มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 ความต้ังใจใฝุหาความสาเร็จ มองไม่เห็นโอกาส ไม่กล้าเป็นผู้ริเร่ิม ปฏิเสธความเสี่ยงและขาดความ มมุ านะบากบ่นั เพอ่ื ม่งุ สู่การบรรลเุ ปาู หมายที่ตนเองต้องการ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าพฤติกรรมความเป็นผู้ประกอบการเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้ชี้วัดว่าบุคคลเป็น เพียงเจ้าของกิจการหรือเป็นผู้ประกอบการ Fauchart and Gruber (2011 อ้างถึงใน มรกต กาแพงเพชร, 2560) ได้สรปุ บุคลิกลักษณะของผู้ประกอบการท่ปี ระสบความสาเรจ็ ไว้ ดังนี้ 1. มีความยึดม่ันในพันธสัญญา แน่วแน่ มั่นคง และคงเส้นคงวา (commitment & determination) อาจกล่าวได้ว่า ความยึดม่ันในพันธสัญญา แน่วแน่ ม่ันคง และคงเส้นคงวา เป็น บุคลิกลักษณะที่สาคัญมากท่ีสุดอย่างหนึ่งท่ีผู้ประกอบการจาเป็นต้องมี จึงจะสามารถบรรลุเปูาหมาย ทตี่ นต้องการได้อยา่ งย่ังยนื 2. มีความรับผิดชอบ (desire for responsibility) นักจิตวิทยาเชื่อว่าความรู้สึก รับผิดชอบเกิดจากความเช่ือ อานาจควบคุมตนเอง (locus of control) ของบุคคลแต่ละคนสามารถ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ 2.1) บุคคลที่เชื่ออานาจควบคุมในตนเอง (internal locus of control) คือเชือ่ วา่ สิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขนึ้ กับตนเอง เป็นผลจากการกระทาของตนเอง และ 2.2) บุคคลที่ เช่ืออานาจควบคุมนอกตนเอง (external locus of control) คอื เชอื่ วา่ สิ่งตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้ึนกับตน เป็น ผลจากโอกาส โชคชะตา พลงั จากเทพเจ้า หรืออานาจท่ีตนเองควบคุมไม่ได้ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ท่ี ประสบความสาเรจ็ อยา่ งยัง่ ยืน มคี วามเชอ่ื อานาจควบคมุ ในตนเอง 3. มองหาโอกาส (opportunity observation) ผู้ประกอบการท่ีสามารถประสบ ความสาเร็จอย่างยั่งยืน จะสามารถมองเห็นโอกาสครั้งใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ืองเร่ือยไป เม่ือพบโอกาสท่ี จะเกิดความคิด (idea) เกี่ยวกับเปูาหมาย (goal) ท่ีตนต้องการบรรลุ และมุ่งม่ันดาเนินการจน สามารถบรรลุเปูาหมายที่ต้องการน้ันได้ เมื่อสามารถบรรลุเปูาหมาย ดังกล่าวได้แล้วก็จะต้องมองหา โอกาสใหม่ ๆ เป็นเช่นน้เี รอื่ ยไป 4. มีความอดทนและอดกลั้นต่อสภาวะเส่ียง ความคลุมเครือ และความไม่แน่นอน (tolerance for risk, ambiguity, & uncertainty) ผู้ประกอบการต้องกล้ายอมรับความเส่ียงต่อการ ล้มเหลว แต่จะต้องเป็นความกล้าท่ีต้ังอยู่บนพื้นฐานของการพิจารณาไตร่ตรองกล่ันกรองอย่างดีแล้ว พบว่า มีโอกาสท่ีจะสาเร็จในระดับที่ยอมรับได้ก่อนที่จะตัดสินใจยอมรับความเส่ียงเร่ืองน้ัน การ ยอมรับความเสี่ยงของผู้ประกอบการตรงกันข้ามกับพฤติกรรมเส่ียงของนักพนัน (gambler) ที่เล่น พนนั แบบเสย่ี งดวงจนหมดตวั ในทีส่ ดุ นอกจากน้ผี ้ปู ระกอบการจะตอ้ งมีความอดทนอดกลั้นไม่ย่อท้อท่ี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 42 จะหาทางทาส่ิงท่ยี ังคลุมเครือให้ชัดเจนขึ้น และจะไม่ยอมหยุดเดินหน้าต่อไปแม้จะมองเห็นว่าอนาคต ขา้ งหนา้ ไมม่ ีความแน่นอนเลยก็ตาม 5. มีความม่ันใจในตนเอง (self-confidence) มีความเช่ือม่ันว่าตนสามารถควบคุมชีวิต ของตัวเองได้ มองโลกโดยคาดหวังในด้านบวกกับส่ิงที่จะเกิดข้ึนในอนาคตเสมอ (optimistic) เชื่อมั่น ในความสามารถของตนเอง แต่ก็พร้อมท่ีจะยอมรับทั้งผลสาเร็จและความล้มเหลวที่เกิดตามมาจาก การกระทาของตนเอง 6. คิดสร้างสรรค์และยืดหยุ่นทางความคิด (creative & flexibility) หัวใจสาคัญอย่าง หนงึ่ ของการเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จต้องมีความยืดหยุ่นทางความคิด ไม่ยึดติดถือมั่น กับความคิดเดิมหรือความสาเร็จเดมิ ๆ ของตนในอดีต เนอ่ื งจากตลาด (market) มีความเปล่ียนแปลง ตามอิทธิพลของผู้บริโภค ผู้รับบริการ ผู้ใช้ คู่แข่ง หรือส่ิงแวดล้อมตลอดเวลา ความสามารถในการ ปรับตัวตามความต้องการของตลาดท่ีเปล่ียนแปลงดังกล่าว จาเป็นต้องอาศัยความคิดริเร่ิมอย่างมาก จึงจะประสบความสาเร็จ การพยายามตอบสนองความต้องการของตลาดโดยขาดความคิดสร้างสรรค์ อยากมากจึงจะประสบความสาเร็จ จะกลายเป็นการปรับตัวท่ีนาไปสู่ความล้มเหลวอย่างไม่อาจ ประเมินค่าได้ 7. หาข้อมูลย้อนกลับในทันที (desire for immediate feedback) ข้อมูลย้อนกลับ หรือเสียงสะท้อนจากการกระทา เปรียบเหมือนเป็นสิ่งเสริมแรง (reinforcement) กระตุ้นให้ ผู้ประกอบการเกิดพลังในการพัฒนาผลการทางาน (performance) ของตนเองให้ดีข้ึนไปอย่าง ต่อเนอ่ื ง ผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จจึงต้องเป็นนักฟังท่ีเรียนรู้เร็วและถวิลหาข้อมูลย้อนกลับ ทางด้านบวกและดา้ นลบ พร้อมท่ีจะเรยี นรูจ้ ากความผิดพลาด (willingness to learn from failure) อยู่เสมอ 8. มีพลงั ในการทางาน (high level of energy) ผปู้ ระกอบการท่ีจะประสบความสาเร็จ เป็นผู้มีพลังในการทางานมากกว่าคนท่ัวไป สามารถทางานต่อเนื่องได้นานกว่าและทางานหนักได้ มากกว่าคนทั่วไป ไม่มีความย่อท้อต่อความเหน่ือย ความยาก อุปสรรค และไม่มีข้ออ้างใด ๆ เพ่ือ หลกี เลยี่ งท่ีจะทางานที่ตนรัก เมื่อผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จลงมือทางาน เขาจะทุ่มเทกาลัง กาย กาลังใจ กาลังสติปัญญา ศักยภาพ เวลา และทรัพยากรทุกสิ่งที่มีในชีวิตของเขาไป เพ่ือทางานท่ี เขารักให้ประสบความสาเรจ็
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 43 9. แรงจูงใจท่ีจะต้องเหนือกว่าและดีกว่า (motivation to excel) ผู้ประกอบการท่ี ประสบความสาเร็จต้องมีแรงจูงใจว่าผลงานส่ิงท่ีตนทาต้องเหนือกว่าและดีกว่าผลงานแบบเดียวกันท่ี คนอ่ืนเขาทากัน นักจิตวิทยา David Mcclelland เรียกแรงจูงใจดังกล่าวน้ีว่า achievement motivation หมายถงึ แรงจงู ใจท่เี กิดขึ้นเองจากภายในบุคคลเอง ทาให้บุคคลมีแรงกระตุ้น (motive) จากภายใน กระตุ้นตนเองใหต้ ้องการสร้างผลงานท่เี หนอื กว่าและดีกวา่ ผลงานของผอู้ ื่น 10. มุ่งอนาคต ผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จในระดับสูง มีลักษณะบุคลิกภาพ แบบมุ่งอนาคตในระดับสูงกว่าผู้ประกอบการที่มีลักษณะบุคลิกภาพแบบมุ่งอนาคตในระดับกลางและ ระดบั ต่า 11. ภาวะผู้นา (leadership ability) หมายถึง บทบาทของบุคคลท่ีมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในกลุ่ม ผู้นา (leader) หมายถึง ตาแหน่งที่บุคคลได้รับมอบหมายให้ ดารงตาแหน่งผู้นา แต่ผู้นาบางคนขาดภาวะผู้นา (leadership) จึงไม่สามารถมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ของสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในกลุม่ เป็นอุปสรรคสาคัญขัดขวางการบรรลุความสาเร็จของกลุ่ม ในทางตรงกัน ข้ามบุคคลท่ีมีภาวะผู้นาบางคนไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้นาใด ๆ เลย แต่สามารถมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ของสมาชกิ คนอืน่ ๆ ในกลมุ่ อย่างมาก เช่น ผู้สูงอายุพระสงฆ์ โต๊ะอีหม่าม บาทหลวง หรือผู้นาทางจิต วิญญาณ ที่เป็นท่ีเคารพนับถือของคนท้ังหมู่บ้าน ไม่ว่าท่านพูดอะไร สอนอะไร ชาวบ้านส่วนใหญ่จะ เช่ือฟังและปฏิบัติตามอย่างไม่มีเงื่อนไข เช่นน้ีเรียกว่าภาวะผู้นา (leadership) และในบางกรณี ผใู้ หญบ่ ้านของหม่บู า้ นแห่งนั้น (leader) ยังต้องขอคาปรึกษาหรือขอความร่วมมือจากบุคคลที่มีภาวะ ผนู้ าเหล่านท้ี าหน้าทชี่ นี้ าทางความคิดปรับเปลีย่ นพฤติกรรมบางอย่างของคนในหมู่บ้านอีกด้วย 12. เลือกทาในส่ิงที่ตนรัก การเป็นผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จอย่างยั่งยืนเกิด จากคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้น จาเป็นต้องอาศัยความมุมานะ อดทน อดกลั้น ต้องต่ืนตัวเรียนรู้และ ปรับตัวอยู่ตลอดเวลา การเป็นผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จจึงทาให้บุคคลต้องแบกรับภาระ หนักไว้ตลอดเวลา การเลือกเป็นผู้ประกอบการที่ทาให้ส่ิงที่ตนรักจะทาให้ผู้ประกอบการมีความสุข เพราะได้ทาในสิ่งที่ตนรักและไม่คิดว่าตนต้องแบกรับภาระเรื่องใดไว้เลยตลอดเวลาที่ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ กาลังสติปัญญา และทุ่มเทเวลาให้กับการทางานที่ตนรัก ผู้ประกอบการจะมีความสุขและมี ความสุขมากขึ้นเร่ือย ๆ เม่ือสามารถบรรลุเปูาหมายที่ต้ังไว้ได้สาเร็จ การบรรลุเปูาหมาย หน่ึงได้จะ กระตุ้นให้ผู้ประกอบการต้องการบารุงเปูาหมายใหม่ท่ีระดับสูงข้ึนไปอย่างต่อเนื่อง ด้วยจิตใจที่มี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 44 ความสุขเพิ่มมากขึ้น มิใช่ความรู้สึกเหนื่อย ท้อแท้ เบ่ือหน่าย เครียด วิตกกังวล ไม่มีความสุขเพราะ ตอ้ งทนแบกรับภาระในเรอ่ื งทีต่ นไมไ่ ด้รัก Bygrave (2004 อ้างถึงใน ศุภชัย เหมือนโพธิ์, 2559) สรุปลักษณะ 10 ประการของ ผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จ โดยใช้คาง่าย ๆ ในชีวิตประจาวัน 10 คา เป็นส่ือในการอธิบาย เรยี กวา่ “The 10 Ds” ดังน้ี 1. Dream: เป็นผูม้ จี นิ ตนาการ มีวิสัยทัศน์ไกล คาดการณ์ล่วงหน้าในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับ กิจการธรุ กจิ ของตนไดอ้ ย่างแมน่ ยาและมีศกั ยภาพในการทาสิง่ ท่ตี นฝนั ใหเ้ กดิ ข้นึ จริง 2. Decisiveness: กล้าตัดสินใจโดยไม่ชักช้าเสียการ พร้อมท่ีจะเปลี่ยนแปลงการ ตัดสินใจตามสถานการณ์ที่เปล่ียนไปไดโ้ ดยไม่ลังเล 3. Doers: ตัดสินใจเร่ืองใดแล้วจะลงมือปฏิบัติอย่างต้ังใจ ทาให้ได้ผลลัพธ์ในเร่ืองนั้น อย่างรวดเรว็ 4. Determination: มีความแน่วแน่ทุ่มเทกาลังกายกาลังใจและกาลังสติปัญญาทาการ ธุรกิจของตนใหป้ ระสบความสาเรจ็ โดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคและสถานการณ์ความไม่แน่นอนของการ ดาเนนิ ธุรกจิ 5. Dedication: อุทิศตัวเพื่อธุรกิจที่ตนสร้างข้ึน บางคร้ังความสาเร็จอาจจะต้องแลก ดว้ ยมติ รภาพ ครอบครวั หรือความรกั มงุ่ ม่นั ทางานอยา่ งไมเ่ ห็นแก่ความเหนด็ เหนื่อย 6. Devotion: เชอ่ื มัน่ ศรัทธาและรกั ในส่ิงทต่ี นทา 7. Details: เข้าใจและใส่ใจรายละเอยี ดของสิ่งทต่ี นทามากกวา่ คนอื่น ๆ 8. Destiny: ต้องการเป็นผู้กาหนดชะตาชีวิตของตนมากกว่าการเป็นลูกจ้างท่ีต้องรอรับ ความกรณุ าจากเจา้ นาย 9. Dollars: เงินหรือความร่ารวยเป็นเพียงดัชนีวัดความสาเร็จของผู้ประกอบการ แต่ ความสาเร็จนั้นเองคือรางวัลที่แท้จริงท่ีสร้างความสุขให้แก่ผู้ประกอบการได้มากกว่าเงินหรือความ รา่ รวย 10. Distribute: การเป็นผู้ประกอบการทาให้บุคคลได้สิทธ์ิความเป็นเจ้าของธุรกิจ แต่ ปัจจยั ความสาเรจ็ อย่างย่ังยืนหลังจากก่อตั้งธุรกิจของตนเองขึ้นแล้ว คือ “คน” หมายถึง พนักงานที่ดี พนักงานท่ีเกง่ พนักงานทพ่ี รอ้ มรับคาสั่งไปปฏบิ ตั ิให้สาเรจ็ และพนักงานทผี่ ูป้ ระกอบการเช่ือใจได้
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 45 Dess, Lunpkin and Taylor (2005, อ้างถงึ ในศุภชยั เหมือนโพธิ์, 2559) ได้นาเสนอมิติของ การเป็นผู้ประกอบการในด้านต่าง ๆ รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรม ซึ่งก็คือความพยายามในการท่ีจะ แสวงหาโอกาสและทางเลือกใหม่ ๆ ในการที่มุ่งเน้นให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ซ่ึง เกีย่ วข้องกบั การวจิ ยั และพฒั นาการทดลองเพอื่ พัฒนาผลิตภณั ฑ์ คอื 1. มีการสนับสนุนการทดลองเพ่ือให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เพื่อประสบความสาเร็จใน ด้านนวัตกรรม ธุรกิจจาเป็นต้องลบความคิดเดิมและมีการทดลองต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความคิด สรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ และสง่ เสรมิ ให้พนักงานมคี วามคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ 2. มีการลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ ๆ และมีการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ธุรกิจ จาเป็นต้องแสวงหาความได้เปรียบในการแข่งขันจากการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ซ่ึงความหมายว่า ธุรกจิ จะตอ้ งท่มุ เทงบประมาณในการลงทุนเพ่ือความไดเ้ ปรียบในเทคโนโลยี บทบาทของผ้ปู ระกอบการ เอ้ือมพร วงศาโรจน์ (2552) กล่าวว่า บทบาทที่สาคัญของผู้ประกอบการตามแนวความคิด ของนักเศรษฐศาสตร์ คือ การนาสิ่งประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ๆ มาใช้เป็นประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต ธีรยุส วัฒนศุภโชค (2542) กล่าวว่า บทบาทท่ีสาคัญของผู้ประกอบการต้องมีความคิด สร้างสรรค์แปลกใหม่ ท่ีโดดเด่นเหนือคู่แข่งขัน อันจะเป็นบ่อเกิดของลักษณะสินค้าและบริการชนิด ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นกิจการ และอุตสาหกรรมชนิดต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการที่ เปล่ยี นแปลงไปของผู้บรโิ ภคใหม้ ากขึ้น Longenecker, Moore & Petty (1994) กล่าวว่า บทบาทของผู้ประกอบการในกิจการ ขนาดเลก็ เริม่ ตน้ จากเจา้ ของกิจการ นับวา่ มีความสาคัญยง่ิ ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ และโอกาส ที่กิจการเหล่านี้จะเติบโตกลายเป็นกิจการขนาดใหญ่ ความสาเร็จขึ้นอยู่กับผู้ประกอบการเป็นสาคัญ ดงั น้นั ผูป้ ระกอบการจะปฏิบัตภิ ารกิจในบทบาทดงั ตอ่ ไปน้ี 1. บทบาทของนักลงทุน เน่ืองจากการเริ่มกิจการส่วนมากเกิดจากผู้ประกอบการมีความ ม่ันใจในความคิดของตัวเอง แต่ไม่มีผู้ร่วมทุน ทาให้การลงทุนในกิจการคร้ังแรกต้องเป็นเงินส่วนตัว ดังน้ันผู้ประกอบการจึงเป็นผู้ท่ีกล้าเสี่ยงลงทุนเพื่อลงมือทาประโยชน์ต่อสังคม โดยพิสูจน์ ความสามารถใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 46 2. บทบาทของผู้จัดการ แม้ว่ากิจการที่ต้ังข้ึนจะเป็นเพียงกิจการขนาดเล็ก ในฐานะ ผู้ประกอบการจาเป็นต้องประกอบภารกิจในฐานะผู้จัดการ เพื่อให้สามารถดาเนินการตามเปูาหมาย ของกิจการได้จนบรรลุผลสาเร็จ โดยผู้ประกอบการต้องหาความรู้เกี่ยวกับหน้าท่ีในการจัดการ และ ต้องพยายามสรา้ งสมประสบการณใ์ นการจดั การให้มากขึ้นด้วย 3. บทบาทของผู้นา โดยปกติกิจการขนาดเล็กมักจะจ้างบุคคลเข้ามาทางานตามความ เหมาะสมขององค์กร ทาให้ผู้ประกอบการต้องมีบทบาทในการเป็นผู้นาอย่างเด่นชัด โดยต้องเป็นผู้ บุกเบิกริเร่ิมงานใหม่ ๆ รวมท้ังปรับปรุงประสิทธิภาพงานปัจจุบัน และผลักดันให้เกิดการทางานเป็น ทีม โดยอาศัยศิลปะในการปกครอง ตลอดจนส่งเสริมขวัญและกาลังใจ อีกทั้งพัฒนาลูกน้องให้เติบโต กา้ วทนั เทคโนโลยใี หม่ ๆ ที่เก่ยี วข้องกับงานด้วย 4. บทบาทของผู้สร้างสรรค์สังคม เมื่อผู้ประกอบการได้ริเร่ิมกิจการเพ่ือช่วยเหลือและทา ประโยชน์กับสังคม และผู้บริโภคในเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว หากว่ากิจการเติบโตและขยายตัวออกไป นอกจากเป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้าแล้ว ผู้ประกอบการยังสามารถกระทาเพื่อ รับผิดชอบต่อสังคม โดยไม่มุ่งดาเนินกิจกรรมแบบมุ่งกาไรเพียงอย่างเดียว หรือทากิจการท่ีก่อให้เกิด ผลเสียต่อผู้บริโภคหรือชุมชน จึงจะได้ช่ือว่าเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณค่าสมควรแก่การยกย่องของ สังคม และการสนบั สนุนของประชาชนหรอื ลูกค้าตอ่ ไป ปัจจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการเป็นผปู้ ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ ธนะเวช ศรีสขะโต (2542) กล่าวว่า ผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จมักจะมีลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี 1. เป็นนักวิเคราะห์โอกาส ชอบค้นคว้าหาความรู้ แสวงหาโอกาสเพ่ือไปสู่ความสาเร็จมักจะ หาหนทางที่ดีกวา่ ในการทางานตา่ ง ๆ 2. เปน็ นักแก้ปัญหา สามารถเข้าถึงปัญหาและแก้ไขด้วยความมั่นใจ คือเข้าใจอย่างชัดเจนว่า จะต้องทาอะไรให้สาเร็จ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว มักจะมองหาทางเลือกต่าง ๆ เพื่อ แก้ปญั หา รวู้ า่ จะต้องประเมนิ ทางเลอื กอยา่ งไร เพ่ือทจี่ ะแก้ปญั หาไดง้ า่ ยทส่ี ุด 3. เป็นนักคิดที่มีเหตุผล ไม่กลัวท่ีจะยอมรับว่าตัวเองผิด เมือผู้ประกอบการพบวิธีแก้ปัญหา แล้ว ก็น่าที่จะนาวิธีแก้ปัญหาน้ันไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิช่วยดู เพ่ือหลีกเล่ียงการตัดสินปัญหาที่เข้าข้าง ตวั เอง และยอมรับการปรบั ปรงุ ด้วยวิธีท่ดี ีกว่า
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 47 4. เป็นนักบริการตามวัตถุประสงค์ เข้าใจงานท่ีละเอียดแต่ละงานที่จะต้องเสร็จเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ซึ่งจะต้องมีการวางแผน การตัดสินใจทางกลยุทธ์ มักจะสรรหาทางท่ีดีท่ีสุดอยู่ ตลอดเวลาเพือ่ ใหง้ านสาเร็จตามเปูาหมาย 5. เปน็ นกั ทางาน ชอบทากิจกรรมและตอ้ งการทาให้สาเร็จ เวลาส่วนตวั จะเปน็ เวลาทางานไป ด้วย และจะทาทกุ อยา่ งทีท่ าได้ 6. เป็นนักควบคุม ผู้ประกอบการชอบท่ีจะควบคุมงานและควบคุมตัวเอง ได้รู้ว่าตัวเองกาลัง ทาอะไรอยู่ สามารถทางานคนเดียวได้ มีความมุ่งม่ันท่ีจะประสบความสาเร็จ และสาหรับ ผู้ประกอบการท่ีประสบความล้มเหลวนั้น คือผู้ประกอบการท่ีขาดประสบการณ์ด้านการบริหาร วางแผนทางการเงินผิดพลาด วิเคราะห์ทาเลท่ีต้ังผิด ควบคุมกิจการไม่ได้ ค่าใช้จ่ายสูง บริหารลูกหนี้ ไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ ไม่ทุ่มเท และขยายกจิ การเกินตวั ดนัย เทียนพุฒ (2545 : 105-1-6) กล่าวว่า ปัจจัยแห่งความสาเร็จของธุรกิจหรือความ ได้เปรียบในการแข่งขัน คือ ความสามารถหลักของธุรกิจ (Core Competencies) ซ่ึงเป็นคาท่ีใช้ อธิบายถึงนัยสาคัญที่มีผลกระทบทางทฤษฎีและการปฏิบัติการทางกลยุทธ์ธุรกิจ โดยอ้างถึงสิ่งท่ี รวมกันของทักษะและเทคโนโลยี ซึ่งทาให้บริษัทสามารถผลิตบางสิ่งบางอย่างที่มีคุณค่าสาหรับลูกค้า และดาเนินไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ท้ังยังใช้เผชิญกับการเปล่ียนแปลงในตลาดการแข่งขัน และ ควรคดิ ใหม่เก่ยี วกับกลยุทธใ์ นเทอมของความสามารถมากกวา่ หนว่ ยกลยทุ ธธ์ ุรกจิ Papanek (1991) กลา่ ววา่ บคุ คลท่ีจะเปน็ ผู้ประกอบการทดี่ ี จาเป็นตอ้ งมีทักษะพิเศษ และมี คุณสมบัติบางอย่างที่ต่างจากบุคคลทั่วไป เช่น มีแรงจูงใจใฝุสัมฤทธ์ิสูงกว่าบุคคลท่ัวไป มีความคิด ริเร่ิมสร้างสรรค์ มีความพร้อมที่จะเปล่ียนแปลง และมีความเช่ือม่ันในความสามารถของตนเอง มากกวา่ ผ้ทู ไี่ ม่ได้ประกอบกจิ การ เช่น กลุ่มขา้ ราชการ Rissal (1992) กล่าวว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการในประเทศอินโดนีเซียโดยใช้วิธีการ สัมภาษณ์อยา่ งละเอียดกับผู้ประกอบการ 27 คน ในกิจการประเภทต่าง ๆ และใช้วิธีการวิเคราะห์เชิง คุณภาพ และพบว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ใช้เป็นกรอบการอ้างอิงในการประกอบอาชีพ กิจการส่วนตัว ได้แก่ สภาพแวดล้อม แรงจูงใจใฝุสัมฤทธ์ิ ความคิดริเร่ิม ทักษะและความรู้ด้าน เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทักษะในการบริหารองค์กร และความพากเพียร (ขยัน) นอกจากน้ันยังพบว่าพ้ืนฐาน ทางการศกึ ษาเป็นปัจจัยสาคญั ทีเ่ กื้อหนุนการเป็นผู้ประกอบการ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 48 Hamel & Prahalad (1994 อ้างถึงใน ดนัย เทียนพุฒ, 2545) กล่าวว่า ความสามารถหลัก ของธุรกิจว่าเป็นสิ่งที่รวมกันของทักษะและเทคโนโลยีมากกว่าทักษะหรือเทคโนโลยีเด่ียว ๆ และ ความสามารถหลักของธุรกจิ จะเป็นดังนี้ 1. เป็นส่ิงที่แทนผลรวมการเรียนรู้ การข้ามชุดทักษะของแต่ละบุคคล และแต่ละหน่วยของ บุคคลในองคก์ ร 2. เปน็ สิ่งทไ่ี มเ่ หมอื นความรู้ท่ีมีอยเู่ ป็นประจาอย่างครบถ้วนในแตล่ ะบคุ คลหรอื ทีมเลก็ ๆ 3. เปน็ ประตูไปสโู่ อกาสในอนาคต 4. เป็นชุดของทักษะและเทคโนโลยีที่ทาให้บริษัทสามารถกาหนดประโยชน์ที่เจาะจง โดยเฉพาะตอ่ ลกู คา้ 5. การแข่งขันด้านความสามารถไม่ใช่ระหว่างผลิตภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ หรือแม้กระท่ังธุรกิจ กับธรุ กจิ แตเ่ ปน็ บรษิ ัทกับบรษิ ทั 6. ความสารถหลักของธุรกิจเป็นรากแก้วของการแข่งขัน โดยที่ผลิตภัณฑ์และบริการคือ ผลผลติ ปจั จัยท่ีชี้ถึงส่งิ ทีเ่ ปน็ ความสามารถหลกั ของธรุ กิจ จะต้องผา่ นเกณฑ์ 3 อย่าง ตอ่ ไปนี้ คือ 1. คุณค่าต่อลูกค้า คือ เสนอสิ่งที่สร้างประโยชน์ให้ลูกค้าอย่างแท้จริง อธิบายว่าเป็นทักษะที่ สามารถทาใหธ้ ุรกิจส่งมอบประโยชน์พนื้ ฐานตอ่ ลกู ค้า 2. ความแตกต่างจากคู่แขง่ ขนั ความสามารถหลกั ของธรุ กจิ จะตอ้ งแตกต่างในการแข่งขันหรือ เลียนแบบได้ยาก ระดับความสามารถหลักของบริษัทเป็นส่ิงท่ียั่งยืนที่สุดเหนือธุรกิจอ่ืน คือ มีความ แตกต่างระหว่างความสามารถท่ีจาเป็น และความสามารถท่ีแตกต่าง สิ่งท่ีจาเป็น คู่แข่งมีอยู่หรืออาจ เลียนแบบได้งา่ ย แตถ่ ้าเปน็ ความสามารถหลกั จะไม่ใชส่ ิง่ ทีม่ อี ย่ภู ายในอุตสาหกรรม 3. พัฒนาเพมิ่ ได้ ความสามารถหลักของธุรกิจจะเป็นความสามารถท่ีแท้จริง เพื่อสร้างให้เกิด ผลติ ภณั ฑ์ใหมใ่ นตลาด ถา้ จะประเมินว่าความสามารถใดสามารถพัฒนาเพิ่มได้ ให้พิจารณาจากการที่ ผู้บริการระดับสูงต้องทางานหนกั เพ่ือหนไี ปจากมุมมองท่ีเน้นผลิตภณั ฑใ์ นสมรรถภาพของธรุ กจิ การเป็นผู้ประกอบการธรุ กิจสือ่ และการเปน็ ผู้ประกอบการในยุคดจิ ทิ ลั ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาสื่อมวลชนมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับการนาเสนอประเด็นของสื่อและ การเป็นผู้ประกอบการนั่นคือ หน้าที่ในการเล่าเรื่อง (narrative function) ด้วยเพราะธรรมชาติของ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 49 ส่ือมวลชนโดยเฉพาะสื่อโทรทัศน์ที่สามารถเล่าเรื่องราวต่าง ๆ เก่ียวกับความเป็นผู้ประกอบการได้ อย่างสมจริงผ่านท้ังภาพและเสียง (visual audio media) ที่มีส่วนสาคัญยิ่งในการสร้างบรรยากาศ ความปรารถนาในการเป็นผู้ประกอบการผ่านการนาเสนอเน้ือหาหลากหลายรูปแบบที่บอกเล่าถึง เรอ่ื งราวของการทาธุรกิจให้ผู้ชมได้เรียนรู้และมีประสบการณ์โดยอ้อมผ่านส่ือ มีตัวอย่างเรื่องราวการ ก่อต้งั ธุรกิจในส่อื มวลชนโดยสังเขป ดงั น้ี 1) ผูป้ ระกอบการในภาพยนตร์ เช่น (1.1) ภาพยนตร์เรื่อง The Founder ออกฉายเม่ือ พ.ศ. 2559 นาเสนอเรื่องราวการก่อต้ังธุรกิจของ เรย์ คร็อก เจ้าของกิจการแมคโดนัลด์ (1.2) ภาพยนตร์ เร่ือง The Social Network ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2553 นาเสนอเรื่องราวการก่อตั้งเฟซบุ๊กของ มาร์ก ซักเคอร์เบิรก์ (1.3) ภาพยนตร์เร่ือง Top Secret วัยรุ่นพันล้าน นาเสนอเร่ืองราวการก่อตั้งธุรกิจของ ต๊อบ อิทธิพัฒน์ เจ้าของธุรกิจ สาหร่ายเถ้าแก่น้อย ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2554 (1.4) ซีรี่ย์เกาหลีเร่ือง Itaewon Class นาเสนอเรอื่ งราวการก่อตั้งธุรกจิ รา้ นอาหารของพัคแซรอย 2) ผู้ประกอบการในรายการโทรทัศน์ เช่น (2.1) รายการ SME ตีแตก รายการเรียลลิตี้เกม โชว์ธุรกิจท่ีมุ่งเฟูนหาธุรกิจเอสเอ็มอีที่มีศักยภาพ ออกอากาศคร้ังแรก ปี พ.ศ. 2553 (2.2) รายการ Shark Tank Thailand ธุรกิจพิชิตล้าน ออกอากาศคร้ังแรกปี พ.ศ. 2562 เป็นรายการท่ีเปิดให้ผู้เข้า แข่งขันเสนอแผนธุรกิจเพ่ือหาทุนไปต่อยอดธุรกิจ (2.3) รายการ ผู้หญิงทามาหากิน รายการประเภท วาไรต้ีท่ชี ้ใี หเ้ หน็ ช่องทางการประกอบอาชีพ ออกอากาศครั้งแรกปี พ.ศ. 2562 3) ผูป้ ระกอบการในละคร เชน่ (3.1) ละครเร่ืองไฟอมตะ ละครที่นาเสนอเร่ืองราวของ วิกรม กรมดษิ ฐเ์ จ้าของโครงการนคิ มอุตสาหกรรม 3 แห่งในประเทศไทยออกอากาศครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. 2553 (3.2) ละครเรื่องลอดลายมังกร นาเสนอเร่ืองราวของอาเหลียงชาวจีนโพ้นทะเลที่เข้ามาก่อร่างสร้าง ธุรกจิ ในเมอื งไทย ออกฉายครัง้ แรกปี พ.ศ. 2535 จากพฤติกรรมของผู้คนในสังคมไปสู่สังคมออนไลน์หรือสังคมดิจิทัล ซึ่งส่งผลต่อการทาธุรกิจ ทจ่ี ะต้องเปล่ยี นผา่ นไปสูก่ ารทาธุรกจิ ในรูปแบบดิจิทลั ตามการขับเคลื่อนของสังคม การพัฒนาทักษะสู่ การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัลถือได้ว่าเป็นสิ่งท่ีจาเป็นท่ีผู้ประกอบการในไทยควรเร่งพัฒนา เพ่ือ ตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าและสร้างความย่ังยืนให้กับธุรกิจท่ีกาลังเปล่ียนผ่านไปสู่สังคม ดิจิทลั อย่างเต็มตวั ” โอกาสของผูป้ ระกอบการหรือนักธุรกิจหน้าใหม่ท่ีสนใจการทาธุรกิจออนไลน์ ซึ่งในด้านธุรกิจ มีหลายธุรกิจที่เติบโตข้ึน เช่น การให้บริการประชุมออนไลน์ ท่ีชื่อแอพพลิเคชั่นว่า Zoom Video
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 50 Conferencing มีผ้ใู ชแ้ อพพลิเคช่นั สูงถึง 200 ล้านคน จากเดิม 10 ล้านคน ภายในระยะเวลาเพียง 3 เดือน ส่วนแอพพลิเคช่ันส่ังซื้ออาหารออนไลน์อย่าง GrabFood ที่มียอดขายสูงข้ึนกว่า 3 เท่าเม่ือ เทียบกับก่อนวิกฤติการณ์น้ี ขณะท่ีแอพพลิเคชั่นส่ังซ้ือสินค้าออนไลน์ อย่าง Shopee สามารถดัน ยอดขายโตข้ึนถึง 400% ส่วนเจ้าตลาดออนไลน์อย่าง Lazada เพ่ิมยอดขายสูงขึ้นอีก 100% และ สาหรับผู้ให้บริการสตรีมม่ิงอย่าง Netflix ในช่วงระยะเวลาเพียง 3 เดือน มีผู้สมัครลงทะเบียน 15.8 ล้าน คิดเป็นการเพ่ิมสูงถึงเกือบ 10% แสดงให้เห็นว่า ทุกคนต่างเข้าไปอยู่ในโลกออนไลน์หรือดิจิทัล บนทกุ มติ ิของการใช้ชวี ิต ธรุ กจิ ดิจทิ ัลท่ีเก่ียวข้องกับออนไลน์เหล่าน้ีจึงเฟ่ืองฟู และแสดงให้เห็นถึงการ ก้าวขา้ มมาสู่ยุคธรุ กจิ ดจิ ิทลั อยา่ งเต็มตัวและรวดเรว็ ยิ่งขึน้ ดังน้ันผู้ประกอบการธุรกิจส่ือ จึงต้องทันสมัย ดาเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับบริบทและการ เปลีย่ นแปลงของสงั คม เศรษฐกจิ และเทคโนโลยี สามารถสรา้ งธรุ กิจเปน็ ของตนเองและสร้างเครือข่าย ธุรกิจ ซ่ึงความรู้และทักษะ 6 ด้านท่ีจาเป็นสาหรับผู้ประกอบการธุรกิจส่ือในยุคดิจิทัลจะต้องมีเพื่อ กา้ วข้ามไปสูก่ ารทาธรุ กจิ ที่มีศกั ยภาพอย่างย่ังยืน ไดแ้ ก่ 1. นวัตกรรมธุรกิจทต่ี อบ Pain Point ของลูกค้า คอื การยึดความตอ้ งการของลูกค้าเป็นหลัก แล้วปรับโมเดลธุรกิจให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นสิ่ง สาคญั 2. ทักษะด้าน Digital Technology มีความรู้ด้านดิจิทัลท่ีกว้างขวาง แต่ไม่จาเป็นต้องเขียน โค้ดซอฟท์แวร์ เพียงเข้าใจหลักการของเคร่ืองมอื ตา่ ง ๆ เพอื่ มองเหน็ แนวทางการนาไปใช้ 3. ทักษะการเขียนแผนธรุ กิจ ก่อนเรม่ิ ธรุ กิจหรือปรับธุรกิจดิจิทัลต้องสามารถเขียนแผนธุรกิจ เป็นภาพรวม 4. กลยทุ ธ์และเทคโนโลยกี ารตลาดดิจทิ ัล เคร่อื งมือการตลาดเป็นสิ่งที่สาคัญต่อการสร้างการ รับรู้ของลูกค้า รวมถึงการวิเคราะห์ความต้องการและพฤติกรรมของลูกค้าเพ่ือประโยชน์ในการ วางแผนธรุ กิจ 5. กลยุทธ์ธุรกิจดิจิทัล กลยุทธ์เป็นสิ่งสาคัญท่ีจะต้องวางแผนเพื่อการเปลี่ยนถ่ายองค์กรไปสู่ รปู แบบดิจิทัล 6. ความรู้ด้านการจัดการทางการเงินและการระดมทุน การวางแผนทางการเงินจะช่วยให้ องค์กรขับเคลื่อนได้อย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ การระดมทุนจาเป็นต้องมีหลักการเพ่ือให้เกิด
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 51 สภาพคล่องและองค์กรเติบโตได้ในระยะยาว จาเป็นต้องเข้าใจประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ financial issues, venture capitalists, angel investors และ business ventures กรณีศึกษา : ผู้ประกอบการธรุ กิจสื่อและการดาเนินธรุ กิจในปจั จุบัน บริษัท เออาร์ไอพี จากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “เออาร์ไอพี”) เดิมชื่อ บริษัท เอ.อาร์. อินฟอร์เมชัน แอนด์ พับลิเคชัน จากัด ก่อตั้งข้ึนเม่ือวันท่ี 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ด้วยทุนจด ทะเบียนเร่ิมแรก 1,000,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับสื่อด้านธุรกิจ การ บริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) ด้วยศักยภาพ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของผู้บริหารของบริษัทฯ ในการเป็นผู้ผลิตเนื้อหา (Content Provider) ทัง้ ดา้ นธรุ กจิ การบริหารจัดการ โดยเฉพาะด้านไอที บริษัทฯ จึงได้ใช้เน้ือหา ฐานคู่ค้าและ ลูกค้าจากธุรกิจสื่อดังกล่าวมาเพิ่มศักยภาพในการขยายไปยังธุรกิจการจัดงานนิทรรศการ งานแสดง สินค้า และการจัดประชุมสัมมนา รวมท้ังส่ือดิจิทัลและสื่ออ่ืนได้อย่างมีประสิทธิภาพและครบวงจร พฒั นาการที่สาคัญของบริษทั ฯ ภาพท่ี 4-1 ตราสัญลักษณข์ องบริษัทเออาร์ไอพี บริษัทฯ ผลิต จาหน่าย และให้บริการพ้ืนท่ีโฆษณาบนสื่อดั้งเดิม สื่อดิจิทัล และสื่อสังคม ออนไลน์ท่ีมีเนื้อหาด้านธุรกิจและการบริหารจัดการ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถแบ่ง ออกเปน็ 2 กลมุ่ ธุรกิจ ดงั นี้ 1. ธุรกจิ ส่ือและคอนเทนต์ มีการประกอบการท้ังผลิต จาหน่าย และให้บริการพ้ืนท่ีโฆษณาบนสื่อสิ่งพิมพ์ ส่ือดิจิทัล และสื่อสังคมออนไลน์ ที่มีเน้ือหาด้านธุรกิจ การบริหารจัดการ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ ธุรกิจ ดงั น้ี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 52 1.1 ส่อื ท่มี เี น้อื หาด้านธุรกิจ 1.1.1 “Business+” นิตยสารเชิงวิเคราะห์เศรษฐกิจ ธุรกิจ กลยุทธ์บริหาร การจัดการ และการตลาด รายงานความเคลื่อนไหวในแวดวงธุรกิจ บทสัมภาษณ์ผู้บริหารท่ีประสบความสาเร็จ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับทราบถึงกลยุทธ์และแนวโน้มธุรกิจ เป็นกรณีศึกษาสามารถนามาประยุกต์ใช้กับ ธุรกจิ เพือ่ เพ่มิ ขดี ความสามารถขององค์กร 1.1.2 หนังสือรวบรวมข้อมูลรายปี “Business+ Top 1000 Companies” เป็น หนงั สอื ท่ีรวบรวมข้อมลู ผลประกอบการของทกุ บริษทั ทจ่ี ดทะเบียนในประเทศ เพ่ือจัดอันดับบริษัทท่ีมี รายได้รวมสูงสุดของประเทศจานวน 1,000 บริษัท มีบทวิเคราะห์บริษัทท่ีมีผลตอบแทนสูงสุด (Top Gain) และต่าสุด (Top Loss) ในแต่ละอุตสาหกรรม และการจัดอันดับ 50 บริษัทสูงสุด (Top 50) ของประเทศไทย ทั้งในแงก่ ารเตบิ โตของรายได้ ผลกาไร และอัตราผลตอบแทน 1.1.3 งานสัมมนา และงานมอบรางวลั งานสัมมนา กองบรรณาธิการได้พิจารณา วิเคราะห์ กล่ันกรอง ประเด็นท่ี น่าสนใจจัดเป็นหัวข้อสัมมนา เพ่ือนาเสนอเน้ือหาให้กลุ่มเปูาหมาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฐานผู้อ่าน และ เป็นการขยายขอบเขตธุรกิจนอกเหนือจากบนส่ิงพิมพ์มาสู่งานสื่อกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้บริหาร องค์กรและกิจการต่าง ๆ ไดพ้ บปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมถงึ การได้รับคาแนะนาจากผู้ให้บริการ ทางธรุ กิจหลากหลายด้านทเ่ี ป็นผู้สนบั สนนุ การจดั งาน งานมอบรางวัล – “THAILAND TOP COMPANY AWARDS” (TOP AWARDS) เป็นการต่อยอด ธรุ กิจจากนติ ยสาร Business+ Top 1000 ผนวกกับความร่วมมือกับพันธมิตรท่ีเป็นผู้ให้บริการข้อมูล และสถาบันการศึกษา จึงก่อเกิดโครงการจัดการค้นหาหลักเกณฑ์การคัดเลือกองค์กรชั้นนา และพิธี มอบรางวัล “TOP AWARDS” ที่เร่ิมต้นมาตั้งแต่ปี 2556 โดยมีการคัดเลือกองค์กรที่มีความโดดเด่น ในดา้ นผลการดาเนินงาน กลยุทธท์ างธรุ กิจ ตลอดจนความใส่ใจตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม ธรรมาภิบาล ส่กู ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืนขององคก์ ร – “THAILAND TOP SME AWARDS” เป็นงานท่ีนาแนวคิดจากงาน TOP AWARDS มาขยายขอบเขตเพอื่ ใหค้ รอบคลุมองค์กรขนาดกลางและขนาดย่อม ที่มีแนวคิดและผลการ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 53 ดาเนินงานที่โดดเด่น เพื่อนาเสนอความสาเร็จและแนวทางการบริหารจัดการขององค์กรเหล่าน้ีให้ สาธารณชนไดร้ ับทราบ – “BUSINESS+ PRODUCT INNOVATION AWARDS” เป็นงานมอบรางวัลสินค้า และบริการท่ีมีนวัตกรรมประจาปี โดยร่วมมือกับวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการ สารวจสินค้าและบริการที่มีอยู่ในตลาดที่มีนวัตกรรมท่ีโดดเด่นในด้านต่าง ๆ เข้าสู่การคัดเลือกสินค้า และบริการทมี่ นี วตั กรรมทตี่ อบสนองความตอ้ งการของตลาดมากทส่ี ดุ – “BUSINESS+ PRODUCT OF THE YEAR AWARDS” เป็นงานมอบรางวัลให้แก่ สินค้าและบริการท่ีได้รับความนิยมแห่งปีโดยการสารวจความนิยมของผู้บริโภคท่ีมีต่อสินค้าและ บริการประเภทต่าง ๆ เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างนิตยสาร BUSINESS+ และ วิทยาลัยการ จัดการ มหาวิทยาลัยมหดิ ล 1.2 สือ่ ทีม่ ีเน้ือหาทางดา้ นเทคโนโลยี 1.2.1 techhub.in.th จากจุดเริ่มต้น COMTODAY ซึ่งเป็นนิตยสารไอทีช้ันแนวหน้า ที่ ผันตัวสู่การเป็นส่ือดิจิทัลครบวงจร โดยนาเสนอเน้ือหาท่ีตอบโจทย์รูปแบบการใช้ชีวิตของคนในยุค ปัจจุบัน ซ่ึงมีเทคโนโลยีเข้ามาเก่ียวข้องทั้งในด้านการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางาน และองค์กร ธุรกิจ ท่ีต้องการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตลอดเวลา โดยในปี 2020 ถือเป็นปีท่ี techhub.in.th มีอัตรา การเตบิ โตของผชู้ มเว็บไซตแ์ ละเฟซบุ๊กท่ีมากข้ึนกว่า 60% โดยมีช่องทางในการนาเสนอท่ีหลากหลาย ได้แก่ Website: www.techhub.in.th แหล่งข้อมูลความรู้ทางดา้ นไอซี และคอนซูเมอร์ อิเล็กทรอนิกส์ ท่ีดาเนินงานมานานกว่า 10 ปี และมีคนติดตามมากกว่า 1 แสนคนต่อเดอื น Facebook: arip ยนื ยันดว้ ยยอดผู้ติดตามกวา่ 3 แสนคน Twitter: @techhub_arip ย่อยข้อมูลให้กระชับ เอาใจคนรักไอทีที่ชอบติดตาม ขา่ วสารแบบส้ัน ๆ IG: techhub.arip Youtube: ARIP Official แหล่งวิดีโอ รีวิว How to ด้านไอทีที่ได้รับการยอมรับ มคี วามนา่ เชือ่ ถอื
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 54 Podcast: TechITEasy ช่องทางใหม่ล่าสุดท่ีเปิดตัวในปี 2020 เป็นการเผยแพร่ บนแพลตฟอร์มออนไลน์ในรูปแบบของเสียง ซึ่งดาเนินรายการโดยบรรณาธิการของ techhub นาเสนอเทคนคิ การใชง้ าน ตลอดจนการแกป้ ญั หา และข่าวสารน่าร้ใู นแวดวงดจิ ทิ ัล 1.2.2 COMMART (www.commartthailand.com และFacebook:/commartthailand) สือ่ ออนไลน์ท่ีเนน้ นาเสนอเนอ้ื หาในแนว Buyer Guide เพื่อชว่ ยการตัดสนิ ใจเลือกซื้อสนิ ค้าในกลมุ่ เทคโนโลยี ทง้ั ในดา้ นเทคนิคและโปรโมชั่น นอกจากนใี้ นชว่ งงานแสดงสนิ ค้า COMMART กจ็ ะ นาเสนอข้อมลู ของงาน พรอ้ มโปรโมชั่น ไฮไลต์ และกจิ กรรมต่าง ๆ ภายในงาน รวมถงึ รายช่ือ ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนสนิ ค้าและบรกิ ารต่าง ๆ ทเี่ ข้าร่วมแสดงในงาน 2. ธรุ กจิ จัดงานนิทรรศการ งานแสดงสนิ ค้า และกิจกรรมทางการตลาดครบวงจร งานแสดงสินค้าไอที ภายใต้ชื่องาน “COMMART” ปัจจุบันมีการจัดงานจานวน 3 คร้ัง ตอ่ ปี รับจัดการและบริหารงานแสดงสินค้า งานนิทรรศการ ตั้งแต่เสนอแนวคิด รูปแบบงาน จัดหาสถานท่ี จัดหาข้อมูลกลมุ่ ลกู คา้ เปาู หมาย ประชาสัมพันธ์ บริหารงานจนสาเร็จ เพ่ือให้สอดคล้อง และตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องลูกคา้ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนในยคุ ดจิ ิทลั รับจัดการและบริหารกิจกรรมทางการตลาดครบวงจรตามความต้องการของลูกค้า ตงั้ แตก่ ารวางแผน กลยทุ ธ์ ไปจนถึงการประเมินวัดผล เพือ่ ให้บรรลุเปูาหมายทางการตลาด โดยอาศัย ความเชยี่ วชาญในการผลติ เนอ้ื หาคอนเทนต์ การสรา้ งสรรค์สื่อ ฐานข้อมูลผู้บริโภค และประสบการณ์ ด้านการบรหิ ารงานแสดงสินคา้ และงานนิทรรศการ บริการแพลตฟอร์มการจัดงานแสดงสินค้าเสมือนจริง (Virtual Event Platform) เพื่อ ต่อยอดการจัดงานแบบออฟไลน์เดิมให้มีสีสัน สามารถขยายการเข้าถึงงานได้อย่างไร้ขอบเขตท้ังด้าน เวลาและสถานท่ี โดยมีบริการท้ังการจัดงานแบบ Hybrid (จัดพร้อมกันทั้งออฟไลน์ และ ออนไลน์) และการจัดงานออนไลน์เต็มรูปแบบที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบชาระเงิน และระบบขนส่งสินค้าได้ ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในยุค New Normal ด้วยหลากหลายบริการ ได้แก่ ระบบจัดการข้อมูลสมาชิก ระบบการจาหน่ายสินค้า เกม และกิจกรรมต่าง ๆ ระบบการประชุมสัมมนาออนไลน์ ระบบการ ถ่ายทอดสดออนไลน์ ระบบจบั คูธ่ รุ กจิ ออนไลน์ ระบบการโหวตหรอื จัดประกวดออนไลน์ เปน็ ตน้
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 55 3. ธุรกจิ บริการการตลาดดจิ ิทัล การให้บริการส่ือสารการตลาดดิจิทัลครบวงจร (Digital Marketing Service) เพ่ือตอบ โจทย์การตลาดของลูกค้าองค์กรท้ังระยะส้ันและระยะยาว ต้ังแต่การวางกลยุทธ์การตลาด (Online Marketing Strategy) การสื่อสาร (Online Communication Strategy) การสร้างแบรนด์ผ่านส่ือ ดิจทิ ัล (Branding) กลยุทธ์การตลาดผ่านเนื้อหา (Content Marketing Strategy) สร้างสรรค์เน้ือหา ที่สร้างคุณค่าให้กับแบรนด์ (Creative Content) การบริหารส่ือออนไลน์ (Online Content Management) การวางแผน และซ้ือส่ือดิจิทัล (Online Media Plan and Buy) รวมถึงการวัดผล วิเคราะห์ข้อมูล และออกรายงาน เพื่อนาไปสู่การทาการตลาดอย่างต่อเนื่อง ตรงกลุ่มเปูาหมาย และ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการทางธุรกจิ ขององค์กร แพลตฟอร์มเพ่ือการพัฒนาบุคลากรในองค์กร (Enterprise Learning Platform) สาหรับองค์กรท่ีต้องการพัฒนาทักษะและศักยภาพของบุคลากร เป็นโซลูชันที่ประกอบด้วย แพลตฟอร์มการฝึกอบรมออนไลน์ผ่านคลาวด์เทคโนโลยี โดยรวมเอาระบบทดสอบสรรถนะที่จาเป็น สาหรับการทางานในอนาคต เพื่อสร้างเส้นทางการเรียนตามสมรรถนะของบุคลากรตามตาแหน่งท่ี องค์กรต้องการท้ัง IDP, KPI และ Self-Enrollment ระบบการประเมินผลทั้งก่อนและหลังเรียน รองรับการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบทั้ง eLearning, Live Broadcast, Webinar และ Virtual Conference สามารถเช่ือมต่อกับระบบบริหารงานบุคคลขององค์กรเพ่ือจัดการข้อมูลที่เดียว พร้อม ส่ือการสอน และคอนเทนต์ที่ทันสมัย มีคุณภาพ ในรูปแบบการนาเสนอแบบผสมผสานของส่ือ ประเภทตา่ ง ๆ โดยมคี วามร่วมมือทางวิชาการจากสถาบันการศึกษาช้นั นา จากกรณศี ึกษาน้ีหากเป็นฝาุ ยการตลาดของบริษัทใหญ่ๆ การแยกประเภทและความแตกต่าง ของส่ือดิจิทัลแต่ละประเภทได้ง่ายๆ แต่สาหรับเจ้าของธุรกิจขนาดเล็กที่ส่วนใหญ่สวมหมวกหลายใบ และมีหลากหลายหน้าที่ให้ต้องรับผิดชอบ ในแต่ละวันมีงานให้ต้องบริหารจัดการมากมาย ทาให้งาน สอ่ื สารการตลาดกลายเป็นแคเ่ พียงสว่ นหนึ่งในความรับผิดชอบเท่านั้น จึงไม่แปลกอะไรท่ีจะไม่คุ้นเคย กับการแบ่งประเภทสื่อดิจิทัล เรื่องส่วนใหญ่ท่ีเจ้าของธุรกิจมักกังวลเป็นประจาทุกวันคือจะหาลูกค้า ใหม่ๆ ให้กบั ธรุ กิจได้อย่างไร การต้องตดั สนิ ใจเลือกใช้ส่ือเพื่อช่วยสร้างการรับรู้และดึงดูดลูกค้าภายใต้ งบประมาณที่มอี ย่างจากัดน้นั ไม่ใช่งานง่าย ดังน้ันหากคุณจะเป็นเจ้าของธุรกิจในยุคดิจิทัล การพยายามเข้าใจถึงประโยชน์ของส่ือดิจิทัล แต่ละประเภทน้ันจึงเป็นสิ่งจาเป็น เพื่อช่วยให้คุณกาหนดเปูาหมายในการส่ือสารได้ชัดเจน จัดสรร งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างแผนสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัลได้อย่างครอบคลุม เส้นทางการตัดสินใจของกลมุ่ เปาู หมายมากทส่ี ุด
56 ประเภทของสอื่ ดิจทิ ัล มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพท่ี 4-2 แผนภมู ิการแบ่งประเภทของส่ือดจิ ทิ ลั ส่ือดิจิทัลสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ Paid Media, Earned Media และ Owned Media เป็นวิธแี ยกประเภทสื่อตามลักษณะการได้มาของส่ือและการผลิตส่ือ ซึ่งส่ือแต่ละประเภทต่าง ก็มจี ดุ เด่นและจุดด้อยแตกตา่ งกันไป ดังมรี ายละเอยี ดโดยสรปุ ดังนี้ Owned media Owned Media หรือ สื่อที่แบรนด์เป็นเจ้าของ คือ ส่ือที่หน่วยงานธุรกิจสร้างข้ึนเพ่ือใช้ เผยแพร่เนื้อหาผ่านช่องทางของตัวเอง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่เน้ือหา อาทิ เว็บไซต์ ธุรกจิ , บัญชีโซเชยี ลมเี ดีย, สง่ิ พมิ พด์ ิจทิ ัล, อเี มล์ รวมทั้งส่ือส่ิงพิมพ์ การใช้ส่ือ Owned Media จึงเป็น เหมือนสินทรัพย์ทางการตลาดที่แบรนด์เป็นเจ้าของ นั่นหมายความว่า แบรนด์สามารถควบคุมได้ ตัง้ แตข่ อ้ ความ รูปลกั ษณแ์ ละสีสันไปจนถงึ รูปแบบเนื้อหา, ความถ่ีในการอัปเดต, วิธีการเผยแพร่ และ วิธกี ารประชาสัมพนั ธ์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 57 สื่อท่ีแบรนด์เป็นเจ้าของ มีบทบาทสาคัญในการสื่อสารกับสมาชิก ลูกค้าประจา ผู้มุ่งหวัง พนกั งาน หุน้ สว่ นและผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องกับธุรกจิ ใหร้ ับรถู้ งึ ข้อมลู ขา่ วสารของแบรนด์อย่างต่อเนื่อง อาทิ คู่มือการใช้งาน การอัพเดตคุณสมบัติใหม่ๆ หรือโซลูช่ันสาคัญที่ช่วยให้กลุ่มเปูาหมายรับความรู้ถึง ความเชี่ยวชาญและความสามารถของสินค้าและบริการ ในขณะเดียวกันก็ถูกใช้เป็นส่ือสาหรับดึงดูด ผู้ชม ผู้สนใจและหล่อเล้ียงให้กลายเป็นผู้มุ่งหวังเพ่ือนาไปสู่การเปล่ียนพวกเขากลายเป็นลูกค้าใน อนาคต จุดเด่น : สามารถปรับแต่งเน้ือหาได้ตามทต่ี ้องการ เผยแพร่ไดท้ นั ที ทุกท่ี ทกุ เวลาทต่ี อ้ งการ เปน็ ส่ือทผ่ี ู้บรโิ ภคใชส้ าหรับอ้างองิ ขอ้ มลู เสริมสร้างความเชอ่ื มนั่ และภาพลักษณท์ ่ดี ี ช่วยประหยดั ตันทุนการสือ่ สาร เป็นหลกั ประกนั ทางตลาดใหก้ บั ธุรกจิ ช่วยกระตนุ้ การขาย ซื้อซา้ หรือใชซ้ า้ ชว่ ยให้การปดิ การขายรวดเรว็ ยง่ิ ข้นึ จุดดอ้ ย : สรา้ งการรบั รไู้ ดจ้ ากดั เนื้อหาอาจถกู ละเลยไดโ้ ดยง่าย ต้ อ ง ก า ร พ นั ก ง า น ( ห รื อ ง บ ป ร ะ ม า ณ ) เ พื่ อ ส ร้ า ง ข้ อ มู ล แ ล ะ แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม Paid media Paid Media หรือ สื่อท่ีต้องชาระเงินเพ่ือเผยแพร่ คือ ส่ือที่แบรนด์ต้องจ่ายเงินสาหรับซื้อ พื้นที่ เวลา หรือตาแหน่งสาหรับเผยแพร่เน้ือหาของแบรนด์ให้เข้าถึงกลุ่มเปูาหมายที่นิยมใช้สื่อนั้นๆ อาทิ โฆษณาบนโซเชียลมีเดีย, โฆษณาบน Google, แบนเนอร์บนเว็บไซต์, โฆษณาทางหนังสือพิมพ์, สปอตโฆษณาทางวิทยุ, การเป็นสปอนเซอร์ให้กับงานประชุม-รายการโทรทัศน์, บล็อกเกอร์, ยูทูป เบอร์ หรืออาจเรียกว่า \"อินฟลูเอนเซอร์\" ท่ีช่วยรีวิวสินค้า ส่ือแบบชาระเงิน ใช้เพ่ือดึงดูดความสนใจ และสร้างการรับรู้ในวงกว้าง มีบทบาทสาคัญที่ช่วยให้กลุ่มเปูาหมายพบเห็นเนื้อหาโฆษณาท่ีต้องการ เผยแพร่ได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้คนมาติดตามหรือพิมพ์ค้นหา เนื้อหาโฆษณาส่วนใหญ่จะปรากฏใน ลกั ษณะขดั จงั หวะหรอื แทรกขณะทก่ี ลมุ่ เปูาหมายกาลงั รับชมเน้ือหาหลัก
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 58 จุดเดน่ : เป็นสื่อท่ีช่วยสร้างการรับรู้เน่ืองจากการโฆษณาทางออนไลน์มีต้นทุนต่า ทาให้ธุรกิจขนาด เล็กสามารถสร้างการรบั รไู้ ด้รวดเรว็ และคุม้ คา่ กวา่ การใช้ส่ือแบบดัง้ เดิม เปน็ ส่ือทช่ี ่วยเติมเต็มความสามารถของ Owned Media และ Earned Media มีความหลากหลายท้ังขนาด รปู แบบ ราคาทเี่ หมาะกบั ธรุ กจิ ออนไลน์ จุดดอ้ ย : ไม่สามารถการันตีได้ว่ากลุ่มเปูาหมายจะซ้ือความคิดของคุณ เพราะเป็นการส่ือสารทาง เดียว ผู้บรโิ ภคมักเพกิ เฉยกบั โฆษณาหากขอ้ เสนอไม่ตรงกับความต้องการ การเผยแพร่เน้ือหาให้ครอบคลุมทาไดย้ ากลาบาก ต้นทนุ การเผยแพรเ่ น้ือหาโฆษณาผ่านส่อื แบบชาระเงินเพิ่มสูงข้นึ จากผลสารวจพบวา่ ผู้บรโิ ภคสว่ นใหญ่มองวา่ เนือ้ หาโฆษณาเปน็ สงิ่ รบกวน การควบคุมเนอ้ื หาทาไดเ้ พยี งบางสว่ น อาทิ ข้อความหรือแนวคิดโฆษณาท่ีสร้างสรรค์ และ บางส่วนที่ไม่สามารถควบคุมได้ อาทิ อัลกอลิท่ึมของโซเชียลมีเดีย หรือหน่วยงาน กสทช. ท่ีคอย ควบคมุ เน้ือหาโฆษณาท่เี ผยแพร่ผ่านสอื่ Earned media Earned Media หรือ ส่ือที่ผู้อื่นสร้างให้ คือ สื่อท่ีได้มาจากการพูดถึงหรือบอกต่อ แตกต่าง จาก Paid Media และ Owned Media เน่ืองจากแบรนด์ไม่สามารถควบคุมทิศทางเน้ือหาที่ผ่านส่ือ ชนิดนี้ได้ เพราะเนื้อหาน้ันได้มาจากการผู้ที่ได้ทดลองใช้สินค้าหรือบริการ หรือผู้ชม ผู้สนใจได้รับ เนื้อหาคุณภาพท่ีเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์จึงยินดีที่จะเผยแพร่ แชร์เนื้อหา รีวิว หรือบอกต่อให้กับ คนอน่ื ๆ ในเครือข่ายของพวกเขาได้รับรู้ร่วมกัน การท่ีผู้คนเขียนถึงธุรกิจของคุณซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ ของบทความในหนังสือพิมพ์ ลิ๊งก์ในบล็อก หรือการแบ่งปันเน้ือหาผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) จึงมีส่วนช่วยให้ธุรกิจของคุณมีชื่อเสียงและเป็นท่ีรู้จักมากข้ึนจากความเช่ียวชาญ ของคุณ ซึง่ อาจรวมไปถงึ การถกู เชญิ เข้าร่วมเพ่ือพูดในงานประชุมหรือสัมมนาต่างๆ สื่อท่ีผู้อ่ืนสร้างให้ จึงมีเป็นสื่อมีค่ากับแบรนด์มากท่ีสุด เป็นเหมือนกระจกท่ีช่วยสะท้อนผลการทางานทั้งหมดในธุรกิจ ของคุณ จดุ เดน่ : ช่วยกระจายเขา้ ถงึ ผู้คนจานวนมาก (Viral Marketing)
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 59 ชว่ ยส่งเสรมิ ให้แบรนดข์ องคุณน่าเช่ือถือ ด้วยเสียงท่ีถูกสร้างขึ้นจากผู้มีประสบการณ์กับ แบรนดข์ องคุณ เปน็ สอ่ื ทีม่ ักจะมคี า่ ใช้จ่ายนอ้ ยที่สดุ ชว่ ยให้ผบู้ รโิ ภคตัดสนิ ใจซื้องา่ ยข้ึน ช่วยเพมิ่ ความน่าเชื่อถอื ใหก้ บั แบรนด์ จดุ ดอ้ ย : หากเนอื้ หาทกี่ ระจายออกไปเป็นเน้ือหาเชิงลบหรือไม่ต้องการให้เกิดการแบ่งปัน คุณจะ ไม่สามารถควบคมุ ได้ ไม่สามารถบอกผลกระทบของกิจกรรมจาก Earned Media จะเกิดขึ้นเมื่อใด ท่ีใดหรือ มากเพยี งใด เป็นสอ่ื ทส่ี รา้ งผลกระทบตอ่ ความนา่ เช่อื ถอื ของแบรนด์ จากข้อมลู ดงั กลา่ วข้างบนจะเหน็ ว่าทางเลอื กที่ดีทสี่ ุดของการส่ือสารผ่านสอ่ื ดิจิทัลก็คอื แตล่ ะ ธรุ กจิ ต้องพยายามบูรณาการจดุ เดน่ ของสื่อทั้งสามประเภทให้มีความสมดุล สอดคล้องกับเปูาหมายใน การสื่อสารภายใต้งบประมาณท่ีมีจากัดได้อย่างคุ้มค่าและได้รับผลลัพธ์จากการดาเนินงานที่เป็น รปู ธรรม สรปุ ผปู้ ระกอบการกค็ อื เจา้ ของกจิ การ หรอื ผ้ทู ีค่ ดิ รเิ ริ่มจัดต้ังธุรกิจข้ึนมาเป็นของตนเอง มีการวาง แผนการดาเนินงาน และดาเนินธุรกิจทุกด้านด้วยตนเอง โดยมองเห็นโอกาสทางธุรกิจและยอมรับ ความเสี่ยงท่อี าจเกดิ ขน้ึ ได้ตลอดเวลา เพ่ือมุ่งหวังผลกาไรท่ีเกิดจากผลการดาเนินงานของธุรกิจตนเอง ดังนั้นผู้ดาเนินการผลิตจึงเรียกว่าผู้ประกอบการ เพราะทาหน้าท่ีตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาพื้นฐานทาง เศรษฐกิจว่าจะผลิตอะไรและผลิตเพ่ือใคร โดยจะรวบรวมปัจจัยการผลิต อันได้แก่ ที่ดิน แรงงานและ ทุน มาประกอบในการพิจารณาตัดสินใจในลงทุนรวมท้ังยังต้องพิจารณาถึงคุณลักษณะพ้ืนฐานของ ผู้ประกอบการ ก่อนที่จะเริ่มดาเนินการควรจะต้องทาการศึกษาด้านต่างๆ ได้แก่ 1.การศึกษาตนเอง เพ่ือให้รู้จักตนเองว่ามีความพร้อมที่จะก้าวไปสู่ธุรกิจโดยมุ่งหวังการมีกาไร และสามารถท่ีจะ ดาเนินการไปได้ตลาดไปหรือไม่ 2.การศึกษาธุรกิจที่จะดาเนินการ เพื่อพิจารณาหาความเป็นไปได้ว่า จะดาเนินธุรกิจน้ันได้ตลอดไปหรือไม่ การแสวงหาโอกาสของธุรกิจ เป็นต้น 3.การจัดทาแผนธุรกิจ การจัดทาแผนธุรกิจสาหรับการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ เปรียบเสมือนการจาลองสถานการณ์ของ ผู้ประกอบการ สิ่งเหล่านี้จะทาให้เกิดความม่ันใจในการประกอบการธุรกิจได้อย่างดี ผู้ประกอบการ
60 ธุรกิจท่ีดีจึงควรมีคุณสมบัติที่มีความรับผิดชอบต่อการดาเนินงานที่ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคด้วยความยุติธรรม ต้องมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจจึงจะทาให้เป็นท่ี ยอมรับของสังคมและสามารถดาเนนิ กิจการไปไดอ้ ย่างม่ันคง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
61 คาถามท้ายบทท่ี 4 1. ผู้ประกอบการ หมายถงึ อะไร 2. คุณสมบตั ขิ องผปู้ ระกอบการ มีอะไรบา้ ง 3. ลกั ษณะของธุรกิจส่อื ในปจั จบุ นั เป็นอย่างไร 4. ก่อนท่จี ะเรมิ่ ดาเนนิ การประกอบกจิ การควรจะต้องศึกษาด้านใดบ้าง 5. ในการประกอบการธรุ กิจควรคานงึ ถงึ สง่ิ ใดบ้าง 6. ประเภทของธุรกจิ มีกปี่ ระเภท อะไรบ้าง 7. ธุรกจิ สือ่ ในปัจจุบนั แบ่งไดก้ ่ีประเภท 8. หลักการ 4 Ms และ 4Ps คืออะไร 9. Earned Media หรอื สื่อทผี่ ู้อื่นสร้างให้ คอื อะไร 10. Paid Media หรือ ส่ือท่ตี ้องชาระเงินเพอื่ เผยแพร่ มจี ดุ เด่นและจุดด้อยอยา่ งไร มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 62 บทท่ี 5 ธรุ กจิ สอ่ื สง่ิ พิมพ์ หนังสือพิมพ์เป็นสื่อมวลชนประเภทแรกที่เกิดขึ้นในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพ่ือบอกเล่า ความเป็นไปหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมแต่ละวันให้ประชาชนรับรู้ และทาหน้าที่ในการ แสดงทัศนะ จดุ ยืน หรอื มุมมองทง้ั ของตวั หนงั สอื พมิ พแ์ ละคอลัมนสิ ตท์ ่เี ป็นเจ้าของคอลมั น์น้ัน ๆ หนงั สอื พิมพม์ กั ตีพิมพ์บนกระดาษราคาถูก ท้ังน้ีเพื่อลดต้นทุนการ ผลิต สัมพันธ์กับความสด ใหม่ของข้อเทจ็ จรงิ เมอื่ ฉบบั ใหมต่ พี มิ พ์ออกจาหน่าย ฉบบั เกา่ กจ็ ะหมดความสาคัญไป ผู้อ่าน ต้องการ เพียงแค่ข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่นาเสนอในหน้าหนังสือพิมพ์ฉบับ ปัจจุบันผู้อ่านส่วน ใหญ่จะไม่เก็บหนังสือพิมพ์ไว้เหมือนกับการเก็บนิตยสารเล่มที่ชื่นชอบ จึงไม่จาเป็นต้องตีพิมพ์บน กระดาษท่ีมีคุณภาพดเี หมอื นนิตยสาร หนังสือพิมพ์มีสถานะเป็นสถาบันสาธารณะท่ีต้องรับใช้สังคม และเป็นองค์กรที่ต้องหารายได้ มาเพอ่ื สามารถดาเนนิ ธุรกิจต่อไปไดด้ ว้ ย จึงจาเป็นต้องวางแผนการบริหารธุรกิจหนังสือพิมพ์ให้สมดุล ระหว่างสถานะทั้งสองของหนังสือพิมพ์ การบริหารธุรกิจหนังสือพิมพ์ผู้บริหารจาเป็นต้องเข้าใจอย่าง ถอ่ งแท้ว่าจะวางหนังสือพิมพ์ของตัวเองในสถานะใด มุ่งเน้นทางใด แหล่งรายได้ของหนังสือพิมพ์ท่ีจะ มาสนบั สนุนการดาเนนิ กจิ การจะมาจากแหล่งใดบ้าง นอกเหนือจากรายได้จากการจัดจาหน่าย เพราะ ราคาขายหนงั สือพมิ พส์ ่วนใหญ่ต่ากว่าต้นทุน ดังนั้นหนังสือพิมพ์ ต้องแสวงหาแหล่งรายได้อ่ืน ๆ ที่จะ มาชดเชยและสนับสนุนการดาเนินธุรกิจของตน เช่น รายได้จากโฆษณาหรือจากรับจ้าง ผลิตสื่อ สิ่งพมิ พ์ แนวคิดเก่ยี วกบั หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์เป็นสื่อมวลชนท่ีใช้แจ้งข่าวสารต่าง ๆ และบริการไปยังผู้อ่าน หน้าหนังสือพิมพ์ ในแต่ละวนั อุทศิ พ้นื ท่ใี ห้กับการโฆษณาเป็นจานวนมาก ทางหน่ึงหนังสือพิมพ์จะถูกคาดหวังจากสังคม ให้ทาหน้าท่ีในการบอกกล่าวข้อเท็จจริงท่ีเกิดข้ึน รวมถึงทาหน้าท่ีเป็นสุนัขเฝ้ายาม (watchdog) ท่ี คอยเฝ้าระแวดระวังความไม่ปกติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม การทาหน้าท่ีนี้ก็ต้องดาเนินไปอย่างสมดุล กับการหน้าที่ในฐานะส่ือกลางในการโฆษณา ซึ่งเป็นตัวช่วยให้หนังสือพิมพ์มีรายได้มากพอที่จะ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 63 ดาเนินการต่อไปได้ สะท้อนว่าหนังสือพิมพ์เป็นมากกว่าแค่สิ่งพิมพ์ท่ีบอกข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ที่ เกดิ ข้ึนในแต่ละวัน หนังสือพิมพ์เป็นส่ือที่มีหน้าที่หลากหลายและต้องสร้างสมดุลในหน้าที่เหล่าน้ันให้ ไดพ้ ืน้ ฐานสาคญั ควรเข้าใจแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ในฐานะสอื่ วารสารประเภทหนงึ่ ภารกจิ และบทบาทของหนังสือพมิ พ์ หนังสือพิมพ์มีบทบาทที่สาคัญและหน้าท่ีในฐานะท่ีเป็นส่ือมวลชนแขนงหน่ึง โดยจาแนกได้ ดงั นี้ 1. หน้าท่ีรายงานข่าวสารความเคลื่อนไหวในสังคม to inform มีหน้าที่หลักในการติดตาม ความเคลื่อนไหวตา่ ง ๆ ทม่ี คี ุณค่า (ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน เท่ียงตรงและเป็นกลาง) เป็นประโยชน์ต่อ สังคม และมีผลกระทบต่อผู้อ่านเพื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ เพ่ือให้ผู้อ่านสามารถ ตดั สนิ ใจเกย่ี วกับเร่ืองน้ัน ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้องทส่ี ุด 2. เสนอความคิดเห็น (เกิดจากการศึกษา สารวจวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล และเปน็ ธรรม) เก่ยี วกับเหตุการณใ์ นสงั คม to give opinion เพือ่ ผู้อา่ นจะไดน้ าขอ้ มูลมาประกอบการ ตัดสินใจ การเสนอความคิดเห็นของส่ือมวลชนสามารถนาเสนอผ่านบทความ คอลัมน์ต่าง ๆ ที่มีการ ลงชอื่ ผู้เขียนไว้ดว้ ย ยกเวน้ บทบรรณาธิการ (เปน็ ความเห็นของหนังสอื พิมพ์ทั้งฉบับไม่ใช่เฉพาะผู้เขียน คนเดยี ว) 3. ให้ความผ่อนคลาย/สาระบันเทิงแก่ผู้อ่าน to entertain เพื่อผ่อนคลายด้วยการนาเสนอ สิง่ ทีเ่ ปน็ สาระบนั เทงิ เชน่ การเสนอขา่ วในวงการบันเทิงก็ควรเป็นเรื่องที่เกิดข้ึนจริงและมีคุณค่าความ เป็นข่าว หรือการนาเสนอบทวิจารณ์ก็ต้องมีสาระและเป็นกลางเพื่อประโยชน์ของผู้อ่านต่อการ ตดั สนิ ใจบริโภค 4. เป็นสื่อกลางโฆษณาสินค้าให้ผู้บริโภค to advertise เพื่อความอยู่รอดของหนังสือพิมพ์ และเป็นสาเหตุท่ีช่วยให้หนังสือพิมพ์ราคาไม่แพงเกินไป และผู้อ่านได้เห็นความเคล่ือนไหวของสินค้า ในตลาด สามารถเลือกซ้ือได้ตรงตามความต้องการ บทบาทของหนังสอื พิมพ์ท่ีสัมพนั ธ์กับการทาหนา้ ทข่ี องหนงั สือพิมพ์ การทาหนา้ ทขี่ องหนังสอื พมิ พท์ ม่ี ีความสอดคล้องกับบทบาทของหนังสือพิมพ์สามารถสรุปได้ ดังน้ี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 1. บทบาทหน้าท่ีเฝ้าระวงั /สังเกตการณ์สังคม Social surveillance ถ้าเจอความผิดปกติต้อง รายงานให้ประชาชนทราบอย่างทันเหตุการณ์ เช่น การเตือนภัยเกี่ยวกับภัยธรรมชาติต่าง ๆ หรือ ปญั หายาเสพตดิ อาชญากรรมท่เี กิดขึ้นในสงั คม 2. บทบาทหนา้ ทเ่ี ชอ่ื มโยงหนว่ ยต่าง ๆ ในสังคม Correlation of parts of society การเห็น ประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมและสามารถเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การทุจริต ของหนว่ ยงานราชการท่ีทาให้คนไทยเสียผลประโยชน์จากเงินภาษีท่ีประชาชนจ่ายและทาให้ประเทศ ไมพ่ ฒั นา 3. บทบาทหน้าที่ถ่ายทอดมรดกทางสังคม transmission of social heritage ช่วยถ่ายทอด คณุ ค่า คา่ นิยมและแบบอย่างทางวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ของสังคมจากรุ่นต่อรุ่น เช่นการนาเสนอ สารคดีวถิ ชี ีวิตไทย (ชีวิตความเปน็ อย่ขู องแต่ละภาคในประเทศไทย วันครู วันปีใหม่ไทยธรรมเนียมรด น้าดาหัว) เพอ่ื สบื สานเอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรม 4. บทบาทหน้าทใี่ ห้ความบันเทิง entertainment เพื่อให้ผูอ้ ่านไดผ้ ่อนคลายจากความเครียด สามารถเสนอเน้ือหาสาระบันเทิงทเี่ ป็นประโยชนผ์ า่ น บทวจิ ารณภ์ าพยนตร์ สารคดีท่องเทย่ี ว ประเภทของหนังสือพิมพ์ เกณฑ์การจาแนกประเภทหนังสือพิมพ์สามารถแบ่งได้หลายประเภทตามลักษณะของ หนงั สือพิมพ์ ไดแ้ ก่ 1. ลักษณะเน้ือหาท่ีนาเสนอ - ปัจจุบันมีการจัดประเภทหนังสือพิมพ์จากเน้ือหาเป็น 4 ประเภท 1.1 หนงั สือพิมพ์เน้นนาเสนอข่าวเบา soft news newspaper - เน้นการนาเสนอข่าวที่ มีองค์ประกอบของข่าวด้านปุถุชนวิสัย human interest (ความอยากรู้ของคน) เนื้อหาค่อนข้างเร้า อารมณ์ เร้าใจ ใช้ภาษาและวิธีนาเสนอไม่ซับซ้อนมาก สื่อความหมายได้ทันที เช่น ข่าวอาชญากรรม ข่าวดารา เป็นตน้ 1.2 หนังสือพิมพ์ประเภทเน้นข่าวหนัก hard news newspaper เน้นเสนอข่าวด้าน ผลกระทบสังคม สะท้อนให้เห็นผลกระทบของเหตุการณ์ในสังคม ลีลาการเสนอค่อนข้างเรียบง่าย สสี นั ไม่มากเทา่ ข่าวเบา ยอดขายไมส่ ูงเทา่ หนังสอื พิมพ์ที่เนน้ ขา่ วเบา
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 65 1.3 หนงั สือพิมพ์ประเภทก่ึงข่าวเบาถึงข่าวหนัก combination newspaper เสนอข่าว เบากับข่าวหนัก มีการจัดหน้าและการใช้ภาษาที่ดึงดูดความสนใจจากผู้อ่านได้ เช่น การพาดหัวข่าว ด้วยตัวอักษร ขนาดใหญ่ มีภาพประกอบมากพอ ๆ กับข่าว ลักษณะเด่น คือ “การเสนอเน้ือหาหนัก ในลลี า/สไตลก์ ารจดั หน้าแบบหนังสอื พมิ พ์ที่เน้นขา่ วเบาได้ 1.4 หนังสือพิมพ์ประเภทเน้นเนื้อหาเฉพาะด้าน specialized newspaper เน้นเนื้อหา เจาะจงเพื่อตอบสนองความสนใจของผู้อ่านเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น หนังสือพิมพ์เศรษฐกิจ หนังสอื พิมพก์ ฬี า 2. ความครอบคลมุ ของหนังสอื พิมพ์ (ลักษณะทางภมู ิศาสตร์) มี 2 ประเภทหลัก ๆ คือ 2.1 หนงั สอื พมิ พ์ระดับนานาชาติ international newspaper เน้นกลุ่มผูอ้ ่านใน ระดบั นานชาติ และนาเสนอเร่ืองราวทเี่ ปน็ ท่ีสนใจจากทุกมุมโลก 2.2 หนังสือพิมพ์ระดับชาติ national newspaper เน้นนาเสนอข่าวสารหรือ เหตุการณ์ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในสังคมท่ีผู้อ่านให้ความสนใจ ส่วนใหญ่ที่พิมพ์จากส่วนกลางหรือ กรุงเทพเป็นหลักแต่จาหน่าย ทั่วประเทศ เช่น ไทยรัฐ เดลินิวส์ โพสต์ทูเดย์ ซ่ึงแต่ละฉบับจะมีลีลา สไตล์การนาเสนอและการเขียนตามนโยบายของฉบบั นนั้ ๆ 2.3 หนังสือพิมพ์ระดับภูมิภาค regional newspaper กลุ่มน้ีให้ความสาคัญการ นาเสนอข่าวสารหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับภูมิภาค หรือพ้ืนท่ีที่หนังสือพิมพ์ฉบับน้ัน ๆ วางขาย กลุ่มเป้าหมายหลักส่วนใหญ่คือ ประชาชนในพ้ืนที่หรือจังหวัดน้ันๆ เช่น หนังสือพิมพ์เสียงใต้รายวัน ขายครอบคลมุ พนื้ ทภี่ าคใต้ โดยเฉพาะจ.ภเู ก็ตท่เี ป็นที่ต้ังของสานักพมิ พ์ 3. ช่วงเวลาการวางจาหน่ายของหนงั สอื พิมพ์ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื 3.1 หนังสอื เชา้ morning newspaper 3.2 หนังสอื พิมพ์บ่าย evening newspaper จากการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และพฤติกรรมการอ่านและปัจจัยอ่ืน ๆ (ระบบการ ขนสง่ ) ทาใหฉ้ บับบ่ายค่อย ๆ หายไปในประเทศไทย 4. ระยะเวลาที่ออกจาหน่าย จาแนกได้ 3 รูปแบบ 4.1 หนงั สือพิมพร์ ายวนั daily newspaper ที่วางจาหน่ายทกุ วนั เน้นความสดใหม่ ของเหตกุ ารณใ์ นการนาเสนอ 4.2 หนังสือพิมพร์ าย 3 วัน เน้นนาเสนอขา่ วธุรกจิ และเศรษฐกิจในเชิงลึกทาให้ไม่
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 66 ต้องเน้นความสดใหม่มากเท่า หนังสือพิมพ์รายวัน เช่น หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ออกจาหน่าย สปั ดาห์ละ 2 คร้งั 4.3 หนังสอื พมิ พ์รายสัปดาห์ ออกจาหน่ายสัปดาห์ละ 1 ฉบบั เช่น หนงั สอื พมิ พ์ บา้ นเมือง เป็นต้น 5. เกณฑข์ นาดของหนงั สือพมิ พ์ มี 2 ขนาด 5.1 หนงั สือพิมพข์ นาดบรอดชที broadsheet newspaper ขนาด กว้าง 14 น้วิ ยาว 23 นิว้ เช่น ไทยรัฐ เดลนิ ิวส์ มตขิ น เป็นตน้ 5.2 หนังสือพมิ พข์ นาดแทบ็ ลอยด์ tabloid newspaper มขี นาดคร่งึ หนงึ่ ของ ขนาดบรอดซที คอื 11/2 นว้ิ ยาว 14/2 น้ิว เช่น หนงั สอื พิมพ์สยามกีฬา 5.3 ในต่างประเทศขนาดหนังสือพมิ พ์แบบแทบ็ ลอยด์ มักนาเสนอเนื้อหาที่หรอื หวา เร้าใจ เน้นข่าวเบาหรือเป็นข่าวท่ี มีองค์ประกอบด้านความอยากรู้หรือความสนใจของมนุษย์ จะตรง ข้ามกบั บรอดชที ท่เี น้นขา่ วหนกั เร่ืองผลกระทบเปน็ หลัก 6. รูปแบบการจดั จาหน่ายมี 2 รูปแบบ 6.1 หนงั สอื พมิ พท์ ่ีผลิตเพอื่ จาหนา่ ย paid newspaper ผอู้ า่ นต้องจา่ ยเงนิ ซือ้ กค็ อื หนังสือพิมพ์ท่ีขายท่ัวไปตามแผง สามารถแบ่งประเภทตามราคา หนังสือพิมพ์ท่ีเน้นข่าวเบาราคาจะ พอ ๆ กัน เนน้ ข่าวหนักราคากจ็ ะไมต่ า่ งกนั ฃมาก 6.2 หนังสอื พิมพ์แจกฟรี free newspaper ผ้อู ่านไมต่ ้องเสียเงินซ้ืออ่าน ผผู้ ลติ รับผิดชอบการนาเสนอและการกระจายหนังสือพิมพ์ตามพ้ืนที่ที่เลือกแจก ซ่ึงได้รับความนิยมมากใน กรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล เช่น หนงั สือพิมพ์ M2F เปน็ ตน้ พัฒนาการของสอ่ื หนังสอื พมิ พ์ เริ่มจากต้องการโฆษณา เผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ สู่มวลชน ระบบการพิมพ์เป็นเคร่ืองมือแรกท่ี กลุ่มมิชชั่นนารใี ช้นามากระจาย ข้อมูลการสอนศาสนา หมอบรัดเลย์และคณะได้หล่อ “ตัวพิมพ์ไทย” เพื่อแปลและพิมพ์หนังสือเล่มแรก “คัมภีร์ครรภ์ รักษา” ส่วนหนังสือพิมพ์ฉบับแรก คือ “บางกอก รีคอร์เดอร์” หรือ จดหมายเหตุบางกอกที่นาสนอข่างในประเทศและต่างประเทศ” ส่วนหนังสือพิมพ์ ไทยโดยมเี จา้ ของเป็นคนไทยฉบับแรก คือ Court ข่าวราชการ โดยมีสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังสี สว่างวงศ์ กรมพระยาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นเจ้าของและบรรณาธิการ (รัชกาลที่ 5) ยุคทองของหนังสือพิมพ์ไทย
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 67 อยู่ในสมัย รัชกาลที่ 6 มีการเกิดของหนังสือพิมพ์อีกหลายฉบับ เนื้อหาการนาเสนอข่าวสารมี หลากหลายรูปแบบทั้งความบันเทิง ประวัติศาสตร์ พระราชกรณียกิจ การเมือง วิถีชีวิตในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ต่อมาเม่ือประเทศไทยเปลี่ยนรูปแบบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตย ประชาชนมีสิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นทางการเมอื งมากขน้ึ จนมีการแบง่ ฝา่ ย ทาให้รัฐบาลเริ่มมีการควบคุม รูปแบบการนาเสนอ และมีการควบคุมหนักข้ึนเม่ือรัฐบาลต้องการใช้ส่ือมวลชนเป็นเครื่องมือโฆษณา ชวนเช่ือ จึงเกิดการแทรกแซงขึ้น (มาลี บุญศิริพันธ์) บอกไว้ว่า ยุครัฐบาลพลเอกชาติชาย เป็น จุดเริ่มต้นที่หนังสือพิมพ์ปรับตัวเองเข้าสู่วงจรความเป็นธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ หลายฉบับเข้าสู่ตลาด หลกั ทรพั ย์จดทะเบียนเปน็ บริษัทมหาชน เช่น มติชน the nation Bangkok post ทาให้เร่มิ เป็นธุรกิจ แสวงหาผลกาไรมากขึ้น ธุรกิจหนังสือพิมพ์มีการแสวงหารายได้จาก 2 ทางหลัก คือ รายได้จากการ ขายหนงั สือพิมพ์ และรายได้จากการโฆษณา สถานการณอ์ ุตสาหกรรมหนังสอื พิมพ์ สาเหตุหนึ่งที่ทาให้ยอดขายหนังสือพิมพ์ในเอเชียตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือเติบโต สวนทางกับธุรกิจหนังสือพิมพ์ ในอเมริกาเหนือและยุโรปน้ัน สันนิษฐานว่าน่าจะมาจากความอ่ิมตัว ของความต้องการข้อมูลข่าวสาร บวกกับการใช้ชีวิตที่เปล่ียนไป รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น อนิ เทอร์เน็ตและโทรศพั ท์มือถอื ทเี่ ปดิ โอกาสให้ผอู้ ่านในสหรัฐฯ และยุโรปมชี อ่ งทางเลือกรับข่าวสารได้ เพ่ิมขึ้น เช่น เว็บไซด์ SMS ข้อความสั้น ๆ ผ่านมือถือ ขณะท่ีประเทศในเอเชียตะวันออกกลาง และ แอฟริกาเหนือ ซึ่งกาลังพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีต่าง ๆ ส่งผลให้ ประชาชนมีความรู้และต่ืนตัวในการแสวงหาข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิตมากขึ้น ทาใหป้ ระชาชนในแถบนีน้ ิยมหนังสือพมิ พ์มากมียอดจาหน่ายเตบิ โตข้ึน พฤติกรรมผู้บริโภคในหลาย ๆ ภมู ิภาคเรมิ่ เปลย่ี นแปลงไป หากธรุ กิจหนังสอื พมิ พ์ตอ้ งการอยู่รอด ต้องปรับตัวให้เข้าถึงผู้บริโภคจะไป อยทู่ ่ีใดก็เป็นหน้าท่ขี องธรุ กจิ หนงั สอื พมิ พ์ทต่ี ้องตามไปตอบสนอง ลักษณะการดาเนนิ ธุรกิจหนงั สือพิมพ์ แสดงให้เห็นห่วงโซ่อุปทาน (ความเก่ียวข้องของการดาเนินธุรกิจหนังสือพิมพ์) ต้ังแต่รูปแบบ การเปน็ เจา้ ของกิจการ ไปถึงโครงสรา้ งองคก์ รในธุรกจิ หนงั สือพิมพ์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 68 5.1 ห่วงโซอ่ ปุ ทานของธุรกจิ หนงั สือพมิ พ์ supply chain ในการประกอบธรุ กิจหนังสือพิมพ์มี หน่วยงานจานวนมากท่ีเกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตไปจนถึงสาเร็จเป็นฉบับจนส่งถึงผู้บริโภคในข้ัน สุดท้าย เร่ิมต้ังแต่หน่วยที่ทาหน้าที่จัดหาวัตถุดิบในการผลิต วัตถุดิบสาคัญคือกระดาษและหมึก และ ต้องจัดหาเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์หนังสือพิมพ์ด้วย ยังควบคู่กับต้องมีผู้ส่ือข่าวและกองบรรณาธิการ ในการจัดหาต้นฉบับข่าวและอ่ืน ๆ (คอลัมน์ บทความ สารคดีในฉบับ) เม่ือพร้อมตีพิมพ์ต้นฉบับเม่ือ ครบแล้วก็เข้าสู่กระบวนการผลิตให้ได้หนังสือพิมพ์ จากนั้นเข้าสู่การจัดจาหน่ายและการขนส่ง หนังสือพิมพ์น้ัน ๆ ให้ไปถึงผู้บริโภค (ผู้อ่าน) โดยส่งไปทางเอเย่นต์ในแต่ละพ้ืนท่ีเป็นผู้กระจาย หนังสือพิมพ์ เพื่อวางจาหน่ายตามแผงหนังสือต่าง ๆ หนังสือพิมพ์ยังมีระบบรับเป็นสมาชิกเพื่อจัดส่ง หนังสือพิมพ์ปยังสมาชิก ปัจจุบันความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทาให้หนังสอพิมพ์มีทางเลือกในการ ผลิตเนื้อหาเพื่อนาเสนอได้หลากหลายช่องทางมากขึ้น เช่น รูปแบบ ออนไลน์ เว็บไซด์ แอปพลิเคชัน ทง้ั แบบอา่ นฟรีและเสยี คา่ ใช้จา่ ย เป็นต้น รูปแบบการเปน็ ผ้ปู ระกอบการธุรกจิ ส่ือ : หนงั สือพมิ พ์ รปู แบบการเปน็ เจา้ ของ (แฟรก์ รักเกอร์และเฮอร์เบริต วิลเลียมส์ อ้างจาก มาลี บุญศิริพันธ์) แบง่ ได้ 7 รูปแบบ 1. รูปแบบเจ้าของคนเดียว single ownership เป็นเอกชนบริหารโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ขนาดเล็ก ใชก้ บั หนงั สือพิมพ์ขนาดเล็กเป็นส่วนใหญ่ เจ้าของทาหน้าท่ีเหมือน one stop service คือ ทาหลายหน้าที่ในคนเดียวท้ังบรรณาธิการ ผู้จัดการ และมีอานาจตัดสินใจ เป็นการบริหารแบบ ครอบครัว สมาชิกในครอบครวั รว่ มตัดสินใจ 2. รูปแบบหุน้ สว่ นหรือกลุ่มบุคคล partnership/group ownership มีต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป ใน รปู บรษิ ทั หรือหนุ้ สว่ นหุ้นส่วนทุกคนสามารถแสดงความคิดเหน็ รว่ มกันและมคี วามรับผดิ ชอบร่วมกัน 3. รูปแบบบริษัทจากัด limited company ownership ตั้งแต่ 3 คนข้ึนไปจดทะเบียนเป็น นิติบุคคลเพื่อประกอบกิจการร่วมกัน แบ่งทุนเป็นหุ้นท่ีมีมูลค่าเท่า ๆกัน มีความรับผิดชอบตามมูลค่า หุ้นที่ถือ รูปแบบนี้เป็นท่ีนิยมเพราะ จากัดความรับผิดชอบตามฐานะการลงทุน ส่วนใหญ่เจ้าของ หนังสือพิมพ์มักถือหุ้นเกินร้อยละ 51 เพื่อให้มีอานาจควบคุมนโยบายการบริหารงาน เช่น บ.วัชรพล นสพ.ไทยรัฐ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 69 4. รูปแบบลูกโซ่หรือเครือข่าย chain/network ownership ลักษณะดาเนินงานภายใต้ นโยบายบริหารของบริษัทแม่ จะเป็นการรวมตัวกันของธุรกิจหนังสือพิมพ์และส่ือประเภทอ่ืน มี วตั ถุประสงคข์ ยายขอบเขตทางธุรกจิ อานาจและนโยบายขนึ้ ตรงสานักงานใหญห่ รือบรษิ ทั แม่ 5. รูปแบบธุรกิจข้ามสื่อ cross-media Ownership การรวมกลุ่มธุรกิจสื่อหลายประเภทท่ี ไม่ได้จากัดเฉพาะสอ่ื ใดสื่อหนึ่ง เชน่ เนชั่น มัลติมเี ดีย (หนังสอื พมิ พ์ โทรทัศน์ วทิ ยุ) 6. รูปแบบธุรกิจหลายกิจการ conglomerate ownership การบริหารมีกิจการหรือสินค้า หลากหลายประเภทภายใต้เจ้าของเดยี ว โดยแตล่ ะกจิ การแยกอานาจบริหารออกจากกัน เช่น cp (ทรู อาหาร อสังหาฯ) เป็นผลมาจากอิทธิพลของกระแสทุนเป็นแรงผลักดันให้เกิดการควบรวมซื้อกิจการ สือ่ มวลชน 7. รูปแบบธุรกิจร่วมทุน joint operation ownership ปัจจุบันไม่ค่อยมีการดาเนินธุรกิจ รปู แบบน้มี ากนกั จพบบา้ งในธรุ กิจหนังสอื พิมพข์ นาดเลก็ หรือขนาดกลางท่ีมที ุนจากัด และต้องการลด ตน้ ทุนคา่ ใช้จา่ ยในการผลติ ดว้ ยการใชอ้ ุปกรณร์ ่วมกัน เช่น โรงพิมพ์ แท่นพิมพ์ โดยมีการตกลงแบ่งผล กาไรตามท่ีเห็นชอบร่วมกัน โครงสร้างองคก์ รในธรุ กิจหนังสือพิมพ์ 1. ฝ่ายบรรณาธิการ editorial department รับผิดชอบโดยตรงเก่ียวกับความสมบูรณ์ของ เน้ือหาและข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท่ีจะลงพิมพ์ ฝ่ายบรรณาธิการมักจะจาแนกงานตามสายงานข่าว ประเภทตา่ ง ๆ เรยี กว่า “โตะ๊ \" (โต๊ะ การเมือง โต๊ะตา่ งประเทศ เปน็ ตน้ ) 2. ฝ่ายบริหารจัดการ management department หัวใจสาคัญของธุรกิจหนังสือพิมพ์ รับผิดชอบด้านการจัดการธุรกิจ บริหารการเงินและรายได้ของหนังสือพิมพ์ (รายได้จากขายโฆษณา เป็นรายได้หลักและยังช่วยกาหนด ราคาขายหนังสือพิมพ์ได้เหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่านงานฝ่ายนี้ ครอบคลุมถึงการวางแผนการจัดจาหน่าย วางกลยุทธ์การตลาด การเงินการบัญชี การขายพ้ืนที่ โฆษณา เปน็ ตน้ 3. ฝา่ ยบริหารการผลิต production department รับผิดชอบด้านการจัดพิมพ์หนังสือพิมพ์ สู่ต้นฉบับและพรอ้ มจัดหนา้ พรอ้ มสาหรับการจัดจาหนา่ ยให้ได้อยา่ งตรงเวลา 3.1 กองบรรณาธิการ news/editorial department รบั ผิดชอบต้นฉบับเนอ้ื หา และงานเขยี นทกุ ประเภท แต่ไม่รวมโฆษณา
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 70 3.2 กองการธรุ กจิ /การจัดการ business department ดูด้านการวางแผนต่าง ๆ ทไ่ี ม่เก่ยี วกับเนื้อหา เช่น ด้านบัญชีการจัดสรรงบ (แยกเป็น ฝ่ายโฆษณา ฝ่ายจัดจาหน่าย และฝ่ายรับ พมิ พง์ านพิเศษ) เพื่อเพมิ่ รายไดใ้ ห้หนังสอื พิมพ์ 3.3 กองการตลาดและส่งเสริมการขาย marketing and promotion department เพ่ิมทางเลือกให้ผู้บริโภครับข่าวสารได้มากขึ้น และต้องสรรหากลยุทธ์ต่าง ๆ ดึงดูด ความสนใจผู้อ่าน เช่น การนาเสนอข่าวเด่นหน้า 1 การนากลยุทธ์การตลาดอย่างการลดอัตราค่า สมาชิกมากระตุ้นการขาย 3.4 กองการผลิต mechanical department รับผิดชอบตน้ ฉบับท่ีสมบรู ณ์มาเข้า กระบวนการผลติ เพอื่ จดั พมิ พ์เปน็ รูปเลม่ พรอ้ มขาย 3.5 กองอานวยการ administrative department ดแู ลประสิทธภิ าพการทางาน ทุกหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมายและมีอานาจกาหนดนโยบายหนังสือพิมพ์ พัฒนาบุคลากร ได้แก่ เจา้ ของหรือผู้บริหารหนงั สอื พิมพ์ การบรหิ ารธรุ กิจหนังสอื พิมพ์ ธุรกิจหนังสือพิมพ์ไม่มองเพียงตลาดผู้บริโภค (ผู้อ่าน) เหมือนธุรกิจอ่ืน ๆ แต่จะต้องให้ ความสาคัญกับตลาดอ่ืน ๆ ด้วย ซ่ึงเป็น แหล่งรายได้ที่สาคัญต่อการอยู่รอดของธุรกิจ ส่วนใหญ่หนี ไมพ่ ้น “กาไร” ดังน้ี 1. ลักษณะเฉพาะของธุรกิจหนังสือพิมพ์ ได้รับการยอมรับว่าเป็น “สื่อแห่งอานาจ\" หล่อ หลอมประชามติหรือใช้สื่อเสริมสร้างอานาจบารมีของตนได้ สะท้อนให้เห็นความเป็นหนังสือพิมพ์ สัมพนั ธก์ ับสถานะ 2 สถานะของหนังสือพมิ พ์ที่เปน็ องคก์ รธรุ กจิ และเป็นสถาบันสาธารณะ 2. ลักษณะเฉพาะของธุรกิจหนังสือพิมพ์ เจ้าของผลิตขึ้นเพื่อจาหน่ายในตลาด แตกต่างจาก สินค้าอื่น ๆ คือ หนังสือพิมพ์มีอายุตามรายคาบท่ีออกขายซึ่ง ค่อนข้างมากเม่ือเทียบกับสินค้าอื่น (ต้องซ้อื อา่ นขา่ วสารทุกวนั เพือ่ ความทนั ต่อเหตกุ ารณ์) ทาให้เจ้าของสินค้าอ่ืนต้องการลงโฆษณาสินค้า ตนอย่างต่อเนื่องเพ่ือเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตลอดยอมจ่ายเงินเพื่อซ้ือพื้นที่โฆษณาในหน้าหนั งสือพิมพ์ ทกุ วัน 3. ต้องมีเงินทุนมากพอที่จะดาเนินการต่อไปได้ ผู้บริหารธุรกิจหนังสือพิมพ์จะเป็นผู้กาหนด ความสมดุลของสถานะองค์กร ธุรกิจและสถาบันสาธารณะ โดยนาเสนอข่าวที่มีผลกระทบกับ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 71 ประชาชน อย่างข่าวเศรษฐกิจ ข่าวการเมือง (ข่าวหนัก) ส่วนเสนอข่าวเบา เพื่อดึงความสนใจกลุ่ม ผอู้ า่ นวงกว้าง เพราะจะไดท้ ากาไรเรอ่ื งขายพ้นื ทีโ่ ฆษณา 4. ภาพรวมธุรกิจหนังสือพิมพ์ต่างจากธุรกิจอื่น ตรงที่ให้ความสาคัญกับตลาดผู้บริโภคและ ตลาดเจ้าของสินคา้ (ธุรกจิ ส่วน ใหญ่สนใจแต่ตลาดผซู้ อ้ื ผูบ้ รโิ ภคอย่างเดียว) 5. ตลาดผู้บริโภค คือให้ความสาคัญกับกลุ่มผู้อ่านเป็นหลัก คือนาเสนอเน้ือหาสอดคล้องกับ ความตอ้ งการและความสนใจของกล่มุ ผู้เปา้ หมาย 6. ตลาดเจ้าของสินค้า บทบาทหนังสือพิมพ์คือเป็นส่ือกลางในการโฆษณา ถือเป็นรายได้ สาคัญในการบริหารธุรกิจหนังสือพิมพ์ ดังนั้นหนังสือพิมพ์ต้องพยายามสร้างยอดขายให้ได้มาก เพื่อ เปน็ สิง่ ใช้จงู ใจใหเ้ จา้ ของสินคา้ ตา่ ง ๆ ซื้อพน้ื ทโ่ี ฆษณาบนหน้าหนังสือพิมพ์ แบบจาลองของเจอร์เกนส์-เมเยอร์ (หนังสือพิมพ์ส่งอิทธิพล 2 รูปแบบ คือ อิทธิพลเชิงสังคม และเชิงพาณิชย์) อธิบาย ชัดเจนถึงความสัมพันธ์ระหว่างช่ือเสียงของหนังสือพิมพ์และความสาเร็จใน เชิงธุรกิจของหนังสือพิมพ์นั่นคือ ผลกาไรสูงสุด ดังนั้นหนังสือพิมพ์ต้องค่อย ๆ บ่มเพาะการยอมรับ ผ่านการนาเสนอเน้ือหาท่ีมีคุณภาพที่จะนาไปสู่อิทธิพลเชิงสังคมของหนังสือพิมพ์ เพื่อสร้างความ ยั่งยืนเรื่องผลกาไรของธุรกิจ เพราะไม่ว่าหนังสือพิมพ์จะเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ตามเทคโนโลยี อยา่ งไร ช่ือเสยี งและการยอมรบั ในตวั หนงั สือยังเปน็ ปัจจยั สาคญั ท่ีทาให้หนงั สือพมิ พ์อยู่รอดต่อไป ต้นทุนการผลิต แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการบริหาร (ต้นทุนการ ผลิตเป็นต้นทุกหลักในการดาเนินธุรกิจหนังสือพิมพ์ คิดเป็นประมาณร้อยละ 70 ของต้นทุนท้ังหมด เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์ น้ายาต่าง ๆ ค่าขนส่ง ขณะที่ต้นทุนบริหารคิดเป็นร้อยละ 30 เช่น ค่าจ้าง เงินเดือน และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด) สิ่งหน่ึงท่ีธุรกิจหนังสือพิมพ์ต้องคานึงถึงคือ หนังสือพิมพ์เป็น ผลิตภณั ฑท์ ีแ่ ตกต่างจากผลิตภัณฑ์อ่ืน ตรงท่ีสินค้าทั่วไปจะตั้งราคาสูงกว่าต้นทุน แต่หนังสือพิมพ์เป็น สนิ ค้าทขี่ ายตา่ กว่าทนุ เพราะต้องหกั รายได้จากสายสง่ อีกประมาณร้อยละ 20 ดังนั้นการควบคุมต้นทุน ผลิตจะช่วยลดช่องว่างราคาขายและต้นทุนได้มากขึ้น (ธุรกิจหนังสือพิมพ์ยังมี แหล่งรายได้ชดเชย โดยเฉพาะรายไดจ้ ากการโฆษณา) แหล่งที่มาของรายได้ การจัดจาหน่ายหนังสือพิมพ์จากการโฆษณา จากการรับจ้างพิมพ์เชิง พาณิชย์ และยังมีแหล่งรายได้อ่ืน ๆ เช่น จากการสนับสนุนของหนังสือพิมพ์ในต่างประเทศ หรือ รายได้จากการบริจาคของผู้อ่านที่ สนับสนุนให้หนังสือพิมพ์ดารงอยู่ ความเจริญก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้หนังสือพิมพ์มีช่องทางใหม่ ๆ ในการสร้างรายได้ เช่น รายได้จากการ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 72 ให้บริการข่าวสารทาง SMS และช่องทางอ่ืน ๆ การจาแนกหนังสือพิมพ์ตามรูปแบบการจัดจาหน่าย โดยจาแนกให้เห็นท่ีมาของรายได้ของหนังสือพิมพ์เพ่ือขายและแจกฟรี ขึ้นอยู่กับรูปแบบการ บรหิ ารธุรกจิ ของหนงั สอื พิมพ์นนั้ ๆ เปน็ หลัก ทิศทางและอนาคตของธรุ กิจหนังสือพมิ พ์ ทิศทางและอนาคตของธุรกิจหนังสือพมิ พ์ จาแนกได้ 5 รูปแบบ ดงั น้ี 1. การหลอมรวมส่ือและรูปลักษณ์ใหม่ ๆ การเติบโตของอุปกรณ์แท็บเล็ตและสมาร์ตโฟน ส่งผลให้ประชากร จานวนมากใช้เวลามากข้ึนในการเข้าถึงข่าวจากอุปกรณ์เคล่ือนท่ี mobile devices รวมถึงความความตอ้ งการเน้อื หาท่ดี ีผ่านอุปกรณเ์ คล่ือนที่กเ็ พ่ิมสูงข้ึน - การนาเสนอเน้ือหาอย่างมีนวัตกรรม innovative storytelling คือ ผู้จัดพิมพ์ข่าว ส่วน ใหญ่เร่มิ คดิ ถึงการนาเสนอเนอ้ื หาใน รูปแบบของมลั ตมิ เี ดียท่มี ี ท้งั ข้อความ ภาพนง่ิ ภาพเคลอื่ นไหว - ดิจิทัลคอนเทนต์ท่ีต้องจ่ายเงิน paid digital content อาจไม่สามารถแทนที่รายได้จาก โฆษณาในหนังสือพิมพ์ท่ีลดลงไดแ้ ตด่ จิ ิทลั คอนเทนตท์ ่ีต้องจ่ายเงินเป็นแหล่งรายได้สาคัญ ท่ีมีแนวโน้ม กลายเป็นมาตรฐานไปท่วั โลก - โซเซียลมีเดีย social media ใช้เพ่ือหาข้อมูลและกระจายข่าว โดยเฉพาะคนหนุ่มสาวใช้ ตดิ ตามขา่ วและเปน็ เรื่องปกตทิ ผ่ี สู้ อื่ ข่าวจะทวตี ข้อความเก่ียวกับข่าวนั้น ๆ - ข้อมูลและตัวช้ีวัด data and metrics วิเคราะห์เพ่ือสร้างความเข้าใจถึงลักษณะนิสัยของ ผ้อู ่านและเพอ่ื ดคู วามสอดคล้อง ระหวา่ งผอู้ ่านกับเนือ้ หานั้น ๆ ว่าเปน็ อยา่ งไร ท้ังหมดนี้สะท้อนว่าเมื่อเทคโนโลยีเร่ิมเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ทาให้เกิดการผลักดันให้เกิด รูปลักษณ์ใหม่ๆของหนังสือพิมพ์ (รูปแบบหรือช่องทางการนาเสนอเนื้อหาจะเปล่ียนแปลงไป) หัวใจ สาคัญของความเป็นสื่อวารสารศาสตร์มุ่งเน้นเสนอข้อเท็จริง สื่ออินเทอร์เน็ตต่อธุรกิจหนังสือพิมพ์คือ การก้าวจากหนังสือพิมพ์กระดาษสู่หนังสือพิมพ์ไร้กระดาษ online newspaper มีท้ังให้บริการฟรี และการเรยี กเก็บเงนิ ค่าบริการออนไลน์ หรือผสมผสานท้ัง 2 แบบเข้าด้วยกัน ส่ิงสาคัญท่ีต้องระวังคือ ถ้าไม่มีการเก็บค่าบริการออนไลน์แปลว่า หนังสือพิมพ์จะมีรายได้จากโฆษณาเพียงช่องทางเดียวซึ่ง อาจสง่ ผลเสยี ตอ่ การบรหิ ารธรุ กิจหนังสือพิมพไ์ ด้ ธุรกิจหนังสือพิมพ์ยังใช้ประโยชน์จากส่ือใหม่ เช่น ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก โมบายแอปพลิเคช่ัน เป็นช่องทางสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างนักข่าวและผู้รับสารด้วยการให้นักข่าวโพสต์ข่าวต่าง ๆ เป็น
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 73 รูปแบบหน่ึงของการสร้างแฟนคลับ เพ่ือให้ผู้อ่านเกิดความจงรักภักดี loyalty ในระยะยาวต่อตัว แบรนด์หรือนักขา่ วและองคก์ รทสี่ งั กดั 2. การเปล่ียนแปลงด้านขนาด ใช้ลดต้นทุนการผลิตได้มาก เร่ิมปรับให้มีขนาดเล็กลง (แท็บ ลอยด)์ จากขนาดบรอดชีท ซ่งึ ในมาเลเซยี และองั กฤษ ไดร้ บั ความนิยมสูงมาก 3. การพัฒนาการของหนังสือพิมพ์แจกฟรี มุ่งเจาะตลาดกลุ่มใหม่ แต่จุดอ่อนที่น่ากลัวของ หนังสือพิมพ์แจกฟรีคือการพ่ึงรายได้จากโฆษณาทางเดียว ปัญหาเศรษฐกิจอาจทาให้หนังสือพิมพ์ ดาเนินกิจการตอ่ ไปไม่ได้ถึงจานวนหนังสือพิมพ์แจกฟรีจะลดลงในช่วงไม่ก่ีปีท่ีผ่านมา แต่หนังสือพิมพ์ แจกฟรีกย็ งั มีความสาคัญในหลายตลาด โดยเฉพาะใน ยุโรป (มีการปรับตัวจากหนังสือพิมพ์บรอดชีท แท็บลอยด์ เป็นแบบแจกฟรเี พือ่ ลดต้นทนุ ผลิต) 4. การหาพันธมิตรในการดาเนินธุรกิจ เพื่อลดต้นทุนการผลิต เช่น แบ่งปันข้อมูลร่วมกัน ไปจนถึงการร่วมมือ ผลิตหนังสือพิมพ์ของแต่ละฝ่าย ยังไงก็ต้องระวังการแชร์ข้อมูลเรื่องความ น่าเช่ือถือ (ต้องตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งข้อมูล โดยตรงอีกที่ original source) การแสวงหา พนั ธมติ รไม่จาเปน็ ตอ้ งกลมุ่ ธรุ กจิ เดยี วกันก็ได้ 5. การปรบั ตวั จากสื่อหนังสือพิมพ์สู่ธุรกิจอื่น ๆ ธุรกิจหนังสือพิมพ์เป็นเจ้าของคอนเทนต์ข่าว อยู่แล้ว จึงไม่ต้องแสวงหาข้อมูลใหม่แค่นาคอนเทนต์ข่าวเหล่าน้ันมาปรับเพื่อนาเสนอในแพลตฟอร์ม ใหม่ ๆ สรปุ พัฒนาการอันก้าวกระโดดของเทคโนโลยีในยุคนี้ส่งผลให้เกิดกระแสเช่ียวกรา ดของสื่อ ออนไลน์ ท่ีพัดพาเอาหลายส่ิงหลายอย่างเข้ามาให้เราได้เรียนรู้ ทาความรู้จัก เข้าใจ ขณะเดียวกัน กระแสดังกลา่ วทาใหบ้ างสง่ิ ถูกพดั หายไปจากสังคม ภาพสะท้อนความทันสมัยของเทคโนโลยีท่ีเห็นชัด คือ พฤติกรรมของผู้อ่านหน้าเดิมเปลี่ยนไป จากท่ีเคยเข้าร้านหนังสือเพ่ือซ้ือสิ่งพิมพ์ที่อุดมไปด้วย ข่าวสาร หรือสาระอันเป็นประโยชน์ สู่การใช้ปลายนิ้วสัมผัสหน้าจออุปกรณ์ส่ือสารเพ่ือค้นหาข้อมูล ข่าวสารตามหน้าฟีดจากแอปพลิเคชั่นต่างๆ แทน สิ่งที่ตามมาคือ สื่อสิ่งพิมพ์หลายหัวถูกลดทอน ความสาคัญลง กระท่ังหลายฉบับถูกกลืนหายไปในสังคมดิจิทัล ข่าวคราวของการเดินทางครั้งสุดท้าย ของสื่อส่ิงพิมพ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงนิตยสาร ท่ีข่าวการประกาศปิดตัวมีให้เห็นบ่อยครั้งจนเกือบ กลายเป็นเรื่องชินตาไปแล้ว และปล่อยนิตยสารปัจฉิมฉบับไว้อาลาแผงหนังสืออย่างน่าเสียดาย การ
74 ปดิ ตัวของบรรดาส่อื ส่งิ พมิ พ์ ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื พิมพ์ หรือนติ ยสาร น่าจะมาจากปัญหาที่หลายบริษัท ประสบพบเจอในห้วงยามนี้ ท่ีไม่แตกต่างกันมากนัก ซึ่งเป็นเรื่องของการขาดดุลระหว่างรายได้และ รายจ่าย ท้ังนี้นับต้ังแต่ส่ือออนไลน์เริ่มมีบทบาทสาคัญในสังคมไทย งบประมาณและเม็ดเงินโฆษณา ของหลายบริษัทถูกจัดสรรใหม่ และให้ค่ากับสื่อออนไลน์มากขึ้น หนังสือพิมพ์จึงต้องนาเสนอ ข้อเทจ็ จริงทเี่ ป็นประโยชน์กับสาธารณชน ส่วนในมมุ องคก์ รธรุ กจิ ก็จะสมั พนั ธก์ ับการดาเนินกิจการให้ มีกาไรเพียงพอท่ีจะดาเนินการต่อไปได้ ซ่ึงรายได้สาคัญของธุรกิจหนังสือพิมพ์มี 2 แหล่งคือ รายได้ จากการจัดจาหน่าย และรายได้จากการโฆษณา ส่วนพัฒนาการของหนังสือพิมพ์ในปัจจุบันทาให้เกิด หนังสือพิมพ์แจกฟรีทาให้เป็นรายได้ของหนังสือพิมพ์ประเภทมาจากการโฆษณาเพียงอย่างเดียว ถ้า พึ่งรายได้จากโฆษณามากย่ิงมีความอ่อนไหวในการดาเนินธุรกิจมากเท่าน้ัน หากเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยเม็ดเงินในการโฆษณาอาจลดลง เพราะผู้โฆษณาหันไปหาสื่ออ่ืนท่ีมีประสิทธิภาพและได้ผล มากกว่า ความก้าวหน้าด้านด้านเทคโนโลยีการสื่อสารส่งผลให้เจ้าของธุรกิจหนังสือพิมพ์ต้องเตรียม รับมือความเปลี่ยนแปลง ปัจจุบันมีส่ือใหม่ ๆ เกิดข้ึนมากส่งผลให้ช่องทางนาเสนอข่าวเพ่ิมข้ึน ทาให้ รูปแบบการอ่านหนังสือพิมพ์มีความหลากหลายยงิ่ ข้ึน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
75 คาถามทา้ ยบทที่ 5 1. สือ่ ส่งิ พมิ พ์ มอี ะไรบ้าง 2. กระบวนการในการผลติ สิง่ พมิ พเ์ ป็นอยา่ งไร 3. ประเภทของธรุ กจิ ส่งิ พิมพ์มอี ะไรบ้าง 4. ประเภทของหนังสือพิมพม์ ีอะไรบ้าง 5. หนงั สือพมิ พค์ ุณภาพหมายถงึ อะไร 6. รายได้จากโฆษณาในหนา้ หนังสือพิมพ์ คิดราคาอย่างไร 7. การนาขา่ วจากหนา้ หนังสือพมิ พ์มาโพสต์ในส่ือออนไลนเ์ หมาะสมหรือไม่ 8. รปู แบบของส่งิ พิมพใ์ นปัจจุบันมลี กั ษณะอย่างไร 9. รายไดส้ าคญั ของธรุ กจิ หนังสอื พิมพม์ าจากแหลง่ ใด 10. บรรณาธิการ คอื ใคร มีบทบาทอย่างไรในส่ือสิ่งพิมพ์ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 76 บทท่ี 6 ธรุ กจิ ภาพยนตร์ ย้อนหลังไปกว่าร้อยปี ภาพยนตร์ถูกมองว่าเป็น “รูปภาพที่เคลื่อนไหวได้\" จนกระท่ัง ภาพเคล่ือนไหวกลายเป็นธุรกิจเป็นคร้ังแรกในวันท่ี 28 ธันวาคม 1895 (พ.ศ.2438) โดยสองพ่ีน้อง ตระกูลลูมิแยร์ (the Lumiere brothers) ได้จัดการฉายภาพยนตร์ที่ช้ันใต้ดินของ The Grand Cafe ในปารีส และสงิ่ สาํ คัญคอื ไดจ้ ัดเกบ็ ค่าเขา้ ชมการจัดฉายภาพยนตร์เป็นครั้งแรก ภาพยนตร์ได้รับความ นิยมและเผยแพร่ไปท่ัวโลกอย่างรวดเร็ว ราคาค่าชมไม่แพงและมีเน้ือหาเข้าใจง่าย และภาพยนตร์ได้ จัดฉายในประเทศไทยเป็นคร้ังแรก (นําเข้ามาโดยนักฉายหนังเร่) เมื่อวันท่ี 10 มิถุนายน 2440 ที่โรง ละครหม่อมเจ้าอลังการ กรุงเทพมหานคร และอีก 8 ปี ประเทศไทยก็มีโรงภาพยนตร์ถาวรครั้งแรก ภาพยนตร์กลายเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีทุนมหาศาล มีการดูแลควบคุมและมีระบบระเบียบใน การทาํ งานชัดเจนอย่างท่เี หน็ ทกุ วันนี้ ภาพยนตร์ : ศิลปะ VS อตุ สาหกรรม ภาพยนตรใ์ นฐานะศลิ ปะ ภาพยนตร์เป็นงานท่ีรวมศาสตร์และศิลป์หลายแขนงไว้ด้วยกัน ทั้งเรื่องภาพ การจัด องค์ประกอบศิลป์ การออกแบบเสื้อผ้า การเขียนบทภาพยนตร์ (ที่ต้องเขียนโดยอาศัยความรู้ทาง ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ฯลฯ) การแสดงอารมณ์ด้วยสีหน้า ท่าทาง การทําภาพด้วยเทคนิคพิเศษ การแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ การสร้างฉาก ฯลฯ ท่ี ประกอบกันเป็นภาพยนตร์หนึ่งเร่อื ง และยงั ได้รับการยกย่องให้เปน็ “ศิลปะแขนงที่ 7” ภาพยนตรใ์ นฐานะอุตสาหกรรม การนิยาม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ creative economy ไว้ว่า กระบวนการหรือกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ทใ่ี ชพ้ ื้นฐานของสนิ ทรัพย์ทางวัฒนธรรม cultural asset-based ร่วมกับความคดิ สร้างสรรค์ creativity นวัตกรรม innovation หรือ เทคโนโลยี technology ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 77 ที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ commercialization หรือคุณค่าเพ่ิมทางสังคม จึงอยู่ใน หมวดอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ creative industry ธุรกิจภาพยนตร์ถือเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ผลิตสินค้าท่ีมีคุณค่าและมูลค่าในเชิง วัฒนธรรม จากความคิดสร้างสรรค์ท่ีเป็นบุคลิกเฉพาะตัว และเทคนิคการผลิตท่ีแปรผันตามศักยภาพ ของแต่ละทอ้ งถิ่น การผลิตสินค้าวัฒนธรรมนเี้ ป็นสิง่ ทห่ี ลายประเทศให้ความสนใจและใช้เป็นเครื่องมือ พัฒนาเศรษฐกิจ เพราะสามารถสร้างเงิน งาน และรายได้ให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่าง มากมาย ธุรกิจภาพยนตร์ หมายถึงการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับห่วงโซ่การผลิต ภาพยนตร์ เช่น (ในส่วนการผลิต ภาพยนตร์ production การถ่ายทํา การติดต่อ การเช่าอุปกรณ์) (ส่วนการจัดจําหน่ายและนําเข้า distribution การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การซื้อลิขสิทธ์ิ การ ผลิตแผ่นซีดีและวีซีดี ดีวีดี Blu-ray) และส่วนการจัดฉายและจัดแสดงภาพยนตร์ exhibition อย่าง การบรหิ ารงานโรงภาพยนตร์ เปน็ ตน้ ) โครงสร้างอตุ สาหกรรมภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ไทยไม่ใช่สินค้าประเภทปัจจัย 4 ที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต แต่เป็นสินค้า ประเภทบริการด้านความบันเทิง ที่มีอายุสั้น มีลักษณะแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมและยุคสมัย ภาพยนตร์แต่ละเร่ืองถือเป็นสินค้าที่มีบุคลิกฉพาะตัว ไม่มีใครผลิตหนังเรื่องเดิมซํ้าแบบเดิม ถ้าเป็น เรื่องเดียวกันก็จะนํามาสร้างใหม่ re-make มีการดัดแปลงบทภาพยนตร์ เปล่ียนผู้กํากับ นักแสดง ฉาก ทีมงาน เทคนิคการถ่ายทํา ฯลฯ ภาพยนตร์เรื่องหน่ึงจึงถือเป็นสินค้าช้ินเดียวในโลกก็ว่าได้ ภาพรวมของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ต้นทางของธุรกิจจนถึงปลายทางมีการแบ่งโครงสร้าง อุตสาหกรรมภาพยนตร์เปน็ กลุ่มดังนี้ 1. ธุรกิจการสร้างภาพยนตร์ production – การสรา้ งภาพยนตร์รวมไปถงึ การแสดงให้เห็น ว่าการไดม้ าซึ่งภาพยนตรเ์ รื่องหน่งึ น้ันจะ มีผ้ปู ระกอบกิจการและกจิ กรรมเข้ามาดงั นี้ ขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ ประกอบด้วย 4 ข้นั ตอนหลักคือ 1) การพฒั นาโครงการสรา้ งภาพยนตร์ development มี 3 ส่ิงท่ีสําคญั คือ บท ภาพยนตร์ เงินทนุ และทมี งานหลัก ซงึ่ อธิบาย ได้ดงั นี้
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 78 - ผู้อํานวยการสร้างฝุายบริหาร executive producer ผู้ควบคุมและบริหาร องค์กร และทําหน้าท่ีวางแผนการสร้างหนัง เลือกบทหนัง โปรดิวส์เซอร์ ผู้กํากับ หรือนักแสดง เรียกว่า “นายทนุ ” - ผู้อํานวยการสร้าง/โปรดิวเซอร์ ผู้รับนโยบายการทํางานจากนายทุน ทํา หน้าที่ควบคุมดําเนินงานการสร้างงานภาพยนตร์ ในแง่การผลิตผลงานตั้งแต่ต้นจนจบ (โดยเน้นหนัก ด้านธุรกจิ ) เป็นผูป้ ระสานงานระหวา่ งเจา้ ของเงนิ และผู้ใชเ้ งิน(ผกู้ าํ กบั ) - ผู้กํากบั หนงั ผคู้ วบคุมดแู ลการสร้างภาพยนตร์ในทุกด้านของศิลปะและการ สร้างสรรค์ รับจ้างจากนายทุนหรือโปรดิวเซอร์ มีหน้าท่ีมีความบทภาพยนตร์ ทํางานกับโปรดิวเซอร์ ควบคมุ และกํากบั ทมี งานทกุ คนให้ผลติ ภาพยนตร์ไดต้ รงตาม ความต้องการและเอกลักษณส์ ่วนตวั 2) การเตรียมงานก่อนการถ่ายทํา pre-production เช่น การสํารวจสถานที่ถ่ายทํา การตดิ ต่อเชา่ อปุ กรณก์ าร ถ่ายทําและบริษทั ตัดตอ่ การจ้างทีมงานการจัดตารางการถา่ ยทาํ เปน็ ตน้ 3) การถ่ายทํา production กระบวนการออกกองถ่ายทําภาพยนตร์ เพื่อให้ได้ ภาพยนตร์ตามบททีเ่ ขยี นไว้ 4) หลังการถ่ายทํา post-production การล้างฟิล์ม การตัดต่อภาพและเสียง การ ทําเสยี งประกอบ การใสเ่ ทคนคิ พเิ ศษ เป็นต้น 2. ระบบการสร้างภาพยนตร์ มีรูปแบบค่อนข้างแน่นอนคือ การสร้างภาพยนตร์ระบบ สตูดิโอ และการสร้างภาพยนตร์ ระบบอิสระ - การสร้างภาพยนตรร์ ะบบสตดู ิโอ studio filmmaking - การสร้างภาพยนตร์โดยบริษัทภาพยนตร์ขนาดใหญ่ สร้างแบบ ครบวงจร คือ จัดสรรงบประมาณการสร้างได้เอง มีทีมงานของตัวเองครบทุกฝุาย (โปรดิวเซอร์ ผู้กํากับ ผู้เขียนบท นักแสดง ผู้กํากับ เป็นต้น) มีการผลิตเป็นระบบอุตสาหกรรม ถือเป็นรูปแบบการผลิตขนาดใหญ่ เน้น สร้างหนังที่มีเนื้อหาตามกระแส ของตลาดเพ่ือมุ่งเน้นการทํากําไรให้บริษัท ทีมงานจ้างมาตามความ ชาํ นาญเฉพาะดา้ น แบง่ หนา้ ทที่ ํางานชดั เจน ระบบนี้มี การทาํ งานในลกั ษณะผู้บริหารกําหนดนโยบาย ภาพรวมในการสร้างภาพยนตร์ของบริษัท มอบหมายให้โปรดิวเซอร์หาโครงการภาพยนตร์ (ท่ี สอดคลอ้ งกบั นโยบายของบริษัท) นําเสนอผบู้ ริหาร ทํางานรว่ มกบั ผู้กาํ กบั หนังในการพัฒนาบทหนังใน แนวทางท่ีต้องการจนได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร จากน้ันผู้กํากับและโปรดิวเซอร์จะรวบรวมทีมงาน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 79 สําหรับการถ่ายทํา เช่น สหมงคล มีผู้บริหาร (เจ้าของทุน)คือ “เส่ียเจียง” ทําหน้าท่ีอํานวยการสร้าง หนังเองหรือมอบหมายใหบ้ คุ คลอื่นกํากบั รวมถึง คดั เลือกนกั แสดง “เรียกคนด\"ู เปน็ ต้น - การสรา้ งภาพยนตร์ระบบอิสระ independent filmmaking - เรียกวา่ “หนังอินดี้ หนังนอกกระแส หนังทุนตํ่า ฯลฯ” สร้างโดยกลุ่มผู้สร้างอิสระ ไม่มีสังกัด มีท้ังผู้ที่ผลิตหนังเพ่ือการค้า และผู้ผลติ แบบไม่แสวงหาผลกําไร มีขนาดการผลิตที่ค่อนข้างเล็ก มีทีมงานน้อยคนและอาจไม่ได้แบ่ง หน้าท่ีกันอย่างชัดเจน จุดเด่นของภาพยนตร์แนวน้ีอยู่ท่ีเน้ือหาและรูปแบบการ นําเสนอที่แปลก แหวกแนว สะท้อนความคดิ และความตอ้ งการของผู้สรา้ งมากกว่าจะอิงความต้องการของตลาด มักจัด ฉายในโรงภาพยนตร์ท่ีไม่ใชเ่ พ่อื การคา้ เช่น พพิ ิธภัณฑ์ แกลเลอร่ีศิลปะ และมหาวิทยาลัยหรือสถาบัน ส่งเสรมิ ศิลปวฒั นธรรม เป็นต้น รปู แบบการหาเงนิ ของการสร้างภาพยนตรร์ ะบบอิสระมีดงั นี้ 1. การเจรจาธุรกิจกับเจ้าของเงินทุนผู้อํานวยการสร้างฝุายบริหาร/ผู้บริหารบริษัท ภาพยนตร์ executive producer ถา้ เจ้าของทุนพอใจกไ็ ดร้ ับอนุมตั ิงบประมาณในการสรา้ ง 2. ผ้กู ํากบั หรอื โปรดวิ เซอร์ (ทมี่ บี ทภาพยนตร์อยู่แล้ว)ลงทุนเอง เพราะโอกาสคืนทุน และทํากําไรมีน้อย (เนื้อเร่ืองอาจไม่เป็นที่นิยมของผู้ชมในวงกว้าง หรือได้รับเงื่อนไขให้ปรับปรุงบท ดังน้ันผู้ที่ต้องการความอิสระในการสร้างสรรค์ผลงานส่วนหนึ่งจึง ตัดสินใจลงทุนเอง เพื่อไม่ต้องถูก ควบคุมหรือดัดแปลงเนือ้ หาภาพยนตร์ 3. ผกู้ ํากบั หรือโปรดิวเซอร์เขียนโครงการสร้างภาพยนตร์ film proposal package (บทภาพยนตร์ แผนการทํางาน แผนการ ใช้จ่ายงบประมาณ แผนธุรกิจ รายช่ือทีมงานหลัก ฯลฯ) เพ่ือนําไปขอทุนจากรัฐบาลหรือองค์กรศิลปะที่ไม่แสวงหากําไร ทุนเหล่าน้ีส่วนใหญ่เป็นทุนให้เปล่า จุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เช่น ปี2553 เคยจัดสรรงบกว่า 200 ล้านบาท เป็นทุนสนับสนุนทําภาพยนตร์ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 โดยสํานักงานศิลปวัฒนธรรม ร่วมสมัย กระทรวงวฒั นธรรม เป็นตน้ 4. การขอทุนจากผู้ชมภาพยนตร์โดยตรงด้วยวิธี “crowdfunding” หรือการระดม ทุนสาธารณะโดยผู้กํากับหรือโปรดิวเซอร์ที่มีบทหนังแล้ว นําเสนอ project หนังทางเว็บไซด์อย่าง IndieGoGo และ Kickstarter ผู้ชมที่สนใจจะร่วมทุนเรื่องนั้น ๆ การสร้างหนังอินด้ีที่ไม่แสวงหากําไร น้ัน ทําให้ผู้ผลิตในระบบนี้มีข้อจํากัดในการสร้างสรรค์น้อยมากหรือแทบไม่มีเลย เป็นท่ีมาของคําว่า “ภาพยนตร์อิสระ\" น่ันเอง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 80 3. ธรุ กิจทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การสร้างภาพยนตร์ การสร้างภาพยนตร์เป็นข้ันตอนท่ีใช้เวลาหลายเดือนหรือเป็นปี ต้องอาศัยความร่วมมือจาก หลายฝุาย มีผู้ประกอบการจํานวนมากเข้ามาเกย่ี วขอ้ ง ดังนี้ - บริษัทผู้ลงทุนสร้างและจัดจําหน่ายภาพยนตร์ไทย ส่วนมากคือสตูดิโอภาพยนตร์ ขนาดใหญ(่ คา่ ยหนงั ) มมี ูลคา่ การตลาดสูงมาก บริษัทเหล่านี้ทําหน้าท่ีครบวงจร (ยกเว้นกระบวนการ จดั ฉายในโรงภาพยนตร์) (เช่น ออกทุนสร้าง ผลิต จําหน่าย รวมถือลิขสิทธ์ิหนังเรื่องนั้น ๆ ด้วย) ค่าย หนงั รายใหญท่ ่ีผลิตหนังปูอนตลาดอย่างสมํ่าเสมอค่อนข้างกระจุกตัวอยู่เพียงไม่ก่ีราย ได้แก่ สหมงคล จีเอ็มเอ็ม ไท หับ M39 และไฟว์สตาร์ ซ่ึงส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 57 เป็นของ GTH (หนังเร่ือง พ่ี มาก..พระโขนง รายได้กว่า 1,000 ล้านบาท) ส่วนสหมงคลร้อยละ 22 จากหนัง 10 เรื่องตามด้วย M39 และไฟว์สตารร์ ้อยละ 8,1 ตามลาํ ดบั - บริษัทดําเนินการสร้างภาพยนตร์ มีช่ือเรียกต่าง ๆ เช่น production house, production Company หรือ production service company หมายถึงบริษัทท่ีรับจ้างผลิต (ถ่าย ทาํ ) ภาพยนตร์ใหบ้ ริษทั สรา้ งภาพยนตรข์ นาดใหญ่ โดยมีทัง้ บรษิ ัทท่ี มสี งั กัด (ผลิตภาพยนตร์ให้ผู้สร้าง เครอื ใดเครอื หน่งึ เท่านั้น) เชน่ บาแรมยู ผลติ ใหส้ หมงคล บ.จอกว้างผลิตในเครือ GTH และยังมีบริษัท รับจา้ งผลติ อสิ ระ รับจ้างถ่ายทําให้ภาพยนตร์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ซีเนมาเชีย (ผลิตใน ประเทศ) ส่วนการรับจ้างผลิตให้บริษัทผู้สร้างหนังจากต่างประเทศนั้นอาจบริการเต็มรูปแบบ คือ ให้บริกา รครบทุ กข้ันตอน การผ ลิต หรือ บริการ ท่ีสนับสนุ นการถ่ ายทํา production support/support service ให้บริการบางส่วนของการถ่ายทํา เช่น จัดหาทรัพยากรส่วนที่บริษัท ผู้สร้างขาด (เม่ือเข้ามาถ่ายในต่างประเทศ) เช่น จัดหาทีมงาน ให้เช่าอุปกรณ์ถ่ายทํา จัดหา สถานท่ี ถ่ายทํา ฯลฯ รวมถึงบริการการประสานงานกับบริษัทเช่าอุปกรณ์การถ่ายทํา บริษัท post- production และ โดยเฉพาะการติดต่อประสานกับหน่วยรัฐในการขออนุญาตเข้ามาถ่ายทํา ภายในประเทศ บริษัทท่ีให้บริการลักษณะนี้ได้แก่ VS Service, Living Films, Indochina Production เปน็ ตน้ - ธุรกิจให้เช่าอุปกรณ์ มีบทบาทสําคัญช่วงถ่ายทํา ผู้ประกอบการธุรกิจนี้เรียกว่า rental house หรือ production equipment rental house เช่น Gear Head, Light House VS Service เป็นต้น ให้เช่าอุปกรณ์การถ่ายทํา เช่น กล้อง อุปกรณ์พยุงกล้อง ไฟ การบันทึกเสียง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 81 ยานพาหนะ อุปกรณ์ถ่ายทําใต้นํ้าและทางอากาศ รวมท้ังบริการจากผู้ชํานาญการ หรือผู้ควบคุม อุปกรณ์ specialists จะมคี ่าใช้จา่ ยต่างหาก - ธุรกิจโรงถ่ายทําภาพยนตร์ ให้เช่าสถานที่ซึ่งสร้างไว้เพ่ือถ่ายทําภาพยนตร์ โดยเฉพาะ มีอาณาเขตครอบคลุมกว้างใหญ่ และลงทุนสูง มีโลเคชั่นให้เลือกเป็นฉากหลายรูปแบบ (บ้านไทย ปราสาท โรงพยาบาล สตูดิโอ ปุา ทุ่งนา ลําคลอง เป็นต้น) มีผู้ประกอบการรายสําคัญ 2 ราย ได้แก่ กันตนา และพร้อมมติ ร และผูป้ ระกอบการดา้ นน้ยี งั ทําธุรกิจท่องเท่ียวควบไปด้วย โดยการ เปิดโรงถา่ ยให้นักทอ่ งเทีย่ วซ้อื บัตรเข้าชม - ธุรกิจในส่วนของข้ันตอนหลังการถ่ายทําภาพยนตร์ มี 2 ธุรกิจหลักท่ีเข้ามา เก่ียวข้องคือ กลุ่มธุรกิจฟิล์มแล็บ film laboratory (ธุรกิจเก่ียวกับการล้างฟิล์มภาพยนตร์และฟิล์ม สําเนาฟิล์มทีล่ า้ งเสร็จแล้ว เพื่อส่งให้โรงภาพยนตร์ในการจัดฉาย) และกลุ่มธุรกิจข้ันตอนหลังการถ่าย หนัง เก่ียวกับการตัดต่อภาพและเสียง หมายถึงการปรับแต่งสี ภาพและเสียง การ ทําเทคนิคพิเศษ ทางภาพและเสียง การบันทึกเสียง การทํา DCP-digital cinema package การทําบทบรรยาย Subtitle และการพากย์ เป็นต้น ปัจจุบันมี 2 รายท่ีให้บริการทั้งฟิล์มแล็บและตัดต่อภาพและเสียง บ.สยามพฒั นาฟลิ ์ม และบ. Technicolor (Thailand) 4. ธุรกิจการจัดจาหน่ายภาพยนตร์ไทยและต่างประเทศ distribution เป็นข้ันตอนท่ี สาํ คัญในห่วงโซก่ ารสรา้ งภาพยนตร์เหมือนเป็นพ่อคา้ คนกลางทีร่ บั สินค้าจากผ้ผู ลติ หรอื โรงงานไปส่งยัง ร้านคา้ ปลีกเพ่ือส่งถงึ ผ้บู ริโภค ธุรกจิ ภาพยนตรม์ กี ระบวนการคลา้ ยกัน สรา้ งหนงั เสร็จกจ็ ะส่งหนังเเบบ ฟิล์มและฮาร์ดดิสก์ (สําหรับการฉายระบบดิจิทัล) ให้ผู้จัด จําหน่าย distributors เพื่อปูอนหนังเข้าสู่ โรงภาพยนตร์ท่ัวประเทศให้ผู้ชมซื้อตั๋วเข้าชม เม่ือหมดระยะการฉายหรือหนังออก จากโรง ผู้จัด จําหน่ายจะขายลิขสิทธ์ิหนังต่อให้ธุรกิจสืบเนื่องต่างๆ เช่น สื่อบันเทิงในครัวเรือน (VCD, DVD, Blu- ray หรือการฉายผ่านโทรทศั นแ์ ละอินเทอร์เน็ต เป็นต้น) ธุรกิจการจัดฉายภาพยนตร์และแสดงภาพยนตร์ exhibition เกิดขึ้นควบคู่กับ ภาพเคลื่อนไหว และถือเป็นแหล่งสร้างรายได้ของผู้ผลิตภาพยนตร์ ประเทศไทยเร่ิมจากการฉายหนัง เร่ของชาวตะวันตกจนนํามาโรงสีมาดัดแปลงเป็นโรงหนัง เรามีโรงหนังถาวรแห่งแรกสร้างโดยชาว ญ่ีปุน และยกระดับสู่ยุคศาลาเฉลิมกรุงจนถึงโรงหนังแบบมัลติเพล็กซ์ ธุรกิจโรงหนังมีพัฒนาการมา ยาวนานและต่อเน่อื งเร่ือยมา
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 82 พฒั นาการของโรงภาพยนตร์ในประเทศไทย ยุค 1 โรงหนังเด่ียว standalone สร้างเป็นอาคารใหญ่แบบถาวร ใช้พื้นที่มาก มีท่ีน่ัง ต้ังแต่ 700-1500 ที่ข้ึนไป แต่มีเพียง 1 จอเท่าน้ัน ฉายได้เต็มที่วันละไม่เกิน 4 รอบ นิยมมากในยุค 2500 เร่ิมขาลงปี 2522 พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป หันมาดูโทรทัศน์มากข้ึนเพราะเครื่องรับราคา ถูกลง ท่ีสาํ คัญคือการเขา้ มาของวีดิทัศน์ เช่น วีดีโอเทป แบบให้เช่าและขาย ทําให้ผู้ชมเลือกดูหนังอยู่ บ้านมากกว่าไปดูทีโ่ รง จึงทําให้โรงหนงั เร่ิมทยอยปดิ ตวั ลง ยุค 2 โรงภาพยนตร์มินิเธียเตอร์ mini-theatre ยุคน้ีโรงหนังจึงมีขนาดเล็กลง จุคนได้ 150-300 ที่น่ัง และมีจํานวนจอฉาย 4-6 จอ ใช้ทุนสร้างตํ่ากว่าสร้างโรงหนังเดี่ยวเพราะมีขนาดเล็ก ใช้การเช่าพ้ืนที่ส่วนหน่ึงในห้างแทน ใช้เวลาคืนทุนเร็ว และทํากําไรได้ในระยะเวลาสั้นกว่าโรงเด่ียว นิยมมากในช่วงปี 2528-2533 ห้างสรรพสินค้าตอบโจทย์ของผู้ชมเพราะยังสามารถอํานวยความ สะดวกอื่นได้ด้วย ยคุ 3 โรงหนงั มลั ตเิ พก็ ซ์ multiplex สามารถพัฒนาจุดอ่อนเร่ืองระบบภาพและเสียงที่ ไมไ่ ด้มาตรฐานของมินิเธียเตอร์ เพราะจุดเด่นคือระบบการฉายควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ ภาพและเสียงคมชัด มีจํานวนจอต้ังแต่ 6-20 จอ จํานวนที่น่ัง 200-1200 ที่ ใช้ระบบออนไลน์ในการ ซ้ือและจองตั๋ว ใชพ้ ้ืนทศี่ ูนยก์ ารค้ารองรับผู้ชมท่ีต้องการทํากิจกรรมอื่น ๆ ด้วย เช่น EVG เจ้าแรกของ ประเทศไทย ธุรกิจโรงภาพยนตร์ การจัดฉายและแสดงภาพยนตร์ถือเปน็ ขั้นตอนสําคัญ ยิ่งมีจํานวนโรงหนังมากโอกาสทําเงินก็ มีมากเท่านั้น ปัจจุบันการเป็นเจ้าของกิจการในทุกห่วงโซ่การผลิตแบบในอดีต หรือผูกขาดทําได้ยาก เพราะธุรกจิ โรงหนงั ตอ้ งใชเ้ งนิ ลงทนุ สูงและผ้บู รโิ ภคบางสว่ นคาดหวงั บริการท่ีมากกว่าแค่การฉายหนัง เช่น ร้าค้า ร้านอาหาร คาราโอเกะ โบว์ล่ิง จึงทําให้โรงหนัง ทยอยปิดกิจการหรือเปล่ียนเป็นโรงหนัง ชัน้ 2 แทน และผปู้ ระกอบการรายใหม่ไมก่ ล้าเข้ามาลงทุน ส่งผลใหธ้ รุ กิจโรงหนังไทยกลายเป็นธุรกิจที่ มีผ้ขู ายน้อยราย หรือมีเพยี ง 2 รายใหญ่ คือ เครือบริษัทเมเจอร์ ซีนเี พล็กซ์ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และ บริษัท เอสเอฟ คอร์เปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ส่วน EGV ได้ควบรวมกิจการกับกลุ่มเมเจอร์และเป็น บริษทั ลูกของเครอื เมเจอร์ด้วย
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 83 มลู ค่าของอุตสาหกรรมภาพยนตรโ์ ลกและประเทศไทย หลายประเทศเล็งเหน็ กระแสความนิยมภาพยนตรซ์ ึ่งเปน็ ผลให้นักธุรกิจมองเห็นโอกาสในการ ดําเนินธุรกิจเก่ียวกับภาพยนตร์ ส่วนหน่ึงเป็นหน่ึงในกลุ่มอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงไทยท่ีมีความสําคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ท่ีมีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงเมื่อ พิจารณาแยกตามกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตราการเติบโตเฉลี่ย สูงสุด 3 อันดับ คือ อุตสาหกรรมแอนิ เมชน่ั อตุ สาหกรรมภาพยนตร์ และอุตสาหกรรมดนตรี ตามลําดับ ส่วนกลุ่มตลาดสูงสุด 3 อันดับ คือ อุตสาหกรรมการแพร่ภาพและกระจายเสยี ง อตุ สาหกรรมภาพยนตร์ และ อตุ สาหกรรมสง่ิ พิมพ์ สําหรับกลุ่มอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงท่ีมีศักยภาพ จากอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม และ ศักยภาพในการขยายตลาด ตลาดต่างประเทศ รวมถึงการสนับสนุนของรัฐบาล ได้แก่ กลุ่ม อุตสาหกรรมภาพยนตร์ โดยตลาดเปาู หมายของ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ได้แก่ กลุ่มประเทศอาเซียน เอเชียตะวันออก ยุโรป และอเมริกา (2553 มีอัตราการจ้างงานใน อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ท้ังด้าน การผลิต การจัดจําหน่าย และการจัดฉาย รวมทั้งส้ินกว่า 32,000 ตําแหน่ง สถานประกอบการ มากกวา่ 8,000 แหง่ รายได้สง่ ออกมูลค่า 1,200 ล้านบาท และสร้างมูลค่าเพ่ิมกว่า 42,000 ล้านบาท คดิ เป็น ร้อยละ 0.4 ของ GDP และยังมีอัตราภาษหี นงั ปเี ดยี วสูงถงึ 2,300 ล้านบาท) อตุ สาหกรรมภาพยนตร์หรอื อตุ สาหกรรมภาพเคลอื่ นไหว อตุ สาหกรรมภาพยนตรห์ รืออตุ สาหกรรมภาพเคลื่อนไหว ประกอบดว้ ยสถาบันเทคโนโลยีและ การค้าของการสร้างภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์บริษัทผลิต, ภาพยนตร์สตูดิโอ,ภาพยนตร์ ,ภาพเคลื่อนไหว , การผลิตภาพยนตร์ , บท , ก่อนการผลิต , การผลิตโพสต์ , เทศกาลภาพยนตร์ , การ จัดจําหน่ายและนักแสดง, ผู้กํากับภาพยนตร์และอื่น ๆ ท่ีทีมงานภาพยนตร์บุคลากร แม้ว่าจะมี ค่าใช้จ่ายในการสร้างภาพยนตร์ก็ตามเกือบจะในทันทีที่ทําให้การผลิตภาพยนตร์มุ่งเน้นไปท่ีการ อปุ ถมั ภข์ อง บรษิ ัท ผ้ผู ลิตท่ียนื หยดั ความกา้ วหน้าในอปุ กรณ์การสรา้ งภาพยนตร์ราคาไม่แพงตลอดจน การขยายโอกาสในการรบั เงินลงทุนจากภายนอกอุตสาหกรรมภาพยนตร์เองทําให้การผลิตภาพยนตร์ อิสระมวี ิวัฒนาการ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 84 ภาพท่ี 6-1 ทีมงานภาพยนตร์ในช่วงกลางศตวรรษท่ี 20 ใน 2019 ทั่วโลกบ็อกซ์ออฟฟิศเป็นมูลค่า 42200000000 $ เมื่อรวมรายได้จากบ็อกซ์ ออฟฟศิ และความบันเทิงภายในบ้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลกมีมูลค่า136 พันล้านดอลลาร์ในปี 2018 ฮอลลวี ดู เปน็ อุตสาหกรรมภาพยนตรร์ ะดับชาตทิ ่เี ก่าแก่ท่ีสุดในโลก อย่างไรก็ตามในปี 2020 จีน กลายเป็นดินแดนบ็อกซ์ออฟฟิศที่ใหญ่ท่ีสุดโดยแซงหน้าอเมริกาเหนือไปท้ังหมด การเปล่ียนแปลงที่ นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้มานานได้รับการเร่งจากการระบาดของโควิด -19 และแนวทางการกักกันท่ี ประสบความสําเร็จของจีนเม่ือเทียบกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศท่ีมีอํานาจเหนือกว่าในตลาด อเมริกาเหนือ ภาพยนตร์อินเดียเป็นชาติอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ใหญ่ท่ีสุดในแง่ของจํานวนของ ภาพยนตร์ท่ีผลิตโดยมี 1,813 ภาพยนตร์สารคดีที่ผลิตเป็นประจําทุกปี 2018 ในปี 2554 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ระดับชาติที่มียอดขายต๋ัวรายปีสูงสุดท่ัวโลกคือโรงภาพยนตร์อินเดียที่ มี ยอดจําหนา่ ยต๋ัว3.5 พนั ลา้ นใบตามมาด้วยฮอลลวี ดู ท่ี ขายตัว๋ ได2้ .6 พนั ลา้ นใบ อตุ สาหกรรมภาพยนตรส์ มยั ใหม่ ตลาดการแสดงท่ัวโลกมีบ็อกซ์ออฟฟิศ42.2 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2019 สามอันดับแรก ของทวีป / ภูมิภาคตามบ็อกซ์ออฟฟิศรวมคือเอเชียแปซิฟิก17.8 พันล้านเหรียญสหรัฐสหรัฐและ แคนาดา11.4 พันล้านเหรียญสหรัฐยุโรปตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือกับสหรัฐ $ 10300000000 ณ ปี 2019 การตลาดที่ใหญ่ท่ีสุดโดยบ็อกซ์ออฟฟิศอยู่ในการส่ังซื้อลดลง, สหรัฐอเมรกิ า, อนิ เดีย , จนี , ญป่ี ุน , เกาหลใี ต้ , สหราชอาณาจกั รและฝรัง่ เศส ณ ปี 2019 ประเทศที่
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 85 มจี ํานวนมากทสี่ ุดของฟิลม์ โปรดกั ชน่ั เปน็ อนิ เดีย , ไนจเี รีย , และสหรัฐอเมริกา ในยุโรปศูนย์กลางการ ผลติ ภาพยนตร์ท่ีสาํ คญั คอื อติ าลี ฝร่งั เศส เยอรมนสี เปน และสหราชอาณาจักร สหรฐั อเมรกิ า ภาพที่ 6-2 ปูาย Hollywood Sign โรงภาพยนตร์ของสหรัฐอเมริกามักเรียกกันโดยทั่วไปว่าฮอลลีวูดได้มีผลอย่างยิ่งในโรง ภาพยนตร์ท่ัวโลกมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 โรงภาพยนตร์ในสหรัฐอเมริกา (Hollywood) เป็น อุตสาหกรรมภาพยนตร์ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในโลกและยังเป็นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ท่ีใหญ่ที่สุดในแง่ของ รายได้ ฮอลลวี ดู เปน็ จดุ เชอ่ื มต่อหลกั ของอตุ สาหกรรมภาพยนตร์ในสหรฐั อเมริกาโดยมีสิ่งอํานวยความ สะดวกด้านการศึกษาภาพยนตร์ท่ีเป็นที่ยอมรับ เช่นAmerican Film Institute , LA Film School และ NYFA ที่ก่อต้ังขึ้นในพื้นท่ี อย่างไรก็ตามสี่หกหลักฟิล์มสตูดิโอเป็นเจ้าของโดยฝ่ังตะวันออก บริษัท ฟิล์มสตูดิโอท่ีสําคัญของฮอลลีวูดรวมทั้งเมโทรโกลด์วินเมเยอร์ , ศตวรรษท่ี 20 ฟ็อกซ์ และ รูปภาพ Paramount เป็นแหล่งท่ีมาหลักของภาพยนตร์ส่วนใหญ่ที่ประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย์ ในโลก เชน่ เสยี งเพลง (1965), Star Wars (1977) Titanic (1997) และAvatar (2009) ปจั จุบนั สตูดโิ อภาพยนตร์อเมรกิ ันสรา้ งภาพยนตรห์ ลายร้อยเรอ่ื งทุกปีทําให้สหรัฐอเมริกาเป็น หนึ่งในผู้ผลิตภาพยนตร์ท่ีมีผลงานมากท่ีสุดในโลก เฉพาะวอลท์ดิสนีย์ บริษัท - ซึ่งเป็นเจ้าของวอลท์ ดิสนีย์สตูดิโอ - เป็นไปตามอย่างเต็มท่ีในแคลิฟอร์เนียภาคใต้ และในขณะที่Sony Pictures Entertainment มีสํานักงานใหญ่ในคัลเวอร์ซิตีแคลิฟอร์เนีย บริษัท แม่คือSony Corporation ซึ่งมี สํานกั งานใหญอ่ ยทู่ ี่โตเกียวประเทศญี่ปุน ถ่ายมากท่ีสุด และเกิดข้ึนในแคลิฟอร์เนีย , นิวยอร์ก , หลุย เซีย , จอร์เจียและนอร์ทแคโรไลนา ระหว่างปี 2009 ถึง 2015 ฮอลลีวูดทํารายได้อย่างต่อเน่ือง 10,000 ล้านดอลลาร์ (หรือมากกว่าน้ัน) ต่อปี งานประกาศรางวัลของฮอลลีวูด รางวัลออสการ์หรือที่
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 86 รู้จักกันอย่างเป็นทางการในช่ือรางวัลออสการ์จัดข้ึนโดยAcademy of Motion Picture Arts and Sciences (AMPAS) ทกุ ปแี ละในปี 2019 มีการมอบรางวลั ออสการ์มากกวา่ 3,000 รางวัล เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2454 Nestor Film Company ได้ก่อตั้งสตูดิโอภาพยนตร์ถาวร แห่งแรกของฮอลลีวูด สภาพอากาศของแคลิฟอร์เนียอนุญาตให้ถ่ายทําตลอดทั้งปี ในปี พ. ศ. 2455 Universal Studiosได้ก่อต้ังขึ้นโดยการรวม Nestor และ บริษัท ภาพยนตร์อ่ืน ๆ อีกหลายแห่ง รวมถงึ Independent Moving Pictures (IMP) ฝรัง่ เศส ฝรงั่ เศสเปน็ แหล่งกาํ เนิดของภาพยนตรแ์ ละเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลงานท่ีสําคัญหลายอย่างต่อ รูปแบบศิลปะและกระบวนการสร้างภาพยนตร์ การเคลื่อนไหวที่สําคัญหลายอย่างในภาพยนตร์ รวมท้ังนูเวลวากเร่ิมขึ้นในประเทศ เป็นที่สังเกตว่ามีอุตสาหกรรมภาพยนตร์ท่ีแข็งแกร่งเป็นพิเศษ เนื่องจากส่วนหนึ่งมาจากการคุ้มครองท่ีรัฐบาลฝร่ังเศสจ่ายให้ บางครั้งโรงภาพยนตร์ฝร่ังเศสก็ เก่ยี วพนั กับโรงภาพยนตร์ของต่างชาติ กรรมการจากประเทศต่างๆเช่นโปแลนด์ ( Roman Polanski , Krzysztof KieślowskiและAndrzej Żuławski ) อาร์เจนตินา ( Gaspar NoéและEdgardo Cozarinsky ) รัสเซีย ( Alexandre Alexeieff , Anatole Litvak ) ออสเตรีย ( Michael Haneke ) และจอร์เจีย ( Géla Babluani , Otar Ioss) ) มีความโดดเด่นในอันดับต้น ๆ ของภาพยนตร์ฝร่ังเศส ตรงกันข้ามบางกรรมการฝรั่งเศสได้มีการประกอบอาชีพในประเทศอื่น ๆ เช่นLuc Besson , ฌาค Tourneur หรือฟรานซสิ Veber ในสหรฐั อเมริกา อีกองค์ประกอบหนึ่งที่สนับสนุนข้อเท็จจริงนี้ก็คือปารีสมีโรงภาพยนตร์ที่มีความหนาแน่นมากท่ีสุดใน โลกโดยวัดจากจํานวนโรงภาพยนตร์ต่อประชากรและในโรงภาพยนตร์ \"ใจกลางปารีส\" ส่วนใหญ่ ภาพยนตรต์ า่ งประเทศซง่ึ จะถูกแยกออกเปน็ \" บ้านศิลปะ \"โรงภาพยนตร์ในท่ีอื่น ๆ จะแสดงควบคู่ไป กับผลงาน\" กระแสหลัก \" Philippe Binant เริ่มฉายเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นการ ฉายภาพยนตร์ดิจิทลั ครง้ั แรกในยโุ รปด้วยเทคโนโลยี DLP CINEMA ทพ่ี ัฒนาโดยTexas Instruments ในปารีส ปารีสยังมีCité du cinémaซ่ึงเป็นสตูดิโอใหญ่ทางตอนเหนือของเมืองและ Disney Studio ซ่ึงเป็นสวนสนุกที่อุทิศให้กับโรงภาพยนตร์และสวนสนุกแห่งท่ีสามที่อยู่ใกล้เมืองหลัง Disneyland และ Parc Asterix ในปี 2558 ฝร่ังเศสมีการผลิตภาพยนตร์สารคดียาว 300 เรื่องที่ทําลายสถิติ [17]ภาพยนตร์ ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรมีเพียง 44.9% ของจํานวนการรับเข้าทั้งหมดในปี 2014 ซ่ึง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 87 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากความแข็งแกร่งทางการค้าของการผลิตในประเทศซึ่งคิดเป็น 44,5% ของการ รบั เข้าในปี 2014 (35.5% ในปี 2015; 35.3% ในปี 2016 ) ในช่วงกลางทศวรรษ 2000 อุตสาหกรรม ภาพยนตรข์ องฝร่งั เศสไดร้ บั การอธบิ ายวา่ \"ใกล้เคียงกับความเป็นตัวของตัวเองมากกว่าประเทศอ่ืน ๆ ในยุโรปโดยฟ้ืนตัวได้ประมาณ 80-90% ของงบประมาณของพวกเขาในรายได้ที่เกิดจากตลาดใน ประเทศ\" ในปี 2018 ภาพยนตรฝ์ รัง่ เศสมีบอ็ กซอ์ อฟฟิศต่างประเทศท่ี 237 ล้านยูโรโดยมีผู้เข้าชม 40 ล้านคน (ลดลง 52% จากปี 2017) โดยอิตาลเี ปน็ ตลาดตา่ งประเทศอันดบั ตน้ ๆ จีน โรงภาพยนตร์ของจีนเป็นหนึ่งในสามหัวข้อประวัติศาสตร์ท่ีแตกต่างของภาษาจีน โรง ภาพยนตร์ร่วมกับโรงภาพยนตร์ของฮ่องกงและโรงภาพยนตร์ของไต้หวัน โรงภาพยนตร์เปิดตัวใน ประเทศจีนในปี พ.ศ. 2439 และภาพยนตร์จีนเร่ืองแรกชื่อ Dingjun Mountainสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2448 โดยมีศูนย์กลางอยู่ท่ีเซี่ยงไฮ้ในทศวรรษแรก ประเทศจีนเป็นที่ต้ังของสตูดิโอภาพยนตร์ท่ีใหญ่ ท่ีสุดในโลก Hengdian World Studiosและในปี 2010 มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ใหญ่เป็นอันดับ สามจากจาํ นวนภาพยนตรส์ ารคดีที่ผลิตเป็นประจําทุกปี สําหรับทศวรรษหน้า บริษัท ท่ีผลิตส่วนใหญ่ เปน็ ตา่ งชาตเิ ป็นเจา้ ของและอตุ สาหกรรมภาพยนตร์ในประเทศเป็นศูนย์กลางในเซ่ียงไฮ้ เฟ่ืองฟู เมือง ท่าและเมืองที่ใหญ่ท่ีสุดในตะวันออกไกล ในปี 1913 เป็นครั้งแรกที่จีนอิสระบทภาพยนตร์ , คู่ยากท่ี กาํ ลงั ถา่ ยทาํ ในเซี่ยงไฮ้โดยเจงิ เจิงช้แู ละจางชชิ วน ต่อมาภาพยนตร์หลายกิจการร่วมคา้ และโครงการท่ี มีเงินทุนต่างประเทศ แต่ยังคงค่อนข้างเฉียบขาดตํ่าที่สําคัญและงบประมาณท่ีตํ่าแพลตฟอร์มของเจีย (2000) ไดร้ ับทุนสนบั สนนุ บางสว่ นจากโปรดกั ชนั่ เฮาส์ของทาเคชคิ ติ าโนะ ในขณะที่ภาพนิ่งของเขาถูก ถ่ายทําในวดิ ีโอ HD Still Lifeเป็นเร่ืองท่ีน่าประหลาดใจและได้รับรางวัล Golden Lion จากเทศกาล ภาพยนตร์นานาชาติเวนิสปี 2549 Still Life ซึ่งเก่ียวข้องกับคนงานในต่างจังหวัดรอบ ๆ เขตThree Gorges น้ันแตกต่างอย่างมากกับผลงานของผู้กํากับชาวจีนรุ่นท่ีห้าเช่นZhang Yimou และChen Kaige ที่อยู่ในช่วงผลิตHouse of Flying Daggers (2004) และThe Promise (2005) ไม่มีดาราท่ีมี ชื่อเสียงระดับนานาชาติและส่วนใหญ่แสดงโดยผู้ท่ีไม่ใช่มืออาชีพ ในปี 2555 ประเทศนี้ได้กลายเป็น ตลาดท่ีใหญ่เป็นอันดับสองของโลกด้วยใบเสร็จรับเงินจากบ็อกซ์ออฟฟิศ ในปี 2014, บ็อกซ์ออฟฟิศ ข้ันต้นในประเทศจีนเป็น¥ 29600000000 ( US $ 4820000000) กับภาพยนตร์ในประเทศที่มีส่วน แบง่ 55% ใน [23]จีนยงั กลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจทสี่ าํ คัญของสตดู ิโอฮอลลวี ดู ความสามารถในการทํากําไรของสตูดิโอภาพยนตร์นั้นขึ้นอยู่กับการเลือกโครงการภาพยนตร์ ที่เหมาะสมและเกี่ยวข้องกับการจัดการและทีมสร้างสรรค์ท่ีเหมาะสม (นักแสดงทิศทางการออกแบบ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 88 ภาพคะแนนการถ่ายภาพเครื่องแต่งกายการออกแบบฉากการตัดต่อและความเชี่ยวชาญพิเศษอ่ืน ๆ อีกมากมาย) แต่ก็เชน่ กนั ขน้ึ อยกู่ บั การเลือกขนาดท่ีเหมาะสมและแนวทางการส่งเสริมการขายฟิล์ม , การควบคุมมากกว่าใบเสร็จรับเงินผ่านทางเทคโนโลยีเช่นการจัดการสิทธ์ิดิจิตอล (DRM) วิธีปฏิบัติ ทางบญั ชที มี่ ีความซับซอ้ นและการจัดการกระแสรายได้เสริม ; ในท่ีสุดสําหรับแฟรนไชส์ส่ือรายใหญ่ที่ มีศูนย์กลางอยู่ท่ีภาพยนตร์ภาพยนตร์เรื่องน้ีอาจเป็นเพียงองค์ประกอบสําคัญของกา รมีส่วนร่วม จํานวนมากในการสร้างรายได้แฟรนไชส์ทั้งหมด เทคนิคการผลิตเสมือนจริงสามารถช่วยลดต้นทุนได้ อย่างมาก ตัวอย่างเช่นภาพยนตร์เร่ืองGods of Mars สร้างขึ้นโดยใช้เทคนิคการผลิตเสมือนจริง ท้ังหมด (กําแพง LED, การสแกน LIDAR, เกมเอนจิ้นโอเพ่นซอร์ส - Unreal Engine -, ... ) สร้างขึ้น ในราคา 30% ของภาพยนตร์CGIท่วั ไปการผลิต ในปี 2018 บ็อกซ์ออฟฟิศของจีนอยู่ที่ 8.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2013 บ็อกซ์ออฟฟิศ ของจีนอยู่ท่ี 21.8 พันล้านเยน (3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซ่ึงเป็นตลาดภาพยนตร์ท่ีใหญ่เป็นอันดับ สองของโลกตามรายรับจากบ็อกซ์ออฟฟิศมันเพิ่มข้ึนเป็น 4.8 พันล้านดอลลาร์ในปี 2014 ทํารายได้ สูงสุดในบ็อกซ์ออฟฟิศในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในปี 2020 จีนแซงอเมริกาเหนือในฐานะบ็อกซ์ ออฟฟิศท่ใี หญ่ทีส่ ดุ ในโลกโดยเป็นประเทศแรกท่ีได้รบั สถานะน้ี อินเดีย อินเดยี เป็นผผู้ ลติ ภาพยนตรร์ ายใหญท่ ่สี ดุ ในโลกและเป็นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เก่าแก่ที่สุด เป็นอันดับสองของโลก ประเทศน้ีเป็นที่ต้ังของเมืองที่สําคัญที่สุดแห่งหนึ่งในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ระดับโลกมุมไบ (ก่อนหน้านี้เรียกว่าบอมเบย์) ในปี 2552 อินเดียผลิตภาพยนตร์เร่ืองเซลลูลอยด์ จํานวน 2,961 เรื่อง; ตัวเลขน้ีประกอบด้วยภาพยนตร์สารคดี 1,288 เรื่อง นอกจากจะเป็นผู้ผลิต ภาพยนตร์รายใหญ่ที่สุดในโลกแล้วอินเดียยังมีจํานวนการรับสมัครมากท่ีสุดอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ของอินเดียเป็นอุตสาหกรรมท่ีพูดได้หลายภาษาและใหญ่ที่สุดในโลกในแง่ของการขายตั๋ว แต่เป็น อันดับ 3 ในแง่ของรายได้เนื่องจากมีราคาตั๋วที่ต่ําที่สุดในโลก อุตสาหกรรมน้ีส่วนใหญ่จะดูโดย สาธารณชนชาวอินเดียท่ีมาถ่ายทําภาพยนตร์จํานวนมากและภาพยนตร์ของอินเดียได้รับได้รับความ นิ ย ม เ พิ่ ม ข้ึ น ใ น ส่ ว น ที่ เ ห ลื อ ข อ ง โ ล ก โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ช า ว อิ น เ ดี ย ต่ า ง ช า ติ จํ า น ว น มาก อุตสาหกรรมภาพยนตร์อินเดียนอกจากน้ียังเป็นแหล่งท่ีโดดเด่นของภาพยนตร์และความบันเทิง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 89 ในประเทศเพื่อนบ้านของเอเชียใต้ ภาพยนตร์เร่ืองนี้ที่ใหญ่ที่สุดและอุตสาหกรรมท่ีนิยมมากที่สุดใน อินเดียเป็นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ภาษาฮินดีตามมาด้วยภาพยนตร์ทมิฬและกูโรงภาพยนตร์ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ภาษาฮินดีส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในมุมไบ (บอมเบย์) และมักเรียกกันทั่วไปว่า บอลลวี ูดซึ่งเป็นการผสมผสานระหวา่ งบอมเบย์และฮอลลีวูด อุตสาหกรรมไม้จันทน์ (โรงภาพยนตร์นา ดา) กระจุกตัวอยู่ในเบงกาลูรู ทั้งสอง Kollywood (ภาพยนตร์ทมิฬ) และ Tollywood (กูโรง ภาพยนตร)์ ความเข้มข้นส่วนใหญใ่ นเจนไนและไฮเดอรา นอกจากภาพยนตร์เชิงพาณิชย์กระแสหลักแล้วอินเดียยังเสนอแนวทางที่แตกต่างออกไป สําหรับภาพยนตร์น่ันคือโรงภาพยนตร์คู่ขนาน การเคล่ือนไหวของภาพยนตร์คู่ขนานเกิดข้ึนใน รัฐเบงกอลตะวันตกในช่วงทศวรรษ 1950 โรงภาพยนตร์คู่ขนานเป็นคําศัพท์เฉพาะท่ีกําหนดให้กับ ภาพยนตร์บางประเภทที่หลงไปจากรูปแบบของภาพยนตร์กระแสหลักที่เป็นท่ีนิยมโรงภาพยนตร์ คู่ขนานได้สันนิษฐานในรูปแบบต่างๆตลอดหลายปีท่ีผ่านมา ผู้สร้างภาพยนตร์ท่ีเก่ียวข้องกับโรง ภาพยนตร์ขนานSatyajit เรย์ , Mrinal เสน , Ritwik Ghatak ภาพยนตร์คขู่ นานมีลักษณะเฉพาะด้วย การปฏิเสธรูปแบบที่เป็นท่ีนิยมเช่นเพลงและลําดับการต่อสู้ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมในชนบท การใช้ตัวแสดงวิธีการและการปรับแต่งจานสี ตัวอย่างบางส่วนของภาพยนตร์ดังกล่าวมีเสื้อกัน ฝน , Dhobi Ghat , Mithya ภาพยนตร์อินเดียได้รับความนิยมไม่เพียงแต่ในตลาดในประเทศเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงตลาด ตา่ งประเทศดว้ ยโดย Dangal มีรายได้รวมในต่างประเทศ 260 ล้านดอลลาร์ Secret Superstar และ Bajrangi Bhaijaan ด้วยรายได้รวม 80.4 ล้านดอลลาร์และ (Baahubhali) และ (Baahubhali 2) ล่าสุดบล็อกบัสเตอร์จากอุตสาหกรรมกูรู้จักกันเป็น Tollywood อ่ืน ๆ ที่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ท่ี ใหญ่ที่สุดมาลายาลมั โรงหนัง , บางลาโรงหนัง ( โรงหนงั ของรฐั เบงกอลตะวันตก ) และฐโี รงภาพยนตร์ ซง่ึ ตง้ั อยใู่ นโคชิ , โกลกาตาและมุมไบตามลําดับ ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ถูกกระจายไปท่ัวภาคเหนือภาค ตะวันตกภาคตะวันออกและภาคใต้ของอินเดีย (กับคุชราต , ปัญจาบ , Odia , Bhojpuri , อัสสัมโรง ภาพยนตร์ ) อย่างไรก็ตามมีศูนย์กลางขนาดเล็กหลายแห่งของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของอินเดียใน ภาษาระดับภมู ิภาคซึ่งมศี ูนย์กลางอย่ใู นรัฐทีม่ ีการพูดภาษาเหล่านัน้ โรงภาพยนตร์ของอินเดียมีผลงาน ศิลปะมากมายเช่นดนตรีคลาสสิกของอินเดียดนตรีพ้ืนบ้านของภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศการเต้นรํา คลาสสิกของอนิ เดยี การเตน้ ราํ พื้นบา้ นและอนื่ ๆ อกี มากมาย บอลลวี ูดคอลลวี ูดและทอลลีวูดเป็นส่วน ท่ใี หญ่ทส่ี ดุ ของอตุ สาหกรรมภาพยนตรอ์ นิ เดยี และมผี ชู้ มทว่ั ชมพูทวีปและมมี ากข้นึ เรอื่ ย ๆที่นิยมใน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 90 สหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ , แอฟริกาท่ี ประเทศอา่ ว , ประเทศในยุโรป , เอเชยี ตะวนั ออกและจนี คอมเพล็กซ์สตูดิโอภาพยนตร์ที่ใหญ่ท่ีสุดใน โลกคือราโมจฟิ ิล์มซิตี้ซึ่งตั้งอยู่ท่ีไฮเดอราบาด ประเทศอินเดียซึ่งเปิดให้บริการในปี 2539 และมีขนาด 674 เฮกแตร์ (1,666 เอเคอร์) ประกอบด้วย 47 เวทีเสียงมีชุดถาวรตั้งแต่สถานีรถไฟไปจนถึงวัด ภายในปี 1986 ผลผลิตภาพยนตร์ประจําปีของอินเดียเพ่ิมข้ึนจาก 741 เรื่องต่อปีเป็น 833 เรื่องต่อปี ทําให้อินเดียกลายเป็นผู้ผลิตภาพยนตร์รายใหญ่ที่สุดของโลก ณ ปี 2014บอลลีวูดคิดเป็น 45 ของ รายได้สุทธิ บ็อกซ์ออฟฟิศของอินเดียในขณะที่ท้ังคอลลีวูดและทอลลีวูดคิดเป็น 36% และ อุตสาหกรรมภาพยนตรใ์ นภมู ภิ าคทเ่ี หลือคดิ เป็น 21% ของภาพยนตรอ์ นิ เดยี อังกฤษ สหราชอาณาจักรมีอุตสาหกรรมภาพยนตร์ท่ีสําคัญมานานกว่าศตวรรษ ในขณะท่ีการผลิต ภาพยนตร์ข้ึนสู่จุดสูงสุดตลอดกาลในปี พ.ศ. 2479 \"ยุคทอง\" ของภาพยนตร์อังกฤษมักคิดว่าเกิดขึ้น ในช่วงทศวรรษที่ 1940 ซ่งึ เปน็ ช่วงทผ่ี ้กู าํ กับเดวิดลีน ไมเคลิ พาวเวล(กบั เอเมอรเ์ พรสเบอร์เกอร์ ) และ แครอลรดี สร้างผลงานทีไ่ ดร้ บั การยกย่องมากที่สุด หลายนักแสดงชาวอังกฤษได้ประสบความสําเร็จมี ชอื่ เสียงทั่วโลกและความสําเรจ็ ที่สําคัญ เช่น แม็กกี้สมิธ , โรเจอร์มัวร์ , ไมเคิลเคน , ฌอนคอนเนอรี่ , แดเนียลวัน Lewis , แกร่ีโอลด์แมนและเคทวินสเล็ต ภาพยนตร์บางเรื่องที่มีผลตอบแทนบ็อกซ์ ออฟฟิศมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาได้ถูกสร้างข้ึนในสหราชอาณาจักรรวมถึงซีรีส์ภาพยนตร์ที่ทํารายได้ สงู สดุ เปน็ อันดับสามและส่ี( แฮร์รี่พอตเตอร์และเจมส์บอนด์ ภาพเคลื่อนไหวแรกถูกยิงลีดส์โดยหลุยส์ เลอเจ้าชายในปี 1888 และภาพเคล่ือนไหวแรกที่พัฒนาบนฟิล์มเซลลูลอยด์ได้ทําในสวนสาธารณะ Hyde Park, ลอนดอนในปี 1889 โดยนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษวิลเลียม Friese กรีน , ท่ีจดสิทธิบัตร กระบวนการในปี พ. ศ. 2433 สองในแปดอันดับภาพยนตร์ท่ีทํารายได้สูงสุดตลอดกาลมีมิติทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรม หรือความคิดสร้างสรรค์ของอังกฤษ: Titanic (1997), Harry Potter and the Deathly Hallows - Part 2 (2011), The Lord of the Rings: The Return of the King (2003) ผลิตในนิวซีแลนด์และ Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest (2005) การเพิ่มภาพยนตร์แฮร์รี่พอตเตอร์อีกสี่ เร่อื งและภาพยนตรเ์ ร่อื งลอร์ดออฟเดอะรงิ ส์อีกหนึ่งเร่ืองรวมถึงอลิซในแดนมหัศจรรย์ของทิมเบอร์ตัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146