หลกั สตู รปรญิ ญาตรี ซง่ึ ไดม้ กี ารกลา่ วกนั วา่ ๗๐ – ๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ของอาชพี ในอนาคต ยงั ไมม่ สี อน ในหลกั สตู รหรอื รายวชิ าในปจั จบุ นั ดงั นนั้ การวเิ คราะหโ์ ดยใชเ้ ครอื่ งมอื น้ี จึงเป็นการหาโอกาสในการจัดหลักสูตรใหม่ๆ ท่ีตอบสนองความต้องการ รวมท้ัง ท�ำให้เกิดแนวคิดท่ีอาจจะไม่จัดหลักสูตรแค่ระดับปริญญา แต่ให้มีหลักสูตรหรือ รายวิชาท่ีสามารถตอบสนองกับความต้องการใหม่ๆ เช่น ให้คนมาเพ่ิมเติมทักษะ (up skill) ได้ คิดว่าถ้าได้ท�ำ BOS จะมีโอกาสเห็นว่าที่เราให้บริการอยู่มีอะไรบ้าง มีคุณค่าอะไรบ้าง มีคุณค่าอะไรที่สามารถเพิ่มเติมได้ เพราะ BOS สามารถท�ำให้ เกดิ การวิเคราะห์เพื่อสร้างคณุ ค่าใหม่ และเป็นการสร้างท่มี ีการคิดอยา่ งรอบคอบว่า จะต้องไม่ใช่เป็นการเพ่ิมภาระทางทรัพยากร รวมทั้งอาจมีการลดและเลิกบางอย่าง เห็นว่า เครื่องมือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทางมหาวิทยาลัยมากๆ จึงเสนอ ๑) น�ำ เคร่ืองมือนี้มาใช้เวลาท�ำยุทธศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัย ๒) น�ำมาใช้ในการวางแผน ในระดับคณะ และวันน้ีมีคณะท�ำงานที่เป็นสายสนับสนุนมาร่วมในการท�ำ workshop ด้วย และได้ให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์มาก ดังนั้นเคร่ืองมือนี้ยัง สามารถสร้างการมีส่วนร่วมของสายสนับสนุน เพราะได้มาคิดร่วมกันเกิดความรู้สึก เป็นเจ้าของงานในการปรับปรุงงานมาราธอนที่เราเป็นมหาวิทยาลัยท่ีน�ำเรื่องนี้ แต่ปัจจุบันมีคนท�ำมากมาย แนวคิดใหม่จึงควรท�ำศูนย์มาราธอนในลักษณะท่ีมี องค์ประกอบ ๓ ประการทใี่ ชก้ ารจดั การว่ิงมาราธอนเป็นพน้ื ฐาน ๑) ศูนย์วิชาการมาราธอน ที่เป็นศูนย์รวมความรู้สากลในการ วง่ิ มาราธอน ทงั้ ในดา้ นสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ความปลอดภยั การบรหิ ารจดั การ ฯลฯ ๒) ศูนย์เตรียมและฝึกว่ิงมาราธอน เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจว่ิงมาราธอน และฮาล์ฟมาราธอนได้เตรยี มตวั อยา่ งเปน็ ระบบ ผทู้ ่จี บหลักสตู รสามารถมาเขา้ ร่วม วิง่ ไดเ้ ลย โดยไมต่ ้องไปจับสลาก ๓) ศนู ยอ์ บรมการจดั มาราธอน เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทสี่ นใจจดั มาราธอน ยกระดบั ให้มคี ณุ ภาพ 50 สนุ ทรียสนทนาเพอื่ พัฒนามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๕ การจัดการกบั ภาวะวิกฤต ๕.๑ บทเรยี นจากความรนุ แรงในมหาวทิ ยาลัยตา่ งประเทศ เนอ่ื งจากปจั จุบนั มีภาวะวกิ ฤติ เร่ือง Active Shooting ซึง่ มแี งม่ มุ บางอยา่ งท่เี ก่ยี วขอ้ งกับมหาวทิ ยาลยั เพราะว่าจากปรากฏการณ์ทั่วโลก แหล่งหน่งึ ที่เป็นเหย่ือของ Active Shooting คือมหาวิทยาลัย จึงคิดว่าจะน�ำเสนอข้อมูล เพอื่ การเรียนรู้และข้อพงึ ระวงั โดยมีประเดน็ ดังนี้ สถานการณ์ กอ่ นปี ค.ศ. ๒๐๐๐ เกิดเหตกุ ารณ์ปลี ะ ๒ - ๓ ครั้ง หลงั จากนั้น เพิม่ ขน้ึ เรอื่ ย ๆ จนเปน็ เดือนละ ๑ - ๒ ครั้ง คร่งึ หนง่ึ ของจำ� นวนทีเ่ กดิ ขึ้น เกิดขน้ึ ในสถานศึกษา กว่า ๑ ใน ๓ เกิดท่ี USA และหลายราย มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ แรงจูงใจมาจากเหตุการณ์กอ่ นหน้า สาเหตุ เน่ืองจากไม่มีสาเหตุเฉพาะ ส่วนใหญ่จะเก่ียวกับความเครียด การไม่ได้รับความเป็นธรรม การถูกล้อเลียน มีบางส่วนที่เป็นแบบแผนความคิด และมีส่วนน้อยที่เก่ียวกับการป่วยทางจิต เพราะการมีสาเหตุที่หลากหลายท�ำให้ การป้องกันด�ำเนินการได้ยาก ส่วนใหญ่จึงเป็นการป้องกันทางอ้อม เช่น เรื่อง การควบคุมอาวุธปืน การน�ำเสนอข่าวเพื่อป้องกันการเลียนแบบ และการจัด การความเครยี ด หรือทกั ษะชวี ติ ตา่ ง ๆ รวมท้งั การดูแลบุคคลทีม่ ีปญั หา Copy cat มีโอกาสเกิดขึ้นกับผู้ที่เปราะบางอยู่แล้ว (ตามสาเหตุ) เน่ืองจาก บคุ คลเหลา่ นมี้ ีแนวโนม้ ตอ้ งการระบายความรูส้ ึกกดดัน การไม่ไดร้ บั ความเป็นธรรม และต้องการแสดงออก/แก้แคน้ เพอ่ื ใหส้ ังคมรบั รู้ ซึง่ จะตา่ งกบั พวกที่ post เพราะ ความคกึ คะนอง รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 51
ผลตอ่ เหย่อื /การดแู ล - บคุ คลส่วนใหญ่จะ shock - หากเกิดปัญหาสุขภาพจิตจะเป็น ARD (Acting Reaction Disorders) ซึง่ จะหายใน ๑ เดอื น - ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดท่ีสะเทือนใจ PTSD (Posttraumatic Stress Disorder) ประมาณ ๑๐ - ๒๐ % ขึ้นกับความรุนแรง ของเหตุการณ์และปัจจยั ปกปอ้ ง - หากการดแู ลไมด่ ี ปญั หาระยะยาวคอื โรคซมึ เศร้า การทำ� ร้าย ตนเอง และใช้สารเสพติด การดแู ล การดูแลควรครอบคลุมผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์/ชุมชนรอบเหตุการณ์ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีจ�ำนวนมาก จึงควรใช้ระบบจังหวัดหรือระบบพ้ืนท่ี มากกวา่ สว่ นกลาง ควรใชร้ ะบบสาธารณสขุ และอาสาสมคั รทง้ั ระบบ กลมุ่ ทต่ี อ้ งดแู ล เป็นพเิ ศษ คอื กลมุ่ เส่ียง ไดแ้ ก่ ผทู้ เ่ี รมิ่ มอี าการแบบ PTSD ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบมาก ซ่ึงการระบาย (รวมท้ัง Debrief) อย่างเดียวไม่ช่วย จึงต้องมีการรักษาทั้งการ ใหย้ า CBT (Cognitive Behavior Therapy) สตบิ ำ� บดั รวมถงึ บทบาทของครอบครวั ชมุ ชนในการดูแล เป็นปัจจยั ปกป้อง ขอ้ มูลขา่ วสารและข้อคดิ เห็นเพือ่ อนาคต - อาจจะมีเหตุการณ์เลียนแบบเกิดขึ้น ดังน้ันจึงควรหาทางป้องกัน เพราะความเครียดมผี ลตอ่ การเกิด violence ท้งั กับตนเอง ครอบครวั บนทอ้ งถนน และ mass การใช้ ๓ ส. (สอดส่องมองหา ใส่ใจรับฟัง สง่ ตอ่ เช่ือมโยง) และการจดั การความเครียดยงั มคี วามจำ� เปน็ - การเสนอข่าว เนื่องจากปัจจุบันมีการเสนอข่าวแบบสร้าง Rating ต้องระวังไม่ให้เป็น การสร้างความเครียด การเอาอย่างและการให้ข้อมูลแก่ผู้ร้าย ควรเน้นข่าวสารดา้ นเหย่อื และผูแ้ ก้ไขสถานการณ์มากกวา่ 52 สนุ ทรยี สนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บฟงั สง่ ตอ่ เชอ่ื มโยง) และการจัดการความเครียดยังมีความจำเปน็ - การเสนอข่าว เนื่องจากปจั จุบนั มีการเสนอข่าวแบบสร้าง Rating ต้องระวังไม่ให้เป็น ร้างความเครียด การเอาอย่างและการให้ข้อมูลแก่ผู้ร้าย ควรเน้นข่าวสารด้านเหยื่อและผู้แก้ไข การณ์มากกว่า - การรบั รู้ ขอ้ มูลข่าวสารมีความส�ำคัญในการป้องกันความเครียด - การ รบั ●รู้ ขปอ้ รมิมูลาขณา่ ว(สพาอรเมหคี มวาาะมไมส่เำกคินญั ๑ในก- า๒รปช้อั่วงโกมนั งคตว่อาวมันเครไมีย่เดสียหน้าท่ี คป ณุรมิ ภา ● าณ พกคเส((าุณพหนรอภลองเาขีกาหนพา่เมล)วาด่ีย(ะห้างไนขลมผา่ีกเ่วกู้เกลเอินรี่ยบ้าง๑กอขู้วา่า-กิรวฤม๒เตณริช้าผ์,อัว่ ลเโานกมร้นรงมะขณตท่า่อ์,บววท)เนันีใ่ ห้นไค้ขมว่าเ่ สาวยีมทหเี่ใขหน้า้ค้าใวทจากี่ เมาสเรนขง้าอาใขนจ่า)วด้านผู้กอบ ติ ผลกระทบ) - การแสดงออกทางบวก ช่วยให้อารมณ์มั่นคง เช่น การร่วมไว้อาลัย แสด-งคกวามรเแสสียดใจงอแอละกคทวาางมบเวหก็นอชก่วเยหใ็นหใ้อจารหมลณีกเ์มลั่นียงคกงารเแชส่นดงกอาอรกรท่วมางไลวบ้อาเลชัย่น แสดงความ จและความเห็นใอชก้คเำ� หร็นนุ ใแจรงหกลับกีผเู้กลรยี่ ะงทกำ� าหรรแอื สคดรงออบอคกรทวั างลบ เช่น ใช้คำรนุ แรงกบั ผู้กระทำหรือครอบครวั ห ลักการจัดหกลากั รกกาบั รภจาดั วกะาวรกกิ บัฤภตาิ วะวิกฤติ U ธNรรไมดช้วาิเตคิแรUลาะะNจหา์วไกด่าม้โวลนิเคกุษรจยาะ์ ะพโหดบ์วยก่าผับโู้เลชภกี่ยาวจวชะะาพวญบิกสฤกรตับุปมภหาาลกวักขะกน้วึ าิกเรรฤจื่อตัดยมกาๆากรขทกึ้นับ้งั จเภราา่ือกวยธะรวๆริกมฤทชต้ังามจตาาิแไกดล้ ะจากมนุษย เชี่ยวชาญสรุปห๕ลขักอ้ กคาอื รจดั การกบั ภาวะวิกฤตมาได้ ๕ ข้อคือ - Safe ต-อ้ งSทaำfeใหตเ้ ้อกงดิ ทคำ� วใาหมเ้ กรดิสู้ คกึ วปาลมอรด้สู กึภปยั ลอดภัย - Calm-ค วCาaมlสmงบความสงบ พ ล--งั ขEHอfofงipcตaeนc--เทอy ำงHEทใfoหำfipใม้cหaeีค้มcวทyีคาำ� วมทใาหหำ� มม้ใวหรีคังสู้้มวึกีคามวว่าาหมตวรนงั ้สู เอกึ วงม่าตคี นวเาอมงสมาีคมวาามรถสาทมำาอรถยา่ ทงำ�ไรอใยหา่ ้ใงชไรพ้ ใลหังใ้ ชข้องตนเอง - Connectedness ด้านสังคมทต่ี อ้ งใชส้ ายสมั พันธท์ ี่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ รวมวาระเพือ่ ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 53
- Connectedness ด้านสังคมท่ีต้องใช้สายสัมพันธ์ที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์ การเสนอข่าวทดี่ ี What : ควรเนน้ ขา่ ว ไมใ่ ชว่ ธิ ีการ ไม่ควร drama ไปในชีวิตส่วนตัวหรือภาวะอารมณ์ ท่ีรนุ แรง So What : ควรให้เกิดความเข้าใจถึงปัญหา สาเหตุเชื่อมโยงกับ ประชาชน What Next : สิ่งที่ควรจะท�ำเพื่อป้องกันทั้งระดับบุคคลและสังคม การแก้ไขปญั หาท้งั ระยะส้นั /ยาว ข้อเสนอตอ่ มหาวทิ ยาลัย (๑) วชิ าทีส่ อน GE : การจัดการกบั ภยั พบิ ัติ - Natural Disaster : สึนาม,ิ แผน่ ดินไหว, ไฟป่า, น้ำ� ท่วม, ไวรสั , PM ๒.๕ - Man-made Disaster: Mass Shooting, Accident โดยใหค้ รอบคลมุ กรณศี กึ ษา แนวทาง ๕ ประการ (The Five Disciplines) บทบาทพลเมอื ง (๒) นิเทศศาสตร์ : จรรยาบรรณสอ่ื อิทธิพลสอ่ื การเสนอขา่ ว -/+ (๓) การบรหิ ารจัดการ - มแี ผนรองรบั (หากเกดิ เหตกุ ารณ์จะดำ� เนนิ การอยา่ งไร) - มกี ารซ้อมแผน - บรู ณาการกบั แผนทมี่ อี ยแู่ ลว้ เชน่ เร่ืองไฟไหม้ 54 สุนทรียสนทนาเพื่อพฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๕.๒ บทเรียนจากกรณีทีมหมปู า่ ติดถำ�้ การจัดการภาวะวิกฤตท่ีผ่านมามีปัญหาค่อนข้างมาก จนกระท่ัง ปี ค.ศ. ๒๐๐๗ องค์การสหประชาชาติได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดกว่า ๒๐ คน เพอื่ แกป้ ญั หา/หาแนวทางการเผชญิ กบั ภาวะวกิ ฤต ไดอ้ อกมาเปน็ เอกสาร Protocol ที่ได้รับการยึดถือ และน�ำไปใช้ท่ัวโลก เป็น The Principle of Five Elements in Crisis Management แต่ประเทศไทยไม่ได้น�ำมาใช้ ในกรณีทีมฟุตบอลหมูป่า ติดถ้�ำท่ีทุกคน ช่ืนชมผู้ว่าราชการจังหวัด ท่ีเป็นผู้บัญชาการภารกิจช่วยชีวิต คิดว่า ท่านอาจได้อ่านและปฏิบัติตาม Protocol นี้ คือ ๑) ต้องให้สงบ ๒) ให้ปลอดภัย ๓) ใหม้ ีความหวงั ๔) ใหร้ วมพลงั ของชมุ ชนและครอบครวั กนั ไว้ และ ๕) ใหย้ ืนหยัด ได้ด้วยตนเอง และด้วยพลังของกลุ่ม ซ่ึงเมื่อตอนท่ีรับรู้เอกสารเรื่องนี้ เมื่อมา เปรียบเทียบกับงานที่กระทรวงสาธารณสุขได้ด�ำเนินการ พบว่า มีหลายข้อที่ท�ำ อย่างไม่สอดคล้อง เช่น ช่วยเหลือแบบไม่ได้ให้เขายืนหยัดได้ด้วยตนเอง อาทิ การ ตั้งศูนย์อพยพ ดูแลคนผ่านวิกฤต โดยไม่ใช้วิธีการรวมพลังของชุมชนเข้าไว้ ดังเช่น เม่ือตอนเหตุการณ์สึนามิ การบริหารการช่วยเหลือยังมีข้อบกพร่อง ใครต้องการ น�ำส่ิงของช่วยเหลือไปช่วย ต้องไปกองไว้ บางกรณีมีผู้น�ำเงินไปช่วย ก็กรูกันมา เขา้ แถว พอเงินบริจาคหมด กใ็ หก้ ลบั คอื โกลาหล ไมม่ ีการจัดการทดี่ ี คนกส็ ้ินหวัง ไม่สงบ ไม่ได้รู้สึกว่ายืนบนขาตัวเองได้ และไม่รู้สึกว่ามีพลังของชุมชน ส�ำหรับกรณี ทมี ฟตุ บอลหมปู า่ ทำ� ไดด้ มี าก อยา่ งกรณใี หค้ รอบครวั อยดู่ ว้ ยกนั และใหเ้ ดก็ อยดู่ ว้ ยกนั เด็กก็สงบมาก เน้นเรื่องความปลอดภัย และเร่ืองของการห้ามไม่ให้น�ำเด็กไปเดิน สายออกรายการ ตอนแรกก็กังวลว่าจะมีการท�ำกันแบบนี้ เพราะเด็กจะถูก Spoil ต่อเมื่อหมดกระแส ก็จะกลับไปอ้างว้างเหมือนเก่า อันน้ีจะท�ำลายการยืนหยัดได้ ดว้ ยตัวเองของเขา การเดนิ สายก็ต้องออกจากการเรยี นและการใชช้ วี ติ ครอบครัวจะ ท�ำให้เด็กฟื้นสภาพได้ยาก พิธีกรก็จะถามซ�้ำๆ ซ่ึงตามหลักจิตวิทยาเป็นการซำ�้ เติม ความกลัวหรือความรู้สึกผิดที่เขามีอยู่ แต่เหตุการณ์เหล่าน้ีไม่เกิดขึ้น วิเคราะห์ แล้วน่าจะเกิดจากส่ือกลัวจะถูกโจมตี ต่อต้านทางสื่อสังคม คือถ้าน�ำเด็กมาออก รายการ แทนทจ่ี ะเปน็ การดี กลบั ต้องถูกโจมตี แมใ้ นขณะท่ีเหตกุ ารณช์ ว่ ยเหลอื ยัง ดำ� เนนิ การอยู่ การจดั ระเบยี บสอ่ื การแถลงขา่ วกท็ ำ� ไดด้ มี าก นบั เปน็ ปรากฏการณใ์ หม่ ทป่ี ระเทศไทยไมเ่ คยมีมากอ่ น และคราวน้ปี ระสบความสำ� เร็จจริง ๆ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 55
๕.๓ วกิ ฤตความเหน็ ตา่ งทางการเมอื ง ในสถานการณ์ท่ามกลางความขัดแย้ง การหาทางออกให้สังคม หากมีโอกาสแลกเปล่ียนความเห็นกัน จะมีประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยในการ ด�ำเนนิ การต่อไป (๑) ส�ำหรับสถานการณ์ท่ามกลางความขัดแย้งควรมีหลักคิด ๓ ข้อ คือ (๑.๑) ความต่างเป็น Asset คือ การมองความเห็นต่าง ให้เป็นทรัพย์สินทางปัญญา จะช่วยให้สังคมมองเห็นความคิดเห็นต่าง หรือท�ำให้ มีทางเลือกหลายทาง ฉะน้ัน หากเรามองความต่างเป็นทรัพย์สิน ทางปัญญาจะ ท�ำให้การปฏิบตั ติ อ่ กนั มคี วามเขา้ ใจกันมากข้ึน (๑.๒) ครอบครวั เปน็ สายสมั พนั ธ/์ ไวว้ างใจ ซงึ่ เปน็ รากฐานการ ยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง ปัจจุบนั ครอบครวั มกี ารทะเลาะกันมากข้ึน การทจ่ี ะเรยี นรู้กัน ต้องอาศยั ความไวว้ างใจ และครอบครวั เป็นสถาบันทมี่ พี นื้ ฐานความไวว้ างใจสูง (๑.๓) สังคม คือ ครอบครัวใหญ่ ครอบครัวเป็นจุดตั้งต้น ซ่ึงเป็นต้นทุนของสายสัมพันธ์และความไว้วางใจ จะเป็นรากฐานที่ดีในการยอมรับ ความเหน็ ตา่ ง (๒) ขณะนพี้ ลังคนหนุ่มสาวเป็นยกกำ� ลงั ๓ คอื (๒.๑) เยาวชนและคนหนุ่มสาว โดยทางจิตวิทยาเขาจะ อยู่ในช่วงการค้นหาตนเอง (อัตลักษณ์) ซ่ึงรวมถึงอัตลักษณ์ทางสังคมด้วย เช่น สังคมเป็นอย่างไร การปกครองอย่างไร เขาจะใช้ส่ือออนไลน์ในการค้นหาข้อมูล เขาจึงมีความเห็นต่างกัน และคนที่เขาฟังมากท่ีสุด คือ เพื่อน ไม่ใช่พ่อแม่หรือ ผู้ใหญ่หากเขา้ ใจตรงน้จี ะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจเหตุการณ์ปัจจุบนั (๒.๒) คนหนุ่มสาวในปัจจุบันมีวิธีหาความรู้จากส่ือออนไลน์ สามารถเข้าถึงขอ้ มูลได้ จ�ำนวนมาก การรบั รู้ข้อมลู ที่ต่าง และหลากหลาย ความเหน็ ท่ตี า่ งจงึ เปน็ เร่ืองธรรมดา (๒.๓) สอ่ื สงั คม คนหนมุ่ สาวใชก้ ารสอื่ สารทเ่ี ปน็ สาธารณ เชน่ ทวิสเตอร์ ซึ่งเป็นส่ือที่สามารถติดต่อกันได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว หากเข้าใจ ธรรมชาติน้ี จะท�ำให้มีค�ำถามต่อคนหนุ่มสาวน้อยลง และอาจจะช่วยท�ำให้เกิดการ ยอมรับและเข้าใจเขามากขึน้ โดยไมร่ ะแวงสงสยั 56 สนุ ทรียสนทนาเพื่อพฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
(๓) ทา่ ทตี อ่ ความเหน็ ตา่ ง หากเปดิ ใจรบั ฟงั เขา้ ใจในหลกั คดิ Asset การมองความเหน็ ตา่ ง เปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา และมคี วามเขา้ ใจในความเปน็ สงั คม เลก็ คือ ครอบครวั ท่บี า้ น ครอบครัวใหญ่ คอื ทที่ ำ� งาน ชุมชน ก็เชน่ กนั และเขา้ ใจ ธรรมชาตขิ องคนหนมุ่ สาว หากเปดิ ใจรบั ฟงั และฟงั อยา่ งใครค่ รวญ จะเกดิ การเรยี นรู้ ซึ่งการเรียนรู้นี้ส�ำคัญมากส�ำหรับทั้งสองฝ่าย ทางเยาวชน Idealistic คือ มาจาก การแสวงหาอตั ลกั ษณ์ โดยตอ้ งการแบบสดุ แตผ่ ใู้ หญเ่ ปน็ Pragmatic คอ่ ย ๆ เปลยี่ น ทั้งสองกลุ่มน้ีสามารถเรียนรู้ร่วมกันได้ เพียงแต่ความเห็นต่างตามหลักจิตวิทยา ของการเรียนรู้ ผู้มีอ�ำนาจมากกว่า คือ ผู้ใหญ่ต้องเป็นฝ่ายเร่ิมต้นก่อน หาก ผู้ใหญ่สามารถรับฟังได้จะช่วยได้มาก และควรระวังการสื่อสารทางลบโดยเฉพาะ การกระทำ� บางอยา่ งของพอ่ แม่ แตพ่ อ่ แมไ่ มค่ ดิ วา่ การกระทำ� ดงั กลา่ วเปน็ การสอื่ สาร ทางลบ เชน่ พอ่ แม่ถอื ว่ามีสทิ ธิส์ ั่งสอนลกู หากการสง่ั สอนโดยการตำ� หนิ ห้ามปราม ถือเป็นการเร่ิมต้นของการสื่อสารทางลบ จะท�ำให้การส่ือสารเข้าใจกันยาก ฉะนั้น การสื่อสารด้วยการรับฟงั /พดู คยุ ทีไ่ มใ่ ช้วิธหี ้ามปราม ต�ำหนิ จะได้ผลมากกวา่ (๔) ระวัง Hate Speech ถ้อยค�ำโจมตีบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ด้วยเหตุแห่งเชื้อชาติ ศาสนา ตามหลักจิตวิทยา Hate Speech จะเป็นการเริ่ม (Prelude) ของความรุนแรง (Violence) หากไม่ต้องการให้สังคมเป็นแบบน้ัน ควรแก้ไขโดย ๒ ไม่ และ ๑ เตือน คือ ๒ ไม่ = ไม่ผลิตข้อความที่แสดงความ เกลยี ดชงั / ไมส่ ง่ ตอ่ ขอ้ ความทแี่ สดงความเกลยี ดชงั ๑ เตอื น = ควรเตอื นผทู้ ใ่ี ชถ้ อ้ ยคำ� โจมตีบคุ คลหรอื กลมุ่ บุคคล (๕) เรอ่ื งความเปลยี่ นแปลง นกั ปรชั ญาเฮเกล ผนู้ ำ� ปรชั ญา dialectic ซึ่งมองว่าทกุ อยา่ งในโลกน้อี ยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑ์ Thesis สงิ่ ท่ีเป็นความเหน็ เดมิ และ ถกู ตอ่ ตา้ นดว้ ยความเหน็ ตรงขา้ ม Antithesis การเปลย่ี นแปลงใด ๆ ในโลกสว่ นใหญ่ จะอยู่ตรงกลางเรยี กวา่ Synthesis ฉะนน้ั คนที่เช่อื ของเกา่ มาก ๆ ก็ต้องยอมเปลีย่ น บา้ ง คนทเ่ี ชอ่ื Antithesis กต็ อ้ งยอมรบั วา่ สงั คมจะเปลย่ี นโดยไมม่ ขี องเกา่ เลยเปน็ ไป ไม่ได้ ถ้าเขา้ ใจความเปล่ยี นแปลงก็จะชว่ ยได้โดยไมเ่ กิดความรนุ แรง (๖) ส่วนใหญ่คนไทย จะเป็นคนกลาง ๆ คือ ไม่ใช่สุดข้ัวท้ังสอง แบบ ซง่ึ เราจะเรยี กวา่ Major Silence แตค่ ิดวา่ สงั คมเปลยี่ นเปน็ Synthesis ที่ดีได้ 57รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
โดยตอ้ งเปล่ียนจาก Major silence เป็น Major Voice คือ คนทีเ่ ป็นกลางประมาณ ร้อยละ ๘๐ ของประชากร ท�ำอย่างไรให้มี Major voice คือ เราต้องการ เปล่ียนแปลงให้มีความเหมาะสมกับประเทศไทยโดยยอมรับความเห็นต่าง โดยไม่ใช้ความรุนแรงรวมทั้ง Hate Speech ควรริเร่ิมด้วยการให้แต่ละองค์กร จัดประชุมพูดคุยกันในเรื่องความขัดแย้งที่ให้ทั้งสองฝ่ายได้ คุยกันด้วยเหตุด้วยผล แทนที่จะไปพูดกันบนท้องถนน ซึ่งควบคุม hate speech ยาก โอกาสเกิด ความรุนแรงก็มากหากช่วยกันก็จะเกิดการยอมรับเหตุผลหรือความเห็นต่าง ได้มากขน้ึ ๆ สง่ ผลให้รฐั และสังคมต้องหาทางออกแบบ synthesis กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ใหข้ อ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะสำ� หรบั สถานการณ์ ท่ามกลางความขัดแย้ง ดังน้ี ๑) มหาวิทยาลยั ควรชว่ ยลด Hate Speech ดว้ ยหลัก ๒ ไม่ ๑ เตือน คือ ไม่ผลิตและไม่ส่งต่อข้อความท่ีสร้างความเกลียดชัง และเตือนหากพบข้อความ เหลา่ นนั้ ย่งิ เป็นกลมุ่ เดียวกนั การเตอื นยิ่งได้ผลดี ๒) เรื่องของการมี Guideline วิธีการที่จะอยู่ในท่ามกลางความ ขดั แยง้ ได้ เชน่ การรบั ฟงั ความเหน็ ตา่ ง โดยทไ่ี มใ่ ชค้ วามรนุ แรง แตพ่ ยายามจะเรยี นรู้ กนั และกนั ๓) มหาวิทยาลัยควรมีการวางแผนเพ่ือรองรับสถานการณ์ดังกล่าว หากมีนักศึกษาที่มีส่วนร่วมกับสถานการณ์ท่ามกลางความขัดแย้ง ซ่ึงหน่วยงาน หลาย ๆ หน่วยงานควรร่วมกันช่วยแก้ปัญหา การรับข้อมูลข่าวสารอาจารย์และ นักศึกษาควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร โดยอาจารย์เป็นบุคคลที่นักศึกษาเช่ือ ในการรบั ฟังข้อมลู บางส่วน และนกั ศกึ ษาจะไปศึกษาคน้ คว้าต่อเอง อาจารย์จึงควร สร้างความเข้าใจให้นักศึกษาไดร้ ับข้อมลู ข่าวสารที่ถกู ตอ้ ง ๔) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเป็นมหาวิทยาลัยสร้างครู มหาวิทยาลัยควรสร้างความศรัทธาและความเช่ือในการท่ีนักศึกษาจะเป็นครู ตอ้ งปฏิบตั ิตวั อย่างไรในการเป็นครู มีจิตวญิ ญาณความเป็นครู 58 สนุ ทรยี สนทนาเพ่ือพฒั นามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทท่ี ๖ การเย่ยี มคณะและหน่วยงาน ๖.๑ คณะวทิ ยาการจดั การ วันนี้ได้ไปพบกับผู้บริหาร คณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ ได้ย้�ำว่าสภามหาวิทยาลัยประสงค์ให้มหาวิทยาลัยเป็นภูมิปัญญาของจังหวัด เพราะขนาดของจังหวัดราชบุรีเป็นขนาดที่เหมาะสมในการพัฒนาให้เป็นจังหวัด ท่ีพัฒนาแล้ว นอกจากน้ียังมีทรัพยากรท่ีเป็นต้นทุนคือ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระดับรายได้ต่าง ๆ ที่สามารถที่จะพัฒนาต่อไปได้ อย่างไรก็ดีการพัฒนานี้ต้อง อาศยั ๓ เรื่อง คอื (๑) ความรู้ ซึง่ เกิดขึน้ จากการจัดการความรูท้ ี่มีอย่แู ลว้ และจาก การวิจัยสิ่งท่ียังไม่รู้ (๒) เทคโนโลยีที่จะท�ำให้ทุกอย่างรวดเร็วข้ึน ง่ายข้ึน และ (๓) การจัดการ ซ่ึงการด�ำเนินการทั้ง ๓ เรื่อง ต้องมีธรรมะ ๓ ประการควบคู่ กัน คือ ความรู้ต้องคู่กับคุณธรรม การใช้เทคโนโลยีต้องมีจริยธรรม และเรื่องของ การบริหารจัดการต้องมีธรรมาภิบาล จากน้ันได้มีการแลกเปลี่ยนถึงเรื่องความ เช่ือมโยงระหว่างส่วนรับใช้ชุมชน กับส่วนจัดการเรียนการสอน ซึ่งทางคณะได้มี ความพยายามให้กิจกรรมการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการเช่ือมโยงกับ กิจกรรมรับใช้ชุมชนอยู่แล้ว เช่น การพัฒนาตลาดอมย้ิม หรือการพัฒนาบริเวณ ชายแดนที่สวนผึ้ง และในตอนท้ายคณาจารย์ได้มีการน�ำเสนอแผนการสอน Active Learning ภายใต้บรรยากาศที่มีความเป็นกันเอง ซ่ึงท�ำให้ได้ข้อสรุป คือ คณะวิทยาการจัดการมี การด�ำเนินการลักษณะ Action Learning อยู่แล้ว คือ นักศึกษาต้องท�ำโครงการลงสู่ชุมชน ลงสู่ สถานประกอบการ แต่การจะท�ำอย่างไร ให้เป็น Active Learning นั้นได้ข้อสรุปว่าอันดับแรกต้องท�ำให้วิชาพ้ืนฐานที่อยู่มี การเรียนการสอนในห้องเรียนมีลักษณะ Active Learning ก่อน เพราะถ้าการจัด การเรียนการสอนวิชาพื้นฐานในห้องเรียนไม่มีลักษณะ Active แล้วไปจัดการเรียน รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 59
การสอนนอกห้องเรียนอาจมีนักศึกษาบางส่วนไม่ทุ่มเทเรื่องการท�ำงานได้ ซึ่งเป็น การผลติ บัณฑติ ท่ที �ำใหม้ นี ิสัยการท�ำงานไมด่ ีตั้งแต่ตน้ การออกแบบกิจกรรมและการออกแบบกลุ่มในห้องเรียนเป็นการ ช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งก็จะมีผลต่อการศึกษาในระยะถัดไปที่มีลักษณะ เป็นโครงการหรือโครงงานท่ีมีการลงพื้นท่ี และก็จะมีผลระยะยาวเมื่อออกไปเป็น บัณฑิตเพราะมีความสามารถประกอบกิจกรรมได้ และถ้าเขาไปเป็นอยู่ในองค์กรก็ จะเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี ององคก์ ร นอกจากนย้ี งั มกี ารหารอื เรอื่ งการเปลย่ี นแปลงแนวทาง การเรียนรู้จากแบบเดิม ท่ีนักเรียนประสบมาเป็นเวลานานก่อนเข้ามาศึกษาใน มหาวทิ ยาลัย ซึง่ ก็เห็นตรงกันว่าจะตอ้ งใช้ PLC เป็นเคร่อื งมือ ระบบประกนั คณุ ภาพ การศึกษาอาจน�ำมาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพระดับหนึ่ง แต่ถ้าจะพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเน่ืองตอ้ งมีวง PLC แลกเปล่ียนกนั เปน็ ประจ�ำ ๖.๒ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม (คร้ังท่ี ๑) ชว่ งเชา้ วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดไ้ ปเยยี่ มคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และอาจารยข์ องคณะได้น�ำเสนอเรื่อง Active Learning มีประเด็นที่ น่าสนใจหลายประการ อาจารย์ผู้มาน�ำเสนอเป็นอาจารย์ท่ีอยู่ในวง PLC น�ำเสนอ การสอนวชิ าเกย่ี วกบั วสั ดอุ ตุ สาหกรรม เปน็ การสอนแบบ MIAP ซงึ่ เปน็ แผนการสอน ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ การสอนแบบ MIAP ประกอบด้วยกระบวนการอยู่ ๔ ขนั้ ตอน ดังน้ี (๑) ข้ันสนใจ (Motivation) (๒) ข้ันศกึ ษาข้อมลู (Information) (๓) ขัน้ พยายาม (Application) (๔) ขน้ั ส�ำเรจ็ ผล (Progress) ในแง่ Active Learning คือการมอบ assignment ให้นักศึกษา ไปค้นคว้า (๘ เร่ือง) แล้วน�ำมาเสนอ และ assignment ซึ่งเป็นขั้นสุดท้าย คือ การพานักศึกษาไปศึกษาดูงาน จากนั้นได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โดยเสนอ 60 สนุ ทรียสนทนาเพ่ือพัฒนามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
ให้ใช้โมเดล Meta Active Learning ประกอบ เพราะจะท�ำให้สามารถสอบทาน การออกแบบการสอนไดก้ ับทกุ ๆ เทคนคิ การสอน รวมทัง้ MIAP ด้วย เพ่อื ให้เกิด Active Learning การใช้ Meta Active Learning คือ การออกแบบกลุ่ม และออกแบบงานให้ครบ ๔ องค์ประกอบ คือ (๑) ประสบการณ์ (Experience) (๒) การสะท้อน และอภิปราย (Reflection and Discussion) (๓) ความคดิ รวบยอด (Concept) (๔) การทดลอง/การประยกุ ตแ์ นวคดิ (Experimentation / Application) ยกตัวอย่างในกรณีนี้ ในการสรุปบทเรียนด้วยการถามนักศึกษาว่า รถยนต์มีวัสดุอุตสาหกรรมอะไรบ้าง นักศึกษาอาจต่างคนต่างตอบ แต่ถ้าใช้ Meta Active Learning Model ประกอบจะท�ำให้ต้องมีการออกแบบกลุ่มด้วย อาจเปน็ การให้นกั ศึกษาจับค่ปู รกึ ษากันจะได้มีการตอบสนองทุกคน ชว่ ยให้ active เพ่ิมข้ึน กระบวนการก็จะด�ำเนินไปในลักษณะนี้ จึงเห็นว่าถ้าใช้ Meta Active Learning ไปช่วยตรวจสอบ หรือใช้ประกอบกับเทคนิคการสอนที่อาจารย์ใช้อยู่ จะช่วยท�ำให้คณุ ภาพของ Active Learning ดีข้ึน ประเด็นที่สอง การสอนเป็น Part หรือเป็นส่วนๆ คือสอนในห้องเรียน ๒ คาบ ให้ไปท�ำรายงานและมาน�ำเสนอ จ�ำนวน ๑๑ คาบ และศึกษาดูงานอีก ๒ คาบ รวมเปน็ ๑๕ คาบ อาจทำ� ใหเ้ กดิ Active Learning ไมค่ รอบคลมุ ยกตวั อยา่ ง เชน่ การให้นักศึกษาไปทำ� รายงาน คอื Active Learning แตส่ ่วน การนำ� มาเสนอ ถ้าเป็นแต่เพียงการน�ำเสนอให้กลุ่มอื่นนั่งฟัง การน�ำเสนอก็จะไม่เป็น Active Learning หมายความว่า กลุม่ ท่ีรบั ฟังการรายงานตอ้ งเปน็ Active Learning ดว้ ย ดังน้ันการออกแบบกิจกรรมการน�ำเสนอผลให้เป็น Active Learning ก็ส�ำคัญ จึงเสนอแนะว่าให้ใช้ Sandwich Model คือ เปรียบการน�ำเสนอเหมือนเนื้อ Sandwich ที่มีขนมปังประกบหัว ประกบท้าย ประกบหัวคือต้องให้มีกิจกรรม การดึงหรือเชื่อมโยงประสบการณ์ของผู้ฟังที่สัมพันธ์กับเร่ืองน�ำเสนอก่อนท่ี จะมีการน�ำเสนอ เม่ือน�ำเสนอแล้ว ขนมปังส่วนท้าย คือต้องมีกิจกรรมให้ผู้ฟัง น�ำเสนอว่าเร่ืองที่ฟัง สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ หรือน�ำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 61
ซง่ึ แนวทางนก้ี จ็ ะสอดคลอ้ งกบั โมเดล Meta Active Learning ทไ่ี ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ และ ทางมหาวิทยาลยั กำ� ลงั พยายามดำ� เนนิ การอยอู่ กี ด้วย ประเดน็ ทสี่ าม การไปศกึ ษาดงู าน ถา้ ใช้ Meta Active Learning Model มาพิจารณา ถือได้ว่าการศึกษาดูงานเป็นประสบการณ์ และเมื่อทางฝ่ายที่รับ การศึกษาดูงานต้องบรรยายให้ฟัง (concept) ก็จะได้สององค์ประกอบของโมเดล แต่ยังขาดอีกสององค์ประกอบ คือ เรื่อง Reflection and Discussion และ เรอื่ ง Application ซงึ่ ถา้ ใหน้ กั ศกึ ษาจบั กลมุ่ ทำ� งานใหเ้ หมาะสม จะทำ� ใหก้ ารไปศกึ ษา ดงู านมีความเป็น Active Learning มากขนึ้ อีก สรุปวา่ Active Learning เปน็ เรื่องท่ีมีเพดานลา่ ง แตไ่ มม่ ีเพดานบน คอื พัฒนาไปได้เร่ือย ๆ ซง่ึ ในท่สี ดุ ก็มาสู่ตรงทว่ี า่ ต้องมวี ง PLC เพราะวง PLC จะช่วย พัฒนา Active Learning เพ่ิมขึ้นได้อีกประเด็นหนึ่งที่ได้ฝากคณะไว้คือ ในโอกาส ที่จะมีการเย่ียมในคร้ังต่อๆ ไป สนใจที่จะเห็นคณะมีบทบาทในการตอบสนอง ทอ้ งถนิ่ และสงั คมใหม้ ากขนึ้ เรอ่ื งแรกทนี่ า่ สนใจคอื เรอ่ื งการผลติ และพฒั นาอาจารย์ สายอาชวี ะ เพราะ ๑) คณะมกี ารพัฒนา Active Learning และ ๒) วิชาท่ีสอน คือ วชิ าทางดา้ นเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ซง่ึ จะเปน็ พน้ื ฐานในการผลติ หรอื พฒั นาอาจารย์ สายอาชีวะได้อกี เรือ่ งหนง่ึ คอื มหาวิทยาลยั รับใช้การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ซึ่งกรณนี ้ี คอื จังหวัดราชบุรี คณะควรศึกษาว่าราชบุรีมีโจทย์การพัฒนาอะไรบ้าง และโจทย์ใด ทีค่ ณะสามารถตอบสนองได้ มีค�ำถามจากอาจารย์เก่ียวกับการขอผลงานทางวิชาการในส่วนการ ประเมินการสอน ท่ีจะต้องด�ำเนินการภายในวันท่ี ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงที่ ประชมุ ไดม้ ีการร่วมอภปิ รายกนั อย่างกว้างขวาง สรุปได้ดังน้ี ๑) การขอต�ำแหน่งทางวิชาการภายใต้เกณฑ์ใหม่จะเร่ิมใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป ดังน้ันการขอต�ำแหน่งทางวิชาการภายใต้ เกณฑป์ จั จบุ นั หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ เกณฑเ์ ดมิ จะตอ้ งสง่ ผลงานรวมทง้ั ดำ� เนนิ การประเมนิ การสอนเสร็จส้ินภายในวันท่ี ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ๒) การประเมินการสอน เป็นการประเมินการสอนในรายวิชาท่ีได้จัดท�ำ เป็นผลงานเอกสารประกอบการสอน 62 สุนทรียสนทนาเพ่ือพัฒนามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๓) กรณีท่ีผลงานในเชิงเอกสารเรียบร้อยแล้ว และต้องการขอต�ำแหน่ง ทางวชิ าการภายใตเ้ กณฑ์เดมิ แต่ยังไมไ่ ดม้ ีการประเมนิ ผลการสอน จะตอ้ งประเมิน ผลการสอนให้เสร็จส้ินภายในวันท่ี ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งในทางปฏิบัติคือ ต้องประเมินผลการสอนในภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ และส่งเอกสาร ตามเกณฑ์ (เดิม) ภายในวันที่ก�ำหนด ซึ่งถ้ามีอาจารย์ในกรณีนี้ มหาวิทยาลัย โดยบุคคล และหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรได้มีการวางแผนจัดการให้มีรายวิชาที่จะ ตอ้ งประเมนิ การสอนเปิดในภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ นี้ ๔) ในส่วนของมหาวิทยาลัยภายใต้เกณฑ์ใหม่ มหาวิทยาลัยมีนโยบาย ท่ีจะสร้างกลไกและกระบวนการในการช่วยกล่ันกรองผลงานของอาจารย์ก่อน ที่จะส่ง และไปถึงขั้นตอนการประเมินโดย Readers และมีนโยบายจัดท�ำคู่มือ เพ่ือเป็นแนวทางให้กับอาจารย์โดยเฉพาะอาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัยสามารถ วางแผน Career Path ใหส้ อดคลอ้ งกบั เง่อื นไขการทำ� สัญญากับมหาวทิ ยาลยั ๖.๓ วทิ ยาลัยมวยไทยศกึ ษาและการแพทยแ์ ผนไทย ช่วงเช้าของวันท่ี ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้ไปพบผู้บริหาร และคณาจารย์ของวิทยาลัย มวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย และได้มอบ นโยบาย PLC เพื่อจะท�ำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเป็นมหาวิทยาลัย แนวหน้า ซ่ึงผู้บริหารและคณาจารย์เข้าใจนโยบายดังกล่าว และเข้าใจชัดเจนข้ึน ท่ีว่า จะต้องมีการประชุมวง PLC อย่างน้อยเดือนละสองครั้งของวิทยาลัย และ ของสาขาวิชา ได้เสนอแนะคณะ ว่าต้องมีเจตจ�ำนงร่วมกันและมีเวลาที่จะมา ดำ� เนนิ การรว่ มกนั โดยสรปุ วทิ ยาลยั มวยไทยศกึ ษาและการแพทยแ์ ผนไทยจะประชมุ PLC ในวนั พุธช่วงเวลา ๑๑.๓๐ น. – ๑๓.๐๐ น. และใหม้ ี Core Team เพอื่ ดูแล ติดตาม ประเด็น PLC ทจ่ี ะด�ำเนินการก่อนคอื ปรบั มคอ.๓ ให้รองรบั เรื่อง Active Learning คาดว่าวิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทยจะขับเคลื่อน เรอื่ งการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (QA) โดย Active Learning พรอ้ มกบั การพฒั นา คุณภาพอยา่ งต่อเน่อื งของงาน โดยใช้วง PLC ไดอ้ ย่างเขม้ แขง็ รวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 63
๖.๔ ศูนย์ภาษา วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ช่วงเช้า นายกสภามหาวิทยาลัย ได้ไปเย่ียมศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ซึ่งมีหน้าท่ีจัดการสอบ Exit Exam โดยได้ร่วมหารือกับคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รองอธิการบดี อาจารย์ ดร.อาคม เจริญสุข และหัวหน้าศูนย์ภาษา ในการดูแล ให้นกั ศึกษามีความรู้ภาษาองั กฤษอย่างเหมาะสม ซึ่งจากการหารอื ได้เห็นพอ้ งกนั ว่า ควรมีการปฏิรูปการเรียนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย โดยใช้หลักการ ดังนี้ ๑) เปลี่ยน Exit Exam จากการมองว่าเป็นเรื่องการสอบเป็นหลักแล้วเกิดปัญหา นักศึกษาสอบไม่ผ่านเป็นจ�ำนวนมาก ไปเป็นเร่ืองการสร้างสมรรถนะ/ความรู้ ด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา ๒) การสร้างสมรรถนะต้องสร้างให้เป็นวิถี สอดคล้องกับสมอง หรือช่วงวัยของนักศึกษา และ ๓) ใช้พลังทั้งมหาวิทยาลัย (Alignment) จากหลกั การทง้ั ๓ ขอ้ ดงั กล่าว สามารถนำ� มากำ� หนดเป็นยุทธศาสตร์ หรอื แนวทางในการด�ำเนินการ ๕ เร่ือง ไดแ้ ก่ ๑) การเรียนภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะในรายวิชา GE ต้องมีความ เชื่อมโยงกับการสอบ Exit Exam ท้ังในแง่เน้ือหา และระยะเวลาในการสอบ คือ โดยไมร่ อให้ไปสอบตอนเมื่อใกล้ส�ำเร็จการศกึ ษา ๒) ควรส่งเสริมการอ่านนอกเวลาที่เป็นภาษาอังกฤษ โดยควรท�ำให้ ส่ิงนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของวถิ ชี ีวิตนกั ศึกษา ๓) ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสอนรายวชิ าอน่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ชร่ ายวชิ าภาษาองั กฤษ เพื่อเพ่ิมโอกาส การเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาให้เพ่ิมมากข้ึน โดยอาจน�ำไป หารอื ในท่ีประชมุ กรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ๔) สร้างสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้มีภาษาอังกฤษ เช่น มีการ ตดิ ป้ายต่างๆ ทเ่ี ป็นภาษาองั กฤษ ๕) จดั ใหม้ ภี าษาองั กฤษในรปู แบบ Edutainment เชน่ การรอ้ งเพลง การชมภาพยนตร์ เป็นตน้ 64 สนุ ทรียสนทนาเพอื่ พฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๖.๕ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (ครั้งที่ ๒) วันนี้ได้เย่ียมคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมท�ำให้ได้รับทราบ แผนการพัฒนา Active Learning ของคณะซึง่ อยูใ่ นกลมุ่ ทต่ี ้องพฒั นา สาระส�ำคญั ของแผนซึ่งเกิดจากการเรยี นรู้บทเรียนความสำ� เร็จของคณะอน่ื คอื คณะจะแตง่ ต้งั คณะท�ำงาน จ�ำนวน ๑๓ คน และใช้วง PLC ขับเคลื่อนเรื่อง Active Learning วง PLC ช่วงแรกจะเป็นวงรวมก่อน ในระยะต่อไปจึงจะเป็นวงระดับสาขา Theme ส�ำหรับการท�ำ PLC ในช่วงแรกๆ จะเน้นการเรียนรู้แผนการสอน ทเ่ี ป็นตวั อย่างทีด่ ี ถัดจากน้ันได้มีการน�ำเสนอโครงการจัดการเรียนการสอนท่ีเป็น Active Learning ดา้ น การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ซง่ึ โครงการแรกเปน็ เรอื่ งการอบรมทกั ษะ ด้านอาชีวอนามัย ซ่ึงน่าสนใจ แต่ได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า ท�ำอย่างไรจะก้าว เลยไปกว่าการอบรม คือเป็นการท�ำให้เกิดมาตรฐานด้านความปลอดภัยขึ้นกับ สถานประกอบการ อีกโครงการหน่ึงเป็นโครงการเรียนรู้เร่ืองการจัดท�ำ Digital Media เก่ียวกับท้องถิ่นจากการปฏิบัติจริง โดยมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลมาร่วมเรียนรู้ ซึ่งได้ให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ การผลิตสื่อวา่ ถ้าจะให้เกดิ Maximum Learning ต้องมี ๓ เฟส คือ ขัน้ Pre-pro- duction, Production, และ Post-production และควรมีการเรียนรู้การจัดท�ำ ในลักษณะท่ีเป็น Interdisciplinary ช่วงสุดท้ายได้มีการอภิปรายแต่ยังไม่สิ้นสุด คอื เรอื่ งการพฒั นาคำ� อธิบายรายวชิ าใหม้ ลี ักษณะเปน็ Competency- Based ๖.๖ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะไดเ้ สนอการด�ำเนนิ การ เรอ่ื ง Active Learning และโครงการ พัฒนาท้องถ่ิน จ�ำนวน ๙ โครงการ ส่วนใหญ่เป็นโครงการท�ำค่าย ซึ่งมีลักษณะ เป็น Event-Based หรือ Output-Based Project แต่สภามหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมีนโยบายต้องการให้เป็น Outcome-Based คือ ไม่เน้นเร่ืองการฝึก อบรม แตเ่ ปน็ โครงการที่มีผลลัพธเ์ ป็นตัวตัง้ วา่ จะเกิดสงิ่ ทเ่ี ปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง การพัฒนาการเรียนการสอนแบบ Active Learning ให้กับโรงเรียนก็เป็นประเด็น รวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 65
ที่น่าสนใจ โดยเฉพาะในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพราะการสอนแบบ Active Learning ในวิชาเหลา่ น้จี ะได้ผลมาก ๖.๗ ส�ำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม ในช่วงเช้าของวันประชุมได้ไปเย่ียมส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ของมหาวิทยาลัย ส�ำนักได้น�ำเสนอการท�ำกิจกรรมที่ผ่านมา ซ่ึงมีผลงานกิจกรรม และประสบการณ์ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมจ�ำนวนมาก จากนั้นได้มีการ แลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบไม่เป็นทางการกับทางส�ำนัก ซ่ึงน่าสนใจและ เปน็ ประเด็นทีต่ ้องการแจ้ง ดังน้ี ๑) สำ� นักควรมีบทบาทในการทำ� Blue Print หรอื แบบพิมพ์เขียว ของการสืบทอดศิลปวัฒนธรรมท่ีเข้มแข็งของสังคมไทยในลักษณะ Community เปน็ ฐานใหเ้ ดน่ ชดั มากขนึ้ เพราะจงั หวดั ราชบรุ ี คดิ วา่ มแี หลง่ ทม่ี ศี กั ยภาพจำ� นวนมาก เช่น วัด ชุมชน หรือที่ได้ท�ำบ้างแล้ว เช่น ตลาดอมย้ิม โดยท�ำเป็น Blue Print ให้ชัดเจนว่ามีที่ใดบ้างท่ีมีศักยภาพ สมมติว่าก�ำหนดปักหมุดได้ ๓๐ แห่ง ถ้าจะ พัฒนาต้องมีองค์ประกอบท่ีสองคือ ชุมชนต้องมีศักยภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยต้อง เข้าไปชว่ ยสรา้ งหรอื กระตนุ้ กระบวนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน จากท่สี มมติ ๓๐ แหง่ ถ้ากระตนุ้ ส�ำเร็จอาจไดค้ ร่ึงหน่งึ คอื ๑๕ แหง่ ก็จะนำ� ไปสขู่ น้ั ตอนหรอื องคป์ ระกอบ ที่ ๓ คือเศรษฐกจิ ใหม่ที่สามารถสรา้ งรายได้ ซ่งึ พสิ จู น์มาแล้วทั่วโลกวา่ การสืบทอด ศิลปวัฒนธรรมจะมีความเป็นไปได้ต้องมีองค์ประกอบน้ีจึงต้องหาให้เจอ กล่าวโดย สรุปการสืบทอดศิลปวัฒนธรรม ต้องก�ำหนดองค์ประกอบที่ ๑ ก่อนคือแหล่งหรือ พน้ื ท่ีท่มี ีศกั ยภาพดา้ นศลิ ปะและวัฒนธรรมซ่ึงมอี ยแู่ ลว้ จากนั้นสรา้ งองคป์ ระกอบที่ ๒ คือ ชุมชนท่ีมีศักยภาพในการดูแล บริหารจัดการ และจากน้ันพัฒนาหรือค้นหา องค์ประกอบที่ ๓ คือเศรษฐกิจใหม่ท่ีจะท�ำให้การอนุรักษ์ สืบทอดมีความยั่งยืน ลองวิเคราะห์เป็นเชิงยกตัวอย่างในจังหวัดราชบุรี อาจคิดถึงวัดมหาธาตุ วัดคูบัว และวัดตลาดควาย วัดมหาธาตุมีองค์ประกอบ ๑ แต่องค์ประกอบ ๒ และ ๓ ไม่มีหรือไม่เด่นชัด ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีน่าเสียดาย เพราะวัดมีประวัติศาสตร์ท่ีเก่าแก่ 66 สนุ ทรียสนทนาเพอ่ื พฒั นามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
กรณีวัดคูบัวมีองค์ประกอบท้ังสามโดยองค์ประกอบที่ ๑ เด่นชัดท่ีสุด ซ่ึงถ้า สามารถท�ำให้องค์ประกอบท่ี ๒ และ ๓ มีความเข้มแข็ง เด่นชัดก็จะประสบ ความสำ� เรจ็ ยงิ่ ขนึ้ กรณวี ดั ตลาดควาย เปน็ ชมุ ชนของชาวไทยทรงดำ� ทม่ี อี งคป์ ระกอบ ท่ี ๑ และทางมหาวิทยาลัยเข้าไปมีส่วนร่วมให้เกิดองค์ประกอบ ๒ และ ๓ แล้ว แตย่ งั ตอ้ งการการพฒั นาชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ มกี ารบรหิ ารจดั การทด่ี เี พอื่ ใหอ้ งคป์ ระกอบ ที่ ๓ คือการเป็นตลาดที่เป็นแหล่งท่องเท่ียววัฒนธรรมท้องถ่ินที่มีความเด่นชัด เข้มแข็ง ดังนั้น จึงมีข้อเสนอว่า มหาวิทยาลัยโดยคณาจารย์ควรมาช่วยกันค้นหา องค์ประกอบที่ ๑ ซึ่งมีอยู่แล้ว จากนั้นหา Know How สร้างองค์ประกอบท่ี ๒ ชุมชนแนวร่วม และองค์ประกอบท่ี ๓ การท�ำเศรษฐกิจใหม่ คิดว่าถ้าเรามี Know How อยู่ในมหาวิทยาลัยของเรา ในพื้นที่ของเรา ก็จะช่วยจังหวัดได้เป็น อยา่ งมาก ๒) กิจกรรมท่ีจะรักษาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมการแสดงที่มี อยู่มาก ซึ่งส่วนใหญ่จะต้องได้รับความร่วมมือจากนักศึกษาในรูปแบบของชมรม นักศึกษา ซึ่งเม่ือได้ถามว่าชมรมมีแนวโน้มขยายตัวหรือหดตัว อาจารย์ของส�ำนัก ตอบวา่ ทผ่ี า่ นมามกี ำ� ลงั มกี ารรกั ษาการแสดงไวไ้ ดเ้ พราะมนี กั ศกึ ษาทม่ี คี วามสามารถ ไดร้ ับทนุ อญั มณี แต่หากวา่ นกั ศกึ ษาเหล่าน้ลี ดลง เร่อื งนี้กจ็ ะมแี นวโน้มออ่ นแอหรอื หดตัวลง จึงเสนอว่าท่ีจริงแล้วนักศึกษาท่ีสนใจท�ำกิจกรรมด้านนี้ น่าจะสนใจ และท�ำตั้งแต่ศึกษาในระดับมัธยม ถ้าส�ำนักหรือมหาวิทยาลัยได้ไปสร้างความ ร่วมมือ จัดสัมมนาให้ความรู้ พัฒนาความเป็นผู้น�ำ ดึงการมีส่วนร่วมของนักเรียน กลุ่มน้ี และสุดท้ายดึงนักศึกษาที่สนใจให้มาเรียนที่มหาวิทยาลัย ก็จะท�ำให้ มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะส�ำนักมีนักศึกษาที่มีศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมที่มี Characteristic ของผนู้ �ำท่จี ะกระท�ำและนำ� พาเพอ่ื นๆ ใหม้ าท�ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ได้ อยากให้อาจารย์เน้นบทบาทในลักษณะนี้ให้มากข้ึน นอกเหนือจากการท�ำจุดแข็ง ที่มีอย่แู ล้วคือการดึงนักศกึ ษาที่มคี วามสามารถมาพัฒนาการแสดง 67รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
๖.๘ คณะวิทยาการจัดการ เร่ืองหลักท่ีหารือกันคือเรื่อง Active Learning และเรื่อง การพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน เร่ือง Active Learning มีการมอบรางวัลให้กับอาจารย์ และท่ีส�ำคัญคือได้ให้อาจารย์แต่ละท่านมาเล่าประสบการณ์การท�ำ AL และ แลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน เช่น อาจารย์ ดร.ปิรัณธ์ ชิณโชติ เร่ืองตลาดโอ๊ะป่อย ซ่ึงเป็น Community-based Learning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุพา สะรุโณ วิชาบัญชีต้นทุนเป็นลักษณะ Problem-based Learning อาจารย์ภาคภูมิ พันธู์พิมานมาศ ท�ำ Project-based Learning ได้แลกเปล่ียน ความคิดเห็นไปว่า ไม่ควรเน้น (รูปแบบกิจกรรม) แค่การเป็น Active Learning แต่ให้เน้นท่ีผลให้ เกิดการเรียนรู้ (Maximum Learning) ด้วย ประเด็นที่สอง การสอนนี้น่าจะเป็น การสรา้ งสมรรถนะ Competency อาจมองวา่ ปจั จบุ ันน้ี AL เป็นเครอื่ งมือการสอน ของมหาวิทยาลัย แต่ในอนาคตควรจะก้าวเป็น Competency-based Learning ประเดน็ สุดท้าย วธิ ีการประเมิน มอี าจารยเ์ สนอปญั หาวา่ เมือ่ สอนแบบ AL เนน้ เรือ่ ง ทักษะ แต่เวลาประเมินผลเป็นการประเมินความรู้ ปรากฏว่าคะแนนด้านความรู้ จึงได้คะแนนน้อย ดังนั้นการประเมินผลไม่ถูกต้องหรือไม่ อย่างไร จึงได้เสนอว่า ในแนวทาง Competency-based Learning นน้ั ทงั้ ความรแู้ ละทกั ษะตา่ งกเ็ ปน็ ความรู้ ไดท้ ง้ั คู่ การสอนจงึ ไมค่ วรเนน้ ดา้ นเดยี ว ถา้ สอนความรกู้ ค็ วรประเมนิ ผลแบบ Pre-test และ Post-test ถา้ สอนทกั ษะกป็ ระเมนิ ผลทกั ษะ (Skill) และควรใชว้ ง PLC นำ� เรอื่ ง เหลา่ น้ีมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่วนเร่ืองการพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน กรณีตลาดนครชุมม์ ถือได้ว่า สามารถไปทำ� กจิ กรรมไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก นำ� มาซงึ่ Output ตา่ งๆ เชน่ เกดิ นวตั กรรม ๗ ผลิตภัณฑ์ชาวบ้าน แต่จะท�ำอย่างไรให้เกิดเป็น Outcome ท่ีเป็นการพัฒนา เชอ่ื มโยงไดก้ บั ยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวดั เชน่ ปรมิ าณการมรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ ของประชาชน การมีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม การเกิดข้ึนของวิสาหกิจใหม่ การเพ่ิมจ�ำนวนขึ้นของ นักท่องเท่ียว เป็นต้น กรณีตลาดโอ๊ะป่อย ประสบความส�ำเร็จโดยเน้นเร่ืองของ ความยัง่ ยืน มีการประชุมทกุ สัปดาหห์ ลังตลาด มหี วั ข้อส�ำคญั เชน่ เอาความส�ำเร็จ มาเล่า เอาข้อร้องเรียนมาพิจารณา มีการปรับปรุงการจัดการตลอดเวลา และ 68 สนุ ทรยี สนทนาเพือ่ พฒั นามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
สมาชกิ เองกไ็ มไ่ ดป้ ฏเิ สธกฎเกณฑท์ ต่ี ง้ั ขน้ึ มา เชน่ การพฒั นาการแยกขยะ การจราจร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ ท่ีดีของความยั่งยืน อาจารย์ ดร.ปิรัณธ์ ชิณโชติ จึงได้เสนอว่า ควรทำ� เปน็ คมู่ อื ราชบรุ โี มเดล โดยการถอดความรอู้ อกมา ตอ่ ไปชมุ ชนใดจะใหจ้ งั หวดั และมหาวิทยาลัยสนับสนุนต้องท�ำแบบราชบุรีโมเดล ซึ่งได้ให้ข้อเสนอว่าไม่ต้องรอ ท่ีจะท�ำเป็นงานวิจัย แต่เป็นการประชุมท�ำการจัดการความรู้ (KM Workshop) ระยะเวลาสองวันก็น่าจะเพียงพอ โดยดึงหลากหลายสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องจาก คณะต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วม ได้ผลออกมาเป็นคู่มือเร่ืองราชบุรีโมเดลของ การจัดการตลาดและการจัดการสถานที่ท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน คิดว่าขณะนี้ Knowhow ของ อาจารย์ ดร.ปริ ณั ธ์ ชิณโชติ คอ่ นขา้ งเขม้ แขง็ อย่แู ล้ว ๖.๙ โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริหาร คณาจารย์ และเยี่ยมชม การเรยี นการสอน โดยไดใ้ หแ้ นวคดิ สำ� คญั วา่ หวั ใจสำ� คญั ของโรงเรยี นสาธติ ฯ คอื การ เป็นแบบอย่างการสอนแบบ Active Learning จิตวทิ ยาเชิงบวกในการดแู ลนกั เรยี น และผปู้ กครอง พัฒนาระบบท่ดี ขี ึ้นมา เชน่ ระบบ PLC ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ครู อาจารยก์ ค็ วรมสี ภาวะจติ ใจทด่ี ี เปดิ กวา้ ง หรอื เรยี กวา่ จติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู ในตอนท้ายได้เปิดโอกาสให้คณาจารย์ได้แลกเปลี่ยน ปรากฏว่าส่วนใหญ่เป็นเร่ือง ความรู้สึกไม่สบายใจ ไม่มั่นคงเกี่ยวกับสถานภาพท่ีไม่ได้เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานราชการ ซ่ึงยังท�ำให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินกู้ด้วย เป็นสิ่งที่ สะท้อนความคิด ความรู้สึกของครู จึงเห็นว่าควรจะต้องมีการส่ือสาร สร้างความ ตระหนักในคุณคา่ ของตนเอง การเสรมิ แรง เพือ่ ให้มีกำ� ลงั ใจทำ� งานไดด้ ขี ึ้น ๖.๑๐ คณะครศุ าสตร์ (คร้ังที่ ๑) คณะครุศาสตร์ได้เสนอเร่ืองการพัฒนาโรงเรียน ๔๐ โรงเรียน ในลักษณะโรงเรียนเครือข่าย ด้วยขณะน้ีนายกสภามหาวิทยาลัยได้มีโอกาสไปเป็น ประธานเครอื ข่ายปฏริ ปู การศกึ ษาไทย Thailand Education Partnership (TEP) ซ่ึงจะจัดสัมมนาใหญ่ทุก ๆ ปี ปีนี้มีการถอดบทเรียนว่าโรงเรียนท่ีปฏิรูปการศึกษา รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 69
ส�ำเร็จทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะมีเพียง ๑% ของโรงเรียนท้ังหมด และโรงเรียนเหล่านี้ จะมีลักษณะที่ชัดเจน ได้แก่ โรงเรียนจะเน้นเร่ือง Active Learning และ PLC ๔๖ เป็นเร่ืองส�ำคัญ และโรงเรียนมักจะเชื่อมโยงกับการปฏิรูปการศึกษาด้านอื่น ๆ ศึกษาด้านอื่นเชๆ่นเชก่นารกสารร้าสงรก้ารงรกมรรกมากราสรถสาถนาศนึกศษึกาษทาี่เทขี่เ้มข้แมขแ็ขง ็งเชเชื่อื่อมมโโยยงงกกับับกการผลิตครูโดยเปป็น็นโรงเรียน สอน การเพิ่มบโรทงบเรายี ทนขฝอกึ งสผอู้ปนกคกราอรงเพแิ่มลบะทกาบราสท่งขเสอรงผิมปู้บกทคบราอทงควแาลมะเกปา็นรผสู้นง่ เำสขรอมิ งบนทักบเราียทนควจาึงมเเสปน็นอกับทาง ะกวา่ารคบนวรรอหินกาำจรขาจ้อกัดผ กคมนกูบั้อืนูลี้ยาน�ำังร๑๔ข้ีไเเหป)ค๐อป็นรโงรโือนรวรงขับ่าักงเนโรา่ปเเรรยียรอรงียียนกงุเนรกนตจียับ้นาดนจกกแงั เึงานบกคเรี้ยลรสบทือัง่านำเแวของหล่าาก็นยนะับวจก๒่าทะบั โ)สารง๔ำกงคเเา๐รรณร็จียบโไะนรดรวงเหิ้ดเค่าร้วาครียยรือวนจรข๒ัดนด่ากยงั�ำอากขจงรลค้อะเ่า์ปสคมว�ำรรูลเะอืนรกข็ี้จไอ่าปไยบดป ้ดร ้วคับยือปร๑๒ุง)กอโับรงกงคเาร์ปรียรทนะ�ำตกง้นอาแนบบบ และ กะเทรื่อำงงาเดน็กทแี่ทลำ๓ะหอแ แ)เนยลลอเาังะนะนสวเไไยื่อชดือลานง้มขนวจอใีโใ์ ชชาอนงนก้สกม ทมื่อาูลาปีสโอนง๓อทรปอิธ)กาผี่ินสร กาเะดิื่อไนสฏลชเเเ่ืพอวนุมชป่างื่อ์นใ่ก็นรจนกับะคกาทาคยณากราณะรพมงะตหทัฒีะโกดิลอี่ผทรนเังกิดรก�ำานมางมเ้ีมเาดสกสชนีค็กเา์่นปกวทแราาใ็นล่ีทกนรมะาค�ำกหกเรหณลยอ่วตนน่ัางงะิดวังใทแกเยชสกกุนรกนือมลรสันขสง้มื่ออมเ์ กพสปงาการอ่ืรมการ้าานูลเรงใรกนกนสกื่อฏิธลรลงกวิสรเั่นาอ่าด่ือคยรแง็กเ์เะกทพปแแยลุนลนล็่ือะ้งะะสกวหเไพเกิื่อาลยดรฤื่อสังา้มพตนนรวีโัแฒ้ี้ชมาอกบงนีคกนลสบวใาาาชราใสเยหรด้มสปเคม็่ือกหปร์่่วะ็นงชวใุมยิกกกฤับันต บใหม่ ดังนั้นคดวังรนมั้นีกคารวสร่งมเสีกราิมรใสห่ง้เเดส็กรเิมรียใหนร้เดู้ต็กั้งแเรตีย่ปนฐรมู้ตวัย้ังใแนตก่ปาฐรใมชว้สัยื่อใอนยก่าางรถใูกชต้ส้อ่ืองอสยร่า้างงถสูรกรตค้อ์ งโดยมีช่ือ กว่า MIDL (สMรe้าdงสiaรรInคf์oโrดmยaมtชี io่ือnเรaยี nกdวา่ DMigiItDaLl L(iMteerdaciay)Inซfoึ่งrยmังaพtบioวn่ามaีนn้อdยDจigาiกtaกlาLรiตteิดrตaาcมy)โรงเรียน สอนในชั่วโมงซวึ่งิชยาังไพอบทวี ส่า่วมนีนใ้อหยญ่จะาสกอกนากรตาริดใตชา้ซมอโฟรตงเ์แรวียรน์ กากราเรปสิดอ-นปใิดนเคชรั่วื่อโมงงวซิชึ่งาเดไอ็กทในี สม่วัยนนใหี้แญทบ่ จะไม่มี หาในเรื่องเหล่านี้ แต่ควรจะมาให้ความสำคัญกบั MIDL มากกว่า จึงได้ซักถาม แลกเปลี่ยนกับคณะครุศาสตร์ วกับการสอนเรื่องนี้ให้กับนักศึกษาครู70 สนุ ทรยี สนทนาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y) ทั้งหลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรอื่น ๆ โดยได้เสนอว่าควรทำให้ จน
จะสอนการใช้ซอฟต์แวร์ การเปิด-ปิดเครื่อง ซ่ึงเด็กในสมัยนี้แทบจะไม่มีปัญหา ในเร่ืองเหล่านี้ แต่ควรจะมาให้ความส�ำคัญกับ MIDL มากกว่า จึงได้ซักถาม แลกเปลย่ี นกบั คณะครศุ าสตรเ์ กยี่ วกบั การสอนเรอ่ื งนใ้ี หก้ บั นกั ศกึ ษาครู ทง้ั หลกั สตู ร ปฐมวยั และหลกั สตู รอื่น ๆ โดยได้เสนอวา่ ควรท�ำให้ชดั เจน ในรอบ ๒๐ ปีท่ีผ่านมา ทั่วโลกได้ต่ืนตัวเร่ืองการจัดการในชั้นเรียน เนอื่ งจากเดก็ มปี ญั หาทางดา้ นพฤตกิ รรม ซงึ่ ประเทศเรากม็ ปี ญั หาในเรอื่ งการจดั การ ชั้นเรียนเช่นกัน ในหลายปีท่ีผ่านมาประเทศที่เป็นผู้น�ำด้านการปฏิรูปการศึกษาได้ พยายามเน้นให้เรื่อง Media Literacy เข้าไปอยู่ในหลักสูตรคณะครุศาสตร์เพ่ือให้ ครูปลูกฝังเร่ืองน้ีกับเด็กต้ังแต่เล็ก จึงได้เรียนกับรองฝ่ายวิชาการว่าเราน่าจะพัฒนา อาจารยแ์ ละหลักสูตรในกลุม่ นี้ ๖.๑๑ กองนโยบายและแผน ในภาคเช้าได้ไปเยี่ยมกองนโยบายและแผน และส�ำนักประกัน คุณภาพการศกึ ษา เพอ่ื รับฟงั ปัญหา ซึ่งมหี ลายประการ โดยเฉพาะเรือ่ งการติดตาม งาน จึงได้เสนอแนวคิดว่า เรื่องยุทธศาสตร์ต้องท�ำให้ การ monitoring เป็น เรอ่ื งงา่ ย และใช้ระบบ digital ให้มาก เช่น โครงการตา่ ง ๆ ของยุทธศาสตร์ ตอ้ งมี platform ในการรายงานในระบบ digital ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั กจ็ ะทำ� ใหร้ ปู้ ญั หา เนอื่ งจาก เคยเปน็ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงสาธารณสขุ มากอ่ น ทำ� ใหท้ ราบวา่ หลังจากที่เรามีการท�ำ Strategic Planning โดยใช้ SWOT Analysis แล้ว ยังมี นวัตกรรมใหม่ ๆ เขา้ มาอีกหลายตัว เช่น เรอื่ งของการใช้ Balanced Scorecard เพ่ือควบคุมตัวช้ีวัดได้ดีข้ึน การใช้ Strategic Map เพ่ือท�ำให้ยุทธศาสตร์มีความ เช่อื มโยงกันจรงิ ๆ ในภาคปฏิบัติ เรอื่ งเหล่านเี้ ราอาจทำ� กนั นอ้ ย โดยให้เวลาไปกับ การ monitoring และขณะนีม้ ี Strategic Tools ขนึ้ มาใหม่ ๒ ประการ คือ BOS (Blue Ocean Shift) ซงึ่ ใช้กำ� หนดผลิตภณั ฑใ์ นองค์กรใหด้ ีขนึ้ อีกเคร่อื งมอื หนึ่ง คอื Scenario Planning ซงึ่ เปน็ นวตั กรรมทมี่ งุ่ เนน้ การพจิ ารณาปจั จยั ภายนอกทมี่ คี วาม ไมแ่ นน่ อน (uncertainty) มาก แตม่ ี impact สงู ซง่ึ ถา้ ไมไ่ ดท้ ำ� Scenario Planning จะท�ำให้ผิดพลาดได้ เช่น กรณีของมหาวิทยาลัยคือการลดลงของจ�ำนวนนักศึกษา 71รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
ตวั อยา่ งการทำ� Scenario Planning แลว้ ไดป้ ระโยชน์ คอื บรษิ ทั เชลล์ สง่ิ ทไ่ี มแ่ นน่ อน คือราคาน�้ำมัน ซ่ึงในช่วงที่มีความผันผวนมากๆ น้ัน เชลล์เป็นบริษัทที่รับมือได้ดี ทส่ี ดุ จนเปล่ียนจากอันดบั ๑๒ เป็นอนั ดบั ๒ ของโลก Scenario Planning ทำ� ให้ เกดิ การวางแผนทคี่ ำ� นงึ ถึงภัยคุกคาม อีกตวั อยา่ งหน่งึ คือ รัฐบาลประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์มีภูเขาแอลป์นิวซีแลนด์คั่นอยู่กลางประเทศ ท�ำให้มีปัญหา ในการสร้างระบบขนส่งมวลชน เพราะถ้าจะสร้างจะมีค่าใช้จ่ายสูงมาก และ ถ้าประเทศใช้ระบบรถยนต์เป็นหลัก อัตราการเพ่ิมของรถและการใช้น้�ำมัน ก็เพ่ิมขึ้นสูงมากด้วย จึงคิดกันว่าจะไม่เน้นการเดินทาง โดยให้ใช้การสื่อสารผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก และให้มีแหล่งท่องเท่ียวใกล้บ้านเพ่ือลดการเดินทางลง จงึ ไดเ้ สนอกองนโยบายและแผนนำ� เครอื่ งมอื เหลา่ นไ้ี ปใช้ แตก่ ารจะทำ� เรอื่ งใหมๆ่ ได้ กต็ ้องลดภาระงานเร่ืองเกา่ ให้ได้ ๖.๑๒ ส�ำนักงานมาตรฐานและประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เน่ืองจากมหาวิทยาลัยมีจุดเด่นเร่ือง Active Learning PLC และระบบดูแลช่วยเหลือนักศึกษา ดังน้ันควรคงเร่ืองที่เป็นอัตลักษณ์เหล่าน้ี ให้อยู่ในการประกันคุณภาพการศึกษา อีกประเด็นหนึ่ง คือ เม่ือพิจารณาตัวชี้วัด เกณฑ์การประกันคุณภาพระดับ ๑ - ๕ ซึ่งยังเป็นแนวคิดแบบเดิม คือเน้นท่ี การวางแผน (Planning) และการท�ำตามแผน (Do) ซ่ึงท่ีจริงแล้วในระบบประกัน คณุ ภาพไมค่ วรเนน้ การวางแผน แตเ่ นน้ การพฒั นาคณุ ภาพ ดงั นนั้ เกณฑค์ วรเปน็ ดงั นี้ เกณฑ์ขอ้ ที่ ๑ คือมรี ะบบคณุ ภาพ เกณฑข์ ้อท่ี ๒ ทำ� ตามระบบ เกณฑ์ข้อที่ ๓ มีการ ปรับปรุงเป็นระยะ เกณฑ์ข้อท่ี ๔ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (เพราะว่ามี PLC และ CQI) และเกณฑ์ข้อที่ ๕ คือ Integration ซึ่งถ้าใช้เกณฑ์แบบน้ีจะส่งเสริม ใหม้ กี ารทำ� ระบบ ขอยำ�้ วา่ หนา้ ทขี่ องระบบประกนั คณุ ภาพเปน็ เรอื่ งของคณุ ภาพหรอื การทำ� ระบบ ระบบกจ็ ะมี ๒ ประเภท คอื ทเ่ี ป็นฟังกช์ ันของหนว่ ยงาน ด�ำเนนิ การ โดย Function Team และระบบทเี่ ปน็ Cross Functional เชน่ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักศึกษา เร่ืองการแก้ไขปัญหาความยากจน เร่ืองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น OTOP เป็นตน้ ซ่ึงวธิ ีการจัดการคุณภาพจะไมเ่ หมือนกัน ในแงข่ องการจดั การ 72 สุนทรยี สนทนาเพอ่ื พัฒนามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
คุณภาพท่ีเป็นฟังก์ชัน ก็ต้องประเมินให้ได้ว่าฟังก์ชันใดที่ไม่ได้คุณภาพตามเกณฑ์ หรอื ไม่เท่ากับหนว่ ยงานอ่นื เชน่ คณะในฟังก์ชั่นเร่อื ง Active Learning จะสามารถ รู้ได้ว่าคณะใดที่ยังมีคุณภาพไม่เท่าคณะอื่น ก็จะได้ไปส่งเสริมให้เกิดการปรับปรุง คุณภาพ สว่ นถ้าเปน็ แบบ Cross Functional ก็คอื ต้องท�ำให้ Cross Functional ท�ำงานให้ได้ผล คือต้องมีการจัดระบบท่ีดี เป็นเรื่องของการสร้างระบบที่ดี ดังน้ัน โครงการใดที่ระบบไม่ดีก็จะไม่สามารถท�ำงานได้ส�ำเร็จ โดยที่การประกันคุณภาพ จะต้องประเมนิ ท�ำใหร้ ้วู ่าระบบ Cross Functional ใดเป็นจดุ ออ่ น ทที่ ่วั โลกทำ� กัน อยู่คือเข้าไปดูระบบว่าดีอย่างไร แล้วใช้ผลลัพธ์ของระบบเป็นตัวพิสูจน์ แต่ที่พบ เม่ือตอนเช้า มหาวิทยาลัยเอาผลลัพธ์เป็นตัวต้ังและพิสูจน์ว่าผลลัพธ์นั้นถูกต้อง หรอื ไม่ โดยไมไ่ ด้สนใจเร่ืองกระบวนการ ก็ได้เสนอไปว่าเป็นหน้าทข่ี องสำ� นักประกนั คุณภาพการศึกษาที่จะต้องท�ำความเข้าใจกับกรรมการบริหารและหน่วยงานต่าง ๆ ท้งั ทีเ่ ปน็ Functional Team และ Cross Functional Team และควรนำ� ท้งั สอง เร่อื งน้เี ขา้ ส่กู ารพจิ ารณาของกรรมการบริหารท่จี ะนำ� ไปปรบั ปรงุ ต่อไป ๖.๑๓ คณะครุศาสตร์ (ครั้งท่ี ๒) การเยี่ยมคณะครุศาสตร์ การอภิปราย แลกเปล่ียนส่วนใหญ่ เป็นเร่ืองเก่ียวกับการบริหาร แบบเป็นกันเองกับกรรมการบริหาร สรุปได้เป็น ๒ เรอ่ื ง คอื เรอื่ งการผลติ บณั ฑติ ซงึ่ ไดเ้ สนอวา่ มี ๓ เรอ่ื งทสี่ ำ� คญั ทค่ี วรอยใู่ นหลกั สตู ร การผลิตครู คอื ๑) เรื่อง Neuroscience เพ่ือให้เข้าใจเรื่องสมองว่ามีผลต่อ การเรยี นรูอ้ ย่างไร ๒) เร่ือง Behavioral Management เนื่องจากเยาวชนทุก วันน้ีจะมีปัญหาด้านพฤติกรรมมาก ดังนั้นการจัดการช้ันเรียนที่แท้จริงแล้วเป็น เร่ือง Behavioral Management แต่ในค�ำอธิบายรายวิชา ครุศาสตร์ส่วนใหญ่ ไมป่ รากฏ จึงควรตอ้ งมกี ารจัดการใหเ้ ร่ืองน้ีอยใู่ นเน้ือหาวิชาใหไ้ ด้ ๓) เรื่อง Digital Literacy เน่ืองจากบทบาทของอินเทอร์เน็ต มผี ลตอ่ สมองของเด็กมาก ถา้ ใช้เร่อื งนไ้ี ม่ถูกตอ้ ง อย่างเชน่ ทกุ วันนเ้ี ด็กเลน่ เกมตั้งแต่ 73รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
อายุ ๓ - ๔ ขวบ ก็จะนำ� ไปส่ปู ญั หามากมาย เช่น พัฒนาการลา่ ช้า เร่ืองทางสังคม ไม่ดี สมาธิส้ัน และเมื่อโตข้ึนมาจะมีปัญหาเรื่องติดเกม เรื่องสายตา เร่ืองสุขภาพ เรอ่ื งวินัย เร่ือง bullying เร่ืองการใช้จา่ ย และการลกั ขโมยทางอนิ เทอรเ์ นต็ ปัญหา ตามมามากมาย ดังนั้นครูควรมีความรู้เรื่องน้ีในการช้ีแนะเด็ก และท�ำความเข้าใจ กบั พอ่ แม่ ปจั จุบันการสอนในวชิ า IT พบวา่ ส่วนใหญเ่ ป็นการสอนโปรแกรม การใช้ ซอฟต์แวร์ ซึ่งแทจ้ ริงแลว้ ซอฟตแ์ วร์จะมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เมือ่ นกั เรยี นรู้ แล้วไปฝึกท�ำเองได้ไม่ยาก ดงั นน้ั ส่วนท่คี วรจะเพ่มิ อย่างย่งิ คือเรอื่ ง Digital Literacy ท่ีปัจจุบนั มพี ้ืนทอ่ี ยนู่ อ้ ยมาก ซึง่ ถา้ คณะสามารถท�ำทง้ั ๓ เรอื่ งน้ีออกมาได้ ก็จะเป็น คณะครศุ าสตรท์ ท่ี นั สมยั มีการแลกเปลี่ยนอีกประเดน็ หน่ึง คอื เร่อื งของการพัฒนา ทอ้ งถน่ิ ทม่ี งี านการพฒั นาดา้ นภาษาไทย ไดแ้ นะนำ� ใหใ้ ชแ้ นวคดิ เรอื่ ง Reading Tree ซึ่งทั่วโลกพบว่าการสอนเร่ืองภาษาให้ดีต้องสอนต้ังแต่ปฐมวัย แนวคิด/นวัตกรรม Reading Tree นีป้ ระเทศอังกฤษนำ� ไปใช้และประสบความส�ำเร็จมาก ประเทศไทย ได้มกี ารน�ำมาพัฒนาเปน็ ของเราเองโดยใช้งบ สสส. และตอนนี้ สสส. ไดจ้ ดั พมิ พ์แล้ว เปน็ หนงั สืออา่ นทีเ่ ปน็ ตวั ละครชดุ เดียวกัน ๓๐ - ๔๐ เล่ม แบ่งเปน็ ๕ Level เริม่ จาก ง่ายที่สุดคือไม่ตอ้ งผสมคำ� เลย จนถึงชน้ั ประถมศึกษา ก็จะเปน็ แบบ ๑ รปู ๑ ยอ่ หน้า (paragraph) เด็กก็จะเรยี นคำ� ซำ�้ ๆ เดมิ ๆ แล้วก็เพิ่มมากขนึ้ ตามลำ� ดบั แนวคิดน้ีนา่ จะใชไ้ ดผ้ ลดที ง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ กไ็ ดเ้ สนอวา่ นา่ จะนำ� นวตั กรรมตวั นมี้ าใช้ โดยฝึกหัดให้ครูใชเ้ ปน็ ก่อน องคก์ รที่ผลติ (Oxford Reading Tree) ก็เปน็ Social Enterprise คือไม่ได้เน้นก�ำไร ดังน้ันการซื้อของจากองค์กรประเภทน้ีน่าจะไม่เป็น ปญั หาในเรือ่ งระบบงบประมาณ สุดทา้ ยได้มกี ารแลกเปลยี่ นเร่ืองการพัฒนาโรงเรียนร่วมผลิต (คร)ู ซึ่งมีอยู่ร้อยกว่าแห่ง ได้ให้ความเห็นว่า มีการถอดบทเรียนของ Thai Education Partnership พบว่าการพฒั นาโรงเรยี นเครอื ข่ายของคณะครุศาสตรใ์ นประเทศไทย ยังไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าที่ควร แต่ก็มีโรงเรียนที่ท�ำได้อยู่ ๓ โรงเรียน คือ เครือข่ายโรงเรียนรุ่งอรุณ เครือข่ายโรงเรียนล�ำปลายมาศพัฒนา และเครือข่าย Heathy School ซึง่ ไดร้ ับงบประมาณสนับสนนุ จาก สสส. ท้งั ๓ แห่งมกี ารพัฒนา 74 สุนทรยี สนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
โรงเรียนในเครือขา่ ยได้ผลเปน็ School Based ท้งั โรงเรียน จึงไดม้ ีการถอดบทเรยี น ออกมาปรากฏว่า มีปจั จัยความสำ� เรจ็ ดังน้ี ๑) มีความส�ำเร็จเป็นโรงเรียนต้นแบบ Home School คือ ไม่ใช่ เป็นโรงเรียนท่ีมีแต่ Training Program ที่ไม่รู้ว่าผลบ้ันปลายคืออะไร การมี โรงเรียนต้นแบบทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การจดั training และ ให้แรงบันดาลใจสงู ๒) มีหลักสูตร Training ที่ครอบคลุม ปัจจัยความส�ำเร็จ ท่ีส�ำคัญ คือ PLC Active Learning ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้ปกครองและเด็ก เร่ืองการน�ำ และเรอื่ งการบรหิ ารจดั การเปน็ ธรรมาภบิ าล ๓) มีหน่วยบริหารจัดการที่เข้มแข็ง ท่ีสามารถจัดการและดูแลเครือข่าย อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๖.๑๔ สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา ในภาคเช้าได้ไปเย่ียมสถาบันวิจัยและพัฒนา จากการพูดคุย แลกเปล่ยี นความคิดเห็น ได้เสนอแนวทางในการท�ำงาน ๕ ประเด็น ดังน้ี ๑) Alignment : ถา้ เป็น Alignment การท�ำกจิ กรรมจะไม่เปน็ แบบแยกกัน ตัวอย่างเช่น ที่จะมีการจัดกิจกรรมการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏหม่บู ้านจอมบึงวิจัย คร้ังที่ ๘ ถ้าเปน็ Alignment เชน่ Alignment กบั วง PLC เรามี PLC การวจิ ยั แลว้ ให้ PLC การวิจยั มาเปน็ ผจู้ ัด หรอื มาเปน็ Facilitator คือเป็นตัวขบั เคลอ่ื น หรอื เมอ่ื เรามที ิศทางการวิจัยของมหาวิทยาลัย ถ้าจัดกิจกรรม ทม่ี หาวิทยาลยั กต็ ้องมคี วามเป็นจอมบงึ ให้ปรากฏ เราควรมหี ้องทเี่ ปน็ The must ท่ีสะท้อนว่าจอมบึงมีชื่อเสียงด้านน้ีที่คนอ่ืนอยากจะเข้ามาเรียนรู้ โดยต้องเข้ากับ วสิ ัยทศั น์ พันธกิจของมหาวทิ ยาลยั ๒) Learning : การประชมุ วิชาการปีละครัง้ จะไม่เพิ่ม Learning การ Training ให้อาจารย์ท�ำวิจัยได้ดีขึ้น เป็นตัวช่วยหนึ่ง แต่ท้ังสองต้องมีตัวเสริม ที่ส�ำคัญคือ วง CoP (Community of Practice) หรือการประชุมเรยี นรูท้ ่ีสม่ำ� เสมอ โดยอาจจะแยกกนั ไปตามกลมุ่ เชน่ วิจยั ชุมชน วิจัยช้ันเรียน จะท�ำให้เกดิ การเรียนรู้ และพฒั นาไดด้ กี วา่ 75รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
๓) ระบบประกันคุณภาพภายใน : ควรพัฒนาจาก PDCA เป็น ADLI คอื เปลย่ี นจาก P = Plan เปน็ A = Approach D = Deploy L เนน้ เรอ่ื ง Learning และ I = Integration คือ Alignment ซึ่งตวั ชี้วดั จะต่างกนั มาก เชน่ ตัวชี้วัดเรื่องการประชุมวิชาการคืออะไร แต่เดิมเรามักก�ำหนดจากจ�ำนวนผู้เข้าร่วม ประชุม จ�ำนวนผลงาน เป็นต้น จึงเสนอตัวอย่างว่า ถ้าเรามี Alignment ตัวช้ีวัด จะต่างไป เชน่ เราอาจกำ� หนด สดั ส่วนการวจิ ยั เชงิ การเรยี นการสอน กับ วจิ ยั ชุมชน เพราะเหล่านี้คือภารกิจของมหาวิทยาลัย ข้อเสนอคือ พยายามก�ำหนดตัวช้ีวัด ที่สะท้อนวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั และของสถาบันวจิ ัยและพฒั นา ๔) สานต่อการท�ำวิจัยช้ันเรียน และการวิจัยชุมชน จากการได้มี โอกาสไปจดั ทำ� workshop เพอื่ ยกระดบั การสอนและการทำ� งานชมุ ชนใหก้ ลายเปน็ งานวจิ ยั เหน็ วา่ ควรใหม้ วี ง PLC ของกลมุ่ นกั วจิ ยั ทง้ั สองกลมุ่ โดยกระตนุ้ ใหค้ ณะและ โปรแกรมวชิ าตา่ ง ๆ ด�ำเนินการ ๕) ปรับปรุงระเบียบ ถ้าระเบียบใดที่คิดว่าควรจะปรับปรุง ควรเสนอกรรมการบริหารพิจารณาปรับปรงุ 76 สนุ ทรยี สนทนาเพื่อพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๗ การเยยี่ มประชาคมมหาวิทยาลยั ๗.๑ มูลนิธิวทิ ยาลัยครูหมบู่ า้ นจอมบึง ทางมลู นธิ มิ แี นวคดิ เรอื่ งการใหร้ างวลั กบั คนดี โดยมกี ารแลกเปลยี่ น เรียนรู้กันวา่ จะท�ำบนพ้นื ฐานของอะไร ท�ำอย่างไร จงึ ได้แลกเปลยี่ นประเดน็ ทส่ี �ำคญั คือ การยกย่องคนดีน้ัน หัวใจส�ำคัญคือท�ำอย่างไรไม่ให้การยกย่องเป็นเพียงการ ให้รางวัลแต่เป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนอื่นด้วย โดยเริ่มท่ีการเลือกคนดี โดยเลอื กคนทที่ ำ� คณุ ประโยชนใ์ หก้ บั ชมุ ชน ยง่ิ ถา้ เราตง้ั เปา้ หมายใหร้ าชบรุ เี ปน็ ตน้ แบบ ของจังหวัดท่ีออกจากรายได้ปานกลาง ต้องได้คนท่ีมีผลงานการมีการพัฒนา ที่ย่ังยืน เช่น การเกษตรท่ียั่งยืน อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน การท่องเที่ยวที่ย่ังยืน และวัฒนธรรมที่ย่ังยืน จากนั้น ให้เขามาพูดสร้างแรงบันดาลใจ อาจช่วยช้ีแนะ การพูดบ้าง เพราะคนเหล่านี้มีประสบการณ์ในส่ิงท่ีท�ำอยู่แล้วคิดว่านวัตกรรม ลักษณะนี้ จะเป็นการทำ� งานรว่ มกันสำ� คัญระหว่างมหาวิทยาลัยและมูลนิธไิ ด้ ๗.๒ สภาวชิ าการ เมอื่ วนั ที่ ๒๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดร้ ว่ มประชมุ กับสภาวิชาการ ชดุ ใหม่ โดยไดม้ อบนโยบายใหก้ บั สภาวชิ าการ เนอ่ื งจากสภาวชิ าการเปน็ ผทู้ ตี่ อ้ งกลนั่ กรองเร่ืองส�ำคัญต่าง ๆ จ�ำนวนมากก่อนเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา โดยสรุป ๔ ประเด็น ดังนี้ ๑) การปรบั ปรุงหลักสตู ร/สาขาวิชา - ปรับปรุงให้ทันสมัย กล่าวคือ ถ้ามีองค์ความรู้ใหม่ ก็ต้องมี การปรบั ปรุง เชน่ คำ� อธบิ ายรายวิชา - รบั รองสาขาใหมใ่ หถ้ ูกตอ้ ง ทันกาล 77รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
- พัฒนาสาขาในอนาคตตามความต้องการของพื้นท่ีและ ประเทศ ในระดับประเทศ ขณะนี้การปฏิรูปการศึกษาที่ส�ำคัญ คือ การปฏิรูป ประถมศึกษา และการปฏิรูปให้นักเรียนสนใจไปเรียนอาชีวะมากข้ึน ดังนั้น มหาวิทยาลยั ควรมหี ลกั สตู ร ป.บณั ฑิต และการผลิตบณั ฑติ ในสาขาเหล่าน้ี ในระดับ พื้นที่ ความสามารถในการฟื้นฟูส่ิงแวดล้อม เช่น กรณีเขาชะงุ้ม เพื่อเปลี่ยนจาก ภเู ขาหัวโลน้ แห้งแล้ง ให้สามารถเป็นแหลง่ ศึกษาธรรมชาติ หรือเรื่องการท่องเที่ยว อตุ สาหกรรม และทีส่ �ำคัญ คอื เร่อื งการเกษตร เช่น ปญั หาผลิตผลล้นตลาดทีเ่ กิดข้นึ กับสับปะรด เป็นประเด็นที่สมควรมีองค์ความรู้ลักษณะครบวงจร (Value Chain) เพื่อให้สามารถบริหารจัดการได้ตั้งแต่ต้น หรือสามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ กอ่ น ๒) คุณวุฒิอาจารย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ปจั จุบนั สัดสว่ นอาจารย์ทม่ี ตี ำ� แหนง่ ทางวิชาการรองศาสตราจารย์ จำ� นวนรอ้ ยละ ๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ร้อยละ ๒๘ อาจารย์ท่ัวไป ร้อยละ ๗๐% ดังนั้นควรมีการ ตั้งเป้าภายใน ๔ ปี เช่น เพ่ิมต�ำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์ให้เป็น ร้อยละ ๑๐ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยร์ ้อยละ ๕๐ และอาจารยร์ ้อยละ ๔๐ ซงึ่ จะต้องมี การวางแผนอย่างดี ผลงานทางวิชาการของอาจารย์เพ่ือเพ่ิมต�ำแหน่งทางวิชาการรอง ศาสตราจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารยค์ วรผูกเชือ่ มกับงานหรือพนั ธกจิ ของมหาวิทยาลยั ซงึ่ ขณะน้ีมี ๒ ดา้ นที่เด่นชดั คอื การสอนแบบ Active Learning และการพฒั นา ท้องถ่ิน ดังนั้นผลงานทางวิชาการควรจะตอบโจทย์การสอน active learning เช่น ท�ำวิจัยในชั้นเรียน ซ่ึงถ้ามีการศึกษาที่ดี งานเหล่านี้จะเป็นฐานท่ีส�ำคัญในการ สร้างคุณภาพ การสอน สำ� หรับเรอ่ื งการพัฒนาทอ้ งถ่ิน ทุกด้านอาจจะมโี จทยส์ �ำคัญ ที่งานวิจัยเข้าไปตอบโจทย์ได้ หรืออาจเป็นการเติมเต็มในส่วนท่ีขาด คือ งานวิจัย ตอ้ งมที ิศทางเพือ่ การพฒั นาท้องถ่ินท่ีชดั เจน และเป็นงานวจิ ยั เพ่อื ให้เกิดองคค์ วามรู้ ทคี่ รบวงจร เรือ่ งการท่องเทย่ี ว ซง่ึ ทอ้ งถน่ิ มีวัฒนธรรมท่ีดมี าก เรื่องสง่ิ แวดล้อม เชน่ ถ้�ำจอมพล ท่ีต้องเผชิญปัญหาเร่ืองลิง หรือการขาดการดูแลถ้�ำให้มีคุณค่า ประวตั ศิ าสตร์ รวมถงึ หตั ถกรรมทใี่ ชน้ วตั กรรมชว่ ยเพมิ่ มลู คา่ และเรอื่ งอตุ สาหกรรม ที่ควรเชอื่ มโยงกับสหกจิ ศึกษาและทวิภาคี ทัง้ หมดสามารถนำ� มาเปน็ โจทย์ทีด่ ีได้ 78 สุนทรียสนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๓) การทีจ่ ะท�ำเรอื่ งนไ้ี ด้ เรามคี วามรู้อยู่ ๒ ชนดิ คอื Knowledge Management และ Research ซึ่งสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เร่ืองใดท่ีรู้และประสบ ความสำ� เรจ็ แล้วควรทำ� KM และควรจะน�ำ Tacit Knowledge ไปใชไ้ ดก้ วา้ งขวาง มากขึ้น การมี Research ดว้ ยก็จะเป็นการสร้างความรู้ใหม่ และชว่ ยให้ความสำ� เรจ็ มีหลักฐานเชิงประจักษ์ สามารถเผยแพร่ระดับชาติและระดับสากล งาน KM และ งาน Research ควรไปดว้ ยกัน ๔) ท่ีสุดของ KM ท่ีองค์กรท่ีประสบความส�ำเร็จพยายามด�ำเนิน การ มี ๒ ส่งิ คอื การพัฒนาสมรรถนะคนในองค์กรอยูเ่ สมอ เครอื่ งมือสำ� คญั ทใ่ี ช้ คอื COP (Community of Practices) โดยในวงการมหาวิทยาลัยคือ PLC อย่างท่ี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ กำ� ลงั พยายามใหม้ วี ง PLC เรอื่ ง Active Learning เพ่ือให้เกิดการพัฒนาสมรรถนะและความสามารถด้านการสอนให้กับบุคลากร อีกสิ่งหน่ึงคือการพัฒนากระบวนการหรือวิธีการท�ำงานท่ีดี ซ่ึงจะใช้เคร่ืองมือ ที่เรียกว่า Benchmarking เพ่ือค้นหาและพัฒนา Best Practice โดยการจัดการ ความรู้ให้ได้ค�ำตอบว่า (What) อะไรคือความส�ำเร็จ (How) ท�ำอย่างไรจึงส�ำเร็จ และ (Why) ท�ำไมถึงส�ำเร็จ จากการสัมภาษณ์บริษัทท่ีประสบความส�ำเร็จ สรุป ได้ว่า เครื่องมือที่ท�ำให้บริษัทเหล่าน้ันอยู่รอดท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงคือการใช้ COP และ Benchmarking ๗.๓ สภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ การไปประชุมกับสภาคณาจารย์และข้าราชการ เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทองแท่ง ทองลิ่ม เปน็ ประธาน ท่ีประชุมได้ดีมาก ทุกคนแสดงความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ ได้น�ำเสนอท่ีประชุม ๒ ประเด็น และได้รับความคิดเห็นจากสภาคณาจารย์และข้าราชการกลับมา หลายประเดน็ แจ้งให้ทปี่ ระชมุ ทราบ ดังน้ี ๑) เรื่องการก�ำกับงานของสภามหาวิทยาลัย โดยแจ้งว่าได้ท�ำงาน ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับอาจารย์ ๓ เรือ่ ง คือ เร่อื ง Active Learning เรอ่ื งระบบการประกัน คณุ ภาพ ใน ๓ ประเดน็ คอื ระบบการเรยี นการสอน ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษา 79รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
และระบบการวิจัยที่เชื่อมโยงกับการสอนและการพัฒนาท้องถ่ิน เรื่องท่ี ๓ คือ ไดแ้ จง้ ใหท้ ราบวา่ มกี ารใช้ Benchmarking เปน็ เครอื่ งมอื พฒั นางานของมหาวทิ ยาลยั งานแรก คือ ใช้ Benchmarking มาพัฒนาการสอนแบบ Active Learning เป็น Internal Benchmarking ระหว่าง ๓ คณะ ท่ีมี Best Practices อยู่ปจั จบุ ัน ใหข้ ยายไปช่วยอกี ๓ คณะ ในภาคเรียนต่อไป ๒) เรื่องขอหารือเรื่องเกี่ยวกับการแก้ไขความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้น ในมหาวิทยาลัย เพราะว่า ทางสภาคณาจารย์เก่ียวข้องกับเรื่องน้ีโดยตรง ก็ได้ รบั ขอ้ เสนอจากที่ประชุมในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๒.๑) เร่ืองระบบวิจัย ที่ประชุมเห็นด้วยกับแนวคิดให้อาจารย์ ท�ำวิจัย โดยเฉพาะวิจัย การสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการสอน แต่แทนที่จะ ขับเคลื่อนในลักษณะหน่ึงอาจารย์ หน่ึงวิจัยการสอน ท่ีประชุมเสนอให้โจทย์ วิจัยเกิดจากการร่วมกันคิดของอาจารย์ในแต่ละสาขา และกระจายกันท�ำวิจัย ไม่ใช่เป็นแบบต่างคนต่างคิด นอกจากน้ียังเสนอว่า งบประมาณวิจัยควรไปบริหาร ที่ระดับคณะเพื่อให้การบริหารจัดการรวดเร็วบนฐานของเง่ือนเวลาแบบปีการ ศึกษา อย่างไรก็ตาม ก็ได้เน้นว่า ถ้าเป็นการวิจัยการสอนที่มีขนาดกลางหรือ ขนาดใหญ่ เชน่ การวจิ ยั เพอ่ื ระดบั กลมุ่ วชิ า General Education (GE) กค็ วรอยใู่ นระบบ ของมหาวทิ ยาลยั เหมือนเดิม ๒.๒) เรื่องการ Benchmarking กรรมการสายงานสนับสนุน มีข้อเสนอว่า ควรมีการท�ำ Benchmarking ในเร่ืองการมีคุณสมบัติขึ้นเป็น ระดับช�ำนาญการของบุคลาการสายสนับสนุนด้วย ซ่ึงท่ีเป็นอยู่ต้องใช้เวลานาน ดังนั้นมหาวิทยาลัยควรมีการท�ำ Benchmarking กับมหาวิทยาลัยท่ีมีระบบ การบริหารงานบุคคลที่ดี ๒.๓) เร่ืองบ้านพัก เป็นเร่ืองที่ได้รับข้อคิดเห็นว่ายังมีความ ขัดแย้งในกรณีอาจารย์ ที่เกษียณแล้ว หรือมีบ้านของตนเองแล้ว ยังไม่ออกจาก บ้านพัก แต่มีอาจารย์หลายท่านที่ต้องการบ้านพัก โดยท่ีประชุมอภิปรายต่อว่า การแก้ไขนั้นไม่จ�ำเป็นต้องต้ังคณะกรรมการเพื่อมาไกล่เกลี่ย ขอให้กรรมการท่ีมี อยแู่ ล้วเกีย่ วกับเรื่องน้ัน ๆ ท�ำตามหน้าที่ หรอื ท�ำการไกล่เกลีย่ ซ่ึงกรรมการสภาจาก 80 สุนทรยี สนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยได้ร่วมอภิปรายโดยช้ีแจงว่า ปัญหาพ้ืนฐานของเร่ือง บ้านพักน้ันเป็นเร่ืองอาจารย์ท่ีความต้องการพักบ้านพัก มีมากกว่าจ�ำนวน บ้านพัก กรณีไม่คืนบ้านพัก ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการท่ีมีบ้านตนเองยังไม่เกษียณ ซ่ึงในประเด็นหลังนี้ จะไม่สามารถใช้มาตรการทางกฎหมาย ต้องใช้การเจรจา ซึ่งไมใ่ ชเ่ ร่ืองงา่ ย รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 81
82 สุนทรียสนทนาเพือ่ พฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๘ ประชาคมการเรียนรู้ของมหาวิทยาลยั ๘.๑ วง PLC วชิ า GE / PC เม่ือวันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ได้มาร่วมประชุมกับวง PLC วชิ า GE / PC และหารอื เรอื่ งการพฒั นาระบบดแู ลนกั ศกึ ษา ซงึ่ วง PLC มกี ารประชมุ ทุก ๓ เดอื น เพ่ือตอ้ งการปรบั ปรงุ วิชา GE/PC ของครใู หด้ ขี น้ึ เป็นการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ในสองหมวดวิชา และยังได้มีการอภิปรายเร่ืองวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน และวิชาความเป็นครูด้วย ในส่วนของวิชาภาษาอังกฤษ ยังมีความเห็นต่างกัน เกยี่ วกับวิธีสอนที่เหมาะสม คอื การสอนแบบเดิมท่สี อนการฟงั พูด อา่ น เขียนแบบ บรู ณาการ กบั การสอนแบบแยกทกั ษะ โดยออกแบบ ใหเ้ ปน็ Competency - Based เพราะเห็นว่าการสอนแบบแยกทักษะน่าจะเหมาะสมกับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย มากกว่า ท่ีประชุมจึงตกลงกันว่าจะมีการท�ำวิจัยในช้ันเรียนเปรียบเทียบการสอน แบบเดมิ กบั การสอนแบบใหม่ เพอื่ หาคำ� ตอบว่าแบบใดจึงจะเหมาะสมกบั นกั ศึกษา ส่วนวิชาความเป็นครู เป็นวชิ าเก่า แตจ่ ะปรบั ให้เปน็ วิชาใหม่ โดยได้มีการออกแบบ ความเปน็ ครูไดด้ ี เรื่องวิชา GE / PE ได้มีการอภิปรายโดยมีส่วนเช่ือมโยงกับเรื่อง การป้องกนั การฆ่าตวั ตายของนกั ศึกษาด้วย สรุป ไดข้ อ้ เสนอจากวง PLC ดังน้ี - วิชาบังคับเลือกและวิชาเลือกควรสอดแทรกเร่ืองทักษะชีวิต ลงไปดว้ ย - วชิ าทม่ี ที กั ษะชวี ติ ควรปรบั คำ� อธบิ ายรายวชิ าและแผนการสอน/ ประเมินผลใหช้ ัดเจน - สาขาครศุ าสตรเ์ ปน็ Competency-Based สาขาอนื่ ควรนำ� รอ่ ง ด้วย GE รวมวาระเพือ่ ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 83
- Mapping อาจารย์ท่ีสอนวิชาหมวด GE / PC ว่ามีใครบ้าง แล้วควรให้ร่วมวง PLC และเขา้ Workshop เรื่อง สติ - ควรจัด Workshop เรื่อง สติ ในเดือน มิถุนายน โดยท�ำเป็น รายคณะคูก่ ับเรื่อง AL (๒ days) - วง PLC วชิ า GE / PC พบกันทกุ ๓ เดอื น แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ครั้งละ ๒ วิชา จากนนั้ มกี ารอภปิ รายเรอื่ ง Competency-Based วา่ การทำ� เรอื่ งนี้ ให้ดี ควรท�ำค�ำอธิบายรายวิชาที่เป็น Competency-Based แล้วน�ำไปออกแบบ การสอน ออกแบบการประเมินผล และด�ำเนินการ แต่ขณะน้ีมหาวิทยาลัยอยู่ ระหว่างเรียนรู้การท�ำค�ำอธิบายรายวิชาที่เป็น Competency-Based และยัง ตอ้ งการเวลาสำ� หรบั การพฒั นา จงึ เสนอวา่ โมเดลการพฒั นาเรอื่ งนขี้ องมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ ไม่ควรเป็นแบบ Linear Approach Model แต่ควรเปน็ แบบ Circular Approach Model คอื คำ� อธบิ ายรายวชิ าใหถ้ อื วา่ เปน็ รา่ ง เมอื่ ไปออกแบบ การสอน ออกแบบการประเมนิ ผล และนำ� ลงสกู่ ารปฏบิ ตั แิ ลว้ เหน็ วา่ ควรตอ้ งปรบั ปรงุ กก็ ลบั ไปปรบั ปรงุ ค�ำอธบิ ายรายวชิ า ซงึ่ ก็ควรมีการทบทวนเปน็ ระยะ ๆ ๕๕ ๘.๒ คณะกรรมการระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั ศึกษา 84มหาว(สDิทุนiaยทloราgยี ลuสeัยนfทoจrนtาาhเกพe๑อ่ื กUพ)nาัฒiเvรนมeทาrืม่อsหี่iมชtาyวห)่วิทยงาาเวลชัยิท้ามยาีกลารัยปไดระ้ไปชุมเปค็นณวะิทกยรารกมรกรา่วรทมีเ่จระื่อมงารดะูแบลบรดะบูแบลดชูแ่วลยชเห่วลยืเอหนลักือศนึกักษศาึกษเพาขราอะง มหาวิทยาลัยมีจุดแข็งโดยเฉพาะในเรื่องอาจารย์ที่ปรึกษา และมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักศึกษาของมหาวิทยาลยั ให้มคี วามเข้มแข็ง ชัดเจนยิ่งขึน้ โดยที่ผ่านมาไดม้ ีการจดั สัมมนาอาจารย์ในเร่ืองน้ไี ป
๘.๒ คณะกรรมการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักศกึ ษา ๕๖ ๑) เมื่อช่วงเช้ามีการประชุมคณะกรรมการท่ีจะมาดูแลระบบดูแล ช่วยเหลือนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จากการที่มหาวิทยาลัยได้ไปเป็นวิทยากร ร่วมเรื่องระบบดูแลช่วยเหลือนักศึกษา เพราะมหาวิทยาลัยมีจุดแข็งโดยเฉพาะ ในเร่ืองอาจารย์ท่ีปรึกษา และมีนโยบายท่ีจะพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยให้มีความเข้มแข็ง ชัดเจนยิ่งข้ึน โดยที่ผ่านมาได้มีการจัดสัมมนา อาจารย์ในเรื่องนี้ไปแล้ว ครั้งน้ีจึงเป็นการหารือเรื่องการปรับปรุงระบบ ซ่ึงมีเรื่อง ส�ำคัญที่ต้องปรบั ปรุง ดงั นี้ (๑) การท�ำให้การรู้จักนักศึกษาเป็นรายบุคคล และการท�ำ กิจกรรมโฮมรูมมีความชัดเจนมากข้ึน (Flowchart ใน Power Point ประกอบ) ดังนี้ ประการแรก ระบบคัดกรองของมหาวทิ ยาลยั ควรมีการคดั กรองเร่ืองทก่ี ว้างขวางมากข้ึน ผ่านมามีการคัดกรองเรื่องยาเสพติด ต่อไปควรมีการคัดกรองเรื่องความเครียดและปัญหาทางอารมณ์ าวะซมึ เศรา้ ด้วย ขณะน้ีคณะครุศาสตร์ได้มกี ารนำร่องไปแล้ว เหน็ วา่ ควรทำท้งั มหาวิทยาลัย ประการที่สอง เน่ืองจากอาจารยท์ ีป่ รรวึกมวาษระเพาอ่ื ทไรมาบน่ไาดยสภพ้ ามหบาวนิทยาักลยั รศาชกึภฏั ษหมบู่ า้านทจอมุกบงึ วพนั.ศ. ๒๕แ๖๐ต- ๒เ่ ๕ป๖๓น็ อา85จารย์ผู้สอน าต่างๆ ที่จะพบนักศึกษาทุกวัน จึงควรมีการวางระบบให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาสามารถแจ้งอาจารย์
ประการแรก ระบบคัดกรองของมหาวิทยาลัยควรมีการคัดกรองเรื่อง ท่ีกว้างขวางมากข้ึน เช่น ที่ผ่านมามีการคัดกรองเร่ืองยาเสพติด ต่อไปควรมีการ คัดกรองเรื่องความเครียดและปัญหาทางอารมณ์ เช่น ภาวะซึมเศร้า ด้วย ขณะนี้ คณะครุศาสตรไ์ ด้มกี ารนำ� รอ่ งไปแล้ว เหน็ ว่าควรท�ำทั้งมหาวทิ ยาลัย ประการที่สอง เนื่องจากอาจารย์ที่ปรึกษาไม่ได้พบนักศึกษาทุกวัน แต่เป็นอาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่างๆ ที่จะพบนักศึกษาทุกวัน จึงควรมีการวางระบบ ให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาสามารถแจ้งอาจารย์ ท่ีปรึกษากรณีพบนักศึกษา ท่ีมีพฤติกรรมบ่งช้ีว่านักศึกษาน่าจะประสบปัญหา เช่น การมาสาย การขาดเรียน บ่อย ๆ เรื่องการจัดกิจกรรมโฮมรูม เดิมคู่มือก�ำหนดให้อาจารย์พบนักศึกษา ทุกสัปดาห์ในวันพุธ แต่จากการหารือเห็นพ้องกันว่าเป็นไปได้ยาก จึงเป็นการวาง ระบบแต่ไม่ได้ท�ำตามระบบหรือท�ำไม่ได้ ดังน้ัน จึงเห็นว่าควรเป็นการวางระบบที่มี ความเป็นไปได้ อาจเหลือสองสัปดาห์ต่อครั้ง โดยควรมีการทบทวนหัวข้อที่จ�ำเป็น ในการท�ำโฮมรูมเพื่อเสริมให้นักศึกษามีความเข้มแข็ง สรุปส่วนนี้คือ ท�ำให้กิจกรรม โฮมรูมปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง และมกี ารกำ� หนดประเด็นในการท�ำโฮมรูมใหช้ ดั เจน (๒) ถ้าพบว่านักศึกษาต้องการการให้ค�ำปรึกษา (Counseling) ต้อง มีการด�ำเนินการ ๓ เรื่อง ประกอบด้วย (๒.๑) วางระบบการให้ค�ำปรึกษาของ คณะ มหาวทิ ยาลยั และโดยหนว่ ยงานภายนอก คอื แตล่ ะคณะควรจะมี Counselor อาสาประจ�ำคณะ จากการทาบทามอาจารย์ท่ีมีจิตอาสาให้มาเป็น Counselor ประจ�ำคณะ เพ่ือให้ค�ำปรึกษาในเบื้องต้น ต่อมาเมื่อพบว่านักศึกษามีระดับปัญหา ที่เกินความสามารถ ก็ควรมี Counselor ภายในระดับมหาวิทยาลัยเพื่อรับช่วงต่อ และหากปัญหามคี วามซบั ซอ้ น รนุ แรงเกนิ ความสามารถของ Counselor ในระดบั มหาวทิ ยาลยั กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งมี Counselor โดยหนว่ ยงานภายนอกรองรบั ดว้ ย หนว่ ยงาน ที่ส�ำคัญคือโรงพยาบาล ท้ังโรงพยาบาลอ�ำเภอ และโรงพยาบาลจังหวัด ซ่ึงจะมี ความพร้อมในการ Counseling ยิ่งข้นึ (๒.๒) มคี วามสมั พนั ธ์กับหน่วยงานภายนอก ในการแก้ปัญหานักศึกษา ปัญหาของนักศึกษาหลายประการ อาจารย์ และ/หรือ โรงพยาบาลอาจไม่สามารถแก้ได้โดยล�ำพัง เช่น พ่อแม่ใช้ความรุนแรง ซ่ึงเคยมี 86 สนุ ทรยี สนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
กรณีตัวอย่างที่นักศึกษามหาวิทยาลัยหนึ่งต้องย้ายมหาวิทยาลัยมาแล้วหลายรอบ เพราะบิดาติดยาเสพติดและใช้ความรุนแรงกับบุตร กรณีนี้ต้องใช้พระราชบัญญัติ ป้องกันและการแก้ไขความรุนแรงในครอบครัว เป็นเคร่ืองมือหรือแนวทางในการ จัดการ ฝา่ ยใดฝ่ายหนง่ึ ไม่สามารถแกไ้ ขหรอื จัดการไดโ้ ดยล�ำพัง หรอื กรณนี ักศกึ ษา ต้ังครรภ์ หรือกรณีบิดา มารดา ยากจนมาก ๆ ท่ีระบบเงินทุนการศึกษาของ มหาวิทยาลัยอย่างเดียว ไม่สามารถเยียวยาได้ ต้องเชื่อมโยงกับกระทรวงพัฒนา สังคมฯ เร่ืองยาเสพติดก็ต้องเช่ือมโยงกับฝ่ายต�ำรวจ ทหาร ซ่ึงมหาวิทยาลัย มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับองค์กรเหล่านี้อยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการท�ำกิจกรรม จอมบึงมาราธอน ดังน้ัน ควรขยายความร่วมมือกับองค์กรเหล่านี้เพื่อให้ดูแล นักศกึ ษาดว้ ย (๒.๓) มกี ารฝึกอบรมระดบั คณะ (Faculty-based Training) ให้กับ ทุกคณะ เพื่อให้ทุกคณะสามารถจัดท�ำระบบดูแลช่วยเหลือของตน การอบรมเป็น แบบ one day workshop คร่งึ วนั แรกจะเป็นการให้ความรเู้ รอื่ งระบบ ให้ทกุ คณะ สามารถไปวางระบบให้เหมาะสมกับคณะ และจัดต้ังคณะกรรมการดูแลช่วยเหลือ นักศึกษาประจ�ำคณะขึ้นมาได้ครึ่งวันท่ีเหลือจะเป็นการฝึกทักษะท่ีจ�ำเป็นในการ ดำ� เนนิ การตามระบบ และขอใหค้ ณะดำ� เนนิ การเรอื่ งนใี้ หต้ อ่ เนอ่ื งดว้ ยการใชว้ ง PLC ของคณะ และของสาขาวิชา เพมิ่ ขึ้นจากเรือ่ ง Active Learning ท่มี อี ย่แู ล้ว เน่ืองจากการจัดอบรมไม่ได้มีการวางแผนไว้ก่อน กองพัฒนานักศึกษา อาจจะต้องของบประมาณจากมหาวิทยาลัย ประมาณคณะละไม่เกินหน่ึงหม่ืนบาท เป็นคา่ วทิ ยากรจากภายนอก และค่าอาหาร โดยคาดว่าจะใชว้ งเงินประมาณสห่ี มืน่ ถึงห้าหม่ืนบาทเพื่อจัดการอบรมให้ครบทุกคณะ จะมีการประชุมอีกครั้งในวันท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เพ่ือสรุป และภายในเดือนกรกฎาคมจะท�ำคู่มือฉบับใหม่ ท่ีมีการปรับปรงุ และภายในเดอื นสิงหาคม การอบรมนา่ จะจัดได้ครบทุกคณะ ๘.๓ คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลยั ในชว่ งเชา้ ไดร้ ว่ มประชมุ กบั กรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั เพอื่ หารอื วา่ วิกฤติ COVID – 19 จะจดั การอยา่ งไร ที่ผ่านมาสงั เกตว่า แนวทางการแก้ปญั หา COVID-19 จะแก้ปัญหาอยู่แคส่ องระดบั คอื ระดับบคุ คล และระดับรัฐ ซึง่ ท่ีจรงิ แลว้ 87รวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
การทส่ี ังคมจะออกจากวกิ ฤตินไ้ี ด้ พลงั ที่ส�ำคญั คอื พลงั Social Unit คอื ครอบครวั องคก์ ร และชมุ ชน ซ่งึ เปน็ สว่ นที่มพี ลัง แต่มกี ารพดู ถึงน้อย จงึ เป็นหวั ข้อทีต่ อ้ งการ เสนอในวันน้ี โดยมหี ลกั ๕ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ สร้าง ๒ ใช้ สู้ภยั โควิด ซึง่ การ จะฝ่าวิกฤติโควิด - ๑๙ ไปด้วยกัน ต้องอาศัยการมองทางออกโดยใช้พลังสังคม (ระดับครอบครัว องค์กร ชุมชน) โดยจะเน้นมากไปที่ระดับองค์กร และชุมชน เพื่อเปลี่ยนจากเหย่ือเป็นผู้ร่วมกอบกู้วิกฤติ ขณะน้ีใครท่ีต้องอยู่บ้าน คนท่ีตกงาน นักศึกษาที่ต้องหยุดเรียน ล้วนแต่รู้สึกเป็นเหยื่อ ซ่ึงถ้าทุกคนรู้สึกเป็นเหยื่อ ก็จะออ่ นแอเกินกวา่ จะฝ่าวิกฤตไิ ปได้ดี ดังนั้น การเปลี่ยนจากเหย่ือเป็นผูร้ ว่ มกอบกู้ วิกฤติเป็นหลักท่ีส�ำคัญมาก ควรน�ำไปประยุกต์ใช้และน�ำกลับมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพ่อื เพ่ิมศกั ยภาพของสังคม หลักดังกล่าว คือ ๓ สร้าง ๑) ความปลอดภยั - ระยะหา่ งทางสังคม - หมน่ั ล้างมือด้วยสบู่ / Alcohol - สวมหน้ากากผา้ เม่ือไปในที่ชมุ ชน - ทำ� ความสะอาดพนื้ ผวิ ทีม่ ือสัมผัส (โตะ๊ เกา้ อี้ ท่ีหยบิ จับ) (๑) เนื่องจากไวรัสนี้เป็นโรคบังเกิดใหม่ ไม่มีใครมีภูมิคุ้มกัน ใครได้รับเช้ือจะต้องติดทุกคน (๒) เป็นเช้ือท่ีแม้ว่ามีอัตรา ๘๕ % จะป่วย เหมือนเป็นไข้หวัดธรรมดา แต่มี ๑๕% ที่จะมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ส่วนลา่ ง ทำ� ให้ตอ้ งรกั ษาในโรงพยาบาล และ ๕ % ต้องเข้าห้อง ICU และ ๑-๒% จะเสยี ชวี ติ จงึ ทำ� ใหม้ คี วามตระหนกมาก และประเทศทมี่ คี วามพรอ้ มดา้ นการรองรบั ทางสาธารณสุขไมด่ ี แมว้ ่าจะเป็นประเทศพัฒนาแล้ว เชน่ ถ้ามีขอ้ จ�ำกัดด้านจ�ำนวน ห้อง ICU เม่ือผู้ป่วยเข้ามาเป็นจ�ำนวนมากก็ไม่สามารถรองรับได้ ท�ำให้อัตราการ เสยี ชวี ิตถึงระดบั เกอื บ ๑๐ % เชอื้ นี้ตดิ ต่อ ๒ วิธีคอื ๑) ติดตอ่ ผา่ นการสัมผสั และ ๒) ติดต่อผ่านการหายใจ ท่ีติดต่อผ่านการสัมผัสเพราะว่ามีสองทางที่จะเข้าสู่ทาง เดินหายใจได้นอกจากจมูก คือ ทางตา ผ่านทางท่อน้�ำตา และปาก เนื่องจากส่วน 88 สุนทรยี สนทนาเพ่อื พัฒนามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
หลงั ของปากจะต่อกับทางเดินหายใจ ดังนัน้ การใชห้ น้ากากกเ็ พอ่ื ป้องกัน droplet ที่จะเข้าทางจมูก ซึ่งก็เพียงพอท่ีจะป้องกันได้ถ้าเราไม่ป่วย หน้ากาก Surgical Mask นั้นดี แตม่ ีปญั หาเรอ่ื งขาดแคลน หนา้ กากผ้ากส็ ามารถใชไ้ ด้ ส่วนการปอ้ งกนั การตดิ ต่อดว้ ยการสัมผัส คือ เร่อื งการล้างมือ เพราะเชอ้ื ไวรสั มโี ครงสรา้ งเป็นไขมนั ถ้าล้างด้วยสบู่ก็ตาย ส่วน Social Distancing เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการติดต่อ กันไดง้ ่าย เพราะว่าเชอื้ แพร่ไปเองไม่ได้ จะไปตามบุคคล ดงั น้นั วธิ กี ารทีด่ ี คอื การ รกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม อยบู่ า้ น ไมไ่ ปในทแ่ี ออดั วกิ ฤตใิ นทกุ ประเทศกเ็ กดิ จากการ มาชุมนุมท้ังสิ้น ประเทศไทยรักษาสถานการณ์ได้ดีมาตลอด จนกระท่ังมีการจัด ชกมวยที่เวทีมวยในวันท่ี ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เพราะวนั นั้นมกี าร spread และ การรว่ มงานทีป่ ระเทศมาเลเซีย ทำ� ใหป้ ระเทศไทยมีคนตดิ เขา้ สูห่ ลักรอ้ ย และมีการ ขยายตัว และจากการประกาศปิดกรุงเทพโดยไม่มีมาตรการรองรับ ท�ำให้คนที่ไม่ สามารถอยไู่ ด้ กลบั ตา่ งจงั หวดั เปน็ อกี turning point ขณะนเ้ี ขา้ สวู่ กิ ฤตเิ ตม็ รปู แบบ ทุกวันจะมผี ู้ตดิ เช้ือมากขึน้ เร่อื ย ๆ และ ผู้ติดเชอื้ เขา้ สรู่ ะบบโรงพยาบาล ซึ่งถ้าเกิด มจี ำ� นวนมากเกนิ กวา่ ทร่ี ะบบจะรบั ได้ กจ็ ะเกดิ ความรนุ แรงมากขน้ึ ตามลำ� ดบั กห็ วงั วา่ จ�ำนวนผู้ติดเช้ือจะเป็นอย่างประเทศที่เป็นกลุ่มตำ�่ ได้แก่ ไต้หวัน สิงคโปร์ ฮ่องกง ญี่ปุ่น การสร้างความปลอดภัย ถ้าเกิดเราท�ำกับตัวบุคคลก็ได้ระดับหนึ่ง แต่ถ้าเรา ทำ� ไดก้ บั ระดบั ทเี่ ปน็ unit ทางสงั คม คอื ครอบครวั ชว่ ยกนั ชมุ ชนชว่ ยกนั อยา่ งชมุ ชน ต่าง ๆ หนว่ ยงานต่าง ๆ ช่วยกัน ก็จะเปน็ วิธีการทลี่ ดผลกระทบท่ีรนุ แรงไดด้ ี ๒) ความสงบ - การรบั ส่งขา่ วสาร - เวลากบั ส่ือ แมจ้ ะยงั มกี ลมุ่ ทก่ี ลวั นอ้ ยเกนิ ไป ซงึ่ กค็ งนอ้ ยลงแลว้ แตป่ ญั หาจรงิ ๆ คอื คนทก่ี งั วลมากเกนิ ไป ซง่ึ จะสง่ ผล ๓ อยา่ ง คอื (๑) จะตามขา่ วสารมาก สบั สน กนิ ไมไ่ ด้ นอนไม่หลบั เกิดความเครยี ด (๒) ภูมคิ มุ้ กนั จะตก เนื่องจากเวลาเราเครียด ร่างกาย จะหลั่งสาร Cortisol ซ่ึงจะไปลดการทำ� งานของภมู คิ ้มุ กัน ซง่ึ เป็นส่งิ จ�ำเป็นส�ำหรับ การป้องกันเช้ือท่ีไม่มีภูมิคุ้มกันมาก่อน (๓) คนที่กังวลมากเกินไปจะมีพฤติกรรม ที่เป็นลักษณะการเอาตัวรอด เช่น การไปเข้าแถวตรวจโรคท้ังที่ตนเองไม่เส่ียง ไป รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 89
ซื้ออาหารมากเกินสมควร หรือไม่ได้คิดจะช่วยคนอื่น เพราะกลัวว่าตนจะเป็นอะไร เป็นปัญหาจากการไม่สงบ ส่ิงท่ีจะท�ำให้สงบได้ดีท่ีสุดคือ ชุมชน องค์กร และท�ำให้ คนมีความเข้าใจที่ถูกต้อง คือ ถ้าไม่มีความสงบก็จะไม่เข้าใจเรื่องนี้ และจะสร้าง ความป่นั ป่วนขนึ้ มาได้ ๓) ความหวัง - เราป้องกนั ได้ - เราจัดการได้ เราป้องกนั ตวั เราเองได้ เราต้องชว่ ยกนั ปอ้ งกันคนในองคก์ รของเรา คนในชมุ ชนของเราคนในครอบครวั ของเราใหด้ ที สี่ ดุ คอื เราสามารถจดั การใหอ้ งคก์ ร ของเราสงบ ปลอดภัยได้ถา้ เรามีความหวังการฝา่ วกิ ฤติ ซ่ึงกไ็ มย่ าก ดังนั้น ๓ สร้าง ถ้าเราคิดในมิติองค์กร มิติชุมชน ก็จะมีมาตรการ หรือวิธีการด�ำเนินการ ท่ีแตกต่างกันออกไป และในการที่ท�ำให้เกิด ๓ สร้างน้ีได้ ต้องใช้พลงั ๒ พลงั หรือ ๒ ใช้ คือ ๑) ใช้พลงั ให้เต็มศกั ยภาพ - จัดระบบความปลอดภัย (การคัดกรองก่อนเข้างาน จัดวาง ระยะห่าง) - ดูแลการทำ� งาน/รายได้ - สวัสดกิ าร (เช่น อาหารกลางวัน สบู่ หน้ากากผ้า) - จติ อาสา (เช่น ผลติ หน้ากากผา้ ) ขอใหใ้ ชพ้ ลงั ใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพกจ็ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ความสงบ และความหวังได้ ๒) ใชส้ ายสัมพันธ์ สร้างความเข้มแข็ง - ใหก้ �ำลังใจผ้ทู ่อี อ่ นแอ - ใส่ใจ / ช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกัน ถา้ คดิ ในบรบิ ทองคก์ รและชมุ ชน จะเกดิ มาตรการเฉพาะของเราเอง เม่ือเช้าน้ีได้ร่วมประชุมรับฟังผู้บริหาร คณาจารย์ เรื่องการรับมือ กับภาวะวิกฤติการแพร่ระบาด ก็มีการเตรียมการ มีการรับมือกันอย่างเต็มท่ี เช่น 90 สนุ ทรยี สนทนาเพอื่ พฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
การท�ำให้ภาคเรียนน้ีจบอย่างเรียบร้อย การเตรียมการท�ำหลักสูตรออนไลน์ ส�ำหรับการเปิดเทอมในเดือนกรกฎาคม ก็ได้เสนอที่ประชุมว่าการท่ีจะใช้หลัก สองส่วนน้ี ต้องใช้ unit ทางสงั คม ใหเ้ ต็มทีเ่ พื่อเปล่ียนไมใ่ หท้ กุ คนเป็นเหยื่อ แตเ่ ป็น ผู้ร่วมกอบกวู้ ิกฤติ เรามหี ้ารอ้ ยกวา่ คน ถา้ ใช้พลงั เตม็ ทีก่ ็จะสามารถทำ� ไดม้ าก จริง ๆ เรามีคนเป็นหมื่นคน คอื นกั ศึกษาอีกเจด็ พนั กวา่ คน เรามเี ครือขา่ ย คสม. มีศิษย์เกา่ ท่ยี งั active กบั เรา ชุมชนท่ีอยูร่ อบ ๆ ถ้าเราใชห้ ลักนีก้ ็จะมีคนเจด็ พันหรอื หมื่นคน ของเรา เป็นผู้ร่วมกอบก้วู กิ ฤติใหก้ ับ ครอบครัว ชุมชน และองค์กร ซ่งึ ในระยะสัน้ คาดการณว์ ่า ความเลวร้าย กนิ ระยะเวลาอย่างนอ้ ย ๓ เดือน คือผูป้ ว่ ยเพมิ่ ขนึ้ เรอ่ื ย และค่อยๆ ลดลง แต่ถา้ สถานการณห์ นกั กวา่ นนั้ ก็อาจจะเปน็ ๖ เดือน หรอื ๙ เดอื น และชว่ งน้จี ะเป็นช่วงเศรษฐกิจชะงกั เราจะท�ำอย่างไรให้นักศึกษาของเรา เครือข่าย ของเราเป็นผู้ร่วมกอบกู้วิกฤติ เช่น ได้เสนอวิสัยทัศน์ว่า เราน่าจะให้สามเดือนน้ี เป็นการเรียนวิชาบางวิชาที่เมื่อเปิดเทอมแล้วจะได้เป็นหน่วยกิต เช่น วิชาด้าน การกอบกวู้ กิ ฤติ วชิ าเกย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื วชิ าภาษาองั กฤษ คอื ใหน้ กั ศกึ ษา ทน่ี อกจากจะอยบู่ า้ นแลว้ สามารถรว่ มกอบกวู้ กิ ฤติ โดยมสี ามวชิ านเ้ี ปน็ วชิ า backup การรว่ มกอบกวู้ กิ ฤตขิ องเขากจ็ ะเปน็ ประโยชนม์ าก ผนู้ ำ� ทอ้ งถน่ิ ทไี่ ดเ้ สนอครงั้ ทแี่ ลว้ วา่ นา่ จะมีการประชุมผนู้ ำ� ท้องถ่นิ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น ถา้ ผู้น�ำเขา้ ใจหลกั ๓ สรา้ ง ๒ ใช้ นี้ และดัดแปลง ใช้กบั ชมุ ชนตนเองจะเกิดผลอยา่ งมหาศาล ไมค่ วรไปใช้วธิ ีการ แจกเพราะวิธีการแจกเป็นวิธีท่ีได้ผลต่�ำสุด เนื่องจากไม่ได้ใช้พลังของเขาเลย และ หลังจากพ้นวิกฤติแล้วเราน่าจะเป็นผู้น�ำที่จะท�ำให้องค์กร ชุมชนรอบ ๆ เราดีข้ึน หลังวิกฤติจะมีสถานการณ์สามแบบ คือ ๑) แย่ลง ๒) กลับไปเหมือนเดิม หรือ ๓) กลับไปดีข้ึน ถ้าเราต้องการให้กลับไปดีขึ้น ก็ต้องตอบค�ำถาม ว่า ๓-๖ เดือนน้ี เราจะท�ำอย่างไร ถ้าเราต้องการน�ำไปสู่สังคมที่ดีข้ึน ก็มีโอกาส แต่ถ้าเราท�ำให้ เราเป็นเหย่อื การลงเอยกค็ งจะแยล่ ง หรอื อยา่ งดกี ็เหมอื นเดมิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิร่วมแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม สรุปไดด้ ังน้ี ๑) มหาวิทยาลัยมีศักยภาพท่ีผลิตเจลแอลกอฮอล์ แต่ชุมชนรอบข้าง อาจขาดแคลน มหาวิทยาลยั จะบรกิ ารชุมชนในส่วนนไี้ ด้ หรืออาจใหน้ ักศึกษา หรือ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 91
ทมี งานจติ อาสาของมหาวทิ ยาลยั เปน็ สอ่ื กลางในการรว่ มกบั ชมุ ชนผลติ เพอ่ื ตอบสนอง ความตอ้ งการ ๒) มหาวิทยาลัยมีระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ควรให้อาจารย์ที่ปรึกษา สร้างความสัมพันธ์ติดต่อกับนักศึกษาอย่างต่อเน่ือง ทั้งเรื่องการเรียน และเร่ืองที่ เก่ยี วข้องกบั สุขภาพดังกลา่ ว คือการท�ำให้ตนเอง และผู้อ่ืนเปน็ ผู้รว่ มกนั กอบกู้วกิ ฤติ ๓) การจะใหน้ กั ศกึ ษาเปน็ ผรู้ ว่ มกอบกวู้ กิ ฤติ ตอ้ งทำ� ใหเ้ กดิ ความชดั เจน ว่าต้องท�ำอะไรหรือบทบาทอย่างไรบ้าง เมื่อกระท�ำผ่านไป เช่น ระยะ ๑-๒ เดือน ควรทราบว่าได้ท�ำไปเทา่ ใด กลา่ วอกี นัยหน่งึ ควรมตี ัวบ่งช้ี เพ่อื ใหเ้ ห็นเปน็ รูปธรรม โดยสรปุ คือ มหาวทิ ยาลัยควรมีมาตรการ มกี ารประเมนิ ท่ีชดั เจน และสามารถน�ำ มาท�ำเป็นรายงานเผยแพร่ในแวดวงราชภัฏได้ นายกสภามหาวิทยาลัยเสริมว่า ถ้าท�ำได้จะเป็นต้นแบบที่ดี สังคมอาจจะประสบกับวิกฤติได้อีก จึงขอฝาก ฝา่ ยบริหารพจิ ารณา นายกสภามหาวิทยาลัยขอขอบคุณอธิการบดีท่ีได้จัดประชุมแลกเปลี่ยน ระหว่างนายกสภามหาวิทยาลัยกับกรรมการบริหาร ท�ำให้ได้บรรยากาศของ การแลกเปลยี่ น และแรงบันดาลใจที่จะช่วยกนั ตอ่ ไป 92 สุนทรียสนทนาเพือ่ พฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทท่ี ๙ บทเรียนและการเรยี นร้จู ากหนว่ ยงานในประเทศ ๙.๑ กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ไดเ้ ขา้ รว่ มประชมุ ดา้ นการปฏริ ปู การศกึ ษา โดยมโี จทยว์ า่ ทางออกของ การปฏริ ปู การศกึ ษาของไทยนา่ จะอยตู่ รงไหน แนวคดิ เรอื่ งการศกึ ษาทม่ี อี ปุ สรรคมาก เพราะการปฏิรูปตรงส่วนกลางก็ล�ำบาก เนื่องจากมีขนาดใหญ่ ปฏิรูปตรงโรงเรียน ก็ได้เฉพาะในโรงเรียนไม่ใช่ท้ังระบบ ต่อมาค�ำตอบมาตกผลึกตรงท่ีว่า การศึกษา จะไม่ส�ำเร็จถ้าประชาชนไม่ตระหนัก ไม่สนใจ คือถ้าเพียงคิดว่า ให้บุตรหลาน เข้าโรงเรียนดีๆ ได้ ซ่ึงก็จะไปแออัดตามโรงเรียนใหญ่ การศึกษาไทยก็จะไม่ส�ำเร็จ จึงเกิดแนวคิดว่าถ้าจะปฏิรูปการศึกษาให้ส�ำเร็จต้องสร้างระบบตรงกลางคือ ระบบจังหวัดขึ้นมา เรียกว่า Area-based Education สนับสนุนโดยกองทุนเพ่ือ ความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ซ่ึงจะเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏด้วย โดยมีการน�ำร่องไปหลายจังหวัด วิธีการน�ำร่อง คือวางแผนให้จังหวัดตั้งสมัชชา การศึกษา โดยดึงทุกฝ่ายเข้ามาท้ังภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ ไม่ใช่มีแต่ ภาครัฐ หรือกระทรวงศึกษาธิการ โดยกลุ่มท่ีมีบทบาทในสมัชชาจังหวัดคือท้องถ่ิน มกี ารท�ำแผนการศกึ ษาจงั หวดั มกี ารท�ำโครงการบางอยา่ งเพ่อื แกป้ ัญหาของจงั หวัด ท่ีมองในระดับประเทศแล้วมองไม่เห็น ที่มีความโดดเด่น เช่น การท�ำส�ำนึกใน ท้องถ่ิน ท่ีจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดภูเก็ต การแก้ปัญหาเฉพาะ เช่น ท่ี จังหวัดสุโขทัยแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่คล่อง ที่มีชื่อเสียงมากคือ ที่จังหวัดอ�ำนาจเจริญและจังหวัดสุรินทร์ เรื่องการแก้ปัญหาการ Drop Out ของนักเรียนโดยภาคท้องถิ่น ท�ำให้เห็นได้ชัดว่าเมื่อจังหวัดให้ความส�ำคัญก็จะ แกป้ ัญหาได้ สรุปวา่ ระบบการศึกษาจังหวัดควรทำ� ให้เป็นรูปธรรม แตถ่ ้าด�ำเนินการ ท้ังหมด ๗๖ จังหวัด น่าจะเป็นปัญหากับการบริหารส่วนกลาง จึงมีข้อสรุปว่า 93รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หม่บู า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
น่าจะมีการออกพระราชบัญญัติเพ่ือให้มีกฎหมายรองรับ และให้มีจังหวัดน�ำร่อง ก่อนในแต่ละภาค และที่กล่าวในเบ้ืองต้นว่าเก่ียวข้องกับมหาวิทยาลัย เนื่องจาก มีความสนใจให้จังหวัดราชบุรีเป็นจังหวัดน�ำร่องด้วยเหตุผลหลายประการ เหตุผล ประการหนึ่ง คือ การมีมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ีเข้มแข็ง และการมีโรงเรียนน�ำร่อง ที่มีคุณภาพจากโครงการต่าง ๆ หลายโครงการ เช่น โครงการโรงเรียนสุขภาวะ ถือวา่ เป็นความเข้มแข็งของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏทีไ่ ดร้ บั การมองเหน็ ๙.๒ UNICEF ไทย ไดเ้ ขา้ รว่ มประชมุ กบั UNICEF ทำ� ใหท้ ราบผลการสำ� รวจสถานการณ์ เด็กและสตรีของประเทศไทย และแยกเป็นรายจังหวัด จึงได้น�ำตัวเลขของ จังหวัดราชบุรีในประเด็นท่ีเป็นปัญหา โดยน�ำเสนอตัวเลขเปรียบเทียบกับ ตัวเลขของประเทศมาแจ้งให้ทราบ ในฐานะท่ีมหาวิทยาลัยเป็นภูมิปัญญาของ จงั หวดั ดงั นี้ ๖๒ ประเดน็ ไทย ราชบรุ ี คำอธบิ ายเพ่มิ เติม ได้นมแม่ ๑ ช่วั โมงหลงั คลอด ๔๐ ๑๕ เป็นการสร้างความผูกพัน (Bonding) ระหว่าง แมก่ ับลูก กินนมแม่อยา่ งเดียว ๖ เดอื น ๒๓ ๙ - อว้ น ๘ ๑๑ - ปว่ ยใน ๒ สปั ดาห์ ๑.๔ ๓ เป็นตัวเลขแสดงสขุ ภาพของเดก็ เลก็ เข้าเรยี นปฐมวัย ๘๕ ๗๖ - ใชส้ อ่ื (Electronics) ๕๑ ๔๕ แม้จะต่ำกว่าระดับประเทศ แต่ก็เปน็ ตวั เลขทสี่ งู อบรมดว้ ยวธิ รี นุ แรง ๗๕ ๘๑ เชน่ การเฆีย่ นตี อัตราการเข้าเรยี นมธั ยม ๘๑ ๗๔ - 94 สนุ ทรียสนทนาเพ่อื พฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๑๐ บทเรียนและการเรียนรู้จากต่างประเทศ ๑๐.๑ ประเทศเนเธอร์แลนด์ : การทอ่ งเท่ียวเชงิ นเิ วศน์ มโี อกาสไปดเู มอื ง ซงึ่ อาจจะเกย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั เมืองนี้เป็นเมืองค่อนไปทางตอนเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ ช่ือ Giethoorn เมืองนี้เพ่ิงมีช่ือเสียงไม่กี่ปีท่ีผ่านมา ประวัติ ความเป็นมา เป็นเมืองการเกษตร เล้ียงวัว เลี้ยงปศุสัตว์ ส่งผลิตภัณฑ์ประเภท นม เนยแข็ง ออกไปสู่ภายนอก ผู้น�ำ ชมุ ชนไดต้ กลงกนั ในชมุ ชนวา่ จะพฒั นาเปน็ หมบู่ า้ นไมใ่ หม้ รี ถยนต์ เปน็ หมบู่ า้ นทไ่ี มม่ ี การสร้างถนนเข้าหมู่บ้าน คือไม่ให้รถยนต์เข้า เมื่อไปถึงปากทางก็ต้องจอดรถไว้ท่ี ลานจอดรถด้านนอก และเดินเข้าหมู่บ้าน เดินรอบบริเวณท้ังหมดใช้เวลาประมาณ สองชว่ั โมง ซึ่งในทส่ี ุดกม็ ชี อ่ื เสียงข้ึนเร่อื ย ๆ คนก็ตอ้ งการมาชมหมบู่ ้านเพม่ิ มากขึน้ เรอื่ ย ๆ มพี ิพธิ ภัณฑ์ส�ำหรบั ให้ทกุ คนไดเ้ ห็นวิถีชวี ิต ตอ่ มาเริ่มมีบ้านพกั เป็นโฮมสเตย์ เกือบทุกหลังจะมีโฮมสเตย์ สุดท้ายกลายเป็นชุมชนท่ีเป็นแหล่งท่องเท่ียวค่อนข้าง สมบรู ณแ์ บบ ตอนนีค้ นทมี่ าเท่ียวมากท่สี ดุ เป็นคนจนี โดยเฉพาะในวนั เสาร-์ อาทิตย์ ถ้าเป็นวันหยุดช่วง high season นักท่องเท่ียวก็จะย่ิงมาก ท่ีเป็นเช่นน้ีได้เกิดจาก ความสามารถในการก�ำหนดอัตลักษณ์ของตนเอง ซ่ึงถ้าชุมชน ไม่เข้มแข็งก็จะเป็น ไปได้ยาก ๑๐.๒ ประเทศเยอรมนี : การท่องเท่ียวเมอื งรอง มีเมืองเกา่ ทเี่ ป็น unseen ส่วนท้องถิ่นชว่ ยรักษา คอื บ้านทกุ บา้ น ชน้ั บนเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั แตช่ นั้ ลา่ งเปน็ ธรุ กจิ บา้ นเหลา่ นก้ี าร renovation มคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู สิ่งที่รัฐบาลท้องถ่ินให้ คือให้ทุนกู้ยืมโดยปราศจากดอกเบี้ย เพื่อให้ท�ำเป็นธุรกิจ ในพ้ืนท่ีช้ันล่าง โดยข้างบนเป็นที่อยู่อาศัย แต่ถ้าเจ้าของบ้านไม่สามารถท�ำธุรกิจ ด้วยตนเองได้ กองทุนนี้จะให้เป็นค�ำปรึกษา เพ่ือให้คนมาเช่าท�ำธุรกิจ โดยให้น�ำ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 95
ผลตอบแทนคืนกลับมาที่กองทุนบางส่วน ฉะนั้นเมืองทุกเมืองในเยอรมนีจะมีการ รักษาความเป็นเมืองเก่าไว้ บ้านเหล่าน้ี อยู่มาต้ังแต่ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ สิ่งเหล่านี้ เปน็ เรื่องการจดั การและเปน็ เร่ืองของการใชค้ วามรู้ ซึง่ มหาวิทยาลยั ควรมีบทบาท การจัดการท่ีดี จะต้องคิดถึงปัญหาทั้งหมดไว้ล่วงหน้า แล้วจัดการ อย่างครบวงจร ยกตัวอย่าง ระบบประกันสุขภาพของประเทศเยอรมนี ที่ประเทศ เยอรมนีมีคนสูงอายุจ�ำนวนมาก เร่ืองการฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นปัญหาใหญ่ เพราะ ไม่มีนักฟื้นฟูสมรรถภาพ และคลินิกฟื้นฟูสมรรถภาพเพียงพอ ต้องเข้าใจว่า ระบบ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ท�ำทคี่ ลนิ กิ ไม่ได้ทำ� ท่โี รงพยาบาล มิเช่นนน้ั โรงพยาบาลจะแออัด มาก เขาจึงสร้างแนวคิดใหม่ข้ึนมา คือเน่ืองจากการฟื้นฟูมีข้อจ�ำกัดเร่ืองเวลา ถ้าสมมติเป็นโรคหัวใจ หรือโรคหลอดเลือดในสมอง ถ้าไม่ได้รับการฟื้นฟูภายใน ๖ เดือนอย่างต่อเน่ือง อาทิตย์ละ ๓ ครั้ง ก็จะเป็นผู้พิการติดเตียงชั่วชีวิต ฉะนั้น มีเวลาทองอยู่แค่ช่วง ๖ เดือน เท่านั้นเองเอา ๔ คูณ ๖ และคูณอีก ๓ ท้ังหมด ประมาณ ๗๒ คร้ัง ท่ีเขาจะต้องได้รับการฟื้นฟู ถ้ามีคนไข้น้อยก็ไม่ยาก แต่ถ้ามี คนตอ้ งการฟน้ื ฟสู ขุ ภาพจำ� นวนมาก คลนิ ิก นักกายภาพบำ� บดั ทำ� ไม่ได้ ปรากฏวา่ ที่เยอรมนีท�ำวิจัยและได้ข้อสรุปว่า วิธีการดีที่สุดคือการให้คนในครอบครัวท�ำงาน การฟื้นฟู โดยสร้างแรงจูงใจคนในครอบครัวเร่ืองฟื้นฟูโดยรัฐจะจ่ายเงินให้ เดอื นละ ๒๐๐ ยโู ร โดยไมเ่ สยี ภาษี ซง่ึ ๒๐๐ ยโู ร ไมม่ ากกจ็ รงิ แตเ่ หมอื นเปน็ แรงจงู ใจ ได้พอสมควร ซึ่งถ้าคิดว่างานท่ีท�ำก็ คือ งานบ้านก็จะท�ำได้ เขายังได้พยายาม คดิ ออกแบบกจิ กรรมการฟน้ื ฟใู หท้ ำ� เปน็ งานในบา้ นดว้ ย เชน่ ชว่ ยเชด็ ทำ� ความสะอาด ข้าวของ ถูบ้านเพ่ือให้กล้ามเนื้อใช้งาน กิจกรรมที่ท�ำจึงไม่ใช่กิจกรรมที่ท�ำที่คลินิก แต่เป็นกิจกรรมฟื้นฟู ที่บ้าน ปรากฏว่าถ้าสามีเป็นผู้ป่วย ภรรยาจะพอใจเพราะ เทา่ กบั ได้สามีมาช่วยงานบา้ น หัวใจส�ำคัญ คอื รฐั จะไม่จ่ายเงิน ๒๐๐ ยโู รลว่ งหนา้ จะจ่ายให้ทุกเดือน ถ้าเม่ือพาคนไข้มาพบกับนักกายภาพบ�ำบัดแล้วพบว่า มี progress ถ้าเดือนไหนไม่ progress ก็จะไม่ได้ ๒๐๐ ยูโร คือ คิดทั้งระบบไว้ ล่วงหน้า 96 สุนทรียสนทนาเพื่อพฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๑๐.๓ บทบาทเพ่ือสังคมของมหาวิทยาลัย : กรณีมหาวิทยาลัย Mandsley ประเทศอังกฤษ เป็นการประชุมท่ีมีมหาวิทยาลัย Maudsley แห่งประเทศ อังกฤษเป็นโค-สปอนเซอร์ และหัวใจของงานคือการท่ีมหาวิทยาลัย Maudsley มีกิจกรรม CSR ใหม่ที่ต้องการเผยแพร่ให้ทั้งประเทศอังกฤษและทั่วโลกได้รับรู้ คือเป็นกิจกรรมในฐานะท่ีมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งองค์ความรู้ จึงได้มีการรีวิว ความรจู้ าก ท่ัวโลกโดยก�ำหนดเป็น Theme ขององคค์ วามรูแ้ ล้วนำ� มาเสนอ ครงั้ น้ี Theme ของเร่ืองที่น�ำมาเสนอน่าสนใจมาก คือเรื่อง “ความสุข” ซ่ึงจากการวิจัย เร่อื งความสุขทั้งหมด สามารถสรปุ ปจั จยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับความสุขออกมาเป็น ๖ ดา้ น น�ำมาเขียนเปน็ วงล้อ เรยี กว่า Wheel of Wellbeing ได้ดังนี้ ๑) กาย เคลื่อนไหว คือ คนเรามักเข้าใจว่าการออกก�ำลังกาย เป็นเร่ืองของร่างกาย แต่การออกก�ำลังกายเป็นการท�ำงานของสมอง หากหยุด เคล่ือนไหวหรือเคล่ือนไหวน้อยลง สิ่งที่เฉื่อยชา คือ สมอง มีการพบว่าเมื่อเซล Active จะหลั่งสารบางอย่างท�ำให้รู้สึกเป็นสุข เนื่องจาก cell ที่ alert จะส่งสาร บางชนิด ท่ีช่วยกระตุ้นสมองให้มีความรู้สึกร่าเริง น่ีคือเหตุผลหน่ึงในปัจจุบัน ท่ใี บสง่ั ของจิตแพทย์ใหค้ นไขเ้ ป็นโรคซมึ เศรา้ เปน็ การให้ออกกำ� ลังกายทกุ วนั ๒) ใจ ใฝร่ ู้ คอื พบวา่ หากคนไม่อยนู่ ิง่ คน้ หาความรูใ้ หมๆ่ บคุ คล เหลา่ นีจ้ ะเป็นผ้ทู มี่ ีความสขุ มากกว่าคนท่ีท�ำงานซ�ำ้ ซาก จำ� เจ ๓) จิต คือให้ คือ การมีจิตอาสา หรือจิตสาธารณะ หากท�ำ ด้วยความตั้งใจจริง มีงานวิจัยพบว่าถ้าเราให้อะไรด้วยความรู้สึกต้ังใจให้ คือ สภาวะจิตของการให้ ความดันโลหิตจะลดลง การนอนหลับ จะดีข้ึน ดังนั้น การสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะต่าง ๆ เช่น วันที่มาปั่นจักรยาน VIP (ในงาน เขาประทับช้างเทรลแอนด์ไบท์) ที่ส่วนใหญ่เป็นคณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวทิ ยาลยั ทกุ ท่านดมู ีความสุข จติ คือใหจ้ ึงเป็นสง่ิ ท่สี รา้ งความสขุ มาก ๔) ใครๆ ผูกมิตร คือ มีการศึกษาคนที่มีสัมพันธภาพท่ีดี กับ คนท่ีไม่ค่อยมีสัมพันธภาพ พบว่า คนที่สัมพันธภาพดีจะมีอายุยืนมากกว่า ๗ ปี เปรียบไดเ้ ทา่ กบั การเลิกสบู บุหรี่ ๕) ทกุ ทศิ ใส่ใจ คอื อยา่ ทำ� อะไรลนลาน รบี ๆ ร้อนๆ ทานอาหาร ก็ให้รรู้ สชาตอิ าหาร เดนิ ก็ใหร้ ทู้ วิ ทศั น์ท่ีเกดิ ขน้ึ รอบๆ ตวั หรือเป็นการมีสตนิ ั่นเอง 97รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
๖๕ ๖) โลก ให ้ดู แล ๖ค)ื อโลเปกรใหีย้ดบแู เทลียคบอื วเป่าครียนบทเที่มียีสบำวน่าึกคนในทเม่ี รสี ื่อ�ำงนธกึ รใรนมเรชอื่ างตธริ รรมะชมาัดตริ ะวังในการใช ากร เชน่ การระใมชัด้นรำ้ ะกวังาใรนใชกไ้าฟรใฟชา้ ทรบัพคุ ยคาลกเรหลเช่าน่ ้เี มกือ่ าวรดัใชค้นว�้ำา มกสาขุรใจชะ้ไฟมฟคี ้วาาบมุคสคขุ ลมเาหกลก่าวนา่ ้ีเคมน่ือทวัด่วไป ความสขุ จะมีความสขุ มากกว่าคนทั่วไป Wheel of Wellbeing ของมหาวิทยาลยั Maudsley เปน็ องคค์ วามรู้ Whทeี่ทe�ำlไoดf้ทWุกสe่วlนlbeทi้ังnบgิดขาอมงมารหดาาวิทตยนาเอลงัย อMงaคu์กdรปslกeคyรเอปง็นส่วอนงทค้์อคงวถาิ่นมรแู้ทลี่ทะำสไถดา้ทนุกส่วน ทั้งบิดา า ตนเอง องศคึก์กษราปแกลคะรผอทู้ งี่ทสำ� ่วไดนก้ ทจ็ ้อะเงกถิดิ่นควแาลมะสสขุ ถดางั นศั้นึจกึงษเปา็นแโลปะรแผกู้ทรี่ทมทำไี่สดน้กบั ็จสะนเนุ กใิดหค้ทวกุ าหมนสว่ ยุข ดังนั้นจึงเป็น กรมที่สนับสนนำ� ุนไปใหใช้ท้ไุกด้หสน�ำน่วักยงนาำนไกปอใงชท้ไุนดส้ นสับำสนนักุนงกาานรกสรอ้างงทเสุนรสมิ นสขุับภสานพุน(สกสาสร.ส) รม้าคี งูม่ เือสครวิมาสมุขสุขภาพ (สสส.) ม คทวยาามลสัยุขM๘auป๘ WdรesะปlllกeรbาyะeรกinาคgรใือนขคอสืองH่วมนaหHpขาapอวpyงิทpมย๘yหาลาห๘ยัวริทMือหยคaราืuอวลdาคัยมsวรlสาeามุชyขสภทุขัฏั้งทแหั้งปมแดู่บป้าดลนักจลษอักณมษบะณึคงะลคจ้าละย้าเหยW็นhWวe่าheไeดle้มolีกf าoWรfellbeing ของ ในสด่ว�ำนเนขินอกงามรหอายวู่แทิ ลย้วาจล�ำัยนรวานชมภาัฏกหทมั้งเูบ่ รา้ื่อนงจGอrมeบeึงnจUะnเหiv็นeวr่าsiไtดy้มสกี ตาริ ดPLำเCนนิมการาารธออยนู่แล้วจำนวนมาก อง Green จUิตnอivาสeาrsแitลyะสคตวาิ มPพLยCายมาามรทา�ำธใอห้บนคุ จคลิตใอนาอสงคาก์ รแมลีสะัมคพวันาธมภพาพยาดยังนาน้ัมอทงำคใ์คหวา้บมุคร้นูค้ีลในองค์กรม นธภาพ ดังนั้นชว่อยงยคนื ์คยวนั าใมนรสู้นงิ่ ี้ชท่วม่ี ยหยาวืนทิ ยยันาใลนยั สกิ่งรทะท่ีมำ�ห ขาวอ้ ิทคดิยอากีลสัยว่กนรหะนทงึ่ ำสำ�ขห้อรคบั ิดมอหีกาสวทิ่วนยาหลนยั ึ่งรสาชำหภฏัรับมหาวิทยาลัย นฏศีม้ หกึคี มษวู่บาามจ้าาชนกัดจเอWจหวทมนิสe�ำมบ ัยbู่บCึงทอsท้าSiยัศนtRี่จeา่นจะงใ์หอมนไทดรมเีด่มี ืรอ้บำห่อืตึงเงาันวทนวตินี่จ้จีิทนะกนยใมาเนาปีดรลเเ�น็ำรกยั เ่ือตนี่ยงวัMินวนตกกa้ีมนuับาีคอรdกวยเsาากา่ lมรง่ียeชพชวyัดัดกัฒเไเับจดจนนกน้ทาาทำสรอา้อพCยมงัฒS่าาถRงรนิ่นทถาใี่มเทนชขหุ้มอเา้ ราไงชื่อปวถนิทงศิ่นนยกึ คี้จาษชือลนุามคัยจเชวปานรMก็นทตaคWำวัuือใeตdหคbนsว้วslอริสeitทยัยye�ำ่าทไใงไดัศหดช้น้้ัด์หเจรนือตสัวาตมนารในถ 98 สุนทรยี สนทนาเพอื่ พัฒนามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทท่ี ๑๑ สมู่ หาวทิ ยาลัยแหง่ สติ เร่อื งแจ้งให้ทปี่ ระชมุ ทราบจากประธาน (๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓) มีโอกาสได้เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพิจารณาโครงการ ที่เป็นความร่วมมือระหว่างกรมสุขภาพจิตกับ สสส. โครงการสร้างสุขและจิตส�ำ๖น๖ึก ด้วยโปรแกรมสติในองค์กรบท(Mที่ i๑n๑dfสuมู่ lnหาeวsทิ sยาinลยั แOหr่งgสaตnิ izations : MIO) ซึ่งเป็น โเครือ่รงงแกจง้าใรหพท้ ป่ี ัฒระนชมุาทอรงาคบจ์การกตปร้นะธแาบนบ(๒ใ๖นพกฤาศรจนกิ า�ำย นM๒i๕n๖d๓f)ulness Psychology หรือสติใน แนวจิตมวีโอิทกยาสาไมด้เาสในชอค้ใณนะอกงรครม์กกรารบแริหลาะรมคหณาวะิทกยารลรัยมพิจกาารณรบาโรคริหงกาารรไทดี่เป้พ็นิจควาารมณร่วมามรือับระโหควร่างงกกรามร จสึงุขไภดาม้ พโี จอิตกกาับสมสสาสร.ว่ โมคกริจงกการรรสมร้า๒งสุขคแรลง้ั ะใจนิตฐสำานนึกะดท้วปี่ ยโรปกึ รษแกาขรมอสงตโิคในรองงกคา์กรร (Mindfulness in Oในrgแaนnวizจaิตtวioิทnยโsาป:มMราใแIOชก้ใ)นรซอึ่งมงเปคก็น์กาโรครแรใงลชกะ้าครMณพัฒะinกนรdารอมfงuกคา์กlรnรบตeร้นิsหแsาบรบไPใดน้sพกyิจาาcรรนhณำoาMรlัoบinโgdคyfรuงlกnซาeึ่งรssเปจPึงs็นyไดcแh้มนoีโอlวoกgจาyสิตหมวราิทือร่สวยมตาิ กกับจิ กรNรมe๒uคroรัง้ sใcนiฐeาnนะcทe่ีปรึกมษีกาขาอรงพโคัฒรงกนาารและศึกษาทั่วโลก เม่ือน�ำมาใช้กับองค์กรจะมี เใเแคหคลรร้เะ่อืปื่อศงน็ึกมงษือมวโบาปิถือทรรีอหิั่วแโาง๒กลรครกใมหก์ ชกเเ้ รมปาุดรื่อน็ ในวชถิคำ้ Mีอมืองาinคใชdก์ เ้กfรคuับlรnอ่ือeงคsงs์กมรPือจsyะกcมhาีเoครlรฝoื่อgึกงyมอือซบ่งึ๒เรปชมน็ ุดแในหควือ้เจกติเคิดวรทิ ื่อยSงามkกือiบักllารNฝแeึกลuอrะoบsเรcคมieใรหn่ือ้cเกeงิดมมSีกือkาบiรllพรัฒแิหลนาะาร เครือ่ งมือการฝึกอบรม จะมี ๓ ชุด ชุดท่หี น่งึ เรื่องการทำงานอย่างมสี ติหรือสติกับการพัฒนาตน มี ๒ เคควราื่อมงสมัมือพปันรธะ์กกับอผบู้รดับ้วบยรกิกาารรฝึกโสดมยากธาิ แรฝลึกะกสาตริสทื่อำสงาารนหอรรยวือม่าวสงารื่อมะเพสีส่ือาตทรริ าอบนยชา่าุดยสงทภมาี่สมีสหอตาวงิทิเแยราื่อลลยั งะรกสาชาตภรัฏิคหทมิดำ่บู บ้างนาวจอนกมรบงึ่วชพมุด.ศกท. ัน๒ี่ส๕เ๖ปา๐ม็น-เ๒ทร๕ื่ีมอ๖๓งแกลาะร99 พัฒนาองค์กร จะมีการฝึกการประชุมที่ใช้สติสนทนา ๒ ชนิด คือการประชุมแบบ Dialogue กัลยาณมิตร สนทนาท่ีเน้นการฟังอยา่ งใคร่ครวญ (เพ่อื การเรยี นรู)้ กับ Creative Discussion การอภปิ รายอย่างสรา้ งสรรค์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110