Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.สิ่งที่ส่งมาด้วย 1.หลักเกณฑ์โครงการรองรับ

2.สิ่งที่ส่งมาด้วย 1.หลักเกณฑ์โครงการรองรับ

Published by kkanjana006, 2022-06-15 09:06:30

Description: 2.สิ่งที่ส่งมาด้วย 1.หลักเกณฑ์โครงการรองรับ

Search

Read the Text Version

โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ ทรัพยากรนำ้ ในช่วงฤดูฝน ปี 2565 และการกักเก็บน้ำเพื่อฤดูแล้ง ปี ๒๕๖5/๒๕๖6 สำนกั งานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ สำนกั นายกรัฐมนตรี 1 มีนาคม 2565 สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ ในช่วงฤดฝู น ปี 2565 และการกักเกบ็ น้ำเพือ่ ฤดูแลง้ ปี ๒๕๖5/๒๕๖6 1. เหตุผลความจำเปน็ : สืบเนื่องจากมติการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (กนช.) ครั้งที่ 4/2564 เมื่อวันท่ี 9 ธันวาคม 2564 กำหนดให้มีการปรับระยะเวลาในการเตรียมพร้อมการบริหารจัดการน้ำ และกำหนด มาตรการรับมือฤดูฝน ปี 2565 ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีเวลาเตรียมการดำเนินงานก่อนเข้าสู่ฤดูฝน ซึ่งจะสามารถดำเนินการในเชิงป้องกัน บรรเทา และแก้ไข ปัญหาอุทกภัยให้แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2565 เลขาธิการ สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ได้เชิญหนว่ ยงาน ที่เกี่ยวข้องร่วมถอดบทเรียนการบริหารจัดการน้ำฤดูฝนปี 2564 จากปัญหาและอุปสรรค พร้อมรับฟัง ความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน เพื่อมากำหนดมาตรการรองรับฤดูฝนในปี 2565 ให้เกิดความสมบูรณ์ มุ่งป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเพื่อลดผลกระทบต่อประชาชนให้มากที่สุด โดยมีหน่วยงานด้าน น้ำ ทเ่ี ก่ียวข้อง เช่น สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การ มหาชน) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น รวมถึงผู้แทน คณะกรรมการลุ่มน้ำและเครือข่ายองค์กรผู้ใช้น้ำ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ และภาคเอกชน ได้ร่วมเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ ม พร้อมจัดทำมาตรการรบั มอื ฤดฝู น ปี 2565 เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติเพื่อรับมือฤดูฝนในปีนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยสำนักงาน ทรพั ยากรน้ำแห่งชาติได้ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องถอดบทเรียนการบริหารจัดการน้ำฤดฝู น ปี 2564 และได้ บูรณาการทุกหน่วยงานกำหนดมาตรการรับมือฤดูฝน ปี 2565 เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทันต่อสถานการณ์ รายละเอียดตาม 13 มาตรการ ประกอบด้วย (1) คาดการณ์ชี้เป้าพื้นที่ เสี่ยงน้ำท่วมและฝนน้อยกว่าค่าปกติ (2) การบริหารจัดการน้ำพื้นที่ลุ่มต่ำเพื่อรองรับน้ำหลาก (3) ทบทวน ปรับปรุงเกณฑ์บริหารจัดการน้ำในแหล่งน้ำขนาดใหญ่-กลาง และเขื่อนระบายน้ำ (4) ซ่อมแซม ปรับปรุงอาคาร ชลศาสตร์/ ระบบระบายน้ำสถานีโทรมาตรให้พร้อมใช้งาน (5) ปรับปรุง แก้ไขสิ่งกีดขวางทางน้ำ (6) ขุดลอก คูคลองและกำจัดผักตบชวา (7) เตรียมพร้อม/วางแผนเครื่องจักร เคร่อื งมือ ประจำพน้ื ท่ีเสี่ยงน้ำท่วมและฝนน้อย กว่าค่าปกติ(8) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและปรับปรุงวิธีการส่งน้ำ (9) ตรวจความมั่นคงปลอดภัยคัน/ทำนบ/ พนังกั้นน้ำ (10) จัดเตรียมพื้นที่อพยพและซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ (11) ตั้งศูนย์ส่วนหน้าก่อนเกิดภัย (12) การสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ และ 13) ติดตามประเมินผล ปรับมาตรการให้สอดคล้องกับ สถานการณภ์ ัย ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินการสอดคล้องตามมาตรการรองรับสถานการณ์ฤดูฝน ปี 2565 จำนวน 13 มาตรการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2565 และการกักเก็บน้ำเพื่อฤดูแล้งปี ๒๕๖5/๒๕๖6 เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ โดย สทนช. ได้ประสานแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนปฏิบัติการ ด้านน้ำที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จำเป็นต้องเร่งรัดดำเนินการให้แล้วเสร็จและสอดคล้องกับมาตรการดังกล่าว เพอื่ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำในชว่ งฤดูฝนแต่ยังไม่มีแหล่งงบประมาณรองรบั สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 2

๒. วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ และเตรียมเครื่องจักรเครืองมือเตรยี มพร้อมรบั สถานการณ์ อทุ กภัย ปี 2565 - เพอ่ื เร่งรัดการแกไ้ ขปญั หา บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนจากพ้ืนทเี่ ส่ียงการเกิดอุทกภยั - เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการกกั เกบ็ น้ำเพื่อฤดูแล้ง ปี 2565/2566 - เพ่อื ซอ่ มแซม/ปรบั ปรงุ อาคารชลศาสตร์ ใหอ้ ย่ใู นสภาพพรอ้ มใชง้ าน 3. พ้นื ท่ีเป้าหมาย - พื้นที่เสีย่ งเกดิ อทุ กภัย/ภยั แล้ง ตามทส่ี ำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งกำหนด - พื้นที่เสี่ยงที่มีความจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข/บรรเทาปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งโดยเร่งด่วนตาม ทีห่ น่วยงานในพ้นื ท่ีจังหวดั เสนอผ่านคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวดั 4. ระยะเวลาดำเนนิ การ - ระยะเวลาดำเนนิ การ 120 วัน นบั ต้งั แต่ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ 5. แนวทางการดำเนินการ 5.1 วิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมินพื้นทเ่ี ส่ยี งน้ำทว่ ม ตามทส่ี ำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติร่วมกับ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องกำหนด 5.2 ประสานส่วนราชการ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่เกี่ยวข้องที่ต้อง ดำเนินการให้สอดคล้องตามมาตรการรองรบั สถานการณ์ฤดฝู น ปี 2565 5.2.1 ปรับแผนงานงบประมาณ หรือใช้จ่ายจากงบประมาณเหลือจ่ายของหน่วยงาน เพ่อื แก้ไข บรรเทาปญั หาดา้ นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำในพน้ื ที่ใหส้ อดคล้องตามมาตรการฯ และสามารถ ดำเนนิ การแลว้ เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 5.2.2 กรณีที่ไม่สามารถปรับแผนงบประมาณ หรือไม่มีงบประมาณเหลือจ่ายเพียงพอ ให้สามารถจัดทำแผนงานโครงการทม่ี ีความจำเป็นเร่งดว่ นท่ีสอดคล้องกับการดำเนินการตามมาตรการฯ เสนอ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อดำเนินการภายใต้โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากร นำ้ ในชว่ งฤดูฝน ปี 2565 และการกกั เกบ็ นำ้ เพ่อื ฤดแู ล้งปี ๒๕๖5/๒๕๖6 ได้ 5.3 ส่วนราชการ จังหวัด และ อปท. ตรวจสอบพื้นที่ ความพร้อมดำเนินการ พร้อมจัดทำ รายละเอียดแผนงานโครงการ โดยบันทึกผ่านระบบบริหารจัดการแผนงานโครงการและฐานข้อมูลสำหรับ บรู ณาการแผน เพือ่ การบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำของประเทศ หรอื ระบบ Thai Water Plan (TWP) 5.4 คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด พิจารณารวบรวม กลั่นกรอง ประสานตรวจสอบ สถานภาพความพร้อมดำเนินการ ความซ้ำซ้อน และความสอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาระยะเร่งด่วนตาม ความจำเปน็ 5.4 ปลัดกระทรวงต้นสงั กดั นำแผนงานโครงการในระบบ TWP ที่ผ่านการพจิ ารณา กล่ันกรองจาก คณะอนกุ รรมการทรัพยากรน้ำจงั หวัดแล้ว เสนอรัฐมนตรีตน้ สงั กัดให้ความเหน็ ชอบ และแจ้ง สทนช. ทราบ 5.5 สทนช. รวบรวมแผนงานโครงการจากระบบ TWP ท่ีรัฐมนตรีต้นสังกัดให้ความเห็นชอบแล้ว เพื่อกลั่นกรอง จัดลำดับความสำคัญ ตามแนวทางหลักเกณฑ์ เหตุผลความจำเป็น และกรอบระยะเวลาการ ดำเนินการทีก่ ำหนด สำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 3

5.6 สทนช. เสนอประธานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) พิจารณาให้ความเห็นชอบ กอ่ นนำเสนอแผนงานโครงการให้สำนักงบประมาณ (สงป.) พจิ ารณา 5.7 สงป. นำเรียน นายกรฐั มนตรี ใหค้ วามเห็นชอบ และแจ้ง สทนช. รับทราบ 5.8 สทนช. เสนอ คณะรฐั มนตรี (ครม.) พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ 5.9 สทนช. แจง้ ส่วนราชการท่ีเกย่ี วข้อง จังหวัด และ อปท. ผ่านกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน (สถ.) ใหด้ ำเนนิ การทำความตกลงกับ สงป. เพือ่ ขอรับการจดั สรรงบประมาณ ตามมติ ครม. 5.๑0 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จังหวัด และ อปท. ดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานให้ สทนช. ทราบหลังจากได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้วทุกวันที่ 1 และ 15 ของทุกเดือน จนกว่าจะดำเนิน โครงการแลว้ เสร็จ 6. ขอ้ กำหนดในการเสนอแผนงานโครงการ 6.1 เป็นแผนงานโครงการท่มี ีขอบเขตพ้นื ท่ีดำเนนิ การ ดังน้ี 6.1.1 อยู่ในพื้นที่เป้าหมายตามที่สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติร่วมกับหน่วยงานที่ เกีย่ วขอ้ งคาดกาณ์ 6.1.2 พน้ื ท่ีประสบปญั หามีความจำเป็นต้องดำเนนิ การแก้ไข/บรรเทาปัญหาโดยเรง่ ด่วน 6.1.3 สอดคล้องกับพื้นที่เป้าหมายตามดัชนีชี้วัดการจัดการน้ำของสำนักงานสถิติแห่งชาติ (WMI) มิตทิ ่ี 6 การจัดการภยั พบิ ัตทิ ่ีเกิดจากน้ำ 6.2 แผนงานโครงการ เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพการระบายน้ำ หรือเพ่อื ปอ้ งกันบรรเทาความเสียหาย จากอุทกภัย 6.3 เป็นแผนงานโครงการ เพ่ือการเตรียมเคร่ืองจักรเครืองมือเตรียมพร้อมรบั สถานการณ์อุทกภัย ปี 2565 6.4 เป็นแผนงานโครงการ เพื่อเพ่มิ ศักยภาพในกกั เก็บน้ำเพื่อฤดูแลง้ ปี 2565/2566 6.5 เป็นแผนงานโครงการที่หน่วยงาน จังหวัด อปท. ไม่สามารถปรับแผนการปฏิบัติงาน และ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงานมาดำเนินการได้ หรือไม่มีงบเหลือจ่ายเพียงพอ หรือไม่มี งบประมาณจากแหล่งอื่นมาดำเนินการ เช่น เงินนอกงบประมาณ เงินกู้ เป็นต้น และต้องไม่ซ้ำซ้อนแผนงาน โครงการทไ่ี ดร้ ับงบประมาณมาดำเนนิ การแลว้ 6.6 เปน็ แผนงานโครงการทีส่ ามารถดำเนินการให้แลว้ ภายใน ๑๒๐ วันนับแตไ่ ด้รบั จัดสรรงบประมาณ 6.7 เป็นแผนงานโครงการบันทึกข้อมูลผ่านระบบ TWP ท่ีผ่านการพิจารณากลั่นกรองจาก คณะอนกุ รรมการทรพั ยากรนำ้ จงั หวดั และรัฐมนตรีตน้ สังกดั ใหค้ วามเห็นชอบ 6.8 เปน็ แผนงานโครงการที่สามารถระบพุ กิ ดั ท่ีของตง้ั โครงการได้ถกู ต้องชัดเจน 6.9 มีตวั ชี้วดั ที่สอดคลอ้ งกับการดำเนนิ การตามแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ 20 ปี 6.10 เป็นแผนงานโครงการทีม่ ีรายละเอียดความพร้อม สามารถดำเนินการได้ทันทีหลังจากได้รับ การจดั สรรงบประมาณ ประกอบดว้ ยแบบรูปรายการ เอกสารประมาณราคาคา่ ก่อสรา้ งแล้ว (ปร.4 และ ปร.5) ได้รบั อนญุ าตดา้ นการใชท้ ด่ี ินแล้ว (กรณีเพ่อื ดำเนนิ การกอ่ สร้างโครงการ) 6.11 เป็นแผนงานโครงการทดี่ ำเนินการไดต้ ามภารกิจของหน่วยรับงบประมาณ สำนกั งานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 4

6.11.1 กรณีส่วนราชการดำเนินการ ต้องไม่เป็นแผนงานโครงการที่เป็นภารกิจถ่ายโอน ตามแผนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนทองถิ่น (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2551 ภายใต้พระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอำนาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ 6.11.2 กรณจี ังหวัด แผนงานโครงการต้องดำเนินการใหเ้ ป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การบริหารงานจังหวดั และกลุ่มจงั หวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ 6.11.3 กรณี อปท.แผนงานโครงการต้องดำเนินการให้เปน็ ไปตามระเบยี กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561 6.12 เป็นแผนงานโครงการทสี่ ามารถดำเนินการไดต้ ามระเบยี บ ข้อบังคบั กฎหมาย ท่เี ก่ยี วข้อง 7. กิจกรรม และประเภทแผนงานโครงการ การเสนอแผนงานโครงการ สทนช. ได้แบ่งกิจกรรมแผนงานโครงการที่จะเสนอไว้ทั้งหมด 5 กิจกรรม เพื่อสรุป วิเคราะห์ กลั่นกรอง และจัดกลุ่มแผนงานโครงการให้สอดคล้องกับการดำเนินการของ แตล่ ะกิจกรรม ดังน้ี 7.1 การซ่อมแซม/ปรับปรงุ อาคารชลศาสตร์ เป็นงานซ่อมแซม/ปรับปรุงอาคารชลศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การควบคุม การระบายน้ำ และการเก็บกบั น้ำ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพรองรบั สถานการณ์น้ำหลาก เชน่ ซอ่ มแซม/ ปรับปรุงพนังกน้ั น้ำ คนั กน้ั น้ำ ประตูระบายนำ้ คลองสง่ /ระบายนำ้ อาคารบังคับนำ้ สถานีโทรมาตร เปน็ ต้น 7.2 การปรับปรุง แก้ไขสงิ่ กีดขวางทางน้ำ และกำจัดผกั ตบชวา เป็นงานที่ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขสิ่งกีดขวางทางน้ำที่เกิดจากการก่อสร้าง และการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งสิ่งกีดขวางที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาตทิ ี่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารจัดการทรัพยากร น้ำ การระบายนำ้ การจัดการพ้นื ที่น้ำทว่ ม/พืน้ ทช่ี ะลอน้ำ เช่น การกำจดั ผกั ตบชวา/วัชพชื น้ำ เป็นต้น 7.3 การขุดลอกคูคลอง เปน็ การเพิ่มประสทิ ธิการระบายน้ำ เชน่ ขุดลอกคู คลอง ลำนำ้ แก้มลิง เปน็ ตน้ 7.4 การเตรียมพรอ้ มวางแผนเคร่ืองจกั ร เคร่อื งมือ เป็นการเตรียมความพร้อมเครื่องจักรเครื่องมือที่มอี ยู่แล้ว ให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านรองรับ สถานการณ์น้ำหลาก เช่น ซ่อมแซมเครื่องสูบน้ำ ซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องจักร ซ่อมแซมยานพาหนะขนย้าย เครือ่ งมือเครื่องจักร เป็นต้น 7.5 การเพ่ิมปรมิ าณน้ำต้นทุนเพอ่ื เกบ็ กักไวใ้ ชช้ ว่ งฤดูแล้ง เป็นการจดั หาแหล่งน้ำเพ่ือรองรับนำ้ ส่วนเกนิ ในชว่ งฤดูฝนสำรองไว้ใชใ้ นช่วงเวลาฤดูแล้งถัดไป เชน่ สระ/อา่ งเก็บน้ำ ระบบกระจายน้ำ ธนาคารน้ำใต้ดิน ขุดเจาะบอ่ บาดาล ปฏิบตั กิ ารฝนหลวง เป็นตน้ สำหรับแผนงานโครงการที่ไม่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เช่น งานด้านซ่อม/ปรับปรุงถนน หรืออาคารส่ิงปลกู สร้างบ้านที่พักอาศัย/สำนักงาน งานปรบั ปรงุ ภมู ิทศั น์ เปน็ ต้น สทนช. จะไม่รบั พิจารณา สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 5

8. การรวบรวมแผนงานโครงการ และการรายงานผลการดำเนินงาน 8.1 แผนงานโครงการงานของจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทย รวบรวมและรายงานผล การดำเนินงาน 8.2 แผนงานโครงการงานของ อปท. ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) รวบรวมและ รายงานผลการดำเนินงาน 8.3 แผนงานโครงการของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการในส่วนกลาง รวบรวมและรายงานผล การดำเนนิ งาน 9. การวิเคราะห์ ตรวจสอบสถานภาพแผนงานโครงการ 9.1 ความพร้อมของแผนงานโครงการ สทนช. ได้กำหนดแนวทางการตรวจสอบข้อมูล เพื่อใหไ้ ด้แผนงานโครงการที่มีประสิทธภิ าพ ดงั นี้ 9.1.1 สถานที่ดำเนินการ ต้องมีเอกสารการอนุญาต/อนุมัติ ตามกฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานที่รับผิดชอบเจ้าของพื้นที่แล้ว กรณีเป็นพื้นที่ของเอกชนต้องมีเอกสารอุทิศ ทดี่ ินใหใ้ ชเ้ พ่ือสาธารณประโยชนจ์ ากผมู้ ีอำนาจหรือเจ้าของพนื้ ทแี่ ลว้ 9.1.2 สามารถดำเนินการได้ทันที มีแบบรูปรายการ และมีเอกสารประมาณราคา ค่าก่อสรา้ ง (ปร.4 และ ปร.5) ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่สำนักงบประมาณกำหนด 9.1.3 สามารถดำเนินการให้แล้วภายใน ๑๒๐ วัน 9.1.4 เป็นโครงการท่ีได้รับการยอมรับโครงการจากประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน ทั้งนี้ แผนงานโครงการข้อมูลขาดความครบถ้วน ไม่ถูกต้อง เช่น ชื่อโครงการไม่ชัดเจนวา่ ดำเนินการอะไร ไม่ระบุวงเงินงบประมาณ ไม่ระบุสถานท่ีตั้งโครงการ ยังไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ตาม กฎหมาย ไม่มีแบบก่อสร้าง ที่ไม่มีเอกสารด้านประมาณราคาโครงการ ไม่ระบุผลสัมฤทธิ์ ไม่ระบุหน่วยงาน ดำเนินการหรือหน่วยงานรับผิดชอบโครงการ เป็นต้น สทนช. จะไม่พิจารณาเสนอขอรับการสนับสนุน งบประมาณ 9.2 ความซำ้ ซ้อน แผนงานโครงการที่เสนอ ต้องไม่ซ้ำซ้อนแผนงานโครงการ/กิจกรรม ท่ีส่วนราชการ/จังหวัด/ อปท. ทรี่ ับงบประมาณดำเนินการแล้ว (จากฐานข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (2563 - 2564 และงบกลางปี 2565 ท่ผี า่ นมา) อย่างนอ้ ย 2 กรณี ได้แก่ 9.2.1 ความซ้ำซ้อนกับแผนงานโครงการที่เคยได้รับงบประมาณไปแล้ว เช่น งบประมาณ รายจ่ายประจำปี และงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพ่อื กรณฉี ุกเฉนิ หรอื จำเปน็ เป็นต้น 9.2.2 ความซ้ำซ้อนกันเอง ของแผนงานโครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ในคร้งั นี้ ท้งั ของสว่ นราชการ จังหวัด และ อปท. สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 6

10. การติดตามและประเมินผล เพื่อให้การติดตามและประเมินผล เป็นไปด้วยความครบถ้วน เรียบร้อย สทนช. จึงขอมอบหมาย ผรู้ ับผดิ ชอบรวบรวม รายงานความก้าวหนา้ การขอรบั การจดั สรรงบประมาณ และรายงานผลการดำเนินงานให้ สทนช. ทราบทุกวนั ท่ี 1 และ 15 ของทุกเดือน จนโครงการแลว้ เสร็จ ดงั น้ี 10.1 แผนงานโครงการที่ดำเนินการโดยจังหวัด หรือจังหวัดให้หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายแทน ให้จังหวัด เป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ รวบรวม วิเคราะห์ สรุป จัดทำรายงานความกา้ วหนา้ 10.2 แผนงานโครงการที่ดำเนินการโดย องค์การบริหารส่วนตำบล ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน เป็นผู้รับผิดชอบ รวบรวม วเิ คราะห์ สรปุ จดั ทำรายงานความกา้ วหนา้ 10.3 แผนงานโครงการที่ดำเนินการโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็น ผู้รับผิดชอบ รวบรวม วเิ คราะห์ สรปุ จดั ทำรายงานความก้าวหน้า 10.4 แผนงานโครงการที่ดำเนนิ การโดย ส่วนราชการ ให้หน่วยงานตน้ สังกัดของหน่วยรับงบประมาณ เป็นผู้รับผดิ ชอบ รวบรวม วเิ คราะห์ สรุป จดั ทำรายงานความก้าวหนา้ ทั้งนี้ จังหวัดควรมอบหมายหรือแต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด ให้ทำหน้าที่ติดตามและประเมิน ประสิทธิภาพโครงการ โดยมีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาคราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วย ความโปร่งใส เกิดประสิทธิภาพ ประชาชนได้รับประโยชน์ และตัวชี้วัดท่ีสอดคล้องกับการดำเนินการจริง ซึ่งสำนักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย จะได้ร่วมกับ สทนช. จัดทำสรุปประเมินผลประสิทธิภาพจากการดำเนินโครงการ การเบิกจ่ายงบประมาณ และการจดั ทำรายงานเสนอคณะรฐั มนตรเี พื่อทราบ ต่อไป กรอบระยะเวลาในการจดั ทำ โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2565 และการกกั เก็บนำ้ เพ่ือฤดูแล้งปี ๒๕๖5/๒๕๖6 ลำดับ ช่วงเวลา เวลา การดำเนินการ (วัน) กนช. เห็นชอบ มาตรการรองรับฤดูฝนปี 2565 และโครงการเพิ่ม 1 14 มี.ค. 2565 1 ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำในช่วงฤดฝู น ปี 2565 และ การกักเก็บน้ำเพือ่ ฤดูแล้งปี ๒๕๖5/๒๕๖6 ครม. เห็นชอบมาตรการรองรับฤดูฝนปี 2565 และโครงการเพิ่ม 2 ... เม.ย. 2565 1 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในช่วงฤดฝู น ปี 2565 และ การกักเกบ็ นำ้ เพ่อื ฤดแู ล้งปี ๒๕๖5/๒๕๖6 3 8 เม.ย. 2565 1 สทนช. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าร่วมประชุมชี้แจงรายละเอียด โครงการฯ แนวทางและหลกั เกณฑก์ ารขอรบั การสนับสนุนงบประมาณ 4 18 เม.ย. 2565 1 สทนช. จดั ประชมุ ชแ้ี จงรายละเอยี ดโครงการฯ แนวทางและหลกั เกณฑ์ การขอรบั การสนับสนุนงบประมาณ 5 19 เม.ย. 2565 สทนช. แจง้ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องดำเนนิ การ 1) ปรบั แผนงานงบประมาณของหนว่ ยงานดำเนินการ 1 2) เสนอแผนงานโครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การทรัพยากร น้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2565 และการกักเกบ็ น้ำเพอื่ ฤดแู ล้งปี ๒๕๖5/ ๒๕๖6 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 7

กรอบระยะเวลาในการจัดทำ โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำในชว่ งฤดฝู น ปี 2565 และการกักเกบ็ นำ้ เพื่อฤดูแลง้ ปี ๒๕๖5/๒๕๖6 ลำดบั ช่วงเวลา เวลา การดำเนินการ (วัน) 6 18 - 29 เม.ย. 2565 10 หน่วยงาน จดั ทำรายละเอยี ดแผนงานโครงการฯ เพ่อื แก้ไขบรรเทา 7 2 - 18 พ.ค. 2565 ปญั หาเร่งดว่ น พร้อมบันทึกแผนงานโครงการในระบบ TWP 8 19 - 20 พ.ค. 2565 9 21 - 24 พ.ค. 2565 18 อนกุ รรมการทรพั ยากรนำ้ จงั หวดั กลั่นกรองแผนงานโครงการ จาก ระบบ TWP ปลัดกระทรวงต้นสังกัด นำแผนงานโครงการ ที่ผ่านอนุกรรมการ 2 ทรพั ยากรนำ้ จงั หวัดแล้ว เสนอ รมต.ต้นสังกดั ให้ความเห็นชอบและเสนอ สทนช. 4 สทนช. รวบรวม วิเคราะห์ กล่ันกรอง ตรวจสอบแผนงานโครงการ ทผ่ี ่าน ความเหน็ ชอบจาก รมต.ต้นสงั กัด 10 25 - 26 พ.ค. 2565 2 สทนช. เสนอแผนงานโครงการ ตอ่ รนม. 11 27 พ.ค. 2565 1 สทนช. เสนอแผนงานโครงการที่ รนม. พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ ต่อ สงป. 12 28 พ.ค. - 2 มิ.ย. 2565 6 สงป. เสนอ นรม. พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ 13 3 - 6 ม.ิ ย. 2565 4 สงป. แจ้งผลการพิจารณาของ นรม. ตอ่ สทนช. 14 7 - 8 มิ.ย. 2565 2 สทนช. เสนอ ครม. ขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณตามท่ี นรม. ให้ความ เหน็ ชอบ 15 9 – 14 มิ.ย. 2565 6 ครม. พิจารณาอนุมตั ิ 16 15 - 16 มิ.ย. 2565 2 สทนช. แจ้งหนว่ ยรับงบประมาณ ทำความตกลงกบั สงป. เพอ่ื ขอรับการ จดั สรรงบประมาณ 17 17 มิ.ย. 2565 เปน็ ต้นไป 120 หนว่ ยรบั งบประมาณ ดำเนินโครงการ ทกุ วันท่ี 1 และ 15 ของทุกเดือน หน่วยรบั งบประมาณ รายงานผลการดำเนนิ งาน ปญั หา/อปุ สรรค ให้ 18 นับตัง้ แต่ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณ สทนช. ทราบ จนกว่าจะแล้วเสรจ็ สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 8

ภาคผนวก สำนกั งานทรพั ยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 9

มาตรการรองรับสถานการณ์ฤดฝู นในปี 2565 จำนวน 13 มาตรการ มาตรการที่ การดำเนินงาน/กลไก หน่วยงาน ทีร่ ับผดิ ชอบ 1 คาดการณ์ชเ้ี ปา้ พื้นท่ี - ประเมนิ พน้ื ที่เสี่ยงน้ำทว่ มในชว่ งเดือน - กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา เสีย่ งน้ำท่วมและฝน มีนาคม – ธนั วาคม 2565 และปรบั ปรุง - สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ น้อยกว่าค่าปกติ ข้อมูลทุกเดือน เพ่ือสง่ ให้หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง (องค์การมหาชน) นำไปใช้เตรียมการบรหิ ารจัดการนำ้ ในชว่ งฤดู - กรงุ เทพมหานคร ฝน - สำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ - ประเมนิ พ้ืนทีเ่ ส่ยี งขาดแคลนนำ้ จากภาวะ ฝนนอ้ ยกวา่ คา่ ปกติ และฝนท้ิงช่วง ในช่วง เดอื นมิถนุ ายน – กรกฎาคม 2565 เพอื่ ให้ หน่วยงานนำไปกำหนดเตรียมแผนปฏิบัติการ ในพื้นทเี่ สย่ี ง เช่น การใช้นำ้ บาดาล 2 การบริหาร - จดั ทำแผนการใช้พื้นทีล่ ุ่มตำ่ ฯ/แก้มลงิ ใช้ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดการน้ำพนื้ ท่ลี มุ่ ต่ำ เป็นพ้นื ที่หนว่ งน้ำในชว่ งฤดูน้ำหลาก เพ่ือ - กระทรวงมหาดไทย เพอ่ื รองรบั นำ้ หลาก ป้องกนั และบรรเทาระดับความรนุ แรงของน้ำ - กรมชลประทาน ทว่ ม รวมถงึ จัดทำแผนเก็บกักน้ำไวใ้ ช้ก่อนสิ้น - กรมทรพั ยากรนำ้ ฤดฝู น เชน่ พ้นื ทที่ ุ่งบางระกำ และพ้ืนทีล่ ุ่มตำ่ - กรมส่งเสรมิ การเกษตร ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนลา่ ง รวมถงึ พืน้ ทล่ี มุ่ ต่ำ - กรุงเทพมหานคร ภายในเขตพ้ืนท่ีเศรษฐกจิ สำคัญ กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล - จัดทำแผนการชดเชยให้แก่ประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการผนั น้ำเขา้ ทุ่ง - (รา่ ง) หลกั เกณฑ์การใชพ้ ืน้ ทลี่ มุ่ ต่ำเปน็ พ้นื ท่ี รับน้ำนองและการจ่ายเงินคา่ ทดแทนหรือ ค่าชดเชยความเสยี หาย 3 ทบทวน ปรับปรงุ - ทบทวน ปรบั ปรุงหลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐาน - กรมชลประทาน เกณฑ์บริหารจัดการนำ้ การบรหิ ารจัดการนำ้ สำหรับใช้เปน็ มาตรฐาน - กรมทรัพยากรน้ำ ในแหล่งนำ้ เดยี วกัน เชน่ - การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศ ขนาดใหญ-่ กลาง - เกณฑ์ปฏิบตั กิ ารอ่างเกบ็ นำ้ (Rule ไทย และเข่ือนระบายน้ำ Curve) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทน - เกณฑก์ ารระบายน้ำเขื่อน/อาคาร และอนรุ ักษ์พลงั งาน ระบายน้ำ - กรมประมง - การคาดการณฝ์ น - ประเมินน้ำไหลเขา้ อ่างเก็บนำ้ สำนักงานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 10

มาตรการที่ การดำเนนิ งาน/กลไก หน่วยงาน 4 ซ่อมแซม ปรบั ปรุง ทีร่ บั ผิดชอบ อาคารชลศาสตร์/ ระบบระบายน้ำ - ติดตามสถานการณ์นำ้ ในแหลง่ น้ำขนาดใหญ่ สถานโี ทรมาตร ให้พร้อมใชง้ าน – กลาง เพอ่ื เฝา้ ระวังและควบคมุ การบริหาร 5 ปรับปรุง แก้ไข จัดการนำ้ ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ปฏิบตั ิการอา่ ง สิ่งกดี ขวางทางนำ้ เก็บน้ำหรือเกณฑ์ควบคุม 6 ขดุ ลอกคูคลองและ กำจัดผักตบชวา - จดั ทำแผนการบริหารจัดการนำ้ แหลง่ น้ำ ขนาดใหญ่ – กลาง ในช่วงภาวะวกิ ฤติ - ตรวจสอบสภาพความมั่นคง และซอ่ มแซม - กรมชลประทาน อ่างเก็บนำ้ อาคารควบคุมบงั คับน้ำ รวมทั้ง - กรมทรัพยากรน้ำ ระบบระบายน้ำ - กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา - ตรวจสอบสถานีโทรมาตร ซ่อมแซมให้มี - กรมประมง สภาพ พรอ้ มใชง้ านได้ตามปกติในช่วงฤดฝู น - การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศ รวมทัง้ สามารถตรวจวัดแสดงผล และ ไทย เชอ่ื มโยงข้อมลู เพื่อใหท้ ุกหน่วยงานใชใ้ นการ - กรมพฒั นาพลงั งานทดแทน ตดิ ตามและเฝา้ ระวงั สถานการณไ์ ด้อยา่ ง และอนุรักษ์พลงั งาน ตอ่ เนือ่ ง ตลอดเวลา - สถาบันสารสนเทศทรพั ยากรน้ำ (องคก์ ารมหาชน) - กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิน่ - กรงุ เทพมหานคร - สำรวจ และจัดทำแผนดำเนินการกำจดั สงิ่ - กรมทางหลวง กดี ขวางทางนำ้ ท่เี กิดจากการกอ่ สร้างและการ - กรมทางหลวงชนบท พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน การจัดการพ้ืนท่ีนำ้ - กรมชลประทาน ท่วม/พนื้ ทช่ี ะลอนำ้ และ การปรับปรงุ คูคลอง - กรมทรพั ยากรนำ้ เพอ่ื เพ่มิ พน้ื ทีร่ บั น้ำ และระบายน้ำได้อย่าง - กรมเจา้ ท่า สะดวกรวดเร็ว - กรุงเทพมหานคร - ทบทวน/ตรวจสอบ สง่ิ ท่กี ีดขวางการไหล - การรถไฟแหง่ ประเทศไทย ของน้ำในระบบทางน้ำจากการศกึ ษาการ - กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น จดั ทำผงั น้ำ เพื่อจัดทำแผนปรับปรุง แกไ้ ข ต่อไป - สำรวจปริมาณผกั ตบชวาและวัชพืชใน - กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง แหล่งกำเนิดท่วั ประเทศ - กรมเจ้าทา่ - จัดทำแผนบรู ณาการด้านเครอื่ งจักร - กรมชลประทาน เคร่ืองมอื ในการกำจดั ผกั ตบชวาและวัชพืช - กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน - ดำเนินการกำจดั วชั พืชในแม่นำ้ และคคู ลอง - กรงุ เทพมหานคร - ประชาสัมพนั ธ์และเชญิ ชวนประชาชนใน - สำนกั งานพฒั นาเทคโนโลยี ชุมชนช่วยกันจดั เก็บหรอื กำจัดผักตบชวา อวกาศและภมู ิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) - กรมทรพั ยากรนำ้ สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 11

มาตรการท่ี การดำเนินงาน/กลไก หนว่ ยงาน 7 เตรยี มพรอ้ ม/ วางแผนเคร่ืองจักร ทีร่ ับผิดชอบ เคร่ืองมือ ประจำพน้ื ที่ เสี่ยงน้ำท่วมและฝน - เตรยี มความพร้อมแผนป้องกนั และบรรเทา - กรมทรพั ยากรน้ำ นอ้ ยกวา่ คา่ ปกติ ภาวะนำ้ ทว่ ม ฝนน้อยกวา่ ค่าปกติ ฝนทิง้ ช่วง - กรมชลประทาน 8 เพ่มิ ประสิทธภิ าพ การใชน้ ้ำและปรบั ปรุง และแผนเผชญิ เหตุ - กรมทรัพยากรน้ำบาดาล วิธีการส่งนำ้ - เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เฝ้าระวัง - กรงุ เทพมหานคร 9 ตรวจความมน่ั คง ปลอดภยั คนั /ทำนบ/ สถานการณน์ ้ำท่วม ฝนน้อยกวา่ คา่ ปกติ ฝน - กรมทางหลวง พนังกนั้ นำ้ ทง้ิ ช่วง สำหรับใหค้ วามช่วยเหลือไดต้ ลอด 24 - กรมทางหลวงชนบท ชว่ั โมง - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ - เตรียมความพร้อมเครอ่ื งจักรเคร่ืองมือ - กรมปอ้ งกันและบรรเทา ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานและเข้าช่วยเหลอื สาธารณภยั ไดท้ นั สถานการณ์ - กองบัญชาการกองทัพไทย - ติดตามวิเคราะห์พนื้ ที่เส่ยี งน้ำท่วม ฝนนอ้ ย - กองทัพบก กว่าค่าปกติ ดว้ ยภาพถา่ ยดาวเทยี ม และ - กองทัพอากาศ อากาศยานไร้คนขับ (UAV) กำหนดแนวทาง - กองทัพเรือ และเงื่อนไขของการแจง้ เตอื นตามระดบั ความ - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รนุ แรง และผลกระทบที่จะเกิดขน้ึ - สำนักงานพฒั นาเทคโนโลยี - การปฏบิ ัติการฝนหลวงในชว่ งฝนน้อยกว่า อวกาศและภมู ิสารสนเทศ ค่าปกติ และฝนทงิ้ ชว่ ง (องคก์ ารมหาชน) - กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร - วางแผนการจดั สรรนำ้ ใหส้ อดคล้องกับ - กรมชลประทาน ปรมิ าณน้ำต้นทนุ และสง่ เสริมให้ทุกภาคสว่ น - การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศ ใช้นำ้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ไทย - ลดการสญู เสยี น้ำโดยการปรับปรุงวิธีการส่ง - กรมทรัพยากรน้ำ นำ้ และซ่อมแซมระบบการสง่ นำ้ เพอื่ เพ่ิม - กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล ศกั ยภาพการใชน้ ้ำ ใหไ้ ด้ประโยชน์สูงสุด - กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น - การประปานครหลวง - การประปาสว่ นภูมภิ าค - ตรวจสอบความมนั่ คง แข็งแรง ของคนั กน้ั - กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ น้ำ ทำนบ พนังกนั้ นำ้ - กรมโยธาธกิ ารแลผงั เมือง - ซ่อมแซม/ปรับปรุง ใหม้ สี ภาพดี - กรมชลประทาน - เตรียมแผนเสรมิ ความสงู หากจำเปน็ (แผน - กรมเจา้ ท่า ชัว่ คราว - กรมทางหลวง - กรมทางหลวงชนบท - สถาบนั สารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องคก์ ารมหาชน) - หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง สำนักงานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 12

มาตรการที่ การดำเนนิ งาน/กลไก หน่วยงาน ทร่ี ับผดิ ชอบ 10 จัดเตรียมพืน้ ท่ี - บรู ณาการจดั ทำแผนป้องกันและบรรเทาสา - กระทรวงมหาดไทย อพยพและซกั ซ้อมแผน ธารณภยั ในระดับชาติ/ในระดับพนื้ ที่ - สำนกั งานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ เผชญิ เหตุ - ดำเนนิ การตามแนวทางการขบั เคล่อื นแผน - หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย 11 ตง้ั ศูนยส์ ่วนหนา้ - วางแผนจดั เตรียมพ้ืนท่ีอพยพและซักซ้อม - สำนักงานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ ก่อนเกิดภยั แผนเผชิญเหตุ ระดับตา่ งๆ - กระทรวงมหาดไทย - การเตรียมการเฝา้ ระวัง ก่อนเกิด ขณะเกิด - กระทรวงกลาโหม และหลังเกดิ ภยั - กสทช. - กระทรวงดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจ - ต้งั ศนู ย์บญั ชาการบริหารจัดการนำ้ ส่วนหน้า และสังคม สำหรบั เผชญิ เหตุ ในพื้นที่ เพ่ือเตรียมความ - กองบัญชาการกองทัพไทย พรอ้ มและการบรหิ ารจดั การสถานการณ์ - กรมอตุ นุ ิยมวิทยา - บูรณาการการทำงานรว่ มกับกลไกการ - กรมชลประทาน ทำงานของแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณ - กรมทรพั ยากรนำ้ ภัยแหง่ ชาติ - สสน. - ตวั อย่าง คำส่ัง “ตง้ั คณะทำงานอำนวยการ - GISTDA บรหิ ารจดั การน้ำส่วนหนา้ ในพนื้ ทเ่ี สี่ยง - กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ อทุ กภยั ภาคต่าง ๆ - กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสา ธารณภยั 12 การสร้างการรบั รู้ - สร้างการรับร้แู ละประชาสัมพันธ์ ร่วมกบั - กรมประชาสัมพันธ์ และประชาสัมพนั ธ์ หนว่ ยงาน ที่เกีย่ วข้อง ในการเตรียมความ - หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง พรอ้ มรบั สถานการณช์ ่วงฤดูฝน ปี 2565 ให้ - กระทรวงมหาดไทย 13 ตดิ ตามประเมนิ ผล ทกุ ภาคส่วนได้รบั รู้และเข้าใจผ่าน - กรมประชาสมั พันธ์ ปรับมาตรการให้ คณะกรรมการล่มุ น้ำ คณะอนุกรรมการ - สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ สอดคล้องกับ ทรัพยากรน้ำจงั หวัด องค์กรผู้ใช้นำ้ เครอื ขา่ ย - หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง สถานการณภ์ ัย ตา่ ง ๆ และประชาชน - สำนกั งานทรพั ยากรนำ้ แห่งชาติ - กำหนดประเด็นตวั ชวี้ ัดการดำเนนิ การ - ทกุ หนว่ ยงาน (กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์) - ตดิ ตาม วเิ คราะห์ ประเมินสถานการณน์ ้ำ 13 รว่ มกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด - สรุปผล เพื่อปรับปรงุ การดำเนนิ งาน สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565

สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565

14

กรอบระยะเวลาและแนวทางการดำเนินการ ผ่านระบบ Thai Water Plan (TWP) ขั้นตอน การดำเนินการ ระยะเวลา A1 18 เม.ย. 65 B1 สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ เปดิ ระบบ Thai Water Plan รับข้อมูล (08.30 น.) B2 แผนปฏิบตั กิ าร 18 - 27 เม.ย. 65 B3 20 - 27 เม.ย. 65 หนว่ ยงานของรฐั และ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น จดั เตรยี มข้อมูล A2 แผนปฏบิ ตั ิการ(ที่มีความเรง่ ด่วน) เพอื่ นำเขา้ ระบบ 20 - 27 เม.ย. 65 B4 C1 ตรวจสอบข้อมูลรายละเอยี ดแผนปฏบิ ัตกิ าร เพ่อื ให้สามารถนำเข้าและ 27 เม.ย. 65 B5 บนั ทึกในระบบได้ โดยตอ้ งประกอบด้วยข้อมูล ช่ือ ทตี่ งั้ พิกดั แผนแม่บทฯน้ำ ประเภทโครงการ ตัวชว้ี ดั วงเงนิ ความพร้อม และหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ (24.00 น.) A3 C2 หนว่ ยงาน Upload เอกสารความพร้อม ในรปู แบบไฟล์ดิจิทลั ในระบบ 28 - 29 เม.ย. 65 C3 - รปู แบบรายการ 2 - 18 พ.ค. 2565 - สถานท่ีดำเนนิ การ - การมสี ่วนรว่ มฯ 2 - 18 พ.ค. 2565 - ประมาณราคา 16 พ.ค. 2565 สามารถ Upload เอกสารความพร้อม จนกวา่ ระบบจะปิด และขนาดไฟล์ (24.00 น.) รวมของเอกสารไม่เกนิ 100 MB ตอ่ 1 รายการ โดยแผนปฏิบตั กิ าร 17 - 18 พ.ค. 2565 ตอ้ ง Upload เอกสารความพรอ้ มทุกรายการ 19 – 20 พ.ค. 2565 สทนช. ปิดระบบ Thai Water Plan (หนว่ ยงานและจงั หวดั จะไม่สามารถแก้ไข/เพิ่ม/ลบ แผนปฏบิ ัติการได้แล้ว ) หนว่ ยงานระดบั กรม และ จงั หวัด SIGN OFF 1 โดยใช้ User ที่ สทนช. กำหนด คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจงั หวดั รวบรวมแผนปฏิบัตกิ ารจากระบบ พรอ้ มท้ังวิเคราะห์กลัน่ กรองและจดั ลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติการ ระดบั จังหวัด หน่วยงาน Upload เอกสารความพรอ้ มเพิ่มเติม ในรปู แบบไฟล์ดิจิทัล สามารถ Upload เอกสารความพร้อม จนกวา่ ระบบจะปดิ และขนาดไฟล์ รวมของเอกสารไมเ่ กนิ 100 MB ต่อ 1 รายการ โดยแผนปฏิบัติการ ตอ้ ง Upload เอกสารความพรอ้ มทุกรายการ สทนช. ปดิ ระบบ Thai Water Plan (หนว่ ยงานและจังหวดั จะไม่สามารถแกไ้ ข/เพิ่ม เอกสารความพร้อมไดแ้ ลว้ ) ผ้วู ่าราชการจงั หวดั ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการทรพั ยากรน้ำจงั หวดั SIGN OFF 2 โดยใช้ User ท่ี สทนช. กำหนด ปลัดกระทรวงตน้ สังกดั นำแผนงานโครงการ ที่ผ่านอนกุ รรมการทรัพยากร นำ้ จงั หวดั แลว้ เสนอ รมต.ต้นสงั กัด ใหค้ วามเห็นชอบและเสนอ สทนช. สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 15

ขั้นตอน การดำเนนิ การ ระยะเวลา A4 21 -24 พ.ค. 2565 สทนช. ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ (กนช.) D1 รวบรวมแผนปฏิบตั กิ ารของประเทศจากระบบ พร้อมทัง้ วิเคราะห์และ 25 - 26 พ.ค. 2565 A5 จัดลำดบั ความสำคัญ 26 พ.ค. 2565 D2 27 พ.ค. 2565 สทนช. เสนอแผนงานโครงการ ตอ่ รองนายกรฐั มนตรี (รนม.) พจิ ารณา เห็นชอบ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (ลทช.) SIGN OFF 3 โดยใช้ User ที่ สทนช. กำหนด สทนช. เสนอแผนงานโครงการ ตอ่ สำนกั งบประมาณ (สงป.) การกำหนด User ในกระบวนการเสนอแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นทรพั ยากรนำ้ ผ่านระบบ Thai Water Plan 1. ส่วนราชการทีเ่ กยี่ วขอ้ ง และจงั หวัด ให้เสนอแผนงาน/โครงการในระบบ Thai Water Plan ตามที่ สทนช. กำหนด โดยกำหนดให้ใช้ชื่อผู้ใช้งาน (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมที่ใช้ในการจัดทำ แผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรน้ำประจำปี พ.ศ 2566 และโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ทรัพยากรนำ้ เพือ่ รองรับสถานการณภ์ ยั แลง้ และฝนทิ้งช่วงปี 2565 ทผี่ ่านมา 2. อปท. ให้เสนอแผนงาน/โครงการ ผ่านจังหวัดเป็นผู้รวบรวมและนำเข้าระบบ Thai Water Plan แทน โดยใช้ชือ่ ผใู้ ชง้ าน (Username) และ รหัสผ่าน (Password) ของจงั หวัด ตามทใี่ ช้ในการจดั ทำแผนปฏบิ ัติ การดา้ นทรัพยากรน้ำประจำปี พ.ศ 2566 และโครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพ่ือ รองรบั สถานการณภ์ ยั แลง้ และฝนทิ้งชว่ งปี 2565 ทผี่ ่านมาที่ผ่านมา สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ (สทนช.) 8 เมษายน 2565 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook