Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อัชฌา สมนึก

อัชฌา สมนึก

Published by วิทย บริการ, 2022-07-11 01:37:56

Description: อัชฌา สมนึก

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 45 ยาทม่ี กี ารใชผ้ สมสรุ ารบั ประทาน ปัจจบุ นั นไ้ี ม่ได้มีการใช้ เพราะจะสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพของทารกโดยผ่านทางน้ำนม มารดา ยกตัวอย่างยาที่ใช้สำหรับมารดาหลังคลอดตามตำรา แพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาผดุงครรภ์ไทย (2549) เช่น ยาดองแทนการอยไู่ ฟหรอื ยาดองอยไู่ ฟ เทียนท้งั หา้ หนกั สิ่งละ 2 สลงึ การบูร 6 สลึง สารส้มสะตุ 3 บาท พรกิ ไทยเท่ายาท้ังหลาย รวม 8 ส่งิ ตำพอกช้ำ ๆ หอ่ ผ้าขาว แช่สุรา ฝงั ขา้ วเปลอื กไว้ 3 คนื กนิ ตง้ั แต่อยู่ไฟได้ 3 วัน จนออกไฟ ยาขับนำ้ คาวปลา สารส้ม ดินประสวิ ยาดำ ดเี กลอื เกลือสมทุ ร ส้มมะขามเปียก สรรพยาทงั้ 6 ส่ิงหนักสิ่ง ละ 1 บาท เนื้อฝักคูณ 4 บาท ใบมะกา 5 บาท ข่าสด 5 บาท แก่นฝาง 5 บาท รวมสรรพยา 10 สิ่งนี้ ทำเป็นยา หม้อตม้ ให้หญงิ คลอดบุตรกินเวลาเช้า ยาแก้ปวดมดลูก เกลือสินเธาว์ กระเทียม พริกไทย สารส้ม กระวาน กานพลู สิ่งละ 1 ส่วน ดีปลี ขิง ไพล สง่ิ ละ 2 ส่วน เทียนดำ 4 ส่วน โขลกให้ละเอียดดี ละลายสรุ ากนิ สด ๆ แก้ปวดมดลูก แลว้ ยงั ขับโลหติ เน่าร้ายด้วย ยาแก้เลือดดีขึ้นหรืออาการชักหลังคลอด พริกไทย ขิง กระเทียม สารส้ม สลอด หนังกระเบนเผา รวม สรรพยา 6 สงิ่ เสมอภาค ทำเปน็ ยาผง ละลายสรุ า ยาแก้สันนิบาตหน้าเพลิง ใบมะกา 5 ตำลึง ยาดำ 2 บาท ฝักคนู 3 ฝกั ผลมะคำดคี วาย 7 ลกู มะกรูด 33 ลูก ใบส้มปอ่ ย 1 กำมอื ยาแก้อาการผดิ ปกตขิ ณะอยูไ่ ฟ - ยาแกจ้ บั ไขใ้ นไฟ จนั ทนเ์ ทศ จันทนแ์ ดง จันทนา มะเฟอื งทงั้ ห้า สรรพยา 4 ส่ิง ทำเป็นยาหมอ้ กนิ - ยาแก้หอบในไฟ ขา้ วคว่ั พรกิ ไทย เกลอื สมทุ ร สรรพยา 3 สิ่ง เสมอภาค ตำผงคลกุ กับข้าวสกุ - ยาพ่นดับพิษไฟหรือแก้ผื่นที่ผิวหนัง เอาหัวหอมทุบให้ช้ำ ต้มกับฝาง ทิ้งให้เย็น แล้วพ่นให้ทั่ว ใช้สำหรับ หญงิ หลงั คลอดทอ่ี ยู่ไฟแล้วแสบร้อนผิวหนงั หรือเมด็ ผน่ื เหมือนผวิ มะกรดู ยานึ่งท้องให้ยุบ ดีปลี กระเทียม พริกไทย สารส้ม ดินปะสิว สรรพยา 5 สิ่งเอาสิ่งละ 1 บาท ไพล 2 บาท ใบมะกอกเท่ายาทั้งหลาย ใส่ครกตำเป็นผงเคล้าสุราหรือน้ำส้มสายชูก็ได้ แผ่ลงบนหน้าท้องตรงมดลูก เอาเกลือใส่ หม้อดินตั้งไฟให้ร้อน วงทับลงบนยา นาบท้องให้ร้อน วิธีนี้เรียกว่า การนึ่งท้อง ทำวันละ 2 ครั้ง ทำให้ท้องยุบและ แห้งดี ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 46 ยาแก้หญิงอยู่ไฟไม่ได้และมีอาการท้องอืด เบื่ออาหาร เบญจกูล ข่า ไพล กระชาย ฝาง แกแล ขมิ้นอ้อย บอระเพด็ สง่ิ ละ 2 บาท เลือดแรด หนกั 1 บาท ทำเป็นยาหมอ้ ต้มกิน ยาบำรุงหญิงหลังคลอด หัวยาข้าวเย็นทั้งสอง หนักสิ่งละ 10 บาท เถาคัน 20 บาท เกลือใส่พอเค็ม ทำ เป็นยาหม้อ ยาขนานน้ียังเปน็ ยาชว่ ยแกโ้ รคอยู่ไฟไมไ่ ด้ดว้ ย ยาบำรุงน้ำนม ดอกบุนนาค ผลเร่ว ใบกระวาน ตรีกฎุก กานพลู อบเชยเทศ สิ่งละเท่า ๆ กัน ระย่อมเท่า ยาท้งั หลาย ทำเปน็ ยาผงหรอื เมด็ กไ็ ด้ ละลายสรุ ากนิ ครัง้ ละ 1 เฟื้อง วนั ละ 1 ครง้ั ยาแกน้ ้ำนมน้อย โกฐทง้ั 5 เทียนทง้ั 5 กรุงเขมา ขิงแห้ง กระพงั โหม ชะมดต้น เอาเสมอภาค ตม้ 3 เอา 1 กนิ เปน็ ยาประสะนำ้ นมให้บริบูรณ์ ยาแกม้ ดลกู บวม ดีปลี รากช้าพลู รากเจตมูลเพลงิ แดง สะค้าน ผิวมะกรูด พรกิ ไทย ไพล ใบคนทีสอ บดทำ ผง ละลายสุรากิน ในปจั จบุ ันนี้มีการนำยาสมนุ ไพรตามบัญชียาหลกั แหง่ ชาติ มาใช้ในระยะหลังคลอดตามนโยบายเข้าสู่ระบบ การใหบ้ รกิ ารในสถานบรกิ ารของรฐั ตามประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติมีหลายตำรับ เชน่ ยาประสะไพล ลกั ษณะยา ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) สูตรตำรับ ในผงยา 162 กรัม ประกอบดว้ ย 1. เหงา้ ไพล หนัก 81 กรมั 2. ผิวมะกรดู เหง้าว่านน้ำ หัวกระเทยีม หัวหอม พริกไทยล่อน ดอกดปีลีเหง้าขิง เหง้าขมนิ้ อ้อย เทยี นดำ เกลอื สนิ เธาว์ หนกั สิง่ ละ 8 กรัม 3. การบรู หนกั 1 กรัม ข้อบ่งใช้ ขบั นำ้ คาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ขนาดและวิธใี ช้ ชนิดผง รับประทานครัง้ ละ 1 กรมั ละลายนำ้ สกุ วนั ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร ใหร้ ับประทานจนกว่า น้ำคาวปลาจะหมด แตไ่ ม่เกิน 15 วนั ชนิดลกู กลอน ชนิดเมด็ และชนิดแคปซูล ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

47 รับประทานคร้ังละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลา จะหมดแตไ่ ม่เกิน 15 วัน ขอ้ ห้ามใช้ - ห้ามใชใ้ นหญิงตกเลอื ดหลงั คลอด หญิงตั้งครรภ์และผทู้ ่ีมไี ข้ - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบรแู ละเกิดพิษได้ - กรณขี ับนำ้ คาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตรไมค่ วรใชต้ ดิ ต่อกนั นานเกิน 15 วัน ยาปลกู ไฟธาตุ ลักษณะยา ยาผง ยาผง (รพ.) ยาเม็ด ยาเมด็ (รพ.) ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ.) สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรมั ประกอบดว้ ย พริกไทยลอ่ น 50 กรมั ดอกดปี ลี 5 กรมั รากชา้ พลู 5 กรมั ผักแพวแดง (ท้ังต้น) 5 กรัม เถาสะค้าน 5 กรัม เหงา้ ขงิ แหง้ 5 กรัม ลูกผกั ชลี อ้ ม 5 กรัม เหง้าวา่ นน้ำ 5 กรัม หัวแห้วหมู 5 กรมั ผวิ มะกรูด 5 กรัม ลกู พิลงั กาสา 5 กรมั ข้อบง่ ใช้ ขับนำ้ คาวปลาในเรือนไฟ ชว่ ยให้มดลกู เข้าอู่ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครงั้ ละ 1 กรัม ละลายน้ำสกุ วนั ละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่า น้ำคาวปลาจะหมด แต่ไมเ่ กิน 15 วัน ชนดิ แคปซลู และชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลา จะหมด แต่ไม่เกนิ 15 วนั ข้อหา้ มใช้ - ห้ามใช้ในหญงิ ตกเลอื ดหลงั คลอด หญงิ ต้งั ครรภ์ และผู้ทมี่ ไี ข้ - ห้ามใชใ้ นหญงิ ที่ผ่าคลอด เน่ืองจากทำให้แผลหายชา้ ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

48 - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในผู้ปว่ ยทม่ี ีความผดิ ปกติของตับไต เนื่องจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกิดพิษได้ ยาไฟประลัยกลั ป์ ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) ลกั ษณะยา สูตรตำรับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงในผงยา 71 กรมั ประกอบด้วย รากเจตมูลเพลงิ แดง 6 กรมั สารสม้ สะตุ 6 กรัม ผิวมะกรดู 6 กรมั แก่นแสมทะเล 6 กรมั เหงา้ ขมนิ้ ออ้ ย 5 กรมั เหงา้ ข่า 5 กรมั การบูร 6 กรัม เปลือกมะรมุ 5 กรมั เหงา้ ขิง 4 กรมั เหง้ากระทอื 5 กรมั หัวกระเทยี ม 4 กรมั เหงา้ ไพล 5 กรัม พรกิ ไทยล่อน 4 กรมั ดอกดีปลี 4 กรัม ข้อบง่ ใช้ กระตุ้นนำ้ นม กระจายเลือดลมในหญงิ หลังคลอด ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลกิ รัม - 1.5 กรมั วันละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร ขอ้ ห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตัง้ ครรภ์ และผทู้ ่มี ไี ข้ คำเตือน ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตำรบั นี้มีพรกิ ไทยในปริมาณสงู อาการไม่พงึ ประสงค์ แสบร้อนยอดอก ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) ลักษณะยา ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย สตู รตำรบั ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

49 รากเจตมูลเพลิงแดง 20 กรัม เหง้าขงิ 20 กรัม พรกิ ไทยล่อน 20 กรัม สารส้มสะตุ 20 กรัม ฝักส้มปอ่ ย 20 กรมั ข้อบง่ ใช้ ขับนำ้ คาวปลาในเรอื นไฟ ช่วยใหม้ ดลกู เข้าอู่ ขนาดและวิธใี ช้มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ชนดิ ผง รับประทานครั้งละ 1 - 1.5 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้รับประทาน จนกว่านำ้ คาวปลาจะหมด แตไ่ ม่เกิน 15 วนั ชนิดแคปซูลและชนิดเมด็ รับประทานครั้งละ 1 - 1.5 กรัม วันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่า น้ำคาวปลาจะหมด แตไ่ มเ่ กนิ 15 วนั ข้อห้ามใช้ - ห้ามใชใ้ นหญิงตกเลือดหลงั คลอด หญิงตั้งครรภ์ และผูท้ ่ีมไี ข้ - หา้ มใช้ในหญงิ ท่ีผ่าคลอด เน่อื งจากทำให้แผลหายช้า ยาสตรหี ลงั คลอด ยาต้ม (รพ.) ลกั ษณะยา ในยา 130 กรัม ประกอบดว้ ย สตู รตำรับ แกน่ แกแล 10 กรัม วา่ นชกั มดลกู 10 กรมั เถาสะคา้ น 10 กรมั แกน่ ขนุน 10 กรัม ดอกดีปลี 10 กรมั แกน่ ฝางเสน 10 กรัม เถากำแพงเจ็ดชนั้ 10 กรมั รากเจตมูลเพลิงแดง 10 กรมั รากชา้ พลู 5 กรัม โกฐเชยี ง 10 กรมั ดอกมะลิ 5 กรัม พริกไทยลอ่ น 5 กรัม ดอกบนุ นาค 5 กรัม ดอกคำฝอย 5 กรมั เกสรบวั หลวง 5 กรัม ดอกพิกลุ 5 กรัม ดอกสารภี 5 กรัม ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 50 ขอ้ บง่ ใช้ ขบั น้ำคาวปลา บำรงุ เลือด ช่วยให้มดลกู เข้าอูเ่ รว็ ในหญิงหลงั คลอด ขนาดและวธิ ใี ช้ นำยาใส่น้ำพอทว่ ม ต้มดว้ ยไฟปานกลาง นานครงึ่ ชวั โมง นำเฉพาะสว่ นน้ำมารับประทาน คร้งั ละ 250 มิลลลิ ิตร วันละ 3 คร้ัง กอ่ นอาหาร หรอื ด่มื แทนน้ำ รับประทานติดต่อกัน 1 สัปดาหห์ รอื จนกวา่ นำ้ คาวปลาจะหมด แตไ่ ม่เกนิ 15 วัน ข้อห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตกเลอื ดหลงั คลอด หญงิ ตงั้ ครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คำเตือน - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ ยาต้านการจับตัวของเกลด็ เลือด (antiplatelets) - ควรระวงั การใชย้ าในผู้ป่วยที่แพ้ละอองแก้เกสรดอกไม้ 4.1.2 การนวดและการประคบสมนุ ไพรหลงั คลอด การนวดหลังคลอด มารดามักเกิดอาการปวดตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น หลัง สะโพก น่อง บ่า ต้น คอ หรอื บางคนอาจปวดเมื่อยทงั้ ตัว โดยเฉพาะคนทที่ ้องใหญ่ ทารกมีขนาดโตมาก บางคนอาการปวดจะหายไปหลัง คลอดบุตร แต่บางคนยงั มีอาการปวดอยู่ ซ่งึ ตอ้ งใชก้ ารนวดเพ่ือบรรเทาหรอื ลดอาการปวด คลอดปกติ ควรรอให้แผลฝีเยบ็ หายเป็นปกติ ไมต่ ่ำกว่า 7 วัน จงึ จะนวดได้ ผา่ ตัดคลอด ควรรอให้แผลผา่ คลอดหายสนิทดีก่อน ทิ้งระยะประมาณ 30-45 วันหลังคลอด ทั้งนี้ผู้ต้องคำนึงถึงความปลอดภยั โดยตระหนักเสมอว่า หญิงหลังคลอดมีแผลท่ีบริเวณท้องทั้งภายในและ ภายนอก ประโยชนข์ องการนวดหลงั คลอด 1. ทำใหก้ ารไหลเวยี นของโลหติ และน้ำเหลอื งดขี ึ้น 2. บำบดั และฟืน้ ฟสู ภาพ อาการปวด ตงึ ลา้ บวม ของกล้ามเนื้อ เสน้ เอน็ และข้อตอ่ 3. ทำให้กล้ามเน้อื เสน้ เอน็ และพงั ผดื อ่อนตวั ชว่ ยลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดอาการติดขัดของข้อต่อ กล้ามเน้อื มีความยืดหยนุ่ ดขี น้ึ เคลื่อนไหวไดส้ ะดวกข้ึน และทำให้ระบบกล้ามเนอ้ื และระบบประสาทผ่อนคลาย ข้อควรระวัง การนวดตอ้ งนวดดว้ ยความระมัดระวัง ใน - หญิงหลงั คลอดท่ีเปน็ เบาหวาน ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 51 - หญิงหลงั คลอดที่มีผวิ ที่แตกง่าย - หญงิ หลังคลอดท่ีมีลักษณะของข้อควรระวงั ในการนวดโดยท่ัวไป อาการแทรกซอ้ น ถ้าหากลงน้ำหนักในการนวดมากเกินไป หรือลงน้ำหนักบริเวณที่ใกล้ระบบประสาทอัตโนมัติแนว ไขสันหลัง อาจทำให้เกิดการระบม มีรอยแดง รอยช้ำ ซึ่งอาการเหล่านี้สามารถหายได้เอง โดยไม่ต้องทำ อะไรหรอื ใช้การประคบสมุนไพร/ทำการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ หากมอี าการมากข้ึน หรอื มีอาการมึนศีรษะ วงิ เวียนศรี ษะ หรอื มอี าการแทรกช้อนที่มอี าการเกนิ ๗ วัน ให้สง่ ต่อแพทย์แผนปัจจุบัน หลกั การนวดหลงั คลอด นวดตามแนวพืน้ ฐานท่วั รา่ งกาย และประคบสมุนไพรตามร่างกาย และบรเิ วณเตา้ นม เพ่ือกระตุ้นให้น้ำนม ไหลดีข้ึน ลดการคดั ตึงเต้านม ขน้ั ตอนการนวดหลังคลอด 1. นวดพน้ื ฐานขาและเปดิ ประตลู ม 2. นวดพืน้ ฐานหลัง 3. นวดพื้นฐานขาดา้ นนอก 4. นวดพ้ืนฐานขาดา้ นใน 5. นวดพืน้ ฐานแขนดา้ นใน 6. นวดพนื้ ฐานแขนด้านนอก 7. นวดพ้ืนฐานบ่า และศรีษะ 3 จุด 8. นวดพ้ืนฐานไหล่ การประคบสมนุ ไพร นิยมใช้ควบคู่กับการนวดไทยโดยมากจะใช้หลังจากนวดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งผลของการประคบเกิดจาก ความร้อนทไ่ี ด้จากการประคบ และตวั ยาจากสมนุ ไพรทีซ่ ึมผ่านผิวหนังเข้าสู่รา่ งกาย สถู ตรทำลกู ประคบมีหลายสูตร แล้วแต่ละท้องถิ่นจะใช้แตกต่างกันไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมใช้ ใบเปล้า ใบหนาด ใบส้มป่อย ใบมะขาม ภาคกลางนยิ มใช้ เถาเอ็นออ่ น โคคลาน ไพล ขมิ้น ภาคใต้นิยมใช้ไพล ขม้นิ ขงิ เปน็ สมุนไพรหลักในลกู ประคบ ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 52 ประโยชน์การประคบสมนุ ไพร 1. บรรเทาอาการปวด เกร็ง 2. ชว่ ยเพมิ่ การไหลเวยี นของเลอื ดลม 3. ชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครียดจากการคลอด วิธีการประคบสมุนไพร การประคบสมุนไพรหลังคลอด จะประคบและคลึงไปตามบริเวณที่มีอาการปวด เมอ่ื ยตามร่างกาย เชน่ บรเิ วณหลงั บั้นเอว กระเบนเหน็บ ใตก้ น้ ย้อย ขา เปน็ ตน้ โดยท่วั ไปจะใช้เวลาประมาณ 15- 20 นาทีต่อการประคบหนง่ึ ครง้ั ขอ้ ควรระวงั ในการประคบ ห้ามประคบบริเวณมดลูกหลังคลอด และหลังการประคบสมุนไพรไม่ควรอาบน้ำทันที เพราะจะไปชะล้าง ตวั ยาออกจากผวิ หนัง และรา่ งกายยังปรับอุณหภมู ิร่างกายไมท่ นั หากใชล้ ูกการประคบสมนุ ไพรทร่ี ้อนเกนิ ไป จะทำใหผ้ วิ หนงั บรเิ วณที่ประคบไหม้ พอง แสบ รอ้ น บวม รอยดำ และอาจทำให้เกิดการตดิ เชื้อเฉพาะที่ได้ ซึ่งถา้ มีอาการดงั กลา่ วหยุดให้บริการทันท่ี และถ้ามีอาการ แสบร้อน ใหป้ ระคบเยน็ หากพองจนผวิ หนงั ถลอกใหส้ ่งตอ่ แพทยแ์ ผนปจั จุบัน ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 53 ภาพที่ 4.1 การประคบสมุนไพร ท่ีมา: พรทิพย์ เทยี นทองดี และกันทิมา สทิ ธิธญั กิจ (บรรณาธิการ), 2560, 70 ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 54 4.1.3 การทบั หม้อเกลือ การทับหมอ้ เกลือ ทำเพื่อฟ้นื ฟูสภาพในหญงิ หลงั คลอด กรณีคลอดปกติ ใหท้ ำการทับหม้อเกลือได้ในช่วงหลงั คลอด 7 วันถงึ 3 เดือน วนั ละไม่เกนิ 1 คร้ังติดต่อกัน ไม่เกนิ 1 สัปดาห์ กรณีผ่าตัดคลอด ให้ทำการการทับหม้อเกลือได้ในช่วงหลังคลอดเกิน 1 เดือน (แผลผ่าตัดหายแล้ว) แต่ไม่ เกิน 3 เดอื น วันละไม่เกนิ 1 ครง้ั ติดต่อกันไม่เกนิ 1 สปั ดาห์ ประโยชน์ 1. ทำให้มดลูกหดรดั ตัวได้ดี มดลูกเขา้ อไู ดเ้ รว็ นำ้ คาวปลาเดนิ สะดวก 2. รักษาอาการปวดเมื่อย ขัดยอก 3. ทำใหก้ ารไหลเวียนของโลหิตและนำ้ เหลอื งดขี ึน้ 4. ความรอ้ นจะกระตุ้นให้เกดิ การเผาผลาญขมันหน้าท้อง ชว่ ยใหห้ นา้ ทอ้ งยุบได้บา้ งเล็กน้อย ขอ้ ควรระวงั 1. การคลอดโดยการผ่าตัด ถา้ จะทำการทับหมอ้ เกลอื ต้องรอใหห้ ลังคลอดเกนิ 1 เดือนไปแล้ว 2. ไมใ่ หว้ างหมอ้ เกลือหรือกดแช่นาน ๆ ในขณะทหี่ มอ้ เกลือรอ้ น 3. หญงิ หลงั คลอดที่เป็นเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู 4. ไมท่ ับหมอ้ เกลอื ถงึ ใต้อก อาการแทรกซ้อน ในขณะที่มีการทับหม้อเกลืออาจเกิดอาการปวดแสบปวดร้อน พุพอง หรือมีอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ใหห้ ยดุ ทำการทบั หมอ้ เกลือและทำการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ถ้าอาการไม่ดขี ึน้ ควรสง่ ต่อแพทยแ์ ผนปจั จุบนั สมุนไพรที่นิยมใช้ในการทับหม้อเกลือ ได้แก่ ไพลสด ว่านนางคำ ว่านชักมดลูก การบูร ใบพับพลึง หรือ ใบละหุ่ง ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 55 ภาพที่ 4.2 การทับหมอ้ เกลือ ท่มี า: พรทิพย์ เทียนทองดี และกนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกจิ (บรรณาธิการ), 2560, 69 ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 56 4.1.4 การอบไอนำ้ สมนุ ไพร และการเขา้ กระโจม กรณคี ลอดปกติ ให้ทำการเข้ากระโจมได้ในช่วงหลังคลอด 7 วัน ถึง 3 เดือน วันละไม่เกิน 1 ครั้ง ตดิ ต่อกนั ไม่เกนิ 1 สปั ดาห์ กรณผี ่าตดั คลอด ให้ทำการเข้ากระโจมได้ในช่วงหลังคลอดเกิน 1 เดือน (แผลผ่าตัดหายแล้ว) แต่ไม่เกิน 3เดอื น วนั ละไมเ่ กนิ 1 ครั้ง ตดิ ต่อกันไม่เกนิ 1 สปั ดาห์ ประโยชน์ 1. ทำให้การไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น 2. ทำให้ลดอาการอกั เสบ บวม ปวดของกล้ามเนือ้ 3. ทำให้กล้ามเน้ือและเสน้ เอน็ ผ่อนคลาย แก้อาการปวดเมอื่ ยตามร่างกาย ปวดหลงั ปวดเอว เปน็ ตน้ 4. ทำให้ระบบการหายใจดีขึน้ รักษาอาการหวัด คดั จมกู หอบหดื ภมู แิ พ้ 5. ทำให้รูขมุ ขนเปดิ และสงิ่ สกปรกถูกขบั ออกมาพร้อมเหงื่อ 6. รกั ษาอาการคันโรคผิวหนงั ข้อควรระวัง หญิงหลังคลอดไม่เกิน 1 สปั ดาห์ควรระมัดระวังในการเข้ากระโจม อาการแทรกซ้อน ขณะเข้าอบไอน้ำสมุนไพรในกระโจมอาจทำให้ความร้อนในร่างกายสูงขึ้นได้ ซึ่งการดูแลเบื้องต้นให้ดื่มน้ำ มากๆ แต่ถ้าหากมีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม หายใจไม่ออก แสบตามผิวหนัง ควรหยุดการเข้าอบไอน้ำ สมนุ ไพรในกระโจมทนั ทแี ละทำการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ถา้ หากอาการไม่ดขี น้ึ ให้สง่ ต่อแพทย์แผนปัจจบุ ัน 4.1.5 การอาบนำ้ สมุนไพร กรณีคลอดปกติ ให้ทำการอาบน้ำสมุนไพรในช่วงหลังคลอด 7 วันถึง 3 เดือน อาบวันละไม่เกิน 2 คร้ัง ตดิ ต่อกันไมเ่ กิน 1 เดือน กรณีผ่าตัดคลอด ให้ทำการอาบน้ำสมุนไพรได้ในช่วงหลังคลอดเกิน 1 เดือน (แผลผ่าตัดหายแล้ว) แตไ่ ม่เกนิ 3 เดือน อาบวันละไม่เกิน 2 ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ไม่เกนิ 1 เดอื น ประโยชน์ ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 57 1. ทำใหร้ ะบบไหลเวยี นโลหิตดีข้นึ 2. บำบัดรกั ษาอาการปวด ตงึ ล้า ของกล้ามเน้อื ปวดหลงั ปวดเอว เป็นต้น ข้อควรระวัง 1. ระวังน้ำท่ีอาบอยา่ ใหร้ อ้ นจนเกนิ ไป 2. หญงิ หลงั คลอดที่มอี าการอ่อนเพลยี อาการแทรกซ้อน ขณะทำการอาบน้ำสมุนไพรอาจเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่นคัน ปวดแสบ ปวดร้อน หรือมีอาการหน้ามื ด วงิ เวยี นศรี ษะใหห้ ยดุ ทำการอาบน้ำสมุนไพรและทำการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นถ้าอาการไมด่ ีขน้ึ ควรส่งต่อแพทย์แผน ปัจจุบัน ภาพท่ี 4.3 การเข้ากระโจม ทีม่ า: พรทิพย์ เทยี นทองดี และกันทิมา สิทธิธญั กจิ (บรรณาธิการ), 2560, 71 4.1.6 การน่ังถา่ น เพื่อให้ผีเย็บและช่องคลอดไม่อับชื้น ลดอาการอักเสบของฝีเย็บ ช่องคลอด และมดลูก ช่วยทำให้มดลูก เขา้ อเู่ รว็ รกั ษาแผลในมดลกู และทำใหน้ ้ำคาวปลาไหลสะดวก กรณคี ลอดปกติ ใหท้ ำการน่งั ถา่ นในช่วงหลังคลอด ๗ วนั วันละไม่เกิน 1 ครั้ง ติดต่อกนั ไมเ่ กนิ 1 สัปดาห์ สำหรับการผา่ ตดั คลอด ไมเ่ หมาะสมกบั การน่ังถ่าน ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 58 ประโยชน์ ช่วยให้แผลฝเี ยบ็ และช่องคลอดแหง้ ไม่อับชื้น ลดอาการอักเสบของแผลผีเยบ็ ชอ่ งคลอด และมดลกู ชว่ ย ทำใหม้ ดลกู เขา้ อ่เู ร็ว รกั ษาแผลในมดลกู ขบั นำ้ คาวปลาได้ดี ในหญิงหลงั คลอด ขอ้ ควรระวงั 1. หญิงหลังคลอดท่ีมอี าการอ่อนเพลยี เวยี นศีรษะ 2. ไมใ่ ช้ความร้อนทมี่ ากเกินไปในการนัง่ ถ่าน และไมน่ ่ังใกล้เตาจนเกนิ ไป 3. ในระหว่างการน่งั ไม่ควรให้มีเปลวไฟ อาการแทรกซ้อน ขณะนั่งถ่านอาจมีอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะให้หยุดนั่งถ่านทันทีและทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ถา้ อาการไม่ดีขึน้ ควรส่งต่อแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั ภาพท่ี 4.4 การน่งั ถา่ น ทมี่ า: พรทิพย์ เทยี นทองดี และกันทิมา สทิ ธิธญั กิจ (บรรณาธิการ), 2560, 73 ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 59 4.1.7 การรดั หนา้ ท้องหรือการพันผา้ หน้าท้อง ใช้ผ้ารดั หน้าท้องในหญงิ หลงั คลอด เพอื่ พยุงหน้าท้องและมดลูกให้กระชบั ชว่ ยใหม้ ดลูกเข้าอเู่ รว็ ขน้ึ กรณีคลอดปกติ ให้รดั หน้าท้องในช่วงหลงั คลอด 7 วนั ถงึ 3 เดือน รดั ทุกวนั ติดตอ่ กนั 7-15 วนั กรณีผ่าตัดคลอด ให้รัดหน้าท้องในช่วงหลังคลอดเกิน 1 เดือน (แผลผ่าตัดหายแล้ว) แต่ไม่เกิน 3 เดือน รดั ทุกวนั ตดิ ต่อกัน 7-15 วัน ประโยชน์ 1. ชว่ ยให้มดลกู เข้าอเู่ รว็ ข้ึน 2. ช่วยพยงุ หนา้ ท้องและมดลูกใหก้ ระชบั ขอ้ ควรระวงั 1. หญงิ หลังคลอดทม่ี อี าการหนา้ มืด วงิ เวยี นศีรษะ 2. การพันผา้ ตอ้ งไม่แน่นหรอื หลวมเกนิ ไปหากรดั แน่นจะทำให้อดึ อัด นำ้ คาวปลาไหลไมส่ ะดวก อาการแทรกซอ้ น ขณะทำการรัดหน้าท้องหากมีอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ รู้สึกอึดอัดให้คลายผ้าออก หรือหยุดทำการ รัดหน้าทอ้ ง แล้วทำการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนั ถา้ อาการไมด่ ีขน้ึ ควรสง่ ต่อแพทย์แผนปจั จุบนั ขอ้ หา้ มและข้อควรระวงั ท่วั ไป ในการทำหัตถการดูแลมารดาหลงั คลอดด้วยการแพทยแ์ ผนไทย ข้อห้าม 1. มีไข้สูงเกิน ๓๗.๕ องศาเชลเซียส อาการปวดศีรษะชนิดเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาการอ่อนเพลีย อดนอน อดอาหาร หรอื หลงั รบั ประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ ไมเ่ กนิ คร่งึ ชั่วโมง 2. เป็นโรคหวั ใจ โรคความดันโลหติ สูง โรคหอบหืด โรคลมชัก โรคไต หรอื โรคอ่ืนท่แี พทยเ์ ห็นควรว่าไม่ควร ทำหตั ถการ 3. มกี ารตกเลือด 4. มภี าวะความดนั โลหิตสูง (systolic ไมเ่ กิน 140 mm.Hg และ/หรอื diastolic สูงกวา่ 90 mm.Hg) ท่ีมี อาการหนา้ มืด ใจสน่ั ปวดศรี ษะ หรอื คลื่นไส้อาเจียน 5. อยรู่ ะหวา่ งหลงั ผา่ ตัดคลอด 1 เดือน ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรบั การดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 60 6. มลี กั ษณะของข้อห้ามในการนวดทวั่ ไป ได้แก่ มแี ผล มีไข้ ผวิ หนังมีอาการอกั เสบ มีหลอดเลือและอักเสบ เปน็ ต้น 7. แพ้สมุนไพรหรือมีอาการไม่พึงประสงค์จากสมุนไพร และหญิงหลังคลอดที่มีอาการตกเลือด ห้ามใช้ ยาขบั นำ้ คาวปลา ยาบำรุงโลหิต ยาประสะน้ำนมจนกวา่ อาการจะปกติ ขอ้ ควรระวัง ในการการทำหัตถการด้วยการแพทย์แผนไทย ในหญิงหลังคลอด มีข้อควรระวังเนื่องจากหญิงหลังคลอด ระยะ 1-6 เดอื น ร่างกายอยรู่ ะหว่างการปรับตวั เพื่อเขา้ สภู่ าวะปกติ ดงั นน้ั ผู้ดูแลให้การรกั ษาพยาบาลต้องมีควาาม รู้ความเข้าใจ และหมั่นสังเกตอาการ เพื่อป้องกันอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น หัตถการด้ าน การแพทยแ์ ผนไทยทกี่ ล่าวมา ส่วนใหญ่เป็นหัตถการทใี่ ชค้ วามร้อน เช่น การทบั หม้อเกลอื อบไอน้ำ ประคบ อาบนำ้ สมุนไพร เป็นต้น สิ่งที่ควรระมัดระวัง คือความร้อนที่จะสัมผัสกับผิวหนังไม่ร้อนจนเกินไป ต้องทดสอบก่อนนำไป สัมผัสผิวหนังและจำเป็นอย่างยิ่ง ต้องซักถามอาการ และดูแลอย่างใกล้ชิด ป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น ผิวหนัง พุพอง พอง แสบ ร้อน บวม รอยดำ และอาจทำให้เกิดการติดเชื้อเฉพาะที่ได้ ซึ่งถ้ามีอาการดังกล่าวหยดุ ให้บริการ ทันที หากเป็นหัตถการด้านการนวด หรือหัตถการอื่นที่จำเป็นต้องกด คลึง ควรหลีกเลี่ยงการลงน้ำหนักมาก และไมค่ วรกดบริเวณหน้าท้อง โดยเฉพาะอย่างย่งิ บรเิ วณมดลกู พบอาการผดิ ปกติควรส่งตอ่ เพือ่ ไปพบแพทย์ 4.1.8 อาหารและเครอ่ื งดืม่ สำหรับหญงิ หลงั คลอด อาหารและเครื่องดื่มสำหรับหญิงหลังคลอดที่ควรรู้จะแบ่งเป็นที่ควรรับประทานและที่ควรหลีกเลี่ยง ดัง ตัวอย่างทจี่ ะยกมาดังนี้ 1) อาหารและเครื่องดื่มที่ควรรับประทาน การได้รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์ครบถ้วนและเพียงพอจะ ช่วยให้แม่สามารถฟื้นฟูสภาพร่างกายภายหลังคลอดได้เร็ว ซึ่งอาหารก็จะส่งผ่านไปทางน้ำนม ทำให้ลูกได้น้ำนมท่ี เพียงพอตามความต้องการ ลกู ก็จะมีสุขภาพสมบูรณแ์ ข็งแรงท้งั ร่างกายและจิตใจ อาหารสำหรับมารดาหลังคลอดควรรับประทานอาหารที่มีรสร้อน เพื่อช่วยกระตุ้นธาตุไฟกระตุ้นให้น้ำนม ไหลดขี ึ้น นอกจากนยี้ ังช่วยขบั ล มแกอ้ าการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟ้อ ของท้ังมารดาและทารก ตัวอย่างรายการอาหารบำรุงร่างกายและบำรุงน้ำนม เช่น กุยช่ายผัดตับ แกงเลียงหัวปลี ผัดกะเพรา ไก่ผัดขิง เนอ้ื ปลาผัดพรกิ ไทยดำ ตม้ ขา่ ไก่ แกงจืดเตา้ หูต้ ำลึง ฟักทองผัดไข่ ปลานง่ึ เป็นต้น ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 61 ตวั อย่างเคร่ืองดื่มสมุนไพร เช่น นำ้ ขิง น้ำใบกะเพรา น้ำมะตูมตม้ ผสมขงิ น้ำลกู พรนุ นำ้ เมด็ แมงลกั (แช่นำ้ ) ตวั อยา่ งอาหารสำหรับหญงิ หลังคลอด ได้แก่ แกงเลยี งหวั ปลี ส่วนประกอบ 1. หัวปลี มียางสีขาว มีเส้นใยสูง ชาวบ้านเชื่อว่าหัวปลีช่วยทำให้น้ำนมมาก สารอาหารในหัวปลี ประกอบดว้ ย โปรตีน แคลเซยี ม ธาตุเหลก็ ฟอสฟอรสั วติ ามนิ และเบต้า-แคโรทีน 2. หอมแดง รสเผ็ดร้อน แกไ้ ข้ ขบั เสมหะ แก้โรคในปาก บำรงุ ธาตุ แก้ไข้หวัด 3. ผกั ตา่ ง ๆ เช่น ฟักทอง รสมันหวาน บำรงุ รา่ งกาย บำรงุ สายตา 4. บวบ รสเยน็ จดื ออกหวาน มแี คลเซยี ม เหลก็ และฟอสฟอรสั มาก ผลออ่ น ใชป้ ระกอบอาหารตา่ ง ๆ เชน่ แกงเลยี ง ผัดใสไ่ ข่ แกงจืด 5. นำ้ เตา้ ผลอ่อน ใชป้ รุงอาหาร 6. ตำลึง รสเยน็ ดับพิษร้อน แก้เจบ็ ตา 7. ขา้ วโพด ฝอยข้าวโพด รสมนั หวาน ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ 8. ใบแมงลกั มกี ลิน่ หอม รสเผ็ดเลก็ นอ้ ย ใบและช่อดอกอ่อนของแมงลัก ใช้แต่งกล่ินอาหาร เชน่ แกงเลยี ง 9. พรกิ ไทย รสเผด็ ร้อน ขับลม ขับเหงอ่ื ชว่ ยเจริญอาหาร ประโยชน์ 1. บำรงุ รา่ งกาย ชว่ ยเสริมพลังใหก้ ลับมาโดยเรว็ และช่วยฟ้ืนฟสู ภาพร่างกายให้แขง็ แรง 2. บำรุงนำ้ นม 3. บรรเทาอาการท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 62 ภาพที่ 4.5 ตัวอย่างอาหารสำหรับหญงิ หลงั คลอด ท่มี า: https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/68682/-parheafoo-parhea-par- เครื่องดื่มสมุนไพรสำหรับหญงิ หลังคลอด ควรใช้สมุนไพรที่มีรสเผ็ดร้อน เช่น น้ำขิง น้ำตะไคร้ น้ำกะเพรา หรือน้ำสมุนไพรที่มีรสเปรีย้ ว เพื่อช่วยให้ฟอกเลือด ทำให้ผิวพรรณดี สดชื่น ช่วยระบบชับถ่ยระบายของเสีย แต่ไม่ ควรปรี้ยวมากเพราะจะทำให้ท้องเสยี ได้ น้ำสมุนไพรที่ใช้ควรใช้สด 1 คั้นน้ำหรือต้ม ไม่ควรเดิมน้ำตาล ตัวอย่างน้ำ สมนุ ไพรทมี่ รี สเปรีย้ ว เช่น นำ้ มะเขอื เทศ น้ำมะนาว น้ำสม้ น้ำมะขาม นำ้ สับปะรด น้ำฝรงั่ นำ้ กระเจี๊ยบ นอกจากน้ี นำ้ สมนุ ไพรทม่ี สี รรพคุณอยา่ งอน่ื สามารถนำมาใช้ได้ เช่น นำ้ มะตูม ชว่ ยบำรงุ ธาตุ นำ้ ใบเตยมกี ล่นิ หอม ตัวอยา่ งเครื่องดมื่ สำหรับหญงิ หลังคลอด ได้แก่ เตา้ ฮวยน้ำขงิ ส่วนประกอบ 1. ขงิ รสเผด็ ร้อน ขับลม ขับเหงอ่ื ชว่ ยเจรญิ อาหาร ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั การดูแลมารดาและทารก

63 2. นำ้ ตาลทรายแดง รสหวาน บำรงุ กำลัง 3. เตา้ ฮวย ให้โปรตีนจากถัว่ เหลือง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพท่ี 4.6 ตวั อย่างเครื่องดื่มสำหรับหญงิ หลงั คลอด ทมี่ า: https://today.line.me/th/v2/article/5Wk5aR 2) อาหารและเคร่ืองดม่ื ท่ไี มค่ วรรบั ประทาน หญงิ หลังคลอด ห้ามรับประทานอาหารทีม่ ีรสเปรย้ี วจดั เผด็ จัด หรือเคม็ จดั รวมทงั้ หา้ มกนิ ผกั และหัวผกั กาดขาว เพราะจะไปล้างยาดองเหลา้ ไขห่ า้ มกินเพราะจะมผี ลต่อ แผลทฝี่ ีเย็บ สว่ นแกงหน่อไม้หา้ มกนิ จนกว่าจะพ้นสามเดอื นไปแลว้ เพราะจะทำใหค้ นั แผล และนำ้ แข็งห้ามกิน เพราะไมถ่ กู กับมดลกู ทำใหน้ ้ำคาวปลาไมเ่ ดิน สว่ นอาหารแสลง ได้แก่ ปลากระเบน ปลาโคบ ปลาทู ปลาทไ่ี ม่มีเกล็ด และผกั เลือ้ ยได้แก่ ผักบงุ้ ฟกั ทอง เปน็ ต้น นอกจากนีย้ ังมหี มู เนอ้ื ขนุน มะนาว และน้ำมะพร้าว ซึ่งของแสลงเหลา่ น้ี เช่ือว่าถ้ากนิ แล้วจะทำให้เกิดโทษมาก เช่น อาจตกเลือด มดลกู ไมเ่ ข้าอู่ ตวั อย่างรายการอาหารและเครื่องดมื่ ที่หญงิ หลงั คลอดควรหลกี เลีย่ ง 1. นำ้ สมนุ ไพรทีม่ รี สเย็น เชน่ น้ำใบบวั บก นำ้ แตงโม นำ้ แตงไทย ฯลฯ นอกจากนแ้ี ล้วเครอื่ งดื่มต่ง ๆ ที่ควร จะงดในระยะหลงั คลอด เช่น น้ำอดั ลม ชา กาแฟ เคร่ืองดืม่ ชูกำลงั เปน็ ต้น ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั การดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 2. อาหารหมกั ดองทกุ ชนิด ไม่วา่ พืชหรือสตั ว์ 3. นำ้ ชา กาแฟ เหล้า เบียร์ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ 4. ผักดิบ และผลไมท้ ม่ี รี สเย็น เชน่ แตงกวา ชะอม มะระ ฟกั ใบบัวบก 5. เนื้อสตั วท์ ย่ี อ่ ยยาก หรือทมี่ กี ล่ินคาวจดั 6. นำ้ เย็น น้ำแข็ง 4.1.9 การดแู ลเตา้ นม หญงิ หลังคลอดควรหมน่ั ทำความสะอาดเตา้ นม เชน่ การอาบนำ้ ชำระร่างกาย การเชด็ ทำความสะอาด ด้วยนำ้ อนุ่ หรอื นำ้ ธรรมดากอ่ นและหลงั จากลูกดูดนม หากมีอาการตงึ คดั เตา้ นม ให้ประคบด้วยลกู ประคบสมุนไพร หรือบบี เก็บน้ำนมไว้ให้ลูกดื่มใหม้ นี ำ้ นม แม้วา่ นำ้ นมจะเป็นอาหารทสี่ ำคัญของทารก แตใ่ นระยะท่ีคลอดลูกใหม่ ๆ จะมีน้ำนมสีเหลืองๆ ไม่ขาวเหมอื นน้ำนมธรรมดา เรยี กวา่ น้ำนมสีเหลือง ซ่ึงคนโบราณเช่ือวา่ เป็นน้ำนมไมด่ ี จึงบบี ทิ้งจนกว่านำ้ นมจะเป็นสขี าวเหมือนงา หรอื นำใบโคกกระออมและผักบงุ้ ล้มมาต้มกนิ เพื่อขับน้ำนมสีนำ้ เหลือง แต่ทางการแพทย์แผนปจั จบุ นั น้ำนมสเี หลอื งเป็นโปรตีนที่คุ้มกันโรค กระตุ้นการทำงานของลำไส้ ทำให้มีฤทธิ์ระบาย ขเ้ี ทา ในระยะแรกน้นั ถา้ เด็กดดู นมไม่ออก แมจ่ ะปวดเตา้ นมมาก บางรายถงึ กับเปน็ ไข้ หมอตำแยต้องคลึงและ บบี หัวนมให้สง่ิ อดุ ตันหลุดออก หากเปน็ เต้านมบอดจะใช้น้ำอุ่นคลงึ และดงึ หวั นมให้ยืน่ ออกมา การนวดกระต้นุ น้ำนม (แนวทางการใหบ้ รกิ ารของโรงพยาบาลราชบุรี จังหวดั ราชบรุ )ี 1. นวดแนวเส้นพน้ื ฐานหลงั (เสน้ อิทา ปิงคลา) 2. วดั จากก่งึ กลางสะบักลากจรดกระดูกสันหลงั **เร่มิ จุดแรก (ไลล่ ง) 3. นวดรอบสะบกั (ข้นึ -ลง) 4. นวดจุดข้างสะบกั (ดา้ นใน) วัดจากแนวสันหลงั 4 น้ิวมอื 5. นวดจดุ กง่ึ กลางสะบัก (ด้านนอก) 6. นวดแนวเส้นพน้ื ฐานบ่า 7. แนวพนื้ ฐานโค้งคอ 8. นวดแนวสายน้านม (ปลายนว้ิ เฉียง 45 องศา) นวดเข้าหาเตา้ นม กดนงิ่ ปล่อย ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 65 9.แนวเส้นพื้นฐานแขนด้านนอก และพนื้ ฐานแขนดา้ นใน 10. ใชป้ ลายนิว้ มือวางสัมผัส เคาะกระตุ้นเบา ๆ รอบเตา้ นมไลจ่ ากฐานนม 11. นวดเป็นลักษณะวงกลมรูปก้นหอยนวดไลจ่ ากบริเวณฐานนมตามเข็มนาฬกิ าเข้าหาลานนม 12. นวดโดยใชป้ ลายน้วิ นวดไล่เข้าหาลานนม (ท่าผีเสื้อ) 13. นวดด้วยการใช้น้วิ โป้งสลบั นว้ิ ทิศเขา้ ลานนม 14. นวดเป็นลกั ษณะวงกลมรูปก้นหอยนวดบริเวณลานนม 15. กดจุดรอบลานนม (เทคนิค กดใต้ราวนม ข้างราวนม กดจดุ ละ 10 วินาท)ี จดุ สหัสรังษี 16. กดบีบไล่ท่อน้านม 4.2 แนวทางการดูแลทารกหลังคลอด การดูแลทารกหลังคลอดตามความเชื่อจะมีพิธีต่าง ๆ หลายประการเพื่อให้เป็นศิริมงคลกับเด็ก ไมให้เกิด เจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ย มสี ขุ ภาพแข็งแรง เชน่ การฝังรก การร่อนกระดง้ การขนึ้ เปล เปน็ ตน้ นอกจากนัน้ ยงั ใหก้ ารดูแลเรอื่ ง วธิ กี ารปอ้ งกันและรกั ษาโรค ดังนี้ เมื่อทารกคลอดมายังไม่แข็งแรงอาจจะมีการเจ็บป่วย ในคัมภีร์จะมีการกล่าวถึงโรคและการดูแลรักษาดัง จะอธบิ ายพอสงั เขปต่อไปนี้ ซาง คือ โรคเด็กประเภทหนึ่งมักเกิดในเด็กเล็ก ทำให้มีอาการตัวร้อน เชื่องซึม ปากแห้ง อาเจียน กิน อาหารไม่ได้ ท้องเดินมีเม็ดขึ้นในปาก ในคอ ลิ้นเป็นฝ้า เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือซางเจ้าเรือน และซางจร ทงั้ ซางเจา้ เรอื นและซางจรจะทำให้มีอาการแตกต่างตามวนั เกดิ ของเด็ก ละออง คือ โรคเด็กชนิดหนึ่งเกิดกับทารกแรกเกิดถึงเด็กอายุไม่เกิน 5 ขวบ 6 เดือน ผู้ป่วยมีฝ้าบาง ๆ เกดิ ขน้ึ ในปากลำคอ กระพุ้งแก้ม หรอื บนลิน้ ฝ้าบาง ๆ น้ีอาจมสี ตี า่ ง ๆ กันทำให้มีชื่อเรียกแตกตา่ งกันนอกจากน้ียัง มีเจ้าเรือนและชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามวันเกิดของผู้ป่วยด้วย เช่น ละอองแก้ววิเชียร เป็นละอองที่เกิดกับเด็กที่ เกิดวันจันทร์ มีซางน้ำเป็นเจ้าเรือน ละอองที่อาจทำให้มีอาการรุนแรงขึ้นถึงตายได้ เรียก ละอองพระบาท เช่น ละอองมหาเมฆ ละอองเปลวไฟฟา้ ละอองแก้ววเิ ชยี ร หละ คือ โรคเด็กชนิดหนึ่ง เกิดกับทารกที่มอี ายุไม่เกิน 3 เดือน ผู้ป่วยมีเมด็ พิษผุดขึ้นที่ปาก เม็ดพิษน้ีมีทั้ง ชนิดไม่มียอดและชนิดมียอดแหลม มีลักษณะต่าง ๆ กัน 9 อย่าง ดังนี้ ยอดสีเหลือง ยอดสีแดง ยอดสีดำคล้ายน้ำ ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 66 หมึก ยอดสีเขียวใบไม้ ยอดสีดำคล้ายสีนิล ยอดสีม่วงคลำ้ หรอื สดี ำแดงชำ้ คล้ายสลี กู หวา้ ห่าม ยอดสคี ราม ยอดสีขาว และไมม่ ยี อดแต่ข้นึ เปน็ สแี ดงทัว่ ทัง้ ปาก ตาน คอื โรคที่เกดิ ในเด็กอายุต้ังแต่ 5-12 ขวบ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ท่เี รียกวา่ ตานขโมย จะเป็นโรคที่เกิด กับเด็กที่มีอายุตั้ง แต่ 5-6 ขวบเป็นต้นไป จนถึง 7 ขวบ แพทย์แผนไทยเชื่อว่ามักเกิดจากการกินอาหาร อันทำให้ เกิดพยาธใิ นรา่ งกายมีอาการหลายอย่าง เชน่ ลงทอ้ ง ธาตวุ ปิ ริต ชอบกินของสดของคาว กนิ อาหารได้น้อย อุจจาระ เหม็นคาวจัด อุจจาระกะปริบกระปรอยหรือเป็นมูกเลือด บางทีเลือดออกสด ๆ ทำให้เด็กชุบซีด เมื่อเป็นนาน ประมาณ 3 เดือน จะมีอาการลงท้อง ตกเลือดดั่งน้ำล้างเนื้อปวดมวนเป็นมูกเลือด ดากออก ตัวผอมเหลืองอีก ประเภทเรยี ก ตานจร จะเกดิ ขึ้นกับเดก็ ที่เกิดในวนั ใดกไ็ ดม้ ีชื่อแตกต่างกนั ไปมสี าเหตุและอาการต่างกนั การรกั ษาอาการและโรคทเ่ี กย่ี วกบั ทารกจะใช้ทงั้ ยากนิ และยากวาดคอ ยาทใ่ี ชใ้ นการกวาดยา ยาสามัญประจำบา้ นหลายตำรับที่มีขายตามรา้ นขายยาท่ัวไปและมีสรรพคุณตามโรคและอาการท่เี ดก็ เปน็ บอ่ ย ๆ เชน่ - ยาเหลืองปิดสมทุ ร ใช้ในกรณเี ด็กทอ้ งเสีย - ยาอัมฤควาที ใชใ้ นกรณีทเี่ ด็กไอ มีเสมหะ - ยาตรหี อม ใชใ้ นกรณีทเี่ ด็กมไี ข้ ท้องผูก - ยามหานิลแท่งทอง ใชใ้ นกรณีเดก็ ปากเปื่อย ตวั ร้อน - ยาแสงหมึก ใชใ้ นกรณีเดก็ เป็นฝ้า ละออง - ยาประสะกะเพรา ใช้ในกรณเี ดก็ แพ้อากาศ มีน้ ามูก สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งในการใช้ยาไทยคือ ต้องใช้น้ำกระสาย เพื่อให้นำมาละลายยาและตรงกับโรค ทเี่ ปน็ ไดม้ ากขน้ึ ซง่ึ การใช้น้ำกระสายยามหี ลักการดงั นี้ อาการไอ มเี สมหะ นำ้ กระสาย ใช้น้ำมะนาว แทรกเกลอื เป็นตน้ อาการไข้ น้ำกระสาย ใชน้ ำ้ ดอกไม้เทศ เปน็ ตน้ อาการลิ้น ปากเปน็ แผล น้ำกระสายใช้เบญกานี เปน็ ตน้ ถา้ ไม่มีน้ำกระสายดงั ท่ีกลา่ วมา ใหใ้ ช้น้ำต้มสุกเป็นกระสายแทนได้ทกุ กรณี การเตรียมยากวาด ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 67 1. เช็ดภาชะนะที่ผสมยาใหส้ ะอาดด้วยแอลกอฮอล์หรือเหลา้ ปลอ่ ยใหแ้ ห้ง 2. ผสมยาโดยใช้ปริมาณยาตามขนาดการใช้ในแต่ละตำรบั โดยใช้น้ำกระสายยาคลุกเคล้าพอให้ยาเปน็ เนอื้ เดียวกันไม่ให้เหลว หรือร่วนเกินไป พอใหป้ ้ายแล้วติดมือ อุปกรณ์ในการกวาดยา 1. ถงุ มอื หรอื อาจจะเป็นถุงนิ้วมอื ใส่เฉพาะนิ้วทจี่ ะปา้ ยยาสำหรับกวาด เพื่อความสะอาดปอ้ งกันเลบ็ บาด หรอื ครูดภายในปากเดก็ และปอ้ งกนั โรคทีอ่ าจจะติดตอ่ หากเกดิ แผล 2. นวิ้ มอื ของหมอผกู้ วาดยา โดยมากใชน้ ิว้ ชี้กบั นวิ้ ก้อย แลว้ แต่ขนาดของทารกและเด็ก ถา้ เป็นเด็กโตก็ต้อง ใชย้ ามากจึงต้องใช้น้ิวชี้ ถา้ เป็นเด็กเล็ก หรอื ทารก การใชย้ ากน็ อ้ ยลงจงึ ใช้น้วิ ก้อย โดยตดั เล็บให้สั้นและล้างมือด้วย น้ำสบ่ใู หส้ ะอาด ตำแหนง่ ที่กวาดยา เป็นตำแหนง่ ที่ผ้กู วาดยาต้องการให้ยาถกู หรืออยู่ติดบรเิ วณนน้ั มกั เป็นโคนล้นิ เพอื่ ใหเ้ ดก็ กลืนยาเขา้ ไป หลังการกวาดยา และบริเวณทม่ี อี าการของโรคปรากฏ ให้สังเกตเหน็ ได้โดยการดแู ละสมั ผสั โดยปลายนิ้ว ภาพท่ี 4.7 การกวาดยา ทมี่ า: https://ittm.dtam.moph.go.th/images/knowleaga/2/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0% B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%B2.pdf ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรับการดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 68 นอกจากน้ียังมีการดูแลรักษาอาการท่ีพบไดบ้ ่อยในทารก ได้แก่ 1. ทารกถกู แมลงกัด เชน่ ยงุ ลน้ิ ให้เอาขมนิ้ ทา หรือใชป้ นู แดงทา ตามบรเิ วณที่กดั เพ่อื ลดอาการคันหรือ ผน่ื แดง 2. ท้องอืดท้องเฟ้อ ให้เอามหาหิงค์ หยอดเข้าปากเด็ก ๑ หยอดและทารอบ ๆ สะดือเด็ก ใช้ด้ายชุบ มหาหงิ คผ์ กู ขอ้ มือ 3. เปน็ หวัดคัดจมูก จะทำยาสมุ กระหม่อม ใชห้ วั หอมหรือเปราะหอมพอกที่กระหม่อม หรอื เอาหัวหอมทุบ ให้แตกวางไว้บนท่ีนอนข้าง ๆ หวั เด็ก 4. ตวั ร้อนเป็นไข้ ตอ้ งดแู ลไมใหเ้ ด็กชกั ตอ้ งเช็ดตัวบอ่ ย ๆ หรืออาจใช้ยาดับพิษไข้ เชน่ ยาเขียวหอม 5. ผดไฟ เปน็ ผนื ท่ีขนึ้ ตามหนา้ ตามตัวเด็กให้ใชด้ นิ สอพองกับพิมเสนทา 6. ลิ้นเป็นฝา้ ขาว หลงั จากดมื่ นมแล้วอาจเกดิ ฝ้าขาวท่ีลิ้นไดจ้ ะใชผ้ า้ อ้อมเปียกปสั สาวะเด็กเชด็ ออก 7. ตวั เหลอื ง ใหน้ ำไปตากแดดออ่ น ๆ และตอ้ งมผี า้ ปิดตาบังแสงแดดเขา้ 4.3 เอกสารอ้างอิง กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ. (2549). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขา ผดงุ ครรภไ์ ทย. พิมพ์ครั้งท่ี 1: บริษัท ไทภูมิ พบั ลิชชง่ิ จำกดั . กลุ่มงานวิชาการเวชกรรมและผดงุ ครรภแ์ ผนไทย สถาบนั การแพทย์แผนไทยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ . (2560). คู่มือแนวทาง การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพมารดาและทารกดา้ นการ ผดุงครรภ์ไทย (ฉบับทดลองใช้ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ). พิมพค์ รัง้ ท่ี 1. กชนภิ า สุทธิบุตร, อรณุ พร อิฐรตั น์, เพชรน้อย สงิ ห์ช่างชยั , (2562). กล่มุ อาการก่อนมีประจำเดือนและตำรบั ยา สมุนไพรท่ีใชร้ กั ษา ซึ่งระบใุ นคัมภีร์มหาโชตรัต. วารสารธรรมศาสตรเ์ วชสาร;19(1):46-60 ธีระพร วุฒยวนิช, ธีระ ทองสง และจตุพล ศรีสมบูรณ์. (2535). ตำราสูติศาสตร์เล่ม 1,2. เชียงใหม่: หน่วย วารสารวิชาการ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. นวลจันทร์ ใจอารีย์. (2561). การแพทย์แผนไทยประยุกต์สำหรับดูแลหญิงก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ การทำ คลอด และหลังคลอด. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. พรทพิ ย์ เทยี นทองด,ี กนั ทมิ า สิทธธิ ัญกิจ. (บรรณาธิการ). (2560). ตำราภูมปิ ญั ญาการผดงุ ครรภไ์ ทย. กลมุ่ งาน ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 69 วชิ าการเวชกรรมและผดงุ ครรภ์แผนไทย สถาบนั การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ . พมิ พ์ครง้ั ที่ 1: จฑุ าเจริญทรัพย์. มาลีวัล เลิศสาครศิร.ิ (2558). การพยาบาลสตรใี นระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด. กรุงเทพฯ: โครงการตำรา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์. มูลนธิ ฟิ ื้นฟูสง่ เสรมิ การแพทย์ไทยเดมิ ฯ และ โรงเรยี นอายรุ เวทธำรง สถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์คณะ แพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2555) ตำราการแพทย์ไทยเดมิ (แพทยศาสตร์ สงเคราะหฉ์ บับอนุรกั ษ)์ เล่มที่ 1. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ: ศภุ วนิชการ พมิ พ์. ตำราการแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั การดแู ลมารดาและทารก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 70 บรรณานกุ รม กองการประกอบโรคศลิ ปะ กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ. (2549). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขา ผดงุ ครรภไ์ ทย. พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษทั ไทภูมิ พับลชิ ชิง่ จำกัด. กลมุ่ งานวชิ าการเวชกรรมและผดุงครรภแ์ ผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ . (2560). ค่มู ือแนวทาง การดแู ลรกั ษาสุขภาพมารดาและทารกดา้ นการ ผดุงครรภ์ไทย (ฉบับทดลองใชใ้ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ). พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กชนิภา สุทธิบตุ ร, อรณุ พร อิฐรัตน์, เพชรนอ้ ย สงิ ห์ชา่ งชยั , (2562). กลุ่มอาการก่อนมปี ระจำเดือนและตำรับยา สมนุ ไพรทใี่ ช้รกั ษา ซ่ึงระบใุ นคมั ภีรม์ หาโชตรัต. วารสารธรรมศาสตรเ์ วชสาร;19(1):46-60 ธีระพร วุฒยวนิช, ธีระ ทองสง และจตุพล ศรีสมบูรณ์. (2535). ตำราสูติศาสตร์เล่ม 1,2. เชียงใหม่: หน่วย วารสารวิชาการ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. นวลจันทร์ ใจอารีย์. (2561). การแพทย์แผนไทยประยุกต์สำหรับดูแลหญิงก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ การทำ คลอด และหลงั คลอด. พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. พรทิพย์ เทยี นทองด,ี กันทมิ า สทิ ธิธญั กจิ . (บรรณาธกิ าร). (2560). ตำราภูมปิ ัญญาการผดุงครรภไ์ ทย. กลุ่มงาน วิชาการเวชกรรมและผดงุ ครรภ์แผนไทย สถาบนั การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ . พมิ พ์ครั้งท่ี 1: จฑุ าเจริญทรัพย.์ มาลวี ลั เลศิ สาครศริ ิ. (2558). การพยาบาลสตรใี นระยะต้ังครรภแ์ ละระยะคลอด. กรุงเทพฯ: โครงการตำรา วิทยาลัยเซนตห์ ลยุ ส์. มลู นิธฟิ ื้นฟสู ง่ เสรมิ การแพทย์ไทยเดมิ ฯ และ โรงเรยี นอายรุ เวทธำรง สถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์คณะ แพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. (2555) ตำราการแพทยไ์ ทยเดมิ (แพทยศาสตร์ สงเคราะหฉ์ บบั อนรุ กั ษ์) เลม่ ที่ 1. พิมพ์คร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ: ศุภวนชิ การ พิมพ.์ F.Gary Cunningham, Kenneth J.Leveno, Steven L.Bloom, John C.Hauth, Dwight J.Rouse, Catherine Y.Spong. normal labour and delivery. In: F.Gary Cunningham, Kenneth J.Leveno, Steven L.Bloom, John C.Hauth, Dwight J.Rouse, Catherine Y.Spong, editors. Williams Obstetrics. 23 ed. Mc Graw Hill; 2010. p. 374-409. ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับการดูแลมารดาและทารก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook