นาเดก็ อย่างตอ่ เน่ือง ๑.๕ ให้พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทกุ ฝา่ ยท่เี กี่ยวขอ้ งมสี ่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก ๒. แนวทางการจดั ประสบการณ์ ๒.๑ จดั ประสบการณใ์ ห้สอดคลอ้ งกับจติ วิทยาพฒั นาการและการทางานของสมองท่เี หมาะสมกับ อายุ วฒุ ิภาวะและระดบั พฒั นาการ เพ่ือให้เด็กทกุ คนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ ๒.๒ จัดประสบการณใ์ หส้ อดคล้องกับแบบการเรยี นรูข้ องเด็ก เดก็ ไดล้ งมือกระทาเรยี นรู้ผ่านประสา สัมผัสทงั้ หา้ ไดเ้ คล่ือนไหว สารวจ เล่น สังเกต สบื ค้น ทดลอง และคดิ แก้ปญั หาดว้ ยตนเอง ๒.๓ จดั ประสบการณ์แบบบรู ณาการ โดยบรู ณาการทัง้ กิจกรรมทกั ษะและสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จัดประสบการณใ์ หเ้ ด็กได้ริเริม่ คดิ วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทาและนาเสนอความคิดโดยครู หรอื ผ้จู ดั ประสบการณเ์ ปน็ ผ้สู นับสนุนอานวยความสะดวก และเรยี นรรู้ ่วมกบั เด็ก ๒.๕ จดั ประสบการณใ์ ห้เด็กมีปฏสิ มั พันธ์กบั เดก็ อืน่ กับผู้ใหญ่ ภายใตส้ ภาพแวดล้อมท่เี อื้อตอ่ การ เรยี นรู้ ในบรรยากาศท่ีอบอนุ่ มคี วามสุขและเรียนรูก้ ารทากิจกรรมแบบรว่ มมือในลักษณะตา่ งๆกัน ๒.๖ จดั ประสบการณ์ให้เด็กมีปฏสิ มั พนั ธ์กับสอ่ื และแหลง่ การเรียนร่ีหลากหลายและอยใู่ นวถิ ีชีวติ ของเด็ก ๒.๗ จดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมลักษณะนิสยั ทีด่ ีและทักษะการใชช้ วี ิตประจาวนั ตลอดจนสอดแทรก คณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้เป็นสว่ นหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง ๒.๘ จดั ประสบการณท์ ั้งในลักษณะทีด่ กี ารวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนทีเ่ กิดขึ้นในสภาพจริงโดย ไมไ่ ดค้ าดการณ์ไว้ ๒.๙ จดั ทาสารนทิ ศั นด์ ว้ ยการรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบคุ คล นามาไตร่ตรองและใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาเด็ก และการวิจัยในช้ันเรยี น ๒.๑๐ จัดประสบการณโ์ ดยใหพ้ อ่ แม่ ครอบครวั และชุมชนมีส่วนรว่ มท้งั การวางแผน การสนบั สนนุ สื่อแหล่งเรียนรู้ การเข้ารว่ มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ

๔๙หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ๓. การจดั กิจกรรมประจาวนั กิจกรรมสาหรบั เด็กอายุ ๔ – ๖ ปบี รบิ รู ณ์ สามารถนามาจัดเป็นกิจกรรมประจาวนั ได้หลายรปู แบบเป็นการ ช่วยใหค้ รผู ู้สอนหรอื ผจู้ ัดประสบการณ์ทราบวา่ แต่ละวันจะทากจิ กรรมอะไร เมื่อใด และอยา่ งไร ท้งั นี้ การจดั กจิ กรรม ประจาวนั สามารถจดั ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กบั ความเหมาะสมในการนาไปใชข้ องแต่ละหน่วยงานและสภาพชมุ ชน ท่ี สาคัญครูผู้สอนต้องคานงึ ถงึ การจดั กจิ กรรมให้ครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ดา้ นการจัดกจิ กรรมประจาวันมีหลักการจดั และ ขอบข่ายกิจกรรมประจาวนั ดังนี้ ๓.๑ หลักการจดั กิจกรรมประจาวัน 3.1.๑. กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของเด็กในแตล่ ะวนั แต่ ยดื หยนุ่ ได้ตามความต้องการและความสนใจของเด็ก เชน่ วยั ๔ – ๕ ปี มคี วามสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒- ๑๕ นาที วยั ๕ - ๖ ปี มีความสนใจอยู่ไดป้ ระมาณ ๑๕- ๒๐ นาที 3.1.๒. กจิ กรรมทตี่ อ้ งใช้ความคดิ ทงั้ ในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไมค่ วรใชเ้ วลาต่อเนื่องนานเกนิ กว่า ๒๐ นาที 3.1.๓. กจิ กรรมทีเ่ ดก็ มีอสิ ระเลอื กเล่นเสรี เพ่ือชว่ ยใหเ้ ด็กรจู้ กั เลือกตัดสนิ ใจ คิดแก้ปัญหา คิด สรา้ งสรรค์ เชน่ การเลน่ ตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ฯลฯใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที 3.1.๔. กจิ กรรมควรมคี วามสมดลุ ระหวา่ งกิจกรรมในหอ้ งและนอกห้อง กจิ กรรมท่ีใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ และกล้ามเน้ือเล็ก กิจกรรมท่เี ป็นรายบคุ คล กลมุ่ ย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมท่เี ด็กเป็นผรู้ เิ ริ่มและครูผูส้ อนหรือผู้จัด ประสบการณ์เปน็ ผู้รเิ รมิ่ และกิจกรรมที่ใชก้ าลังและไม่ใชก้ าลงั จดั ให้ครบทุกประเภท ทั้งน้ี กจิ กรรมทีต่ ้องออกกาลัง กายควรจัดสลับกบั กจิ กรรมท่ีไมต่ ้องออกกาลงั มากนัก เพ่ือเดก็ จะได้ไม่เหนื่อยเกินไป ๓.๒ ขอบขา่ ยของกิจกรรมประจาวนั การเลอื กกิจกรรมทจี่ ะนามาจัดในแตล่ ะวันสามารถจดั ไดห้ ลายรปู แบบ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยกู่ ับความเหมาะสมในการ นาไปใชข้ องแตล่ ะหน่วยงานและสภาพชมุ ชน ท่ีสาคัญครผู สู้ อนต้องคานึกถงึ การจดั กจิ กรรมให้ครอบคลมุ พฒั นาการ ทุกด้าน ดังต่อไปนี้ ๓.๒.๑ การพฒั นากล้ามเน้อื ใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตวั ความยืดหยุ่น ความ คลอ่ งแคลว่ ในการใช้อวัยวะต่าง ๆ และจงั หวะการเคล่ือนไหวในการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ โดยจัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ อิสระกลางแจง้ เล่นเครื่องเล่นสนาม ปีนป่ายเลน่ อสิ ระ เคลอ่ื นไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี ๓.๒.๒ การพัฒนาการกลา้ มเนื้อเล็ก เปน็ การพฒั นาความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือเลก็ กลา้ มเนื้อมือ-นิ้ว มอื การประสานสัมพนั ธร์ ะหว่างกลา้ มเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสานสมั พนั ธ์ โดยจดั กิจกรรมใหเ้ ด็กไดเ้ ลน่ เคร่ืองสัมผสั เลน่ เกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลอื ตนเองในการแต่งกาย หยบิ จบั ชอ้ นสอ้ ม และใช้ อปุ กรณ์ศลิ ปะ เช่น สเี ทยี น กรรไกร พู่กนั ดินเหนียว ฯลฯ ๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม เปน็ การปลูกฝงั ใหเ้ ดก็ มี ความรสู้ กึ ทีด่ ีต่อตนเองและผอู้ ่ืน มีความเช่ือมน่ั กล้าแสดงออก มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย์ ประหยัด เมตตากรณุ า เอื้อเฟ้ือ แบง่ ปนั มมี ารยาทและปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นบั ถือโดยจัดกิจกรรมต่างๆ ผา่ นการเล่นให้ เดก็ ได้มโี อกาสตัดสินใจเลอื ก ได้รับการตอบสนองตาความต้องการได้ฝึกปฏิบัตโิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่าง ตอ่ เน่ือง ๓.๒.๔ การพฒั นาสังคมนสิ ยั เป็นการพฒั นาใหเ้ ด็กมลี ักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและ อยรู่ ่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสุข ชว่ ยเหลือตนเองในการทากจิ วัตรประจาวนั มนี สิ ัยรักการทางาน ระมัดระวงั ความ ปลอดภยั ของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทงั้ ระมดั ระวงั อันตรายจากคนแปลกหนา้ ให้เด็กได้ปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจาวนั อย่าง สมา่ เสมอ เชน่ รบั ประทานอาหาร พักผอ่ นนอนหลับ ขบั ถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางานร่วมกับผู้อน่ื ปฏิบัตติ ามกฎกติกาข้อตกลงของร่วมรวม เกบ็ ของเขา้ ทเ่ี มือ่ เลน่ หรอื ทางานเสร็จ

๕๐หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพฒั นาใหเ้ ดก็ มีความสามารถในการคดิ แก้ปญั หาความคดิ รวบยอด ทางคณิตศาสตร์ และคิดเชงิ เหตุผลทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรโ์ ดยจัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ ได้สนทนา อภิปรายและ เปล่ียนความคดิ เห็น เชญิ วทิ ยากรมาพดู คุยกับเดก็ ศกึ ษานอกสถานท่ีเล่นเกมการศึกษา ฝกึ การแก้ปญั หาใน ชีวิตประจาวัน ฝึกออกแบบและสรา้ งชนิ้ งาน และทากิจกรรมทัง้ เป็นกลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่และรายบุคคล ๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพฒั นาใหเ้ ด็กใชภ้ าษาส่ือสารถา่ ยทอดความรู้สกึ นึกคิด ความรู้ความ เขา้ ใจในส่งิ ตา่ งๆ ที่เด็กมปี ระสบการณโ์ ดยสามารถตั้งคาถามในสิ่งท่สี งสยั ใคร่รู้ จดั กจิ กรรมทางภาษาใหม้ คี วาม หลากหลายในสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ มุ่งปลูกฝงั ให้เดก็ ไดก้ ล้าแสดงออกในการฟัง พดู อ่าน เขียน มีนิสยั รัก การอ่าน และบุคคลแวดลอ้ มตอ้ งเป็นแบบอย่างท่ดี ใี นการใช้ภาษา ทัง้ นีต้ อ้ งคานกึ ถึงหลักการจัดกจิ กรรมทางภาษาที่ เหมาะสมกบั เดก็ เป็นสาคัญ ๓.๒.๗ การสง่ เสริมจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นการสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ ไดถ้ า่ ยทอดอารมณค์ วามรู้สกึ และเห็นความสวยงามของสิ่งตา่ งๆ โดยจดั กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ดนตรี การเคลอ่ื นไหวและจังหวะตามจนิ ตนาการ ประดษิ ฐส์ ่งิ ต่างๆ อยา่ งอสิ ระ เลน่ บทบาทสมมตุ ิ เลน่ น้า เล่นทราย เล่น บลอ็ ก และเล่นก่อสร้าง การกาหนดเวลาของแตล่ ะกิจกรรมเพื่อจัดทาตารางกจิ กรรมประจาวันสามารถดาเนนิ การไดห้ ลากหลาย รูปแบบข้นึ อยกู่ ับความเหมาะสม ประเด็นสาคญั ของผู้สอนต้องคานงึ ถงึ ความครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ด้าน รายการพฒั นา อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี ชั่วโมง:วนั ช่ัวโมง : วนั 1. การพัฒนาทักษะพน้ื ฐานในชีวติ ประจาวนั (รวมท้ังการ (ประมาณ) (ประมาณ) ชว่ ยเหลือตนเองในการแต่งกาย การรบั ประทานอาหาร สขุ อนามยั และการนอนพักผ่อน) 2 ชม. 2 ชม. 2. การเลน่ เสรี 3. การคิดและความคิดสรา้ งสรรค์ 30 นาที 30 นาที 4. กิจกรรมด้านสังคม 30 นาที 30 นาที 5. กิจกรรมพัฒนากลา้ มเนอ้ื ใหญ่ 20 นาที 20 นาที 6. กจิ กรรมท่ีมกี ารวางแผนโดยผูส้ อน 50 นาที 50 นาที 30 นาที 30 นาที รวมเวลาโดยประมาณ 4.5 4.5

๕๑หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ตารางกจิ กรรมประจาวันปฐมวัยโรงเรยี นบงึ เขายอ้ น (คงพันธุอ์ ปุ ถัมภ)์ เวลา ตารางกจิ กรรมประจาวัน 06.30 - 08.00 รบั เด็ก 08.05 - 08.20 เคารพธงชาติ สวดมนต์ 08.20 - 08.35 ตรวจสขุ ภาพ ไปห้องน้า 08.35 - 09.05 กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ 09.05 – 09.35 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ 09.35 - 10.05 กิจกรรมสรา้ งสรรค์ 10.05 - 10.35 กิจกรรมเสรี 10.35 - 11.00 กจิ กรรมกลางแจ้ง 11.00 - 12.00 พกั (รับประทานอาหารกลางวัน) 12.00 - 14.00 นอนพักผ่อน 14.00 - 14.15 เก็บท่นี อน ล้างหน้า 14.15 - 14.30 ด่ืมนม 14.30 - 15.0๐ เกมการศึกษา 15.00 – 15.20 สนทนาพดู คยุ สรุปกิจกรรม 15.๒๐ - 15.๓๐ เตรยี มตวั กลบั บ้าน แนวทางการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ซ่ึงผู้สอนสามารถนาไปปรับใชไ้ ด้หรอื นานวตั กรรมตา่ ง ๆ มาปรบั ใช้ในการจดั กิจกรรมประจาวันตามความเหมาะสมของสภาพแวดลอ้ มและสถานศึกษา หมายเหตุ กิจกรรมทีจ่ ัดให้เด็กในแตล่ ะวันอาจใชช้ ื่อเรยี กกิจกรรมแตกต่าง กันไปในแต่ละหนว่ ยงาน 1. กจิ กรรมเสรี/การเลน่ ตามมมุ กิจกรรมเสรี /การเล่นตามมุมเป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์หรือ ศูนย์การเรียน ที่จัดไว้ในห้องเรียน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติศึกษา มุมบ้าน มุมร้านค้า เป็นต้น มุมต่าง ๆ เหล่าน้ี เด็กมีโอกาสเลือกเล่นได้อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ท้ังเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม อนึ่งกิจกรรมเสรีนอกจากให้เด็กเล่นตามมุมแล้ว อาจให้เด็กเลือกทากิจกรรมท่ีผู้สอน จัดเสรมิ เชน่ เกมการศกึ ษา เครอื่ งเลน่ สัมผสั กิจกรรมสรา้ งสรรค์ประเภทตา่ ง การจดั กจิ กรรมเสรี / การเลน่ ตามมมุ อาจจัดได้หลายลกั ษณะ เช่น จดั กจิ กรรมเสรี โดยเปิดโอกาสให้เด็กเลือกทากิจกรรมสรา้ งสรรคแ์ ละเลน่ ตามมุม ในชว่ งเวลาเดยี วกัน อยา่ งอสิ ระ จดั กิจกรรมเสรี โดยเนน้ ให้เด็กเลอื กทากิจกรรมสร้างสรรคอ์ ยา่ งน้อย 1-2 อย่าง หรือตามข้อตกลงในแต่ ละวัน จดั กรรมเสรี โดยการจดั มุมศิลปะหรือศนู ย์ศิลปะใหเ้ ป็นส่วนหน่งึ ของมมุ เล่น หรือศนู ย์การเรยี น ฯลฯ

๕๒หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ขอ้ เสนอแนะ 1. ขณะเดก็ เล่น ผสู้ อนต้องคอยสังเกตความสนใจในการเล่นของเด็ก หากพบวา่ มมุ ใด เด็กส่วนใหญ่ ไม่ สนใจทจี่ ะเลน่ แลว้ ควรสบั เปลี่ยนจัดส่อื มมุ เล่นใหม่ อาจคัดแปลงหรือเพิม่ เติมหรอื เปลีย่ นเปน็ มมุ ร้านคา้ มุมเสรมิ สวย มมุ หมอ ฯลฯ 2. หากมุมใดมีจานวนเด็กในมุมมากเกินไป ผู้สอนควรให้เด็กมีโอกาสคิดแก้ปัญหา หรือผู้สอนชักชวนให้ แกป้ ัญหาในการเลือกเล่นมมุ ใหม่ 3. การเลอื กเล่นมุม การเล่นมุมเดียวเป็นระยะเวลานาน อาจทาให้เด็กขาดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านอื่น ผสู้ อนควรชกั ชวนให้เด็กเลอื กมมุ อ่ืนๆ ด้วย 4. ส่ือเคร่ืองเล่นในแต่ละมุม ควรมีการสับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมเป็นระยะเพื่อไม่ให้เด็กเกิดความเบื่อหน่ายเช่น เก็บหนังสือนทิ านบางเลม่ ทเ่ี ด็กหมดความสนใจและนาหนังสือนิทานใหม่มาวางแทน ฯลฯ 2. กจิ กรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และจินตนาการ โดยใช้ศิลปะ เช่น การเขียนภาพ การป้ัน การฉีก-ปะ การตัดปะ การพิมพ์ภาพ การร้อย การ ประดิษฐ์ หรือวิธีการอ่ืนท่ีเด็กได้คิดสร้างสรรค์ และเหมาะสมกับพัฒนาการ เช่น การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ การ สร้างรปู จากกระดานปักหมุด ฯลฯ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ควรจดั ให้เด็กทาทกุ วัน โดยอาจจดั วันละ 3–5 กจิ กรรม ให้เดก็ เลือกทาอย่างน้อย 1-2 กจิ กรรมตามความสนใจ ขอ้ เสนอแนะ 1. การจดั เตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ ควรพยายามหาวัสดทุ ้องถ่ินมาใชก้ อ่ นเปน็ อนั ดบั แรก 2. ก่อนให้เด็กทากิจกรรม ต้องอธิบายวิธีใช้วัสดุที่ถูกต้องให้เด็กทราบ พร้อมสาธิตให้ดูจนเข้าใจ เช่น การใช้ พูก่ นั หรือกาว จะตอ้ งปาดพู่กันหรอื กาวนน้ั กับขอบภาชนะทใ่ี ส่เพอ่ื ไม่ใหก้ าวหรอื สีไหลออกเลอะเทอะ 3. ให้เด็กทากิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทใดประเภทหนึ่งร่วมกันในกลุ่มย่อย เพ่ือฝึกให้เด็กรู้จักการวางแผน และการทางานรว่ มกนั กบั ผอู้ ื่น 4.แสดงความสนใจในงานของเดก็ ทกุ คน ไม่ควรมองผลงานเดก็ ด้วยความขบขันและควรนาผลงานของเด็กทุก คนหมนุ เวียนจดั แสดงทป่ี า้ ยนิเทศ 5. หากพบว่าเด็กคนใดสนใจทากิจกรรมอย่างเดียวตลอดเวลา ควรกระตุ้นเร้าและจูงใจให้เด็กเปล่ียนทา กิจกรรมอื่นบ้าง เพราะกิจกรรมสร้างสรรค์แต่ละประเภทพัฒนาเด็กแต่ละด้านแตกต่างกัน และเมื่อเด็กทาตามท่ี แนะนาได้ ควรใหแ้ รงเสรมิ ทุกครง้ั 6. เก็บผลงานชิ้นทีเ่ ดก็ แสดงความกา้ วหนา้ ของเด็กเปน็ รายบุคคลเพื่อเปน็ ข้อมูลสงั เกตพัฒนาการเด็ก 3. กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ การเคล่ือนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างอิสระตาม จังหวะ โดยใช้เสยี งเพลง คาคลอ้ งจอง ซ่ึงเป็นจังหวะดนตรี ที่ใช้ประกอบได้แกเ่ สยี งตบมือ เสียงเพลง เสยี งเคาะไม้ เคาะเหล็ก รามะนา กลอง ฯลฯ มาประกอบการเคล่ือนไหวเพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เดก็ วัยนี้ร่างกายกาลังอยู่ในระหว่างพัฒนา การใชส้ ่วนต่างๆ ของรา่ งกายยังไม่ผสมผสานหรอื ประสานสัมพันธ์กนั อยา่ ง สมบรู ณ์ การเคลื่อนไหวของเด็กมีลักษณะต่างๆ ดงั นี้ ช้า ไดแ้ ก่ การคบื คลาน เร็ว ไดแ้ ก่ การวิ่ง

๕๓หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ นมุ่ นวล ได้แก่ การไหว้ การบนิ ขึงขงั ไดแ้ ก่ การกระทืบเท้าดัง ๆ ตีกลองดงั ๆรา่ เรงิ มีความสุข ได้แก่ การตบมือ หัวเราะ เศรา้ โศกเสียใจ ได้แก่ สีหน้า ท่าทาง ฯลฯ ทศิ ทางในการเคลอื่ นไหว เคล่ือนไหวไปขา้ งหน้าและข้างหลงั คลื่อนไหวไปขา้ งซา้ ยและข้างขวา เคลื่อนตัวขึ้นลง เคล่ือนไหวรอบทศิ 4. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์/กจิ กรรมในวงกลม กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็ก ได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกการทางานและอยู่ ร่วมกันเป็นกลุ่ม ทั้งกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่จัดมุ่งฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหาใช้ เหตุผลและฝึกปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเร่ืองที่เรียน โดยจัดกิจกรรมด้วยวิธีต่างๆ เช่น สนทนา อภิปราย สาธิต ทดลอง เล่านิทาน เล่นบทบาทสมมุติ ร้องเพลง ท่องคาคล้องจอง ศึกษานอกสถานท่ี เชิญวทิ ยากร มาใหค้ วามรู ฯลฯ การจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ สามารถจดั ไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ 1. การสนทนา อภปิ ราย เป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาในการพดู การฟัง รู้จกั แสดงความคิดเห็น และ ยอมรับความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น ซึ่งสอ่ื ทีใ่ ชอ้ าจเป็นของจรงิ ของจาลอง รูปภาพ สถานการณ์จาลอง ฯลฯ 2. การเล่านิทาน เป็นการเล่าเร่ืองต่าง ๆ ส่วนมากจะเป็นเรื่องท่ีเน้นการปลูกฝังให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม วิธีการน้ีจะช่วยให้เด็กเข้าใจได้ดีขึ้น ในการเล่านิทานส่ือที่ใช้อาจเป็นรูปภาพ หนังสือนิทาน หุ่น การแสดงท่าทาง ประกอบการเลา่ เรอ่ื ง 3. การสาธติ เปน็ การจัดกิจกรรมท่ีตอ้ งการให้เด็กไดส้ ังเกตและเรยี นรู้ตามขัน้ ตอนของกจิ กรรมนัน้ ๆ ใน บางคร้งั ผู้สอนอาจให้เด็กอาสาสมคั รเป็นผูส้ าธติ ร่วมกับผสู้ อนเพ่ือนาไปสกู ารปฏบิ ัติจรงิ เช่น การเพาะเมล็ด การเปา่ ลูกโปง่ การเลน่ เกมการศึกษา ฯลฯ 4. การทดลอง /การปฏิบัติ เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเพราะได้ทดลองปฏิบัติด้วย ตนเอง ได้สังเกตการเปลี่ยนแปลง ฝึกการสังเกต การคิด แก้ปญั หา และส่งเสริมใหเ้ ด็ดมีความอยากรอู้ ยากเหน็ และ คน้ พบด้วยตนเอง เช่น การประกอบอาหาร การทดลองวทิ ยาศาสตรง์ ่ายๆ การเลี้ยงหนอนผเี สอ้ื การปลูกพชื ฯลฯ 5. การศึกษานอกสถานที่ เป็นการจัดกิจกรรมท่ีทาให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงอีกรูปแบบหน่ึง ด้วยการพา เดก็ ไปทัศนะศึกษาสอ่ื ต่าง ๆ รอบสถานศกึ ษาหรือสถานทนี่ อกสถานศกึ ษาเพอ่ื เปน็ การเพิ่มพูนประสบการณ์แก่เดก็ 6. การเล่นบทบาทสมมติ เป็นการให้เด็กเล่นสมมติตนเองเป็นตัวละครต่างๆ ตามเนื้อเรื่องในนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ อาจใช้ส่ือประกอบการเล่นสมมติเพ่ือเร้าความสนใจและก่อให้เกิดความสนุกสนาน เช่น หุ่นสวมศีรษะ ท่ีคาดศีรษะรูปคนและสตั ว์ รูปแบบตา่ งๆ เครื่องแตง่ กาย และอุปกรณ์ของจริงชนดิ ต่างๆ 7. การร้องเพลง เล่นเกม ท่องคาคล้องจอง เป็นการจัดให้เด็กได้แสดงออก เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และเรียนร้เู กีย่ วกบั ภาษาและจังหวะ เกมทน่ี ามาเลน่ ไม่ควรเนน้ การแขง่ ขัน ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรยดึ หลักการจัดกจิ กรรมท่ีเนน้ ใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณต์ รงและมโี อกาสค้นพบดว้ ยตนเองให้มากท่ีสุด 2. ผ้สู อนควรยอมรับความคิดเหน็ ท่หี ลากหลายของเดก็ และใหโ้ อกาสเด็กได้ฝกึ คดิ 3. อาจเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แทนผสู้ อน เช่น พ่อแม่ ตารวจ หมอ ฯลฯ จะช่วยให้เด็กสนใจและสนกุ สนาน ย่ิงขน้ึ 4. ในขณะท่ีเด็กทากิจกรรมหรือหลังจากทากิจกรรมเสร็จแล้ว ผู้สอนควรใช้คาถามปลายเปิดที่ชวนให้เด็กคิด ไมค่ วรใช้คาถามท่ีมคี าตอบ “ใช่” “ไม่ใช่” หรือมีคาตอบให้เดก็ เลอื กและผูส้ อนควรใจเยน็ ให้เวลาเด็กคดิ คาตอบ 5. ชว่ งระยะเวลาที่จดั กิจกรรมสามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ท้งั น้ีใหค้ านงึ ถึงความสนใจของเดก็ และ ความเหมาะสมของกิจกรรมนั้น ๆ เช่น กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ การประกอบอาหาร การปลูกพืช อาจใช้ เวลานานกว่าทกี่ าหนดไว้

๕๔หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ 5. กจิ กรรมกลางแจ้ง กิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพ่ือออกกาลังเคล่ือนไหวร่างกาย และแสดงออกอย่างอิสระ โดยยดึ ความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคนเป็นหลัก กิจกรรมกลางแจ้งท่ีผสู้ อน ควรจัดให้เด็กไดเ้ ลน่ เช่น 5.1 การเลน่ เคร่ืองเล่นสนาม เครอ่ื งเล่นสนาม หมายถงึ เคร่ืองเลน่ ทีเ่ ด็กอาจปนี ป่าย หมุน โยก ซง่ึ ทาออกมาในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ 5.1.1 เครอ่ื งเลน่ สาหรับปนี ป่าย หรือตาขา่ ยสาหรบั ปนี เล่น 5.1.2 เคร่ืองเลน่ สาหรบั โยกหรอื ไกว เชน่ ม้าไม้ ชงิ ชา้ ม้านัง่ โยก ไมก้ ระดก ฯลฯ 5.1.3 เคร่ืองเล่นสาหรับหมนุ เช่น ม้าหมนุ พวงมาลยั รถสาหรบั หมนุ เลน่ 5.1.4 ราวโหนขนาดเล็กสาหรบั เด็ก 5.1.5 ต้นไม้สาหรับเดนิ ทรงตัว หรอื ไมก้ ระดานแผน่ เดียว 5.1.6 เคร่ืองเลน่ ประเภทล้อลืน่ เช่น รถสามลอ้ รถลากจงู ฯลฯ 5.2 การเลน่ ทราย ทรายเปน็ สงิ่ ที่เดก็ ๆ ชอบเล่น ทั้งทรายแห้ง ทรายเปียก นามากอ่ เปน็ รูปต่างๆ ไดแ้ ละสามารถนาวัสดุอนื่ มา ประกอบการเลน่ ตกแต่งได้ เช่น กิ่งไม้ ดอกไม้ เปลือกหอย พิมพข์ นม ทตี่ ักทราย ฯลฯ ปกติบ่อทรายจะอยู่กลางแจ้ง โดยอาจจัดอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ หรือสร้างหลังคาทาขอบก้ัน เพื่อมิให้ทราย กระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้าให้ชื่นเพื่อให้เด็ก ได้ก่อเล่นนอกจากน้ีควรมีวิธีการปิดก้ันมิให้สัตว์เลี้ยงไปทา ความสกปรกในบอ่ ทรายได้ 5.3 การเล่นน้า โดยทั่วไปเด็กชอบเล่นน้ามาก การเล่นน้านอกจากจะสร้างความพอใจและคลายเครียดให้เด็กแล้ว ยังทาให้ เด็กเกดิ การเรียนรู้อีกดว้ ย เชน่ เรียนรู้ทกั ษะการสงั เกต การจาแนกเปรียบเทียบ ปริมาตร ฯลฯ 5.4 การเลน่ สมมติในบา้ นตกุ๊ ตาหรือบ้านจาลอง เปน็ การจาลองสาหรบั ให้เด็กเล่น จาลองแบบจากบา้ นจริง อาจทาดว้ ยเศษวัสดุประเภทผา้ ใบ กระสอบป่าน ของจริงท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว เช่น หมอ้ เตา ชาม อ่าง เตารดี เครอ่ื งครัว ตุก๊ ตาสมมติเป็นบคุ คลในครอบครัว เส้ือผา้ ผู้ใหญ่ ท่ีไม่ใช้แล้วสาหรบผลัดเปลี่ยน มีการตกแต่งบริเวณใกล้เคียงให้เหมือนบ้านจริงๆ บางคร้ังอาจจัดเป็นร้านขายของ สถานทที่ าการต่างๆ เพ่อื ให้เด็กเล่นสมมติตามจินตนาการของเด็กเอง 5.5 การเล่นในมุมช่างไม้ เด็กต้องการการออกกาลังในการเคาะ ตอก กิจกรรมการเล่นในมุมช่างไม้น้ีจะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อให้ แข็งแรง ช่วยฝึกการใช้มือและการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา นอกจากน้ียังฝึกให้รักงานและส่งเสริมความคิด สรา้ งสรรคอ์ ีกดว้ ย 5.6 การเลน่ กับอุปกรณ์กีฬา เป็นการนาอุปกรณ์กีฬามาให้เด็กเล่นอย่างอิสระหรือใช้ประกอบเกมการเล่นท่ีให้อิสระแก่เด็กให้มากท่ีสุด ไม่ ควรเน้นการแข่งขันเพอ่ื มุง่ หวังแพ-้ ชนะ อปุ กรณ์กีฬาทีน่ ิยมนามาให้เดก็ เล่น เชน่ ลกู บอล ถงุ ทราย เปน็ ตน้ 5.7 การเลน่ เกมละเลน่ กจิ กรรมการเล่นเกมการละเล่นท่ีจดั ให้เดก็ เล่น เชน่ เกมการละเลน่ ของไทย เกมการละเลน่ ของท้องถ่นิ เช่น มอญซอ่ นผ้า รีรีข้าวสาร แม่งู โพงพาง เป็นต้น การละเล่นเหล่าน้ีต้องใช้บริเวณที่กว้าง การเล่นอาจเล่นเปน็ กลุ่ม เล็ก/กล่มุ ใหญ่ก็ได้ ก่อนเล่นผู้สอนอธิบายกตกิ าและสาธติ ให้เด็กเข้าใจ ไม่ควรนาเกมการละเล่นที่มีกติกายุ่งยาและเน้น การแขง่ ขนั แพ้ ชนะ มาจัดกจิ กรรมใหก้ ับเดก็ สมวัยน้ี เพราะเด็กจะเกิดความเครียดและความรู้สึกทไ่ี มด่ ตี ่อตนเอง ขอ้ เสนอแนะ 1. หม่ันตรวจตราเคร่อื งเล่นสนามและอุปกรณป์ ระกอบให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภยั และใชก้ ารได้ดีอยเู่ สมอ

๕๕หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ 2. ให้โอกาสเด็กเลือกเล่นกลางแจ้งอยา่ งอิสระทุกวัน อยา่ งน้อยวันละ 30 นาที 3. ขณะเดก็ เล่นกลางแจ้ง ผสู้ อนต้องดูแลอยา่ งใกล้ชิดเพอ่ื ระมัดระวังความปลอดภัยในการเล่น หากพบวา่ เด็ก แสดงอาการเหน่ือย ออ่ นลา้ ควรให้เด็กหยุดพัก 4. ไม่ควรนากิจกรรมพลศึกษาสาหรับเด็กระดับประถมศึกษามาใช้สอนกับเด็กระดับปฐมวัยเพราะยังไม่ เหมาะสมกบั วยั 5. หลังจากการเลิกเล่นกิจกรรมกลางแจง้ ควรใหเ้ ดก็ ไดพ้ ักผ่อนหรือนงั่ พักไม่ควรใหเ้ ด็กรับประทานอาหาร กลางวนั หรือด่ืมนมทนั ที เพราะอาจทาให้เด็กอาเจยี นหรือเกิดอาการจุกแน่นได้ 6. เกมการศกึ ษา เกมการศึกษาเป็นเกมท่ีช่วยพัฒนาสติปัญญามีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็น กลุ่มได้ ช่วยให้เด็กรู้จักสังเกต เปรียบเทียบ คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เก่ียวกับสี ขนาด รูปร่าง จานวน ประเภท และความสัมพันธ์เก่ียวกับพ้ืนท่ี ระยะ เกมการศึกษาท่ีเหมาะสมสาหรับเด็กวัย 3–5 ปี คือ เกม จบั คู่ แยกประเภท จดั หมวดหมู่ เรียงลาดบั โดมิโน ลอตโต ภาพตัดต่อ ต่อตามแบบ เรียงลาดับขนาด เรยี งลาดับ เหตกุ ารณ์ ฯลฯ ขอ้ เสนอแนะ 1. การสอนเกมการศึกษาในระยะแรก ควรเรม่ิ สอนโดยใช้ของจริง การจบั คูก่ ระป๋องแป้งท่ีเหมอื นกัน หรือ การเรยี งลาดบั กระป๋องแปง้ ตามลาดับสูง - ตา่ 2. การเล่นเกมในแต่ละวัน อาจจัดใหเ้ ล่นทงั้ เกมชุดใหม่และเกมชดุ เกา่ 3. ผสู้ อนอาจใหเ้ ดก็ หมุนเวยี นมาเลน่ กบั ผสู้ อนทีละกลมุ่ หรือสอนท้งั ชน้ั ตามความ เหมาะสม 4. ผู้สอนอาจใหเ้ ดก็ ทเ่ี ลน่ ไดแ้ ลว้ มาชว่ ยแนะนากตกิ าการเลน่ ในบางโอกาสได้ 5. การเลน่ เกมการศกึ ษา นอกจากใชเ้ วลาในช่วงกจิ กรรมเกมการศึกษาตามตารางการจดั กจิ กรรมประจาวนั แลว้ อาจใหเ้ ด็กเลน่ อิสระในชว่ งกิจกรรมเสรีได้ 6. การเกบ็ เกมท่ีเลน่ แล้ว อาจเกบ็ ใส่กล่องเลก็ ๆ หรือใสถ่ งุ พลาสติกหรือใช้ยางรัดแยกแตล่ ะเกม แลว้ ใส่กลอ่ ง ใหญ่รวมไวเ้ ปน็ ชุด

๕๖หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ 10. การกาหนดการจัดประสบการณช์ ้ันอนุบาล 2 โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพันธอุ์ ุปถัมภ์) ภาคเรยี นท่ี 1 และ 2

๕๗หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ การกาหนดการจัดประสบการณ์ช้ันอนุบาล 2 โรงเรยี นบงึ เขายอ้ น (คงพันธอุ์ ปุ ถมั ภ)์ ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ชน้ั อนุบาลปที ี่ ๒ (อายุ ๔ – ๕ ป)ี ภาคเรียนท่ี ๑ สปั ดาห์ สาระการเรียนรู้ หน่วย เรือ่ งย่อย 1 เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เด็ก 2 เรอื่ งราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก 1. รจู้ กั ชื่อครู แนะนาชอ่ื ตวั เอง รจู้ กั ช่ือเพื่อน 3 เร่ืองราวเกีย่ วกบั ตวั เด็ก 2. ข้อตกลงในการใชห้ ้องเรียน 4 เรื่องราวเก่ยี วกับตวั เด็ก ทักทายเพื่อนใหม่ 3. ร้จู ักของใช้ประจาตวั เอง 5 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก 4. การเก็บของเล่นเขา้ ท่ี 5. การปฏบิ ัตใิ นการใชห้ อ้ งนา้ หอ้ งสว้ ม 1. บอกช่อื เล่น ชอื่ จรงิ และนามสกลุ ของตนเอง 2. การบอกวนั เกิด ฉันและเธอ 3. การสังเกตจาแนกความแตกตา่ งของร่างกาย 4. การชงั่ น้าหนกั และวัดส่วนสูง 5. การรุ้จกั ตวั เลข 1-10 1. อวัยวะส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย 2. รปู รา่ งลกั ษณะ มารู้จักอวัยวะ 3. หน้าทแ่ี ต่ละส่วนของร่างกาย 4. วิธีการดูแลรกั ษา 5. ประโยชน์ 1. ตาและหู มีหน้าทอ่ี ะไร 2. จมกู กล่นิ หอมและกลิ่นเหม็น รบั รูส้ มั ผสั ท้งั 5 3. ล้นิ รับรสชาติ 4. กาย รับความร้สู ึก 5. ประสาทสมั ผสั ทง้ั ห้า 1. การเข้าห้องน้า 2. การแปรงฟนั ท่ถี กู วิธี สุขนสิ ยั ดมี สี ุข 3. การรักษาความสะอาดเครื่องแตง่ กาย 4. การรกั ษาความสะอาดร่างกาย 5. การพกั ผ่อนนอนหลบั และออกกาลังกาย

๕๘หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ หน่วย เรื่องย่อย 6 เร่ืองราวเกย่ี วกบั ตวั เด็ก 1. การปอ้ งกันอนั ตรายจากของมคี ม 7 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก 2. การปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุจากการเดนิ ทาง ปลอดภัยไวก้ ่อน 3. การป้องกนั อบุ ตั เิ หตุภายในบา้ น 8 เร่อื งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก 4. การปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตนุ อกบา้ น 9 5. การระวังภยั จากคนแปกหนา้ 10 เร่อื งราวเก่ยี วกบั บุคคลและ สถานทแ่ี วดลอ้ มเด็ก 1. รจู้ ักชือ่ อาหาร วันสาคัญ 2. อาหารที่ควรรบั ประทานและไม่ควร รบั ประทาน อาหารดชี ีวมี สี ขุ 3. อปุ กรณ์ในการรับประทานอาหารและ มารยาทในการรับประทานอาหาร 4. การประกอบอาหาร 5 ประโยชนข์ องอาหาร 1. มารยาทในการเดิน 2. มารยาทในการไหว้ผูใ้ หญ่ หนูน้อยมารยาท 3. มารยาทในการกราบผใู้ หญ่ งาม 4. มารยาทในการกราบพระ 5. มารยาทในการรับของสง่ ของ 1. ครอบครัวของหนู 2. สมาชกิ ในครอบครวั รู้จักครบครวั 3. กิจกรรมในครอบครัว ของฉนั 4. บทบาทและหนา้ ท่ีของสมาชิกในครอบครวั 5. มารยาทในครอบครัว 1. ความหมายความสาคัญของวนั อาสาฬหบชู า 2. ความหมายความสาคญั ของวนั เขา้ พรรษา วันเข้าพรรษา 3. การปฏบิ ตั ติ นท่ีเหมาะสมเม่อื ไปวดั 4. กิจกรรมท่ีเด็กทาเม่ือไปวดั 5. การถวายเทียนพรรษา

๕๙หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ สปั ดาห์ สาระการเรยี นรู้ หนว่ ย เรื่องย่อย 11 12 เรอ่ื งราวเกย่ี วกับบุคคลและ 1. ความหมายและประโยชน์ของบ้าน2. พ้ืนท่ี 13 สถานที่แวดลอ้ มเดก็ และบริเวณรอบบ้าน 14 บา้ นแสนรกั 3. ประเภทและสว่ นประกอบของบา้ น 15 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ 4. ห้องตา่ งๆภายในบ้าน สถานทแ่ี วดล้อมเดก็ 5. การรักษาทาความสะอาดบา้ น วนั สาคัญ 1. รจู้ ักชือ่ โรงเรียน 2. อาคารสถานทีใ่ นโรงเรียน เรื่องราวเกยี่ วกับบุคคลและ โรงเรยี นของเรา 3. บุคคลในโรงเรียน สถานท่ีแวดล้อมเด็ก นา่ อยู่ 4. การปฏิบัติตนภายในโรงเรียน 5. การดแู ลรักษาสถานท่ตี ่างๆภายในโรงเรยี น เรื่องราวเก่ยี วกบั บุคคลและ สถานที่แวดลอ้ มเดก็ 1. ความสาคัญของวนั แม่ 2. กิจกรรมทีท่ าในวนั แม่ วันแม่ 3. สญั ลักษณว์ นั แม่ 4. บทบาทหน้าท่แี ม่ 5. การปฏิบตั ติ ทิ ีด่ ีต่อพ่อแม่ 1. คาขวัญของจังหวัด 2. ช่อื และลักษณะภูมิประเทศของจงั หวัด เรยี นรู้จงั หวดั ของ 3. อาชีพและอาหารพ้นื เมือง ฉัน 4. สถานทสี่ าคญั ของจังหวดั 5. ศาสนาประเพณีของจังหวัด 1. ชอ่ื อาชีพต่างๆ 2. หนา้ ท่แี ละการแต่งกายของแตล่ ะอาชพี อาชีพที่หนูรูจ้ ัก 3. สถานท่ใี ช้ปฏิบตั ิงานในแต่ละอาชพี 4. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประกอบอาชีพ 5. ความฝันท่ีหนูอยากเป็น

๖๐หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ หน่วย เรอ่ื งย่อย 16 เร่อื งราวเกี่ยวกับบุคคลและ 17 1. บ้าน 18 สถานทีแ่ วดลอ้ มเด็ก 2. โรงพยาบาลและสถานตี ารวจ 19 ส่ิงแวดลอ้ ม 3. สถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับบุคคลและ รอบตัวฉัน 4. สถานท่ที ีส่ าคญั ทางศาสนา 20 สถานที่แวดล้อมเด็ก 5. สถานท่ที ส่ี ามารถซื้อของได้ บรู ณาการอาเซียน 1. รจู้ กั ช่อื ประเทศ และสญั ลกั ษณ์ 2. ดอกไม้ประจาชาติ ธรรมชาติรอบตวั เมอื งไทยน่าอยู่ 3. เพลงชาติและสีประจาชาติ 4. สถานทสี่ าคญั ในชาติ ธรรมชาตริ อบตัว 5. การละเล่นของแตล่ ะจังหวัด 1. ธงอาเซียน 2. ตราสญั ลักษณ์อาเซียน อาเซียนน่ารู้ 3. คาขวญั อาเซยี น 4. เพลงอาเซยี น 5. ภาษาอาเซยี น 1. ช่อื ของสิ่งมชี วี ติ 2. ชอ่ื ของสงิ่ ไมม่ ีชีวติ สงิ่ มีชวี ติ และไม่มี 3. ลกั ษณะของส่ิงมชี วี ติ ชวี ติ 4. ลกั ษณะของสิ่งไม่มชี ีวติ 5. ศาสนาประเพณีของจังหวัด 1. ประเภทของสัตว์ 2. รูปร่างและลกั ษณะของสัตว์ประเภทตา่ งๆ 3. อาหารของสตั วแ์ ตล่ ะประเภท สัตว์โลกนา่ รกั 4. ที่อยู่อาศัยของสตั ว์แตล่ ะประเภท 5. ประโยชน์ โทษ และการดูแลสัตว์แต่ละ ประเภท

๖๑หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ หน่วยการจัดประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒ (อายุ ๔ – ๕ ปี) ภาคเรียนท่ี ๒ สปั ดาห์ สาระการเรียนรู้ หน่วย เรื่องย่อย 21 ธรรมชาตริ อบตวั 22 วันสาคญั ประเพณไี ทย 1. ลกั ษณะของต้นขา้ ว 23 ธรรมชาติรอบตัว 2. อุปกรณ์ในการทานา 24 ธรรมชาติรอบตัว มหัศจรรยต์ ้นข้าว 3. ขา้ วทเ่ี ด็กรูจ้ ัก 4. ประโยชน์ของข้าว 25 ธรรมชาตริ อบตวั 5. อาหารท่ีทาจากข้าว 1. ความสาคญั ของวนั ลอยกระทง 2. การปฏบิ ตั ิติตนในวันลอยกระทง วันลอยกระทง 3. การอนรุ ักษ์แหล่งนา้ 4. เพลงวนั ลอยกระทง 5. ประดิษฐ์กระทงจากเศษวัสดธุ รรมชาติ 1. การเจรญิ เติบโตของพชื 2. การดูแลรกั ษา พชื น่ารู้ 3. ประโยชนข์ องพืช 4. ส่วนประกอบและหนา้ ท่ี 5. ลกั ษณะของพชื 1. สตั ว์บก 2. สัตว์น้า วงจรชวี ติ สัตว์ 3. การดแู ลสตั ว์และความมีเมตตาตอ่ สตั ว์ 4. โทษและการปอ้ งกันจากสตั ว์ 5. ประโยชนจ์ ากสตั ว์ 1. กลางวัน 2. ประโยชนแ์ ละโทษของแสงแดด 3. กลางคืน กลางวนั กลางคืน 4. สาเหตขุ องการเกิดกลางวนั และกลางคนื 5. กิจกรรมและการปฏิบัติตนในเวลากลางวัน และกลางคืน

สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ ๖๒หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 26 วันสาคัญ 27 หนว่ ย เร่อื งย่อย 28 ธรรมชาตริ อบตัว 1. ความสาคญั ของวันพ่อ ธรรมชาติรอบตวั 2. กจิ กรรมทีท่ าในวันพอ่ 29 30 วันสาคัญ วนั พ่อ 3. สัญลักษณว์ ันพอ่ ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็ 4. บทบาทหนา้ ท่ขี องพอ่ 5. การปฏิบตั ิติท่ดี ีต่อพอ่ แม่ 1. ความหมายของภยั พบิ ตั ิ 2. รู้จักภัยพบิ ตั ิ น้าทว่ ม ไฟไหม้ แผน่ ดนิ ไหว การเกดิ ภยั 3. อนั ตรายจากภัยพิบตั ิ ธรรมชาติ 4. การเอาตวั รอดจากภยั พบิ ัติ 5. การดูแล อนรุ ักษธ์ รรมชาติ 1. ฤดหู นว 2. ฤดฝู น ร้อน ฝน หนาว 3. ฤดรู ้อน 4. การปฏบิ ตั ติ ามฤดูกาล 5. ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ 1. ความหมายและความสาคัญของวันปใี หม่ 2. ทาบัตร ส.ค.ส. 3. กิจกรรมทที่ าขึน้ ในวนั ปีใหม่ วันปีใหม่ 4. การแสดงความเคารพและอวยพรผู้ใหญ่ 5. จดั กกิจกรรมวันปีใหม่ 1. สที ีน่ กั เรยี นร้จู ัก 2. สีทีไ่ ด้จากธรรมชาติ สแี สนสวย 3. ประเภทของสี 4. แมส่ ีและการผสมสี 5. ประโยชนแ์ ละโทษของสี

สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ ๖๓หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 31 วนั สาคญั หนว่ ย เร่อื งย่อย 32 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็ 1. ความสาคัญของวนั เด็ก 33 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก 2. กิจกรรมท่ีทาในวันเดก็ 34 สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ วนั เดก็ 3. คาขวญั วันเด็ก 35 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ 4. บทบาทหนา้ ท่ีของเด็ก 5. การปฏบิ ัติตใิ นวนั เด็ก 1. รจู้ กั รูปรา่ ง รูปทรงต่างๆ 2. การจาแนกและการจดั กลุ่มรปู ทรง 3. การเปรยี บเทยี บคุณลักษณะ เช่น ยาว - สัน้ รปู ร่าง รูปทรง 4. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของรปู ทรง 5. สารวจและอธบิ ายความเหมอื นของสง่ิ ของ ต่างๆ 1. รู้จกั การ ช่าง ตวง และวัด 2. รู้จกั ขนาดของสง่ิ ของ ใหญ่ เล็ก ยาว และส้นั ชา่ ง ตวง วัด 3. เปรียบเทียบจานวนมากกว่า น้อยกว่า เทา่ กนั ไม่เท่ากัน 4. รู้จกั ลักษณะเลก็ ใหญ่ สงู เตย้ี 5. การทดลองดว้ ยตนเอง 1. บอกอุปกรณเ์ คร่อื งใช้ท่ีร้จู กั 2. หน้าทีข่ องเครือ่ งใช้ เครอ่ื งใช้สารพดั 3. ของใช้ส่วนตวั ประโยชน์ 4. ของใช้ทใ่ี ช้รว่ มกัน 5. การเก็บของใช้ 1. ความหมายในการสื่อสาร 2. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ในการส่ือสาร3. การตดิ ต่อสื่อสาร มารยาทในการสื่อสาร 4. การสง่ จดหมาย 5. การส่งสารและการรบั สาร

๖๔หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สปั ดาห์ สาระการเรียนรู้ หนว่ ย เรื่องย่อย 36 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก 1. รูจ้ กั สถานท่ีทจ่ี ะไปศึกษา 37 สิ่งต่าง ๆ รอบตวั เด็ก 2. การปฏิบัตใิ นการออกนอกสถานท่ี 38 ธรรมชาติรอบตัว ท่องโลกกวา้ ง 3. การทาขอ้ ตกลง 39 4. มีการแสดงความคิดเหน็ ในขณะเขา้ รว่ ม 40 วันสาคญั ประเพณีไทย กิจกรรม 41 ธรรมชาติรอบตัว 5. บอกสิ่งที่ได้รบั จากการทอ่ งโลกกว้าง ธรรมชาติรอบตัว 1. ความหมายของเทคโนโลยี 2. บอกเทคโนโลยที รี่ ูจ้ ัก 3. หน้าทีข่ องเทคโนโลยี เทคโนโลยี 4. การใชเ้ ทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวนั ประจาวนั 5. ประโยชนแ์ ละโทษของเทคโนโลยี 1. ลกั ษณะของต้นข้าว 2. อปุ กรณใ์ นการทานา มหัศจรรยต์ น้ ขา้ ว 3. ข้าวที่เดก็ รู้จัก 4. ประโยชน์ของข้าว 5. อาหารที่ทาจากขา้ ว 1. ความสาคญั ของวันลอยกระทง 2. การปฏิบตั ิติตนในวนั ลอยกระทง วนั ลอยกระทง 3. การอนรุ ักษ์แหล่งนา้ 4. เพลงวนั ลอยกระทง 5. ประดิษฐ์กระทงจากเศษวัสดุธรรมชาติ 1. การเจริญเติบโตของพชื 2. การดูแลรกั ษา พชื นา่ รู้ 3. ประโยชน์ของพืช 4. สว่ นประกอบและหนา้ ท่ี 5. ลักษณะของพืช 1. สัตวบ์ ก 2. สัตว์น้า วงจรชวี ิตสตั ว์ 3. การดแู ลสัตว์และความมเี มตตาต่อสัตว์ 4. โทษและการปอ้ งกนั จากสตั ว์ 5. ประโยชนจ์ ากสตั ว์

๖๕หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ การกาหนดการจัดประสบการณช์ ัน้ อนบุ าล 3 โรงเรยี นบึงเขาย้อน (คงพันธอุ์ ปุ ถัมภ์) ภาคเรียนที่ 1 และ 2

๖๖หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๓ (อายุ ๕ – ๖ ปี) ภาคเรียนท่ี ๑ สปั ดาห์ สาระการเรียนรู้ หน่วย เรอ่ื งย่อย 1 เรื่องราวเกีย่ วกับตัวเด็ก สุขสนั ตว์ นั เปดิ เทอม 2 เรื่องราวเก่ยี วกบั ตัวเด็ก เรอ่ื งราวเกีย่ วกับตวั เรา 1.ชื่อจรงิ และนามสกลุ ของฉัน 3 เรือ่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เด็ก 2.กิจวัตรประจาวนั 4 เร่ืองราวเกี่ยวกับตวั เด็ก ร่างกายของเรา 3.หอ้ งเรียนของฉนั 5 เร่ืองราวเก่ยี วกับตวั เดก็ ประสาทสมั ผสั ทัง้ หา้ 4.คณุ ครูทฉี่ นั รัก 6 เรื่องราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก สุขภาพดี ไมม่ ีโรคภยั 5.ข้อตกลงในห้องเรียน รู้ระวงั รา่ งกายปลอดภยั 1.รปู รา่ งลักษณะของฉัน 2.เพศกับสิง่ ของเครอ่ื งใช้ 3.อารมณ์ของฉัน 4.การเจรญิ เตบิ โต 5.สิง่ ทฉี่ นั สามารถทาได้ 1.อวัยวะตา่ งๆในรา่ งกาย 2.หนา้ ท่ขี องอวัยวะต่างๆ 3.การทาความสะอาดอวยั วะตา่ งๆ 4.โรคทีเ่ กิดขึน้ กับอวยั วะต่างๆ 5.การป้องกนั และการดูแลรักษา 1.การมองเห็น 2.การฟงั 3.การดมกล่นิ 4.การชิมรส 5.การสมั ผัส 1.ความสาคัญของสุขนิสยั 2.การออกกาลัง 3.การพกั ผ่อน 4.การขับถ่าย 5.โรคระบาด 1.ความเล่นอย่างปลอดภยั 2.อนั ตรายจากสิง่ ของเครื่องใช้ 3.อนั ตรายจากสัตว์มพี ิษ 4.อนั ตรายจากคนแปลกหน้า 5.ส่งิ ทีฉ่ ันสามารถทาได้

๖๗หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สปั ดาห์ สาระการเรยี นรู้ หน่วย เรื่องย่อย 7 เรื่องราวเกย่ี วกบั ตวั เด็ก อร่อยลา้ อาหารดี บคุ ลิกดี มีสง่า 1.อาหารทฉ่ี ันรู้จัก 8 เร่อื งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก 2.อาหารทีม่ ปี ระโยชน์ ครอบครัวของเรา 3.อาหารที่ไม่มีประโยชน์ 9 เกี่ยวกับบุคคลและสถานท่ี บา้ นของเรา 4.การประกอบอาหาร แวดลอ้ มเดก็ วนั พ่อ 5.การถนอมอาหาร 10 เกีย่ วกบั บคุ คลและสถานที่ 1.มารยาทในการรบั ประทานอาหาร แวดลอ้ มเด็ก 2.มารยาทในการน่ัง 3.มารยาทในการยนื เดนิ 11 เกี่ยวกับบุคคลและสถานท่ี 4.มารยาทในการพูด แวดลอ้ มเดก็ 5.มารยาทในการไหว้ 1.สมาชกิ ในครอบครัวใหญ่ 2.ความสมั พันธข์ องสมาชิกในบา้ น 3.หนา้ ท่ขี องสมาชิกในบ้าน 4.การปฎิบัติตนเม่ืออย่รู ่วมกันในบ้าน 5.กิจกรรมทท่ี าร่วมกนั ของสมาชกิ ในบ้าน 1.ประเภทของบ้าน 2.ส่วนประกอบและวัสดทุ ่ีใชส้ รา้ งบ้าน 3.ห้องตา่ งๆในบา้ น 4.เครื่องเรือนและเครื่องใชใ้ นบ้าน 5.การดแู ลบ้าน 1.พระราชกรณย๊ กจิ 2.การปฎบิ ัตหิ นา้ ที่ในวนั พ่อ 3.ประวตั คิ วามเปน็ มา 4.การเปน็ ลกู ที่ดี 5.กจิ กรรมท่ีทาในวันพ่อ

๖๘หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ หน่วย เร่ืองย่อย 12 เกี่ยวกบั บุคคลและสถานท่ี โรงเรยี นแสนสนกุ แวดล้อมเดก็ 1.ชื่อโรงเรยี นและการเดนิ ทาง วันแม่ 2.หอ้ งเรียนและสถานท่ใี นโรงเรยี น 13 เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ ชุมชนน่าอยู่ 3.บุคคลในโรงเรยี น แวดลอ้ มเด็ก จังหวัดของเรา 4.กิจกรรมที่ทาในโรงเรยี น ฉนั อยากเปน็ อะไร 5.การปฎบิ ัติตนในโรงเรียน 14 เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ สิง่ แวดลอ้ มรอบตวั เรา แวดล้อมเดก็ 1.พระราชกรณยี กิจ 2.การปฎบิ ัตหิ นา้ ท่ีในวันแม่ 15 เกี่ยวกับบคุ คลและสถานที่ 3.ประวตั ิความเปน็ มา แวดลอ้ มเดก็ 4.การเป็นลูกทดี่ ี 5.กจิ กรรมทท่ี าในวันแม่ 16 เกี่ยวกบั บุคคลและสถานท่ี แวดลอ้ มเด็ก 1.สถานทส่ี าคัญภายในชมุ ชน 2.บคุ คลสาคัญภายในชมุ ชน 17 เก่ียวกับบคุ คลและสถานท่ี 3.ประวตั ิศาสตร์ท้องถ่ินในชุมชน แวดลอ้ มเด็ก 4.การดแู ลรักษาชมุ ชน 5.ปญั หาและความปลอดภัยในชมุ ชน 1.ชอ่ื และคาขวญั ประจาจงั หวัด 2.สญั ลกั ษณป์ ระจาจงั หวดั 3.แหลง่ ท่องเท่ียวในจงั หวดั 4.ผลิตภัณฑ์ท้องถ่นิ ในจงั หวัด 5.ประเพณที ้องถน่ิ ในจงั หวดั 1.อาชีพทีฉ่ ันร้จู ักและอาชพี ในฝนั 2.อาชีพของคนในครอบครัว 3.อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการประกอบอาชพี 4.เคร่อื งแต่งกายของแตล่ ะอาชพี 5.สถานที่ปฏบิ ัติงาน 1.ความหมายความสาคัญมนุษยส์ รา้ งขึ้น 2.ทีอ่ ยู่อาศัย 3.สะพาน 4.ถนน 5.ดูแลส่งิ แวดลอ้ มทมี่ นุษย์สรา้ งขึน้

๖๙หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ หนว่ ย เรือ่ งย่อย 18 เกี่ยวกับบคุ คลและสถานที่ เมอื งไทยท่ีรัก แวดล้อมเด็ก 1.ความสาคัญของธงชาติ อาเซียนรอบตวั 1 2.อาหารประจาชาติ 19 เกยี่ วกับบุคคลและสถานที่ 3.เงนิ แวดล้อมเด็ก อาเซยี นรอบตัว 2 4.ชุดประจาชาติ 5.พลเมืองดี 20 เก่ียวกบั บคุ คลและสถานที่ แวดล้อมเดก็ 1.ความหมายของประชาคมอาเซียน 2.ลาว 3.เมยี นมาร์ 4.กมั พูชา 5.เวยี ดนาม 1.มาเลเซยี 2.อินโดนเี ซยี 3.ฟิลปิ ปนิ ส์ 4.สิงคโ์ ปร์ 5.บรูไน

๗๐หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๓ (อายุ ๕ – ๖ ปี) ภาคเรยี นท่ี ๒ สปั ดาห์ สาระการเรยี นรู้ หน่วย เร่ืองย่อย 21 ธรรมชาตริ อบตวั 22 ธรรมชาติรอบตัว 1.ความหมายของสง่ิ มีชีวิตและไม่มีชวี ติ 23 ธรรมชาติรอบตัว 2.ลักษณะของส่ิงมีชีวติ และไมม่ ชี วี ติ 24 ธรรมชาตริ อบตวั สง่ิ มชี วี ิตและไม่มีชีวติ 3.ประโยชนข์ องส่งิ มีชีวิตและไม่มชี วี ิต 25 ธรรมชาติรอบตัว 4.โทษของสง่ิ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ 26 ธรรมชาตริ อบตวั 5.การดแู ลรักษาส่ิงมีชวี ิตและไม่มีชีวิต 1.สัตวเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนม 2.สตั ว์ปีก สตั ว์โลกนา่ รู้ 3.สตั ว์เลือ้ ยคลานและสัตว์ครึ่งบกคร่งึ น้า 4.สตั วจ์ าพวกปลา 5.ประโยชน์และการอนุรักษส์ ัตว์ 1.ชอื่ และประเภทของผัก 2.ชื่อและประเภทของผลไม้ ผกั และผลไม้มีประโยชน์ 3.การประกอบอาหาร 4.ประโยชนข์ องผกั และผลไม้ 5.ผลิตภัณฑจ์ ากผักและผลไม้ 1.ความสาคัญของขา้ ว 2.ชนิดของขา้ ว ต้นข้าวออกรวง 3.การปลกู ข้าว 4.ประโยชนข์ องข้าว 5.ผลิตภณั ฑ์ที่ไดจ้ ากขา้ ว 1.ช่ือและลักษณะของพชื 2.ส่วนประกอบของพชื อัศจรรยพ์ รรณพืช 3.การเจริญเติบโตของพืช 4.ประโยชน์ของพืช 5การดูแลพชื 1.รปู รา่ งลักษณะมด 2.รูปรา่ งลกั ษณะกบ วงจรชีวิตสัตว์น่ารู้ 3.รปู ร่างลักษณะนกไก่ 4.รูปร่างลักษณะปลา 5.รูปร่างลักษณะวัว

๗๑หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ หนว่ ย เรื่องย่อย 27 ธรรมชาติรอบตวั วนั เดือน ปี 28 ฤดกู าลของไทย 1.ลกั ษณะของกลางวันกลางคนื 29 ธรรมชาติรอบตัว วันปใี หม่ 2.การเกิดกลางวนั กลางคนื 30 ธรรมชาตนิ า่ รู้ 3.วนั ในหนึ่งสัปดาห์ 31 บคุ ลกิ และสถานท่ีแวดล้อม วนั เดก็ วนั ครู 4.1 ปี มี 12 เดือน 32 เด็ก เรยี นรู้ภยั จากธรรมชาติ 5.การปฏิบตั ิตนในเวลากลางวนั กลางคืน ธรรมชาตริ อบตวั 1.ฤดูร้อน 2.ฤดฝู น บุคคลและสถานท่ีแวดล้อม 3.ฤดูหนาว เด็ก 4.กิจกรรมทสี่ อดคล้องกับฤดูต่างๆ 5.การระวังตนเองจากโรคตามฤดูตา่ งๆ ธรรมชาติรอบตวั 1.ความเป็นมา 2.กจิ กรรมทีท่ า 3.ขอ้ ควรท่ีปฏิบัติ 4.มารยาทในการปฏิบัติต่อกัน 5.การระวังตนเองในการฉลอง 1.สิ่งท่ีเกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ 2.ลม 3.น้า 4.ดนิ 5.การอนุรักษ์ธรรมชาติ 1.ความเปน็ มา 2.การระลกึ และปฏิบตั ิ 3.กิจกรรมทที่ า 4.สัญลักษณ์ของครู 5.การดแู ลรักษา 1.สาเหตุนา้ ทว่ ม 2.ไฟไหม้ 3.พายุ ลูกเห็บ 4. แผน่ ดินไหว 5. สึนามิ

๗๒หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ หน่วย เร่ืองย่อย 33 ธรรมชาตริ อบตวั อวกาศน่ารู้ 34 สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก สสี นั รอบตัว 1.ความสาคัญของอวกาศ 35 สิ่งตา่ งๆรอบตวั เด็ก รูปร่าง รปู ทรง ผวิ สมั ผสั 2.มนุษย์อวกาศและการสารวจอวกาศ 36 ส่งิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก ชง่ั ตวง วดั 3.สุรยิ ปุ ราคา 37 สิ่งตา่ งๆรอบตัวเด็ก เครื่องมอื เคร่ืองใช้ 4.จันทรุปราคา 38 ส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก การสอื่ สารไร้พรมแดน 5.ดาวหาง ดาวตก 1.สีท่ฉี นั ร้จู ัก 2.ใสไม่มสี ี 3.สีท่ไี ด้จากธรรมชาติ 4.การผสมสี 5.สกี ับสญั ลักษณ์ 1.รูปรา่ ง 2.รปู ทรงกลม รูปทรงกระบอก 3.รปู ทรงสีเหลีย่ ม ลกู บาศก์ 4.รูปทรงกรวย 5.ผิวสมั ผสั 1.ความหมาย อปุ กรณก์ ารช่ัง 2.การตวง 3.การวดั 4.อปุ กรณก์ ารชั่ง ตวง วัดทีไ่ ม่มาตรฐาน 5.อุปกรณก์ ารช่งั ตวง วดั ท่ไี ด้มาตรฐาน 1.เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นสวน 2.เครอ่ื งมือช่าง 3.เครือ่ งมือเครื่องใชใ้ นบา้ น 4.เครอื่ งดนตรี 5.อปุ กรณ์กีฬา 1.ความหมายของการส่ือสาร 2.สอ่ื และวิธกี ารส่อื สาร 3.มารยาทในการสื่อสาร 4. ประโยชนข์ องการสอื่ สาร 5. การสอ่ื สารที่ฉันชอบ

๗๓หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ หน่วย เร่อื งย่อย 39 ส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก คมนาคม 1.คมนาคมทางบก 40 สิ่งต่างๆรอบตวั เด็ก เทคโนโลยนี ่ารู้ 2.คมนาคมทางน้า 3.คมนาคมทางอากาศ 4.การเดินทางอย่างปลอดภัย 5.ประโยชน์ของการคมนาคม 1.อุปกรณ์ที่ช่วยในการตัด 2.เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ 3.อุปกรณ์ที่ใช้บนั ทกึ ภาพและเสียง 4. อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการขนย้าย 5. อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการบอกเวลา

๗๔หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 11. การจดั สภาพแวดล้อม สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ การจัดสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษา มคี วามสาคัญตอ่ เด็กเน่ืองจากธรรมชาติของเด็กในวยั นสี้ นใจท่ีจะเรยี นรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสมั ผัสกับสิ่งแวดลอ้ มรอบๆตัว ดังน้นั การจดั เตรียมส่ิงแวดลอ้ มอย่างเหมาะสมตามความ ต้องการของเด็ก จงึ มคี วามสาคัญทเี่ กีย่ วขอ้ งกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรจู้ ากการเลน่ ท่เี ป็น ประสบการณ์ตรงทเี่ กดิ จากการรับร้ดู ้วยประสาทสัมผสั ทัง้ ห้าจงึ จาเปน็ ตอ้ งจัดสิ่งแวดล้อมในสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้อง กบั สภาพและความต้องการของหลักสูตร เพื่อส่งผลให้บรรลุจุดหมายในการพัฒนาเดก็ การจดั สภาพแวดลอ้ มคานงึ ถึงส่ิงต่อไปนี้ ๑.ความสะอาด ความปลอดภยั ๒.ความมอี ิสระอยา่ งมีขอบเขตในการเลน่ ๓.ความสะดวกในการทากิจกรรม ๔.ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น ห้องเรียน ห้องน้าห้องสว้ ม สนามเด็กเลน่ ฯลฯ ๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเร่อื งขนาด น้าหนัก จานวน สีของส่ือและเคร่อื งเล่น ๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจัดทเี่ ล่นและมุมประสบการณต์ ่าง ๆ สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน หลักสาคญั ในการจัดต้องคานึงถงึ ความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพฒั นาเด็ก ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของเดก็ เอง ใหเ้ ด็กเกดิ ความรสู้ ึกอบอุน่ มั่นใจ และมีความสุข ซ่ึงอาจจัดแบ่งพ้นื ท่ใี ห้เหมาะสมกบั การ ประกอบกจิ กรรมตามหลักสตู ร ดงั นี้ ๑. พน้ื ทีอ่ านวยความสะดวกเพื่อเด็กและผู้สอน ๑.๑ ทแ่ี สดงผลงานของเด็ก อาจจัดเปน็ แผน่ ปา้ ย หรอื ท่แี ขวนผลงาน ๑.๒ ท่เี ก็บแฟม้ ผลงานของเด็ก อาจจัดทาเป็นกล่องหรือจดั ใส่แฟม้ รายบุคคล ๑.๓ ทเี่ ก็บเครอื่ งใชส้ ่วนตัวของเด็ก อาจทาเป็นชอ่ งตามจานวนเด็ก ๑.๔ ที่เกบ็ เครอื่ งใชข้ องผสู้ อน เชน่ อปุ กรณ์การสอน ของส่วนตวั ผู้สอน ฯลฯ ๑.๕ ป้ายนเิ ทศตามหน่วยการสอนหรือสิง่ ที่เด็กสนใจ ๒. พนื้ ท่ปี ฏบิ ตั กิ ิจกรรมและการเคลื่อนไหว ต้องกาหนดให้ชัดเจน ควรมีพน้ื ทที่ ีเ่ ด็กสามารถจะทางานได้ด้วย ตนเอง และทากจิ กรรมดว้ ยกันในกลุม่ เลก็ หรือกล่มุ ใหญ่ เดก็ สามารถเคลอ่ื นไหวได้อย่างอิสระจากกจิ กรรมหน่ึงไปยงั กิจกรรมหนึ่งโดยไมร่ บกวนผูอ้ ื่น ๓. พืน้ ท่จี ดั มุมเล่นหรอื มุมประสบการณ์สามารถจดั ได้ตามความเหมาะสมขน้ึ อยูก่ บั สภาพของห้องเรยี น จัดแยก ส่วนท่ีใชเ้ สยี งดงั และเงียบออกจากกัน เชน่ มมุ บลอ็ กอยูห่ ่างจากมุมหนังสอื มุมบทบาทสมมติอย่ตู ิดกับมุมบล็อก มมุ วทิ ยาศาสตร์อยใู่ กล้มมุ ศิลปะฯ ลฯ ท่สี าคญั จะตอ้ งมีของเลน่ วัสดุอปุ กรณใ์ นมมุ อยา่ งเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเดก็ การเล่นในมุมเล่นอยา่ งเสรี มกั ถกู กาหนดไวใ้ นตารางกิจกรรมประจาวัน เพื่อให้ โอกาสเดก็ ได้เลน่ อย่างเสรีประมาณวนั ละ ๖๐ นาทีการจดั มมุ เล่นต่างๆ ผสู้ อนควรคานึงถงึ สิ่งต่อไปนี้ ๓.๑ ในห้องเรียนควรมมี มุ เล่นอย่างน้อย ๓-๕ มมุ ท้งั นข้ี ้ึนอยูก่ บั พนื้ ที่ของหอ้ ง ๓.๒ ควรไดม้ กี ารผลดั เปลย่ี นสอ่ื ของเล่นตามมุมบ้าง ตามความสนใจของเดก็ ๓.๓ ควรจัดใหม้ ปี ระสบการณ์ท่เี ดก็ ไดเ้ รยี นรไู้ ปแลว้ ปรากฏอยูใ่ นมุมเลน่ เชน่ เด็กเรยี นรูเ้ รื่องผเี ส้ือ ผูส้ อนอาจจัดให้มีการจาลองการเกดิ ผเี ส้ือล่องไว้ใหเ้ ด็กดใู นมุมธรรมชาติศึกษาหรือมุมวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กมสี ่วนรว่ มในการจัดมุมเลน่ ทัง้ นีเ้ พ่อื จงู ใจใหเ้ ดก็ รู้สึกเป็นเจ้าของ อยากเรียนรู้ อยากเขา้ เล่น

๗๕หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ๓.๕ ควรเสริมสร้างวินยั ใหก้ บั เด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันวา่ เม่อื เล่นเสร็จแลว้ จะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุก อย่างเข้าท่ีใหเ้ รียบร้อย สภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน คือ การจดั สภาพแวดล้อมภายในอาณาบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษา รวมทั้งจัดสนามเด็ก เล่น พรอ้ มเคร่ืองเลน่ สนาม จดั ระวังรักษาความปลอดภยั ภายในบรเิ วณสถานศึกษาและบรเิ วณรอบนอกสถานศกึ ษา ดูแลรักษาความสะอาด ปลกู ต้นไม้ให้ความร่มร่นื รอบๆบรเิ วณสถานศกึ ษา สง่ิ ต่างๆเหล่าน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงท่สี ง่ ผลต่อการ เรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก สภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน ตอ้ งจดั ใหส้ อดคล้องกับหลักสูตร ดงั น้ี บริเวณสนามเดก็ เล่น สนามเด็กเล่น มพี ื้นผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญา้ พ้ืนทส่ี าหรับเล่นของเล่นที่มี ลอ้ รวมท้งั ทร่ี ่ม ท่ีโล่งแจง้ พ้ืนดินสาหรบั ขุด ทเ่ี ลน่ นา้ บอ่ ทราย พร้อมอุปกรณป์ ระกอบการเลน่ เครอื่ งเล่นสนาม สาหรับ ปีนปา่ ย ทรงตวั ฯลฯ ท้ังน้ีตอ้ งไมต่ ิดกบั บริเวณท่มี ีอันตราย ต้องหมนั่ ตรวจตราเครื่องเลน่ ใหอ้ ยู่ในสภาพ แข็งแรง ปลอดภยั อยู่เสมอ และหมน่ั ดแู ลเร่อื งความสะอาด ทนี่ ่งั เล่นพักผ่อน จัดทน่ี ัง่ ไว้ใตต้ น้ ไม้มีร่มเงา อาจใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือกิจกรรมท่ีตอ้ งการความ สงบ หรอื อาจจดั เปน็ ลานนิทรรศการใหค้ วามรแู้ ก่เดก็ และผ้ปู กครองบรเิ วณธรรมชาติ ปลกู ไม้ดอก ไมป้ ระดบั พืชผกั สวนครัว หากบริเวณสถานศึกษา มไี มม่ ากนักอาจปลูกพืชในกระบะหรือกระถาง สอื่ และแหล่งเรียนรู้ สอื่ ประกอบการจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาเด็กปฐมวยั ทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ควร มีสือ่ ท้งั ท่เี ปน็ ประเภท ๒ มิติ และ/หรอื ๓ มติ ิ ที่เปน็ สือ่ ของจรงิ สือ่ ธรรมชาติ ส่อื ทีอ่ ยู่ใกลต้ วั เด็ก ส่ือสะท้อน วฒั นธรรม สอ่ื ท่ีปลอดภัยต่อตวั เด็ก สอ่ื เพื่อพัฒนาเด็กในด้านตา่ งๆใหค้ รบทกุ ด้านสื่อทีเ่ อ้อื ให้เดก็ เรยี นรู้ผา่ นประสาท สัมผัสท้ังหา้ โดยการจัดการใช้สอ่ื เริ่มต้นจาก สือ่ ของจริง ภาพถา่ ย ภาพโครงร่าง และ สญั ลกั ษณ์ทงั้ น้ีการใช้ส่ือ ตอ้ งเหมาะสมกบั วัย วฒุ ิภาวะ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ความสนใจและความตอ้ งการของเด็กท่ีหลากหลาย ตัวอยา่ งส่อื ประกอบการจดั กิจกรรม มีดงั นี้ กจิ กรรมเสรี /การเลน่ ตามมุม ๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเป็นมมุ เลน่ ดังน้ี ๑.๑ มุมบ้าน  ของเล่นเคร่ืองใช้ในครวั ขนาดเลก็ หรือของจาลอง เชน่ เตา กระทะ ครก กาน้า เขยี ง มีดพลาสตกิ หม้อ จาน ช้อน ถว้ ยชาม กะละมัง ฯลฯ  เครือ่ งเลน่ ตุ๊กตา เส้ือผา้ ต๊กุ ตา เตยี ง เปลเด็ก ตกุ๊ ตา  เครอื่ งแตง่ บา้ นจาลอง เช่น ชดุ รบั แขก โต๊ะเครื่องแป้ง หมอนองิ กระจกขนาดเหน็ เต็มตวั หวี ตลบั แป้ง ฯลฯ  เคร่อื งแต่งกายบุคคลอาชพี ตา่ ง ๆ ท่ีใชแ้ ล้ว เชน่ ชุดเครอ่ื งแบบทหาร ตารวจ ชดุ เส้ือผา้ ผ้ใู หญ่ชายและหญิง รองเทา้ กระเปา๋ ถือท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ ฯลฯ  โทรศพั ท์ เตารดี จาลอง ทร่ี ีดผา้ จาลอง  ภาพถา่ ยและรายการอาหาร ๑.๒ มุมหมอ - เครือ่ งเล่นจาลองแบบเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การรักษาผปู้ ่วย เช่น หฟู งั

๗๖หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ เสอ้ื คลุมหมอ ฯลฯ  อปุ กรณ์สาหรบั เลียนแบบการบนั ทกึ ข้อมูลผู้ป่วย เชน่ กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ ๑.๓ มุมรา้ นคา้  กล่องและขวดผลติ ภณั ฑ์ต่างๆท่ีใช้แล้ว  อุปกรณ์ประกอบการเลน่ เช่น เคร่อื งคดิ เลข ลกู คิด ธนบตั รจาลอง ฯลฯ ๒. มุมบล็อก  ไม้บลอ็ กหรือแทง่ ไมท้ ีม่ ีขนาดและรูปทรงต่างๆกนั จานวนตงั้ แต่ ๕๐ ช้นิ ข้ึนไป  ของเลน่ จาลอง เช่น รถยนต์ เคร่ืองบนิ รถไฟ คน สัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ  ภาพถา่ ยต่างๆ - ทีจ่ ดั เก็บไมบ้ ล็อกหรือแท่งไม้อาจเป็นช้ัน ลงั ไม้หรือพลาสตกิ แยกตามรปู ทรง ขนาด ๓. มุมหนงั สือ  หนังสือภาพนิทาน สมุดภาพ หนงั สือภาพทม่ี ีคาและประโยคสั้น ๆพรอ้ มภาพ  ชนั้ หรอื ทีว่ างหนังสอื  อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการสร้างบรรยากาศการอา่ น เช่น เส่อื พรม หมอน ฯลฯ  สมดุ เซน็ ยมื หนังสือกลบั บา้ น  อุปกรณ์สาหรับการเขยี น  อปุ กรณ์เสรมิ เชน่ เครือ่ งเล่นเทป ตลบั เทปนิทานพรอ้ มหนังสอื นทิ าน หูฟัง ฯลฯ ๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรอื มุมธรรมชาติศกึ ษา  วสั ดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมลด็ พืชตา่ ง ๆ เปลือกหอย ดนิ หิน แร่ ฯลฯ  เครือ่ งมือเครือ่ งใชใ้ นการสารวจ สงั เกต ทดลอง เช่น แวน่ ขยาย แมเ่ หลก็ เข็มทศิ เครื่องช่งั ฯลฯ ๕.มุมอาเซยี น  ธงของแต่ละประเทศในกลุม่ ประเทศอาเซียน  คากลา่ วทกั ทายของแต่ละประเทศ  ภาพการแต่งกายประจาชาติในกลุ่มประเทศอาเซยี น กจิ กรรมสร้างสรรค์ ควรมีวัสดุ อปุ กรณ์ ดงั น้ี ๑. การวาดภาพและระบายสี - สีเทยี นแทง่ ใหญ่ สไี ม้ สชี อลก์ สนี ้า - พู่กนั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ ) - กระดาษ - เสอ้ื คลุม หรือผ้ากันเปื้อน ๒. การเลน่ กับสี  การเปา่ สี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีนา้  การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กนั สนี า้  การพบั สี มี กระดาษ สนี ้า พู่กนั  การเทสี มี กระดาษ สนี ้า  การละเลงสี มี กระดาษ สีน้า แปง้ เปยี ก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook