Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกับวิธีการสอน Van Hiele

นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกับวิธีการสอน Van Hiele

Published by nussarin kariji, 2023-06-15 14:46:31

Description: นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกับวิธีการสอน Van Hiele

Search

Read the Text Version

นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่น โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ร่วมกับวิธีการสอน Van Hiele นายนุรสรินทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1

คำนำ นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติทบ่ี รู ณาการท้องถ่ินโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานรว่ มกบั วธิ กี ารสอน Van Hiele จัดทำขึ้น เพื่อแก้ปญั หาผเู้ รียนในช้ันเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเขา้ มามีส่วนร่วมเป็นฐานท่ีสามารถผสมผสานอาหารท้องถิ่น เพื่อให้ผู้เรียนได้ รู้จักเอกลักษณ์ที่สำคัญภายใต้บริบทได้เห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ท้องถิ่น และยังมีความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิชา คณติ ศาสตร์อกี ด้วย จดั ทำโดย นายนรุ สรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย โรงเรยี นชุมชนบ้านตะลุโบะ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1

สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 ส่วนนำ 4 นวตั กรรมเทคโนโลยกี ารสอนในชั้นเรยี น 16 การเผยแพรน่ วัตกรรมเทคโนโลยกี ารสอนสบู่ รบิ ท 24 บรรณานุกรม

นวตั กรรมรปู เรขาคณติ สามมติ ทิ ี่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานรว่ มกับวิธีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ 1. สว่ นนำ ในฐานะผู้สอนที่เป็นนักศึกษาโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น รหัส 60 ได้น้อมรับคำสอนจาก ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคุรุสภา ท่านได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและ เทคโนโลยี (Technological pedagogical content knowledge : TPACK or TPCK) ควบคู่กับการบูรณา การท้องถิ่น ท่านได้กล่าววา่ “...พวกเราจงนำความรูไ้ ปถ่ายทอดแกผ่ ู้เรียนโดยใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การเรยี น การสอนใหเ้ ดก็ ๆ เขารูจ้ กั อะไรใหม่ ๆ ทที่ ันสมัยเพราะความหวงั ของเด็ก ๆ อย่ใู นมอื ของพวกเรา 270 กว่าคน อาจารยฝ์ ากดว้ ยนะ...” ผู้สอนดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 คาบแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่สอดแทรก Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) ในชั้นเรียนผนวกกับการใช้รูปแบบการสอน Van Hiele ควบคู่ในการจัดการเรียน การสอน (Pierre van Hiele, 1957 อา้ งถงึ ใน อลงกรณ์ ตัง้ สงวนธรรม, สริ พิ ร ทิพย์คง, ชานนท์ จนั ทรา และช นิศวรา เลิศอมรพงษ,์ 2561) Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) (ท่ีมา : https://shorturl.asia/3OQph) 1

นวตั กรรมรปู เรขาคณิตสามมติ ิท่ีบรู ณาการท้องถิน่ โดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐานร่วมกับวธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนชุมชนบ้านตะลโุ บะ รูปแบบการสอน Van Hiele (ที่มา : https://shorturl.asia/a3kzM) 1. ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี (Technological Knowledge) หรือ TK ครูผสู้ อนประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอนทั้งในเรื่องของซอร์ฟแวร์ (Software) และฮาร์ดแวร์ (Hardware) ต่าง ๆ โดย ครูผู้สอนเชื่อมโปรแกรมสะท้อนหน้าจอ ApowerMirror ทางคอมพิวเตอร์และไอแพด (Ipad) โปรแกรม Geogebra และความเป็นจรงิ เสริม (Augmented Reality) 2. ความรู้ดา้ นวิธกี ารสอน (Pedagogical Knowledge) หรือ PK ครูผ้สู อนนำความรคู้ วามสามารถ มาประยุกต์ใช้เพื่อเปน็ แนวทางการเรียนการสอนใหก้ ับผู้เรยี นหรือที่เกี่ยวกบั วิธีการถ่ายถอดความรูไ้ ปสู่ผูเ้ รยี น โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Active learning) ผ่านการค้นพบด้วยตนเอง (Discovery) โดยมีคำถาม (questions) เปน็ ตัวกลางท่ใี ห้ผู้เรียนได้คดิ และนำไปสูม่ โนทศั น์ (Concept) เรอ่ื ง รปู เรขาคณิตสามมติ ิ 2

นวตั กรรมรปู เรขาคณิตสามมิติที่บรู ณาการท้องถ่ินโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ฐานรว่ มกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย โรงเรียนชมุ ชนบา้ นตะลุโบะ ผจู้ ดั ทำได้ผนวกกับการใช้รูปแบบการสอน Van Hiele ควบคู่ในการจัดการเรียนการสอนแต่เน่ืองจาก ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ยังไม่สามารถวิเคราะห์ระดับขั้นที่ 3 การพิสูจน์อย่างมีแบบแผน (Formal Deducdtion) และระดับขั้นที่ 4 การคิดขั้นสุดยอด (Rigor) ได้เพราะเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์ที่มี กฎเกณฑ์ซึ่งจะเรียนลึกในระดับมัธยมและมหาลัยตามลำดับ (Jones, 2012) ดังนั้นผู้จัดทำจึงได้อธิบายใน ระดับขั้นที่ 0 การมองเห็น (Visualization) ระดับขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ (Analysis) และระดับขั้นที่ 2 การพิสจู นอ์ ยา่ งไมเ่ ปน็ แบบแผน (Informal Deduction) 3. ความรู้ด้านเนื้อหา (Content Knowledge) หรือ CK ครูผู้สอนมีหลักการท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหา เรอื่ ง รูปเรขาคณิตสามมิติ ในการถ่ายทอดแก่ผู้เรียนในหวั ข้อลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ของรูปเรขาคณิตสามมิติ สามารถระบุระบุรูปคลขี่ องรปู เรขาคณิตสามมิติและรปู เรขาคณิตทีป่ ระกอบจากรูปคล่ี 3

นวตั กรรมรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ี่บูรณาการทอ้ งถน่ิ โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกับวธิ กี ารสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นชุมชนบ้านตะลโุ บะ 2. นวตั กรรมเทคโนโลยกี ารสอนในชัน้ เรยี น ผู้จัดทำได้นำนวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกับ วธิ ีการสอน Van Hiele ดังน้ี หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (electronic-book) เรอ่ื ง รปู เรขาคณิตสามมิติท่ีบูรณาการท้องถ่นิ โดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐาน มเี น้อื หาดงั น้ี 1. ขา้ วต้มมดั มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับปริซมึ ฐานสามเหลยี่ ม 2. ซมั ปูซะ มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กับพีระมดิ ฐานส่ีเหล่ยี ม 3. ข้าวเหนียวหลาม มลี กั ษณะคล้ายคลงึ กับทรงกระบอก 4. ตปู ะซตู ง มีลักษณะคล้ายคลึงกบั ทรงกรวย 5. ฆอเมาะอาบู มลี กั ษณะคล้ายคลึงทรงกลม 6. ขนมอาซรู อ มลี กั ษณะคล้ายคลึงลกู บาศก์ 7. รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ 7.1 ปริซมึ ฐานสามเหลีย่ ม 7.2 ปรซิ มึ ฐานสีเ่ หลี่ยม 7.3 ปรซิ ึมฐานหา้ เหลยี่ ม 7.4 ปริซึมฐานหกเหล่ียม 7.5 พีระมิดฐานสามเหลี่ยม 7.6 พรี ะมิดฐานสีเ่ หลี่ยม 7.7 พีระมิดฐานห้าเหลี่ยม 7.8 พีระมิดฐานหกเหลีย่ ม 7.9 ลูกบาศก์ 4

นวัตกรรมรูปเรขาคณติ สามมิติท่ีบรู ณาการทอ้ งถิ่นโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ฐานรว่ มกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลุโบะ ข้นั ที่ 0 การมองเห็น (Visualization) ข้าวต้มมัดเป็นขนมท้องถิ่นชนิดหนึ่งที่ทำด้วยข้าวเหนียวผัดกับกะทิ แล้วนำไปห่อด้วยใบตองหรือใบ มะพร้าวอ่อน ใส่ไส้กล้วย นำไปนึ่งให้สุก ทางภาคใต้ใช้ข้าวเหนียวกับน้ำกะทิ ห่อด้วยใบพ้อ เรียกห่อต้ม ถ้าห่อ ด้วยใบมะพร้าวและมัดด้วยเชอื กเรียกห่อมดั ข้นั ที่ 1 การวเิ คราะห์ (Analysis) ขัน้ ที่ 2 การพิสจู น์อยา่ งไม่ เป็นแบบแผน (Informal Deduction) ซึ่งมีความคลา้ ยคลึงกับปรซิ ึมฐานสามเหล่ียมจาก Augmented Reality มลี ักษณะดังนี้ 1. เป็นทรงตันมีหน้าตัดหรือฐาน 2 หน้า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บน ระนาบท่ีขนานกัน หน้าขา้ งเป็นรปู สี่เหลย่ี มด้านขนาน 2. จำนวนหน้าข้างของปริซึมฐานสามเหลีย่ มเทา่ กับจำนวนด้านของรูปสามเหลี่ยมที่เป็นฐาน 3. จำนวนหนา้ ทง้ั หมดของปรซิ ึมเทา่ กบั จำนวนหนา้ ตัดหรอื ฐานรวมกับจำนวนหนา้ ข้าง 5

นวตั กรรมรูปเรขาคณติ สามมติ ทิ ี่บูรณาการทอ้ งถิน่ โดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐานรว่ มกับวิธกี ารสอน Van Hiele โดย นายนุรสรินทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย โรงเรียนชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ ขั้นที่ 0 การมองเห็น (Visualization) ซัมบูซะ เป็นขนมที่สืบทอดมาจากซาอุดีอาระเบียหน้าตาคล้ายๆ เปาะเปี๊ยะทอด หรือกะหรี่ป๊ับ สำหรับแป้งที่ใช้ห่อไส้ผัก ไส้กุ้ง ไส้ไก่ จะใช้แป้งที่มีลักษณะแบบเดียวกับแป้งทำโรตี เพราะเมื่อนำไปทอด จะได้แป้งท่ีกรอบอรอ่ ย ซึง่ สว่ นใหญ่จะรับประทานเปน็ ของเล่น ข้ันท่ี 1 การวิเคราะห์ ขนั้ ที่ 2 การพิสจู น์อยา่ งไม่ (Analysis) เป็นแบบแผน (Informal Deduction) ซง่ึ มีความคล้ายคลึงกบั พรี ะมดิ ฐานส่เี หลี่ยมจาก Augmented Reality มลี ักษณะดงั น้ี 1. พีระมิดฐานสีเ่ หลี่ยมเป็นรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ทรงตัน มียอดแหลมไม่อยู่บระนาบเดียวกัน กับฐาน และมหี นา้ ข้างเปน็ รูปสามเหล่ยี ม 2. จำนวนหน้าข้างของพรี ะมดิ ฐานสี่เหลย่ี มเทา่ กับจำนวนดา้ นของรูปส่เี หล่ยี มทเี่ ปน็ ฐาน 3. จำนวนหนา้ ทัง้ หมดของพีระมดิ เทา่ กบั จำนวนฐานรวมกับจำนวนหนา้ ขา้ ง 6

นวัตกรรมรปู เรขาคณิตสามมิติท่ีบรู ณาการทอ้ งถิ่นโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานร่วมกับวธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรียนชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ ขน้ั ที่ 0 การมองเห็น (Visualization) ข้าวเหนียวหลาม เป็นขนมชนิดหนึ่งนิยมทำรับประทานกันในฤดูหนาวหรือเมื่อได้ข้าวใหม่ใช้ไผ่ข้าว หลามหรือไม้ป้างเป็นกระบอกใส่ข้าวหลาม ข้าวหลามแบบชาวบ้านใช้ข้าวสารเหนียวกับน้ำเปล่าและเกลือ เท่านั้น ข้นั ท่ี 1 การวเิ คราะห์ ขนั้ ท่ี 2 การพสิ จู น์อย่างไม่ (Analysis) เป็นแบบแผน (Informal Deduction) ซึง่ มีความคล้ายคลึงกับทรงกระบอกจาก Augmented Reality มลี กั ษณะดังนี้ ทรงกระบอก เป็นรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ทรงตัน หนา้ ตดั หรอื ฐานท้ังสองเป็นวงกลมทีเ่ ท่ากนั ทุกประการและอยู่บนระนาบทขี่ นานกนั 7

นวตั กรรมรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีบรู ณาการทอ้ งถิน่ โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ ฐานรว่ มกับวธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรินทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลโุ บะ ข้ันท่ี 0 การมองเห็น (Visualization) ตูปะซูตง เป็นขนมที่ทำจากปลาหมึกยัดไส้ข้าวเหนียวที่ต้มหวาน ซึ่งเป็นเมนูอาหารที่หารับประทาน กันได้ง่าย ในแถบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอาหารกึ่งของคาวกึ่งของหวาน คนสมัยโบราณมีสูตรการต้ม ปลาหมึกยัดไสข้ า้ วเหนียวเพื่อต้มหวานเปน็ เมนทู ีม่ มี านานแล้วเพราะว่าแถบถนิ่ น้ผี ้คู นจะมวี ิถผี ูกพันกับทะเล ขั้นท่ี 1 การวิเคราะห์ (Analysis) ข้นั ที่ 2 การพิสจู น์อย่างไม่ เป็นแบบแผน (Informal Deduction) ซง่ึ มีความคลา้ ยคลึงกบั ทรงกรวยจาก Augmented Reality มลี ักษณะดงั นี้ ทรงกรวย เปน็ รปู เรขาคณิตสามมติ ิ ทรงตนั มีฐานเปน็ วงกลม มียอดแหลมซึ่งไม่อยู่บนระนาบ เดยี วกนั กับฐาน 8

นวตั กรรมรปู เรขาคณิตสามมติ ิที่บูรณาการทอ้ งถิ่นโดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ ฐานร่วมกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย โรงเรยี นชมุ ชนบ้านตะลโุ บะ ขนั้ ท่ี 0 การมองเหน็ (Visualization) ขนมฆอเมาะอาบู หรือบางชุมชนเรียก ขนมเวาะดิน มีลักษณะคล้ายขนมเกาะกวนเป็นขนมหวาน ท่ีรับประทานกันมานานสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ทำง่าย ราคาถูก และรสชาติอร่อยเก็บไว้ได้สามวัน ยังคงนิยม รบั ประทานเมือ่ มีงานเลีย้ งต่าง ๆ อาทิ งานแตง่ งาน งานเข้าสุนตั งานขึ้นบา้ นใหม่ เปน็ ตน้ ข้ันที่ 1 การวิเคราะห์ ข้นั ที่ 2 การพิสจู น์อยา่ งไม่ (Analysis) เป็นแบบแผน (Informal Deduction) ซง่ึ มีความคล้ายคลงึ กับทรงกลมจาก Augmented Reality มีลักษณะดังน้ี 1. ทรงกลมเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ ทรงตัน มีผิวโค้งเรียบทุก ๆ จุดที่อยู่บนผิวโค้งห่างจาก จดุ ศนู ยก์ ลางเทา่ กัน 2. ระยะระหว่างจุดศนู ย์กลางเท่ากับจดุ ใด ๆ บนผวิ โค้งของทรงกลมเรยี กว่า รัศมี 9

นวัตกรรมรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ี่บรู ณาการทอ้ งถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐานรว่ มกบั วิธีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย โรงเรียนชมุ ชนบ้านตะลุโบะ ขั้นที่ 0 การมองเหน็ (Visualization) ขนมอาซูรอ เป็นขนมที่ได้จากการนำอาหารหลายอย่างมารวมกันแล้วกวนให้เป็นเนื้อเดียวกันคล้าย ขนมเปยี กปูน ชาวบ้านจะนำเครือ่ งปรงุ ขนมมารวมกันและชว่ ยกันกวนแลว้ จึงแบ่งขนมไปกนิ กันเคร่ืองปรุงขนม ท่ีใช้ได้แก่ เครอ่ื งแกง ข้าวสาร นำ้ ตาล กะทิ และของทก่ี นิ ได้อ่ืนๆ เชน่ มนั กลว้ ย ผลไม้ เนือ้ สตั ว์ ไข่ เป็นต้น ข้ันท่ี 1 การวิเคราะห์ (Analysis) ขั้นท่ี 2 การพิสูจน์อยา่ งไม่ เปน็ แบบแผน (Informal Deduction) ซึ่งมีความคลา้ ยคลึงกับลูกบาศก์จาก Augmented Reality มีลกั ษณะดังนี้ ลูกบาศก์เป็นรูปสามมิติที่มีความกว้าง ความยาว และความสูงเท่ากัน เป็นรูปทรงซ่ึง ประกอบด้วยรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6 หน้าที่มีขนาดเท่ากันมาประกบกัน เกิดเป็นจุดยอด 8 จุด ซึ่งแต่ละจุดจะ ล้อมรอบด้วยรปู สี่เหลย่ี มจัตุรสั 3 หนา้ ที่มาประกบกันเปน็ มมุ ฉาก 10

นวัตกรรมรปู เรขาคณติ สามมติ ทิ ่ีบรู ณาการทอ้ งถ่นิ โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานร่วมกบั วิธกี ารสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลุโบะ 3. การเผยแพรน่ วตั กรรมสบู่ ริบท รูปคลข่ี องรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ขนั้ ท่ี 0 การมองเหน็ (Visualization) รูปคล่ปี รซิ ึมฐานส่เี หลีย่ ม ขั้นที่ 2 การพิสูจน์อยา่ งไม่ เปน็ แบบแผน (Informal ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ (Analysis) Deduction) 11

นวัตกรรมรปู เรขาคณติ สามมติ ิที่บูรณาการท้องถ่นิ โดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ ฐานรว่ มกบั วิธีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย โรงเรียนชมุ ชนบ้านตะลุโบะ ขนั้ ที่ 0 การมองเหน็ รปู คลป่ี รซิ มึ ฐานส่เี หล่ียม (Visualization) ข้นั ท่ี 1 การวเิ คราะห์ รปู คลี่ปรซิ มึ ฐานห้าเหลยี่ ม ขนั้ ที่ 2 การพสิ ูจน์อย่างไม่ (Analysis) เปน็ แบบแผน (Informal Deduction) 12

นวตั กรรมรปู เรขาคณติ สามมิติท่ีบรู ณาการทอ้ งถ่ินโดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานรว่ มกบั วธิ กี ารสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ ขั้นที่ 0 การมองเห็น รปู คลปี่ ริซมึ ฐานเหล่ยี ม (Visualization) รปู คลีพ่ ีระมดิ ฐานสามเหลีย่ ม ขน้ั ที่ 1 การวเิ คราะห์ ขนั้ ท่ี 2 การพิสูจน์อย่างไม่ (Analysis) เปน็ แบบแผน (Informal Deduction) 13

นวตั กรรมรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีบูรณาการทอ้ งถ่นิ โดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐานร่วมกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลโุ บะ ขนั้ ท่ี 0 การมองเหน็ รปู คลพี่ ีระมดิ ฐานสีเ่ หลีย่ ม (Visualization) ขน้ั ที่ 1 การวิเคราะห์ รปู คลี่พีระมิดฐานหา้ เหลยี่ ม (Analysis) ขน้ั ที่ 2 การพสิ จู น์อย่างไม่ เปน็ แบบแผน (Informal Deduction) 14

นวตั กรรมรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีบรู ณาการทอ้ งถิน่ โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ฐานร่วมกบั วิธกี ารสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนชมุ ชนบ้านตะลโุ บะ ขนั้ ท่ี 0 การมองเหน็ รปู คล่พี ีระมดิ ฐานหกเหล่ยี ม (Visualization) รปู คลข่ี องลูกบาศก์ ขน้ั ท่ี 2 การพิสูจน์อย่างไม่ เป็นแบบแผน (Informal ข้ันที่ 1 การวเิ คราะห์ (Analysis) Deduction) 15

นวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมติ ทิ ี่บรู ณาการทอ้ งถ่ินโดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐานร่วมกับวิธกี ารสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลโุ บะ 3. การเผยแพร่นวตั กรรมเทคโนโลยกี ารสอนสู่บริบท ผ้จู ดั ทำหลังจากท่ีไดท้ ดลองใชน้ วัตกรรมซ่ึงเกดิ ผลทต่ี อบโจทย์โรงเรยี น ดังนน้ั จึงได้มีการขยายผลและ เผยแพร่ผลการพัฒนานวัตกรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานต่อวิชาชีพ เดียวกันในบริบทที่ใกล้เคียง จำนวน 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนบ้านจะรังบองอ โรงเรียนบ้านกือยา โรงเรียน บ้านรูสะมิแล โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เนื่องจากเป็นโรงเรียนที่อยู่ในอำเภอเมือง สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปตั ตานี เขต 1 16

นวตั กรรมรูปเรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการท้องถ่นิ โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานร่วมกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ จากการสอบถามความพึงพอใจในภาพรวมนักเรียนจำนวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้าน จะรังบองอ โรงเรียนบ้านกือยา และโรงเรียนบ้านรูสะมิแล มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด พร้อมทั้งให้ คดิ เห็น อาทิ “อยากให้กลบั มาทำกจิ กรรมอกี หนูวา่ แปลกใหมด่ ี สนกุ ดีค่ะ” “ไมเ่ คยเห็นแบบน้ีเลยครับ ผมวา่ ทันสมัยมาก ๆ เลย” “สอ่ื การสอนนา่ เลน่ มากค่ะ แปลกใหมด่ ีค่ะ” “หนรู สู้ กึ สนกุ คะ่ อยากใหม้ าใหม่นะคะ” 17

นวตั กรรมรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีบูรณาการทอ้ งถน่ิ โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานรว่ มกับวธิ กี ารสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนชุมชนบา้ นตะลโุ บะ สารการเผยแพร่นวตั กรรม 18

นวัตกรรมรปู เรขาคณิตสามมติ ทิ ่ีบรู ณาการทอ้ งถิ่นโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานรว่ มกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรินทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นชมุ ชนบ้านตะลุโบะ เผยแพรน่ วตั กรรมสเู่ ว็บไซต์ สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต 1 19

นวตั กรรมรปู เรขาคณติ สามมติ ทิ ี่บรู ณาการทอ้ งถ่ินโดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐานร่วมกบั วิธีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนชมุ ชนบ้านตะลุโบะ จุดเด่นหรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรมเป็นการบูรณาการท้องถิ่นควบคู่กับเทคโนโลยี หลากหลายผสมกันเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนในโรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะและพื้นที่ใกล้เคียงในรายวิชา คณิตศาสตร์ทำให้ผู้เรียนรู้จักรักท้องถิ่นตนเองมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพมิ่ มากขึ้น ออกรายการพธุ เชา้ ขา่ วโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน คร้งั ท่ี 14/2566 หนงึ่ โรงเรียน หนึง่ นวตั กรรม ด้านส่ือ เทคโนโลยแี ละสง่ิ ประดิษฐ์เพ่อื การเรียนรู้ 20

นวตั กรรมรปู เรขาคณิตสามมิติที่บูรณาการทอ้ งถ่ินโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานร่วมกบั วิธีการสอน Van Hiele โดย นายนุรสรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรยี นชมุ ชนบ้านตะลุโบะ ออกรายการพุธเช้าข่าวโรงเรยี น สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ครัง้ ที่ 14/2566 หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวตั กรรม ดา้ นสื่อ เทคโนโลยีและสงิ่ ประดษิ ฐเ์ พ่อื การเรียนรู้ 21

นวัตกรรมรปู เรขาคณติ สามมติ ิท่ีบูรณาการทอ้ งถ่ินโดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ ฐานรว่ มกับวิธีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การจี ิ ตำแหน่ง ครผู ูช้ ่วย โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นตะลโุ บะ รางวลั ชนะเลศิ การประกวดนวตั กรรมแนวปฏบิ ตั ิท่ีดีเลิศ (Best Practice) “การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) สู่ฐานสมรรถนะผู้เรียน” ระดับสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปตั ตานี เขต 1 ปี 2566 22

นวตั กรรมรปู เรขาคณติ สามมิตทิ ่ีบรู ณาการทอ้ งถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานรว่ มกบั วธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การจี ิ ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย โรงเรยี นชุมชนบา้ นตะลุโบะ VDO นวตั กรรมรูปเรขาคณติ สามมติ ิ https://www.youtube.com/watch?v=Xd6XEZjSU-A&t=51s 23

นวัตกรรมรปู เรขาคณิตสามมิติท่ีบรู ณาการทอ้ งถ่นิ โดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐานรว่ มกับวิธีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรนิ ทร์ การีจิ ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย โรงเรยี นชุมชนบา้ นตะลุโบะ 4. บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัดฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560). พมิ พ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.จำกดั . กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง นโยบายและจุดเนน้ ของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สบื ค้นเม่อื 15 มกราคม 2566. จาก https://www.moe.go.th/360policy-and-focus-moe-2023/?fbclid=IwAR3D- nebAjsVFE0OjLcEQa14VakAIwcGm_fFCOplG-EWQragQ12DDMRQP-8 งานพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสิ่งพิมพ์. (2556). หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book). สบื ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2566. จาก https://maejopress2.mju.ac.th/ จะรงั แพลตฟอร์ม. (2563). “เมาะอาบู” “ลาด”ู ขนมโบราณพนื้ บ้าน. [รปู ภาพ]. สืบค้นเม่ือ 15 มกราคม 2566, จาก https://charangplatform.com/shop/detail/58?cate=1 ดีเอ็ม ฟู้ด เลย. (ม.ป.ป.). ขา้ วต้มมัด. [รปู ภาพ]. สืบคันวันที่ 15 มกราคม 2566, จาก http://www.khamaon.com/dmfood/details.php?idfood=33 แวนดา เลิรน์ น้ิง. (2563). ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book). สบื ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2566. จาก http://vandalearning.com สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต 1. (2565). จดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เขต พืน้ ท่ี 3G โรงเรียนดี 3S. สบื ค้นเมอ่ื 15 มกราคม 2566, จาก http://www.pattani1.go.th/ptn1_2022/basic_02.php สุกัญญา แช่มย้อย. (2565). การบรหิ ารสถานศึกษาเพ่ือสร้างนวตั กรรมร่นุ เยาว์ (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . อลงกรณ์ ต้ังสงวนธรรม, สิรพิ ร ทพิ ยค์ ง, ชานนท์ จนั ทราและชนิศวรา เลศิ อมรพงษ์. (2561). “การใช้รูปแบบ Van Hiele ในการพฒั นาการเรียนการสอนการพสิ ูจน์ทางเรขาคณิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปี ที่ 3.” Kasetsart Journal of s Ocial s Ciences 39(1):634–44. Ancochea, B., & Cárdenas, M. I. (2020). Exploring real world environments using potential of Geogebra AR. In Research on Outdoor STEM Education in the digital Age. Proceedings of the ROSETA Online Conference in June (pp. 41-46) Budinski, N., & Lavicza, Z. (2019, July). Teaching Advanced Mathematical Concepts with Origami and GeoGebra Augmented Reality. In Proceedings of Bridges 2019: Mathematics, Art, Music, Architecture, Education, Culture (pp. 387-390). C. Elkins, OK Math and Reading Lady. (2019). Geometry Part 2: Learning Continuum (van Hiele). Retrieved 15 January 2023, from https://cindyelkins.edublogs.org/2019/01/12/geometry-part-2-learning- continuum-van-hiele/ 24

นวัตกรรมรปู เรขาคณิตสามมติ ิท่ีบูรณาการทอ้ งถ่นิ โดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐานร่วมกับวธิ ีการสอน Van Hiele โดย นายนรุ สรินทร์ การีจิ ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะ Johar, R. (2020, February). A need analysis for the development of augmented reality based-geometry teaching instruments in junior high schools. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 1460, No. 1, p. 012034). IOP Publishing. Jones, J. C. (2012). Visualizing elementary and middle school mathematics methods. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons, Inc. Kartal, B., & Çınar, C. (2022). Preservice mathematics teachers’ TPACK development when they are teaching polygons with geogebra. International Journal of Mathematical Education in Science and Technology, 1-33. Mailizar, M., & Johar, R. (2021, May). Exploring the potential use of GeoGebra augmented reality in a project-based learning environment: The case of geometry. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 1882, No. 1, p. 012045). IOP Publishing. Mishra, P. (2019). Considering contextual knowledge: The TPACK diagram gets an upgrade. Journal of Digital Learning in Teacher Education, 35(2), 76-78. Mohd Ayub, A. F., & Hock, T. T. (2019). Geometric Thinking of Malaysian Elementary School Students. International Journal of Instruction, 12(1), 1095-1112. Nurwijayanti, A., & Fitriana, L. (2019). Combining Google SketchUp and Ispring Suite 8: A Breakthrough to Develop Geometry Learning Media. Journal on Mathematics Education, 10(1), 103-116. Osypova, N. V., & Tatochenko, V. I. (2021, July). Improving the learning environment for future mathematics teachers with the use application of the dynamic mathematics system GeoGebra AR. CEUR Workshop Proceedings. Safitri, M., & Aziz, M. R. (2022, August). Technological Pedagogical Content Knowledge (TPCK) on Mathematics Learning: A Literature Study. In Conference Proceedings International Conference on Education Innovation and Social Science (pp. 62-69). Tran, N. (2016). Design Thinking Playbook for Change Management in K12 Schools. ISSUU. Retrieved 15 January 2023, from https://issuu.com/normantran2001/docs/design _thinking_playboo Widada, W., Herawaty, D., Nugroho, K. U. Z., & Anggoro, A. F. D. (2021). Augmented Reality assisted by GeoGebra 3-D for geometry learning. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 1731, No. 1, p. 012034). IOP Publishing. 25