Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนออาจารอัญชลี 2

งานนำเสนออาจารอัญชลี 2

Published by Deachatron Humthaisong, 2020-10-02 04:57:59

Description: งานนำเสนออาจารอัญชลี 2

Search

Read the Text Version

จดั ทำโดย : นำยเดชำธร หมุ้ ไธสง อำจำรย์ผ้สู อน : นำงสำวอรรชลี ชำญประไพร

กำรออกแบบสอื่ ดจิ ทิ ลั (Digital Media Design) ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ก ำ ร สื่ อ ส ำ ร แ บ บ Visual Communication Artsหรือ นิเทศศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะที่ เก่ียวข้องกับกำรสื่อสำร ทำงกำรมองเห็น (Visual Communication) เพรำะเป็นกำรส่ือสำรไปยังผู้รับ สำรด้วยภำพเป็นสำคัญ (Visual Image) แม้จะมีบำงองค์ประกอบจะมีกำรส่ือสำร ทำงเสียง มำประกอบก็ตำม แต่สื่อหลักก็ยังเป็นกำร สื่อสำรด้วยภำพ โดยเสียงเป็น ตัวเสริมใหภ้ ำพนนั้ สมบรู ณ์ขึ้น ท้ังน้ีเพรำะกำรรับรู้ของมนุษย์เรำนั้น รับรู้จำก จักษุ ประสำทมำกทีส่ ดุ (รับรู้ทำงตำ83% หู 11%)

Communication Arts Communication Arts หรือ นิเทศ ศำสตร์ คอื ศำสตร์ที่เกยี่ วข้องกบั ศิลปะในกำร ส่ือสำร โดยให้ควำมสำคัญกับกำร ส่ือสำร จำกองค์ประกอบของกำรสอสำร กล่ำวคือ ผู้สงสำร สำร ส่ือ และผู้รับสำร ซ่ึงผู้สงสำร อำจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือ บริษัทก็ได้ ข่ ำว สำ รจ ะต้ อ ง เป็ นเน้ื อ ห ำส ำร ะท่ี ผู้ส่ ง ตอ้ งกำรทจี่ ะกระจำยให้ประชำชนไดรบั ทรำบ

Visual Communication กำรส่ือสำรด้วยกำรมองเห็น เป็น กำรส่ือสำรท่ี มุ่งท่ีจะให้ควำมคิดควำม เข้ำใจของผู้อื่น ให้เหมือนกับควำมคิดควำม เข้ำใจของเรำ หรือทำอย่ำงไรจึงจะเอำ ควำมรู้สึกนึกคิดของผู้อ่ืนได้ โดยให้มี ควำมรู้สึกนึกคิด เช่นเดียวกับเรำ เพรำะ ธ ร ร ม ช ำ ติ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ รั บ ข่ ำ ว ส ำ ร อ ย่ ำ ง เ ดี ย ว กั น ม ำ แ ต่ จ ะ มี ค ว ำ ม เ ข้ ำ ใ จ แ ล ะ ควำมรู้สึกนึกคิด แตกต่ำงกัน ออกไป กำร สือ่ สำรทีด่ ีก็ตอ้ งมกี ำรวำงแผน

Digital Media Design กำรออกแบบส่อื ดจิ ทิ ลั จึงหมำยถงึ กำรสรำง สรรค์ผลงำนในเชิงนิเทศศลิ ป์เพือ่ ส่ือสำรตำ่ งๆ ใหก้ ับผ้รู ับสำร โดยใช้สื่อระบบดิจิทัลในกระบวนกำร ออกแบบและกำรสอ่ื สำร กำรออกแบบดว้ ยสอ่ื ดจิ ิทลั แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คอื 1. ผลงำนกำรออกแบบสิง่ พมิ พ์ดว้ ยสือ่ ดิจทิ ลั 2. ผลงำนกำรออกแบบเพอ่ื นำไปใชส้ อดิจทิ ัล โดยตรง

Visual Communication Arts Visual Communication Arts หรือ นิเทศศิลป์ หมำยถึง งำนศิลปะเพ่ือ กำรนำเสนอให้ปรำกฎ ในรูปแบบต่ำงๆ ผ่ำน กำรมองเห็นเป็นสำคัญ นอกจำก จะเกี่ยวของกับกำรสอสำรแล้ว ยังต้องเก่ียวของ กับวิชำกำรสำขำต่ำง ๆ อีกก็คือ จิตวิทยำ ธุรกิจ เทคโนโลยี ระบวนกำรสรำ้ งสรรค์ และศิลปะ

ข้อดีของสอ่ื ดจิ ิตอล 1. ควำมคงทน คุณภำพของสิ่งท่ีอยู่ ใน “ Digital Media” กำรเสื่อมสภำพจะ ใช้ เวลำนำนกว่ำ เพรำะรูปแบบของข้อมูล ท่ีจัดเก็บแบบ . สองระดับ ” (0 กับ 1) โอกำส ที่จะผิดเพยี้ นจะเกิดข้ึนได้ยำกกว่ำ

ข้อดขี องสอ่ื ดจิ ิตอล (ตอ่ ) 2. รูปแบบของกำรนำไปใช้งำนทำ ได้หลำกหลำยวิธี ข้อมูลท่ีจัดเก็บในแบบ ดิจิ ตอ ล ถื อ ไ ด้ ว่ำ เ ป็ นข้ อ มู ล กล ำง ที่ สำมำรถแปลงไปสู่รูปแบบอื่นได้ง่ำยเช่น ถ่ำยรูปด้วยกล้องดิจิตอล เม่ือได้เป็น ข้อมูลภำพออกมำแล้ว จำกนั้น สำมำร พิมพ์ภำพลงบนกระดำษหรือกำรแสดง ภำพบนจอคอมพิวเตอร์ หรือแสดงภำพบน จอทวี ี ก็ได้เช่นกัน

ขอ้ ดขี องสอ่ื ดจิ ิตอล (ตอ่ ) 3. กำรนำไปผสมผสำนกับสอื่ รปู แบบ อน่ื เชน่ ภำพถ่ำย นำมำรวมกับเสยี ง มกี ำร แสดงแบบ Multi-Media 4. กำรปรบั แต่ง (Edit) เป็นกำร ปรบั แตง่ สื่อที่เปน็ ภำพถ่ำย วิดีโอ เสยี งนก ร้อง … นำมำปรับแต่งให้ดขี น้ึ กวำ่ เดิม กำร สอดแทรก ส่ิงเหล่ำนี้ทำใหน้ ำ่ ดู นำ่ ฟัง มำกกว่ำปกติ มคี วำมวจิ ติ รพิสดำร

ข้อเสยี ของสอื่ ดจิ ติ อล เป็นส่ิงที่ง่ำยต่อกำรกระทำกำร ละเมดิ ในสิทธิของผู้อ่ืน เช่น กำรนำเอำ ภำพของบุคคลหนึ่ง มำตัดต่อกับภำพ เปลือยกำยของอีกคนหนึ่ง หรือ กำร ทำซ้ำ(Copy)กับ งำนสื่อ ท่ีมีลิขสิทธ์ิ ถูกต้อง เป็นตน้

กำรออกแบบสอ่ื ธรุ กจิ 1. ทำให้เป็นระเบียบ ให้ควำมสำคญั กับกำรจัดเรยี ง (Alignment) ถ้ำหำกคุณต้องอ่ำนหนังสือท่ี จัดวำงตัวหนังสือซ้ำยที ขวำที หรือดี ไม่ดี ไม่มีรูปแบบกำรจัดวำงเลย คุณ คงปวดหัวน่ำดู กำรจัด Alignment จึงสำคัญมำกๆ เพรำะเป็นส่ิงที่ช่วย ทำให้ข้อมูลเป็นระเบียบ กวำดสำยตำ เพ่อื รับสำรไดง้ ่ำย

กำรออกแบบสอ่ื ธรุ กจิ (ต่อ) กำรจัดกลมุ่ ขอ้ มูลท่ีมีควำมหมำย หรือเรื่องที่ใกล้เคียงกันเอำไว้ด้วยกัน กำรทำเช่นนี้เป็นกำรช่วยผู้อ่ำนในกำร จัดกลุ่มข้อมูลก่อนเบื้องต้น เพื่อท่ีเขำจะ ได้ไมต่ ้องไปตคี วำมทกุ อย่ำงเอง

หลักเบ้ืองตน้ ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั ส่ือดิจิตอล (ตรงกันข้ำมกับส่ืออนำล็อก) มักหมำยถึงส่ืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง ทำงำนโดยใช้รหัสดิจิตอล ในปัจจุบัน กำรเขียนโปรแกรมต้องอยู่บนพื้นฐำนของ เลขฐำนสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมำยถึงกำรแยกแยะระหว่ำง \"0\" กับ \"1\" ในกำร แสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรท่ีมักจะแปลข้อมูลดิจิตอลฐำนสองแล้ว จึงแสดงช้ันของเคร่ืองประมวลผลช้ันของ ข้อมูลดิจิตอลที่เหนือกว่ำ สื่อดิจิตอล เช่นเดียวกบั ส่อื เสียง วดิ ีโอ หรือเนอื้ หำดจิ ิตอลอืน่ ๆ

Digital Media (สื่อดจิ ติ อล) และ มัลตมิ เี ดยี (Multimedia) ทงั้ สองคำนี้เป็นเรื่องของสอื่ ท้ังหมดหรือ อำจจะเรียกรวมวำ่ ส่ือใหม่(New media) กพ็ อ จะนบั รวมไปได้ ทั้งสอง คำต่ำงก็มีควำมเก่ียวโยงกัน ถ้ำลองคิดถึง ส่ือประเภทใดบ้ำงที่มีลักษณะเป็นดิจิตอลหลำยๆ คนคงพอนึกได้ เนื่องด้วย ส่วนใหญ่ล้วนเป็นส่ิงท่ีเรำได้เคยใช้อยู่แล้วใน ชวี ติ ประจำวนั เชน่ กำรพมิ พ์ข้อควำมเพ่อื ส่งเมล์ กำรชมภำพถ่ำยท่ี เก็บในฮำร์ดดิสก์ กำรดูวิดีโอ หรือกำรติดต่อส่ือสำร ในยุคปัจจุบัน ทัง้ หมดน้เี รำรบั ข้อมูลผ่ำนสอื่ ทเ่ี ปน็ ดจิ ติ อลท้ังสิ้น

องคป์ ระกอบของสอ่ื ดจิ ติ อลเบอื้ งตน้ เป็นอย่ำงเดียวกันกับองค์ประกอบเบอื้ งตน้ ของมลั ตมิ เี ดยี ดว้ ย ประกอบ ไปดว้ ยพ้ืนฐำน 5 ชนิดได้แก่ 1. ขอ้ ควำม 2. เสยี ง 3. ภำพนงิ่ 4.ภำพเคลื่อนไหว 5. วดิ ีโอ

1. ขอ้ ควำม เ ป็ น ส่ ว น ที่ เ กี่ ย ว กั บ เ นื้ อ ห ำ ข อ ง มัลติมีเดีย ใช้แสดงรำยละเอียด หรือเนื้อหำ ของเร่ืองที่นำเสนอ ถือว่ำ เป็นองค์ประกอบ พ้ื น ฐ ำ น ท่ี ส ำ คั ญ ข อ ง มั ล ติ มี เ ดี ย ร ะ บ บ มัลติมีเดียท่ีนำเสนอผ่ำนจอภำพของเครื่อง คอมพิวเตอร์ นอกจำก จะมีรูปแบบและสีของ ตัวอักษรให้เลือกมำกมำยตำมควำมต้องกำร แ ล้ ว ยั ง ส ำ ม ำ ร ถ ก ำ ห น ด ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ำ ร ปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่ำงกำรนำเสนอได้ อีกดว้ ย ซ่ึงปจั จุบัน มหี ลำยรูปแบบ ไดแ้ ก่

1. ข้อควำม (ต่อ) 1.1 ขอ้ ควำมทไ่ี ดจ้ ำกกำรพมิ พ์ เป็นขอ้ ควำมปกตทิ ี่พบได้ท่วั ไป 1.2 ขอ้ ควำมจำกกำรสแกน เปน็ ขอ้ ควำมในลกั ษณะภำพ หรือ Image 1.3 ข้อควำมไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext)

2. เสียง ถูกจดั เกบ็ อย่ใู นรูปของสัญญำณดจิ ติ อลซ่งึ สำมำรถเลน่ ซำ้ กลับไปกลบั มำ ได้ โดยใชโ้ ปรแกรมที่ ออกแบบมำโดยเฉพำะสำหรับทำงำนด้ำนเสียง หำกใน งำนมลั ติมีเดียมกี ำรใช้เสียงท่เี ร้ำใจและสอดคลอ้ งกับเน้ือหำใน กำรนำเสนอ จะ ชว่ ยให้ระบบมลั ตมิ ีเดยี น้ันเกิดควำมสมบรู ณแ์ บบมำกยิง่ ขน้ึ นอกจำกนี้ยังช่วย สร้ำงควำมนำ่ สนใจและ น่ำติดตำมในเรื่องรำวต่ำงๆ ได้เป็นอยำ่ งดี

3. ภำพนงิ่ เปน็ ภำพท่ไี ม่มกี ำรเคลือ่ นไหว เช่น ภำพถ่ำย ภำพวำด และภำพลำยเส้น เปน็ ต้น ภำพนงิ่ นับวำ่ มี บทบำทต่อระบบงำนมัลตมิ ีเดียมำกกว่ำขอ้ ควำมหรอื ตวั อักษร เนื่องจำกภำพจะใหผ้ ลในเชิงกำรเรยี นร้หู รือรบั รดู้ ้วยกำร มองเหน็ ได้ ดกี วำ่ นอกจำกน้ยี งั สำมำรถถ่ำยทอดควำมหมำยไดล้ ึกซ่งึ มำกกวำ่ ข้อควำมหรอื ตวั อักษร

4. ภำพเคลอ่ื นไหว ภำพกรำฟิกทม่ี ีกำรเคลอ่ื นไหวเพอื่ แสดงขัน้ ตอนหรอื ปรำกฏ กำรณ์ ตำ่ งๆ ที่เกิดข้นึ อยำ่ ง ตอ่ เนอื่ ง เช่น กำรเคล่อื นทขี่ องลูกสบู ของเครอื่ งยนต์ เป็น ตน้ ทง้ั น้ีเพ่อื สรำ้ งสรรค์จนิ ตนำกำรใหเ้ กดิ แรงจงู ใจจำกผชู้ ม กำรผลติ ภำพเคล่ือนไหวจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมทีม่ ีคุณสมบัตเิ ฉพำะทำงซึ่งอำจมีปัญหำเกดิ ข้นึ อยู่บ้ำงเก่ียวกบั ขนำดของ ไฟลท์ ี่ตอ้ งใชพ้ น้ื ทใ่ี นกำรจดั เกบ็ มำกกว่ำภำพนงิ่ หลำยเท่ำ

5. วดิ โี อ เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มี ควำมสำคัญเป็นอย่ำงมำก เนื่องจำกวิดีโอ ในระบบดิจิตอล สำมำรถนำเสนอข้อควำม หรือรูปภำพ (ภำพน่ิงหรือภำพเคล่ือนไหว) ป ร ะ ก อ บ กั บ เ สี ย ง ไ ด้ ส ม บู ร ณ์ ม ำ ก ก ว่ ำ องค์ประกอบ ชนิดอื่นๆ อย่ำงไรก็ตำม ปั ญ หำ หลั กข อ ง กำ ร ใช้ วิดี โอ ใน ระ บ บ มัลติมีเดียก็คือ กำรส้ินเปลืองทรัพยำกร ของพน้ื ทบ่ี น หน่วยควำมจำเปน็ จำนวนมำก

เทคนคิ กำรตดั ตอ่ ภำพดว้ ยสอ่ื ดจิ ทิ ลั กำรตัดต่อภำพยนตร์ เป็นขัน้ ตอนท่ีสำคญั อีกขัน้ ตอนหนึ่งในกำรสรำ้ งภำพยนตร์ ซ่ึงหมำยถึง กำรลำดบั ภำพจำกภำพยนตรท์ ่ถี ่ำย ทำไว้ โดยนำแตล่ ะฉำกมำเรียงรอ้ ยกนั ตำม โครงเรื่อง จำกนั้นก็จะใช้เทคนคิ กำรตัดตอ่ ใหภ้ ำพและเสียงมคี วำมสัมพันธ์ ต่อเนือ่ งกนั เพือ่ ให้ได้ภำพยนตร์ทม่ี ีควำมสมบรู ณ์เตม็ รูปแบบ ก่อนที่จะนำไปเผย แพร ตอ่ ไป

เทคนคิ กำรตดั ตอ่ ภำพดว้ ยสอ่ื ดจิ ทิ ลั (ต่อ) กำรตัดต่อลำดับภำพ หมำยถงึ กำรเชอ่ื มต่อกันระหว่ำงชอ็ ต 2 ช็อต เพอื่ เล่ำเร่ืองรำวตำ่ งๆ ด้วยภำพ ซึ่งสำมำรถกระทำได้ทง้ั ภำพนิ่งและภำพเคล่ือนไหว โดยกำรนำ ชิ้นงำนแตล่ ะชอ็ ต แต่ละฉำกมำเรยี งกัน เพื่อใหเ้ กดิ ควำมตอ่ เน่ืองและกลมกลนื กันด้วยเทคนคิ วิธตี ่ำงๆ จนกระทั่งสำมำรถเลำ่ เรอื่ งรำวได้ตำมบท (Script) ท่ี เขยี นไว้ ดังน้นั ผูต้ ัดต่อที่ดี ตอ้ งคิดสรรชอ็ ตทดี่ ีและฉำกท่ดี ีมำเรียงตอ่ กัน โดย จะต้องคำนึงถงึ ควำมยำว จังหวะ รวมถงึ อำรมณท์ ่ี ตอ้ งกำรสื่อให้ผู้ รบั สำรได้ รับรู้ และทีส่ ำคัญกค็ อื ต้องคำนึงถงึ ควำมเปน็ เอกภำพของเรือ่ งนั้นๆ ดว้ ย

เทคนคิ กำรตดั ตอ่ ภำพดว้ ยสอ่ื ดจิ ทิ ลั (ต่อ) กำรตดั ตอ่ ภำพและเสียง หมำยถงึ กระบวนกำรนำภำพตำ่ งๆ ที่บนั ทึกไวม้ ำลำดับเป็นเรือ่ งรำวโดย อำศัยเคร่อื งมือตัดตอ่ รวมถงึ กำรซอ้ นตวั หนงั สอื หรือกำรสรำ้ งภำพพเิ ศษ ต่ำงๆ เพื่อสร้ำงควำมสมบรู ณ์ของรำยกำรในกำรสอ่ื ควำมหมำย ตลอดจน กำรใสเ่ สียง บรรยำย เสียงประกอบ ตำมรูปแบบของรำยกำรน้นั ๆ

ควำมสำคญั ของกำรตดั ตอ่ กำรตัดต่อลำดับภำพมคี วำมสำคัญในสว่ นท่ที ำใหผ้ ูด้ เู ข้ำใจเร่อื งรำวท่ี นำเสนอและไดอ้ ำรมณ์อยำ่ งตอ่ เน่อื งต้ังแต่เรมิ่ จนจบเรือง 1. กำรดึงผู้ดูใหเ้ ขำ้ ไปเก่ยี วของและเปน็ สว่ นหนึ่งกับเหตุกำรณใ์ นเร่อื งทำ ใหผ้ ู้ดูเกดิ สภำพอำรมณต์ ำมทผ่ี ตู้ ัดตอ่ ตอ้ งกำร 2. กำรสรำ้ งเรือ่ งรำวอย่ำงตอ่ เนอ่ื ง 3. กำรเชอ่ื มตอ่ ภำพใหด้ ูลนื่ ไหล 4. กำรแก้ไขจุดบกพรอ่ งท่อี ำจจะเกิดมำจำกกำรถำ่ ยทำ 5. กำรกำหนดเวลำ หรือ กำรกำจดั เวลำ

กำรรู้สอื่ (Media Literacy) 1.ศิลปะ ควำมหมำย และกำรส่งข้อควำมในรูปแบบต่ำงๆ 2.ผลกระทบ และอิทธิพลของสื่อมวลชนและวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยม 3. สื่อข้อควำมถูกสร้ำง ข้ึนอย่ำงไรและทำไมถึงถูกผลิตขึ้น และ 4.ส่ือสำมำรถใช้ในกำรส่ือสำรควำมคิด ของเรำเองได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพไดอ้ ยำ่ งไร กำรรู้เทคโนโลยี (Technology literacy) ควำมชำนำญในเทคโนโลยีส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับควำมรู้ดิจิทัล ซ่ึง ครอบคลุมจำกทักษะคอมพิวเตอร์ข้ันพื้นฐำนสู่ทักษะที่ซับซ้อนมำกขึ้นเช่นกำร แกไ้ ขภำพยนตร์ดจิ ทิ ลั หรือกำรเขียนรหสั คอมพวิ เตอร์

กำรรสู้ ำรสนเทศ (Information literacy) กำรรู้สำรสนเทศเป็นอีกสิ่งที่สำคัญของกำรรู้ ดิจิทัลซ่ึงครอบคลุมควำมสำมำรถในกำรประเมินว่ำ สำรสนเทศใดท่ผี เู้ รยี นตอ้ งกำร กำรรู้วิธีกำรที่จะค้นหำ สำรสนเทศท่ีต้องกำรออนไลน์ และกำรรู้กำรประเมิน และกำรใช้สำรสนเทศที่สืบค้นได้ กำรรู้สำรสนเทศถูก พัฒนำเพ่ือกำรใช้ห้องสมุด มันยังสำมำรถเข้ำได้ดีกับ ยุคดิจิทัลซึ่งเป็นยุคท่ีมีข้อมูลสำรสนเทศออนไลน์ มหำศำลซึ่งไม่ได้มีกำรกรอง ดังนั้นกำรรู้วิธีกำรคิด วิ เ ค ร ำ ะ ห์ เ ก่ี ย ว กั บ แ ห ล่ ง ที่ ม ำ แ ล ะ เ นื้ อ ห ำ นั บ เ ป็ น สิ่งจำเปน็

กำรรเู้ กย่ี วกบั สง่ิ ทเ่ี หน็ (Visual literacy) กำรรู้เกี่ยวกับสิ่งท่ีเห็นสะท้อนควำมสำมำรถ ของของผู้เรียนเก่ียวกับควำมเข้ำใจ กำรแปล ควำมหมำยสิ่งท่ีเห็น กำรวิเครำะห์ กำรเรียนรู้ กำร แสดงควำมคิดเห็น และควำมสำมำรถในกำรใช้ส่ิงท่ี เห็นนั้นในกำรทำงำนและกำรดำรงชีวิตประจำวัน ของตนเองได้ รวมถึงกำรผลิตข้อควำมภำพไม่ว่ำจะ ผ่ำนวัตถุ กำรกระทำ หรือสัญลักษณ์ กำรรู้เกี่ยวกับ สิ่งที่เห็นเป็นส่ิงจำเป็นสำหรับกำรเรียนรู้และกำร ส่ือสำรในสงั คมสมยั ใหม่

กำรรูก้ ำรสอื่ สำร (Communication literacy) กำรรู้กำรส่ือสำรเปน็ รำกฐำนสำหรับกำรคิด กำรจัดกำร และกำรเชื่อมต่อ กับคนอ่ืนๆ ในสังคมเครือข่ำย ทุกวันนี้เด็กและเยำวชนไม่เพียงจำเป็นต้องเข้ำใจ กำรบูรณำกำรควำมรู้จำกแหล่งต่ำงๆ เช่น เพลง วิดีโอ ฐำนข้อมูลออนไลน์ และ ส่อื อื่นๆ พวกเค้ำยังจำเป็นต้องรู้วิธีกำรใช้แหล่งสำรสนเทศเหล่ำนั้นเพื่อเผยแพร่ และแลกเปลยี่ นควำมรู้ กำรรู้สงั คม (Social literacy) กำรรู้สังคมหมำยถึงวัฒนธรรมแบบกำรมีส่วนร่วม ซึ่งถูกพัฒนำผ่ำน ควำมร่วมมือและเครือข่ำย เยำวชนต้องกำรทักษะสำหรับกำรทำงำนภำยใน เครือข่ำยทำงสังคม เพื่อกำรรวบรวมควำมรู้ กำรเจรจำข้ำมวัฒนธรรมที่ แตกต่ำง และกำรผสำนควำมขัดแยง้ ของข้อมูล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook