Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปริญ วีระนนท์และคณะ

ปริญ วีระนนท์และคณะ

Published by วิทย บริการ, 2022-08-15 02:02:40

Description: ปริญ วีระนนท์และคณะ

Search

Read the Text Version

42 4. รายละเอียดอุปกรณ์ 1. ตเู้ ชอ่ื ม 2. เครอ่ื งม้วนสแตนเลส 3. เครื่องเจียร์ 4. เคร่ืองตัดสแตนเลส 5. สว่านเจาะรู 6. เวอเนยี ร์ 7. ตลบั เมตร 8. คอมพวิ เตอร์ 9. เคร่ืองตัดเลเซอร์ 10. อน่ื ๆ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5. รายละเอียดค่าใชจ้ ่าย ตารางที่ 3.2 รายละเอียดค่าใชจ้ า่ ยในการสรา้ งเครื่องกล่นั น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ รายการ รายละเอียด ขนาด จำนวน ราคา (บาท) หมอ้ ต้ม,ฝาชี SUS 304 หนา 2 mm. OD320 สงู 430 mm. 1 18,000 ระบบ Safety 1 ก้านออกหลัง วัด 0-300 5 บาร์ 2,500 Temperature Gauge องศา 1 SUS 304 หนา 2 mm. 4”x6” 636.40 หมอ้ ควบแน่น คอมเพลสเซอร์,แผง 1 ความร้อน OD250 สูง 400 mm. 1 ชุด 967 ระบบไหลเวยี นน้ำหลอ่ ขดลวดทองแดง 1,400 เย็น 3 m. 1 เสน้ SUS 220V/1500W 1 ชุด 540 Temperature Control SUS OD 9 mm. 1 เส้น 164 ทอ่ ไอนำ้ 2 ตวั 270 สามทาง SUS 4 หุล 3 ตัว 76 นิปเปลิ้ เกลียว 4 หลุ 4 ตัว 90 นิปเปิล้ SUS 2 หุล 2 ชดุ 120 ทองเหลือง 1 ชุด 560 ขอ้ ต่อตรงตาไก่ SUS 3 หลุ 1 ตัว 80 SUS 2 ตวั 45 ข้อต่อตรงเกลียวใน SUS 3 หุล 2 ตวั 56 ขอ้ ลดเหลีย่ ม - 4 ลด 3 4 แผน่ 480 Valve 3 หลุ 1 แผ่น 140 ผ้าเจยี ร์ 170 Insulation - 30x50 mm.

43 รายการ รายละเอยี ด ขนาด จำนวน ราคา (บาท) เทปพันเกลียว 1 มว้ น 18 ชุดกรวยแยกสาร 250 ml 1 ชดุ 974 ค่าแรง เหมา 8,000 - รวม 35,406 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

บทท่ี 4 ผลการทดลอง เมอื่ ดำเนนิ การสรา้ งเครอ่ื งกล่นั น้ำมันหอมระเหยขนาดเลก็ เสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ข้ันตอนตอ่ ไป เป็นการทดสอบเพ่ือหาประสทิ ธิภาพของเครื่องกล่นั นำ้ มันหอมระเหยขนาดเลก็ และเพอื่ หา ข้อบกพร่องตา่ ง ๆ รวบรวมข้อมลู ไวส้ ำหรับหาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงให้มปี ระสทิ ธิภาพมาก ยิ่งข้นึ ผู้ทำการทดลอง นายปรญิ วรี ะนนท์ นายไพศาล ชมภู นายจดั พล แฉล้มนงนชุ นางสาวจริ าภรณ์ เลีย่ นเตี๊ยะ สถานที่ทดลอง สาขาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมการผลิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง อปุ กรณ์ทีใ่ ชท้ ดลอง เครอื่ งกลนั่ น้ำมันหอมระเหยขนาดเลก็ กรวยแยกสาร พืชสมนุ ไพรตะไคร้ นำ้ สำหรบั ถังหม้อตม้ และชดุ ควบแน่น นาฬิกาจับเวลา ตราช่งั ขวดแกว้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

45 การศกึ ษาออกแบบพัฒนา และทดสอบประสิทธิภาพของเครือ่ งกล่นั นำ้ มันหอมระเหย ขนาดเลก็ 1. การศกึ ษาออกแบบและพัฒนาเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเลก็ 2. การทดสอบหาประสทิ ธิภาพของเครื่องกลัน่ น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก ในการทดสอบของเคร่ืองกลัน่ น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ ผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็น 4 สว่ น คือ 4.1 การทดสอบหาประสิทธิภาพในการทำงานของเคร่ืองกล่ันนำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก 4.2 การทดสอบหาปริมาณนำ้ มนั หอมระเหยของเคร่ืองกลน่ั น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก 4.3 การทดสอบหาปริมาณน้ำมันหอมระเหยเปรยี บเทยี บเครอื่ งกลัน่ น้ำมันหอมระเหย ขนาดเลก็ กับเครื่องกลัน่ นำมันหอมระเหยขนาดใหญ่ (เครื่องเดิม) 3. การวเิ คราะห์เชงิ เศรษฐศาสตร์ของเคร่ืองกล่ันนำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก 4. ต้นทุนในการสร้างเครือ่ งกลัน่ มรี าคาถูกลงไม่นอ้ ยกวา่ 50% เม่อื เทยี บกับราคาตาม ท้องตลาด 4.1 การทดสอบหาประสิทธิภาพในการทำงานของเคร่ืองกลนั่ นำ้ มันหอมระเหยขนาดเลก็ ตารางท่ี 4.1 การทดลองเครื่องกลน่ั นำ้ มนั หอมระเหย ครั้งที่ 1 วันท่ี 8 กุมภาพนั ธ์ 2565 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ทดลอง/คร้ัง ผลการทดลอง หมายเหตุ ทดลองคร้ังท่ี 1 ไมผ่ า่ น ขดท่อส่งไอนำ้ เยอะเกนิ ไป สรุปผลการทดลองครั้งท่ี 1 จากผลการทดสอบเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก ซ่ึงผลออกมาคือ ขดของท่อสง่ ไอนำ้ เยอะเกินไปทำใหเ้ กิดความสะสมอุณหภมู ิความรอ้ นภายในหม้อชุดควบแนน่ วธิ ีการแก้ไขเคร่ืองกลั่นนำ้ มันหอมระเหยขนาดเล็ก ลดจำนวนขดท่อสง่ ไอน้ำ ตารางท่ี 4.2 การทดลองเครื่องกล่นั นำ้ มนั หอมระเหย วัน 2 มนี าคม 2565 ทดลอง/คร้ัง ผลการทดลอง หมายเหตุ ทดลองคร้ังที่ 2 ไม่ผ่าน หม้อชดุ ควบแน่นทำความเย็นได้ 1 ชม. 40 นาที สรุปผลการทดสอบครงั้ ที่ 2 จากผลการทดลองเครื่องกลน่ั น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ ซ่ึงผลออกมาคือ เกดิ ความ สะสมอุณหภมู คิ วามร้อนในหม้อชดุ ควบแน่น ทำใหค้ อมเพลสเซอรท์ ำงานไม่ทนั วิธีการแกไ้ ขปญั หา เพ่ิมระบบไหลเวียนน้ำในถังชุดควบแน่น

46 ตารางที่ 4.3 การทดลองเครอื่ งกลัน่ น้ำมันหอมระเหย วนั ทที่ ดลอง 3 มนี าคม 2565 ทดลอง/คร้ัง ผลการทดลอง หมายเหตุ ทดลองครั้งที่ 3 ผ่าน - มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สรปุ ผลการทดลองครั้งที่ 3 จากผลการทดลองทดลองเครื่องกลน่ั นำ้ มนั หอมระเหยขนาดเลก็ ซ่งึ ผลออกมาคอื เคร่อื ง กล่นั นำ้ มันหอมระเหยขนาดเล็กสามารถกลนั่ นำ้ มนั หอมระเหยจากตะไคร้ไดต้ ามท่ีเขียนไวใ้ น วตั ถุประสงค์ 4.2 การทดสอบหาปรมิ าณน้ำมันหอมระเหยของเคร่อื งกลัน่ น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก วันทท่ี ดลอง 8 มนี าคม 2565 ตารางท่ี 4.4 หาปริมาณนำ้ มันหอมระเหยของเครื่องกล่นั น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ อุณหภูมิในการกลน่ั ปริมาณนำ้ มัน วตั ถุดบิ ปริมาณวัตถดุ ิบ เวลาในการกลั่น (องศา) หอมระเหย (ml) (กิโลกรัม) (นาท)ี ไม่เกนิ ไม่เกนิ ไมเ่ กิน 80˚c 90˚c 100˚c ตะไคร้ 6 60 100 - ตะไคร้ 6 120 70 6.7 ตะไคร้ 6 180 65 6.5 4.3 การทดสอบหาปริมาณน้ำมนั หอมระเหยเปรยี บเทียบเครือ่ งกลัน่ น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ กบั เคร่อื งกลน่ั นำมันหอมระเหยขนาดใหญ่ (เครอื่ งเดิม) ตารางท่ี 4.5 ปรมิ าณน้ำมันหอมระเหยระหว่างเครื่องเล็กกับเครอื่ งเดิม วนั ท่ีทดลอง 8 มีนาคม 2565 เครื่องกลน่ั วตั ถดุ บิ ปริมาณวัตถุดบิ เวลาในการ ปริมาณน้ำมัน ปริมาณน้ำมนั (กโิ ลกรมั ) กล่นั หอมระเหย หอมระเหย (ชัว่ โมง) ขนาดเลก็ ตะไคร้ 6 (ml) (%) ขนาดเดิม ตะไคร้ 7 3 13.2 0.22 3 18.2 0.26

47 เปอรเ์ ซน็ ต์นำ้ มันหอมระเหย (%) = n x 100 M = 13.2 x 100 6,000 = 0.22 % เมอื่ n = ปริมาณนำ้ มันหอมระเหย M = น้ำหนักตัวอย่าง (g) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4.4 การวเิ คราะหเ์ ชิงเศรษฐศาสตร์ของเครอ่ื งกลนั่ นำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก คำนวณคา่ ใชจ้ า่ ยของเครื่องกลั่นน้ำมนั หอมระเหยขนาดเล็ก ค่าใชจ้ า่ ยท่ีใชใ้ นการ ดำเนินการสรา้ งเครื่องกลนั่ น้ำมันหอมระเหยขนาดเลก็ มีค่าใชจ้ ่ายในการสร้างเครื่อง ประกอบไปด้วย 4 ส่วน ดงั นี้ ตารางที่ 4.6 คา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างเครื่องกลั่นน้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ ลำดับ รายการ ราคา (บาท) 1 หมอ้ ต้มและฝาหม้อตม้ 21,416 2 หมอ้ ชุดควบแนน่ 5,174 3 ทอ่ ส่งไอน้ำ 861 4 คา่ แรง 8,000 รวม 35,406 หมายเหตุ: ในการสรา้ งเครอ่ื งกลั่นนำ้ มันหอมระเหย โดยมีกล่มุ ผวู้ ิจยั ท้ังหมด 4 คน จะคดิ เป็นราคา เหมาเน่ืองจากต้องใช้เวลาในการทำวัสดแุ ตล่ ะสว่ น โดยคิดจากนำ้ หนกั ของเครอื่ งกล่นั น้ำมันหอม ระเหยขนาดเล็ก ซ่ึงมวี ิธคี ดิ ดงั น้ี นำ้ หนกั ของเครื่อง = πR2×t×h×ค่าถ่วงจำเพาะ เมื่อ t = ความหนาตำ่ สดุ ของผนงั h = ความสูง คา่ ถ่วงจำเพาะ = 7.85

48 3. การวิเคราะหเ์ ชิงเศรษฐศาสตรข์ องเคร่ืองกลน่ั นำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก จากการกลั่นน้ำมันหอมระเหยด้วยเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก ถ้าหากกลั่น 3 ชั่วโมง/วัน ด้วยปริมาณตะไคร้ (ใช้เฉพาะแค่ใบ) 6 กิโลกรัม จะได้น้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้ 13.2 ml. และน้ำกลั่นจากตะไคร้ 1,742 ml. ซ่ึงมีต้นทุนและราคาในการจำหน่ายดังนี้ (thailanddiy, 2564) ตารางที่ 4.7 ต้นทุนและราคาจำหน่ายน้ำมันหอมระเหยจากตะไครแ้ ละน้ำกลัน่ จากตะไคร้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ลำดับ รายการ ปรมิ าณที่ ตน้ ทนุ ขนาดบรรจุ ราคาที่จำหน่าย กลน่ั ได้ 1 น้ำมันหอมระเหยจาก 13.2 ml. 85.36 บาท 10 ml. 193 บาท ตะไคร้ 2 น้ำกลน่ั จากตะไคร้ 1,742 ml. 83.36 บาท 450 ml. 400 บาท ค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนอ่ื งในการผลิต - คา่ ไฟฟ้า หากใช้งานวันละ 3 ช่วั โมง/วัน จะมคี ่าใชจ้ า่ ยอยู่ท่ี 96.21 บาท/เดือน (คิดตามค่าไฟฟา้ ของการไฟฟ้า) - คา่ นำ้ ประปา ใช้คร้งั ละ 100 ลิตร จะมีค่าใชจ้ า่ ยอยู่ที่ 64.84 บาท/ เดือน (คิดตามคา่ น้ำของการประปา) - คา่ แกส๊ หุงต้ม LPG หากใช้งานวันละ 3 ชวั่ โมง/วัน ใชป้ ริมาณแกส๊ หุงต้ม LPG วนั ละ 3 กิโลกรัม จะมีค่าใชจ้ ่ายอยู่ที่ 2,100 บาท/เดือน - คา่ ขวดแก้วท่ีใช้บรรจุ ขนาด 10 ml. ราคาขวดละ 10 บาท - ค่าขวดพลาสติกท่ใี ช้บรรจุ ขนาด 450 ml. ราคาขวดละ 8 บาท ถ้าหากจำหน่ายน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้เพียงอย่างเดียว ตั้งราคาจำหน่ายอยู่ที่ขวด ละ 193 บาท มตี น้ ทนุ ในการผลติ 85.36 บาท จะตอ้ งจำหน่าย 329 ขวด จงึ จะคนื ทุน วิธคี ดิ ตน้ ทุนในการสร้าง จำนวนการจำหนา่ ยทค่ี นื ทุน = ราคาจำหนา่ ย−ตน้ ทนุ ในการผลิต = 35,406 193−85.36 จำนวนการจำหน่ายที่คนื ทนุ = 329 ขวด

49 ถา้ หากจำหน่ายนำ้ กลัน่ จากตะไครห้ อมเพียงอย่างเดยี ว ต้งั ราคาจำหน่ายอยทู่ ่ีขวดละ 400 บาท มตี ้นทนุ ในการผลิต 26.84 บาท/ขวด จะตอ้ งจำหนา่ ย 95 ขวด จงึ จะคนื ทุน วธิ คี ดิ ต้นทุนในการสรา้ ง จำนวนการจำหนา่ ยท่คี ืนทนุ = ราคาจำหนา่ ย−ต้นทุนในการผลติ = 35,406 400−26.84 จำนวนการจำหน่ายที่คืนทุน = 95 ขวด ถ้าหากกลั่นนำ้ มนั หอมระเหย 3 ช่ัวโมง/วนั จำนวนตะไคร้ (เฉพาะใบ ) 6 กิโลกรัม สามารถจำหนา่ ยน้ำมนั หอมระเหยจากตะไครไ้ ด้ 1 ขวด และน้ำกลนั่ จากตะไคร้ได้ 4 ขวด รวม 1,793 บาท โดยมีต้นทนุ ในการผลติ ท้งั หมด 117.36 บาท จะต้องกลั่นทงั้ หมด 22 วัน จงึ จะคนื ทนุ วธิ คี ิด ต้นทุนในการสรา้ ง จำนวนการจำหน่ายทีค่ นื ทนุ = ราคาจำหน่าย−ตน้ ทุนในการผลติ = 35,406 1,793−117.36 จำนวนการจำหน่ายทค่ี ืนทุน = 22 วนั 4. ตน้ ทุนในการสร้างเคร่ืองกล่ันมรี าคาถูกลงไมน่ อ้ ยกวา่ 50% เม่ือเทยี บกับราคาตามท้องตลาด โดยทั่วไปน้นั มกั ใช้เครอ่ื งกลนั่ น้ำมันหอมระเหยขนาดใหญ่ ซ่ึงมีตน้ ทนุ เร่ิมต้นอยทู่ ี่ 50,000 -325,000 บาท (N&B Organizer, 2561) ซึ่งราคาเครื่องกลน่ั นำ้ มันหอมระเหยทขี่ นาดเท่ากนั ราคาอยู่ ที่ 80,000 บาท ในการสร้างเครื่องกลัน่ น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็กนั้นราคา 35,406 บาท สามารถลด ต้นทนุ ได้ 55.74 % มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

บทที่ 5 สรปุ ผลการทดลอง การสรา้ งเครอ่ื งกลัน่ น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ ผ้จู ดั ทำได้กำหนดองคป์ ระกอบที่สำคัญไว้ 3 ส่วนคือ 1) สรุปผลการวิจัยที่ได้มีการสรุปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ดังนี้ 1.1) การศึกษา ออกแบบเครื่องกล่นั นำ้ มันหอมระเหยขนาดเล็ก 1.2) ทดสอบประสิทธภิ าพของเคร่ืองกลั่นน้ำมันหอม ระเหยขนาดเล็ก 1.3) การวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ของเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก 1.4) ต้นทุนในการสร้างเครื่องถูกลง 50 % เมื่อเทียบกับราคาตามท้องตลาด 2) อภิปรายผล 3) ขอ้ เสนอแนะ ซง่ึ แตล่ ะองคป์ ระกอบได้อธิบายไว้อย่างชดั เจนและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนด ไว้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สรุปผลการทดลอง การสรุปผลการทดลองทางคณะผู้จัดทำได้ดำเนินการสรุปผลตามดำเนินการตาม วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้ ดงั น้ี 1.1) การศึกษาออกแบบเครอ่ื งกลน่ั น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก โดยหม้อต้มมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 เซนติเมตร สูง 43 เซนติเมตร สามารถบรรจุวัตถุดิบได้ 10-15 กิโลกรัม หรือบรรจไุ ด้ 24 ลติ ร โดยมกี ารทดลองเครอ่ื งกลัน่ จำนวน 3 คร้งั 1.1.1 การทดลองครั้งที่ 1 พบว่า มีการสะสมอุณภูมิในหม้อควบแน่นทำให้ เกิดความร้อน เนื่องจากมีขดท่อส่งไอน้ำเยอะเกินไป ทางผู้จัดทำจึงทำการแก้ไขลดขดท่อส่งไอน้ำให้ นอ้ ยลง 1.1.2 การทดลองครั้งที่ 2 พบว่า เมื่อความร้อนจากท่อส่งไอน้ำเริ่มสะสมอยู่ ในหม้อควบแน่น ทำให้ระบบทำความเย็นของคอมเพลสเซอร์ทำงานไม่ทัน สามารถทำงานได้เพียง 1 ชั่วโมง 40 นาที ทางผู้จัดทำจึงทำการเพิ่มระบบไหลเวียนของน้ำเพือ่ ช่วยระบายความร้อนของน้ำใน หม้อควบแน่น 1.1.3 การทดลองครั้งที่ 3 พบว่า เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงคท์ ก่ี ำหนด จากทีก่ ลา่ วมาสามารถนำมาแสดงในตารางท่ี 5.1 ตารางที่ 5.1 ผลสรปุ การทดลองเคร่ืองกลน่ั นำ้ มันหอมระเหยขนาดเล็ก การทดลอง ผา่ น ไมผ่ ่าน หมายเหตุ ครั้งท่ี 1 × ท่อขดท่อสง่ ไอน้ำเยอะเกนิ ทำให้หมอ้ ควบแน่นอุณหภูมสงู เกนิ 2 × คอมเพลสเซอร์ทำความเยน็ งานทำงานไม่ทันความรอ้ น 3✓ เครื่องกลั่นฯสามารถกล่ันนำ้ มันหอมระเหยไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 51 1.2) ทดสอบประสทิ ธิภาพเคร่อื งกลั่นนำ้ มันหอมระเหยขนาดเลก็ ในการทดสอบหาประสิทธิภาพโดยเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็กใช้วัตถุดิบ ตะไคร้ (เฉพาะส่วนใบ) จำนวน 6 กิโลกรมั กล่นั 3 ชวั่ โมง ได้จำนวนน้ำมนั หอมระเหย 13.2 มิลลิลิตร คิดเป็น 0.22 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดใหญ่ (เครื่องเดิม) ใช้ วตั ถดุ บิ ตะไคร้ (เฉพาะส่วนใบ) จำนวน 7 กิโลกรมั กลน่ั 3 ชวั่ โมง ไดน้ ำ้ มนั หอมระเหย 18.2 มลิ ลิลิตร คดิ เป็น 0.26 เปอรเ์ ซน็ ต์ 1.3) การคิดวเิ คราะห์ดา้ นเศรษฐศาสตรข์ องเครอื่ งกลั่นน้ำมนั หอมระเหยขนาดเล็ก ในการคิดวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ได้ทำการคำนวณจุดคุ้มทุน โดยคิดออกมาเป็น จำนวนการจำหน่ายน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้และน้ำกลั่นจากตะไคร้โดยแบ่งออกเป็นดังนี้ 1.) ถ้า หากขายน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร่เพียงอย่างเดียว จะต้องจำหน่าย 329 ขวดจึงจะคืนทุน 2.) ถ้า หากจำหน่ายน้ำกลั่นจากตะไคร้เพียงอย่างเดียว จะต้องจำหน่าย 95 ขวด จึงจะคืนทุน 3.) ถ้าหาก จำหน่ายน้ำมนั หอมระเหยจากตะไครแ้ ละนำ้ กล่นั จากตะไคร้ จะตอ้ งกล่ันทัง้ หมด 22 วนั จึงจะคนื ทุน 1.4) ต้นทนุ ถูกลง 50 % เม่ือเทียบกับราคาตามทอ้ งตลาด ในการสร้างเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก มีต้นทุนในการสร้างเครื่อง 35,406 บาท เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ราคาตามทอ้ งตลาด สามารถลดตน้ ทนุ ได้ 55.74 % อภปิ รายผล 1. จากการศึกษาเพื่อออกแบบและสร้างเคร่ืองกลั่นน้ำมนั หอมระเหยขนาดเล็ก มีแนวคิด เพื่อพัฒนามาจากเครื่องกล่ันน้ำมันหอมระเหยจากบริษัทพสุธาราจำกดั อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบรุ ี ซึ่งเป็นเครื่องกลั่นที่มีขนาดใหญ่สามารถบรรจุวัตถุดิบได้ 30 กิโลกรัม และมีราคาค่อนข้างสูงทำให้ ต้นทนุ สูง เคลอ่ื นยา้ ยไมส่ ะดวก ผูว้ จิ ยั จงึ ออกแบบให้เครื่องกลนั่ น้ำมนั หอมระเหยมีขนาดเล็ก สามารถ บรรจุวัตถุดิบได้ 10-15 กิโลกรัม ต้นทุนต่ำ เหมาะสำหรับครัวเรือนและชุมชน โดยเครื่องกลั่นมี หลักการทำงานเป็นแบบการกลน่ั ด้วยน้ำร้อน 2. ในการทดลองคร้ัง 1 ถึงคร้งั ท่ี 3 เครื่องกลั่นนำ้ มนั หอมระเหยได้มีปญั หาในการทดลอง และไดแ้ ก้ไขปัญหาจนเครือ่ งสามารถใช้งานไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ 3. จากผลการทดสอบหาประสิทธิภาพเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยใช้ตะไคร้เฉพาะส่วน ใบจำนวน 6 กิโลกรัมโดยใช้เฉพาะส่วนใบ ได้น้ำมันหอมระเหย 13.2 มิลลิลิตร หรือคิดเป็น 0.22 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับงานวิจัยของ ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ,(2561) ได้สร้างและหาประสิทธิภาพเครื่อง กลั่นน้ำมันสมุนไพรขนาดเล็กสำหรับชุมชนโดย สามารถบรรจุสมุนไพรได้ 5-15 กิโลกรัม จากการ ทดสอบพบว่าการกลั่นน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมจำนวน 4 กิโลกรัม ได้ปริมาณน้ำมันหอม ระเหย 15.58 มลิ ลิลติ ร คดิ เป็น 0.38 เปอร์เซน็ ต์

52 4. เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดใหญ่ที่บรรจุวัตถุดิบได้ถึง 30 กิโลกรัม(เครื่องต้นแบบของบริษัทพสุธาราจำกัด) ทำการทดลองกลั่นน้ำมันหอมระเหยใช้ตะไคร้ 7 กิโลกรัม ได้น้ำมันหอมระเหย 18.2 มิลลิลิตร หรือคิดเป็น 0.26 เปอร์เซ็นต์ จะเห็นได้ว่าเครื่องกล่ัน น้ำมันหอมระเหยขนาดเล็กสามารถกลั่นน้ำมนั หอมะเหยออกมาได้ใกล้เคียงกับเครือ่ งกลัน่ น้ำมันหอม ระเหยขนาดใหญ่ (เครอื่ งเดมิ ) 5. จากการวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุนของเครื่อง หากกลั่นน้ำมันหอมระเหย 3 ชั่วโมง/วัน จำนวนตะไคร้ (เฉพาะใบ ) 6 กโิ ลกรมั ไดป้ ริมาณน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้ 13.2 มิลลลิ ิตร และได้ ปริมาณน้ำกลั่นจากตะไคร้ 1,742 มิลลิลิตร สามารถจำหน่ายน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้ได้ 1 ขวด และน้ำกลั่นจากตะไคร้ได้ 4 ขวด รวม 1,793 บาท โดยมีต้นทุนในการผลิตทั้งหมด 117.36 บาท จะตอ้ งกล่ันทง้ั หมด 22 วัน จงึ จะคืนทนุ 6. ต้นทุนในการสร้างเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็ก สามารถลดต้นทุนในการ สรา้ งเคร่อื งให้ถกู ลง 55.74 เปอรเ์ ซ็นต์ เมื่อเทยี บกับราคาตามทอ้ งตลาด ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรเพ่มิ ประสิทธิภาพการทำงานของระบบทำความเย็นให้คอมเพลสเซอร์มีขนาดใหญ่ กว่าเดมิ 1.5 เทา่ เพอื่ ให้สามารถทำความเยน็ ได้เร็วมากยง่ิ ขน้ึ 2. ควรออกแบบท่อส่งไอน้ำไมใ่ หเ้ กดิ การร่วั ของข้อต่อเน่ืองจากจะทำใหน้ ้ำมันหอมระเหย สามารถรัว่ ซึมออกมาได้ 3. ควรออกแบบระบบควบแน่นให้เป็นระบบปิดเพื่อให้ระบบทำความเย็นทำงานได้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากระบบเปิดทำให้อากาศร้อนชื้นเข้ามาส่งผลทำให้คอมเพลสเซอร์ ทำงานหนกั และเกบ็ ความเยน็ ได้ไมด่ ีเท่าระบบปดิ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 53 บรรณานกุ รม กิตติชัย บรรจง. (2556). การพัฒนาเครื่องสกัดด้วยไมโครเวฟแบบมีอุปกรณ์กวนผสม สำหรับการสกัดกากองุ่น (รายงานการวิจัย). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง: กรงุ เทพ. ชยั ยะ ปราณีตพลกรงั , นฤทธ์ิ คชฤทธิ์, ไพฑูรย์ พูลสุขโข, ศกั ดชิ์ ยั จันทศรี และ ปราโมทย์ พนู นายม. (2548). การออกแบบและสร้างเคร่ืองกลน่ั นำ้ มันหอมระเหยจากผิวมะกรูด (รายงานการ วิจยั ). มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ :ี ปทุมธาน.ี ชมผกา ตันตระกูล. (2549). การจำลองการสกัดน้ำมันจากเมล็ดทานตะวันและเมล็ด สบ่ดู ำเพือ่ ผลิตไบโอดเี ซล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ ). มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร:์ กรุงเทพฯ. ณัฐเศรษฐ์ นำ้ คำ. (2561). การสร้างและหาประสิทธภิ าพเคร่ืองกล่ันน้ำมันสมุนไพรขนาด เล็กสำหรับชุมชน. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : เทพสตรี I-Tech, 13(2), กรกฎาคม-ธนั วาคม, หนา้ 81-89. ณัฎฐพล ศิรินภัสโภคิน. (2560). การสกัดน้ำมันจากเมล็ดงาขี้ม้อนเพื่อประยุกต์ใน ผลิตภณั ฑ์ล้างเคร่ืองสำอาง (รายงานวจิ ัย). มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง: เชยี งราย. ดีล๊ะ สะมะแอ, นิซามีลา หะยีนิเลาะ. (2547). การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบตะไคร้ และฤทธิ์ในการฆา่ ยุงลาย (รายงานวจิ ยั ). มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช: ศรธี รรมราช. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี, ธัญญรัตน์ เชื้อสะอาด. (2551). การพัฒนาและทดสอบเครื่อง สกดั นำ้ มันสบดู่ ำดว้ ยระบบอดั เกลียว (รายงานผลการวจิ ัย). มหาวิทยาลยั แม่โจ:้ เชียงใหม่. ธรี ศลิ ป์ ชมแกว้ . (2551). การสกัดนำ้ มันหอมระเหยจากขงิ ด้วยวิธีการต้มกลั่นและกลั่น ดว้ ยไอน้ำ (วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑิต). มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี. ธำรง มากคง, สุพจน์ แย้มศิริ. (2545). เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหย (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: นครปฐม. ธีรยา แปงน้อย, ดิศรณ์ เทพวงศ์ และ เพลิน จันทร์สุยะ. (2560). การพัฒนาเครื่องกลั่น น้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้าด้วยการควบคุมอุณหภูมิ. การประชุมวิชาการ Innovation for social Engagement Environment and Enterprise: 3E, 4th CRCI & 2nd ISHPMNB 2017, หน้า420-430. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา. นงนุช ศศิธร, กาญจนา ลือพงศ์ และ วิโรจน์ ผดุงทศ. (2551). การนำน้ำหล่อเย็นจาก เครอ่ื งทำนำ้ กลนั่ กลับมาใชใ้ หม่ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร: กรุงเทพ. นพดล อ่ำดี. (2560). เศรษฐศาสตร์อตุ สาหกรรมการผลิต. มหาวิทยาลยั ราชภัฎหมู่บ้าน จอมบงึ : ราชบรุ ี.

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 54 น้ำมนต์ โชติวิศรตุ , เรวฒั คำวนั และ สวสั ดิ์ กไี สย.์ (2556). เครือ่ งสกัดนำ้ มันงาแบบเย็น (รายงานวจิ ัย). มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา: เชยี งใหม่. บดินทร์ ใจจันทร์, เอกพันธ์ จำปา, เพลิน จันทร์สุริยะ และ จิรพัฒนพงษ์ เสนาบุตร. (2559). การพัฒนาเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยสมุนไพรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงาน ไฟฟ้าที่มีระบบควบคุมไฟฟ้าอัตโนมัติ. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีล้านนา, 1(1), มกราคม-มถิ นุ ายน, หนา้ 16-24. บุญเจิด กาญจนา, นพดล ตรีรัตน์, วาสนา ชัยเสนา และอรรถพล ตันไสว. (2553). การ พัฒนาเครื่องกลั่นน้ำส้มควันไม้โดยใช้เชื้อเพลิงจากแก๊สปิโตรเลียมเหลว (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา: พิษณุโลก. ปณิตา สัจจวาที, เชาวลิต เขตต์กิง. (2543). เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพร และเคร่ืองเทศ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร:์ นครปฐม. โพธิ์ทอง ปราณีตพลกรัง. (2561). เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใช้ พลงั งานชีวมวลสำหรบั ชุมชน. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎรำไพพรรณี: จนั ทบรุ .ี พินิจ วิรัดตกูล, เวียง อากรชี, อนุชา เชาว์โชติ, และสิทธิชัย ดาศรี. (2562). วิจัยและ พฒั นาเคร่ืองสกัดองค์ประกอบน้ำมันธรรมชาติจากพืชด้วยเทคนคิ คารบ์ อนไดออกไซด์เหนือวิกฤต รว่ มกบั ระบบผสมแบบแมเ่ หลก็ (รายงานผลการวจิ ัย). กรมวชิ าการเกษตร: กรงุ เทพ. พงกร คชาพงศ์กุล. (2562). เครื่องสกัดนำ้ มันมะพร้าวประหยัดพลงั งานแบบครบวงจร เพอ่ื การเกษตร(รายงานวิจยั ). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร:์ นครปฐม. พงศักด์ิ จิตตบตุ ร, พิเศษ ตู้กลาง, ศิริลักษณ์ เหลียวกลาง และ ดวงนภา บำรงุ นา. (2562). ระบบการสกดั น้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใช้แกลบเปน็ เช้ือเพลิง. วารสารวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, (4)2, หนา้ 65-79. เมตตา เถาว์ชาลี. (2550) การพัฒนาประสิทธิภาพการประยุคต์เครื่องกลั่นน้ำหมัก ชีวภาพจากสมุนไพรสู่ชุมชนประจำทอ้ งถิ่นเพื่อการพึ่งตนอย่างยัง่ ยืน. (รายงานวิจัย) มหาวิทยาลยั ราชภฎั มหาสารคาม: มหาสารคาม. ลัญฉกร นิลทรัตน์, กุลยุทธ บุญเซ่ง. (2559). การสร้างเครื่องกลั่นน้ำส้มสายชูหมักจาก ตาลโตนด (รายงานวิจัย).มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สงขลา: สงขลา. วรางคณา สมพงษ์, ภาสกร ธีระศิลป์วีสกุล, คณิน ศรีสาลีสกุลรัตน. (2559). การสกัดกัม เมล็ดมะขาม ด้วยไมโครเวฟ และการใช้ในผลิตภัณฑ์แยมสตรอว์เบอร์รี. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, (24)2, หน้า 288-298. ศิริวรรณ ปรียาจิตต์. (2551). สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันจากเนื้อในเมล็ดสบู่ ดำด้วยตวั ทำละลาย. (วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑติ ).สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.์ กรุงเทพฯ. สราวุฒิ สมนาม, วราห์ ธมิกานนท์. (2553). เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยเครื่องแบบ ประยุกตจ์ ากเครอื่ งกลน่ั สรุ าพืน้ บา้ น. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่: เชียงใหม.่

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 55 เสรีย์ ตู้ประกาย, สิรวัลภ์ เรืองช่วย ตู้ประกาย. (2553). การศึกษาประสิทธิภาพของ ระบบกลั่นน้ำเสียปนเปื้อนโลหะหนักด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัย รามคำแหง: กรงุ เทพ. สกุลตลา วรรณปะแข. (2554). เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยขนาดเล็กโดยใช้ท่อความ รอ้ นในการควบแนน่ น้ำมนั หอมระเหย (รายงานวิจยั ). มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนคร เหนือ: ปราจีนบุร.ี สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารค้า กระทรวงพาณิชย์. สมุนไพรไทย: ภูมิปัญญา ไทยสกู่ ารสร้างมูลค่าทางเศรษฐกจิ . สบื ค้น 15 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก http://www.tpso.moc.go.th/sites/default/files/tpso_journal_jan_60_issue_66.pdf. อุปถัมภ์ โพธิกนิษฐ์, แสนสุรีย์ เชื้อวังคำ. (2559). ระบบการกลั่นเอทานอลจากการหมกั มนั สำปะหลังด้วยเครอ่ื งทำนำ้ ร้อนพลังงานแสงอาทิตย์. มหาวิทยาลยั ราชภฎั สกลนคร: สกลนคร. โสฬส ศรีหมื่นไวย. (2549). เครื่องสกัดสารใบสบู่ดำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (รายงานวจิ ยั ). มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเลย: เลย. AIO FRESH, (2562). 5 ข้อควรระวัง ของการใช้น้ำมันหอมระเหย มีอะไรบ้าง พร้อม วิธีใชใ้ ห้ปลอดภยั . สบื คน้ 4 พฤษภา 2565, จาก https://zhort.link/K1H. ARUNRAT, (2562). การทดลองการกลั่นน้ำมันหอมระเหยด้วยไอน้ำ. สืบค้น 4 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/ePYDQ. Botanic essence, (2561). รู้จักน้ำมันหอมระเหย. สืบค้น 15 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://botanicessence.com/essential-oil/home/knowledge.jsp. Abdelouaheb Djilani, Amadou Dicko. (2012). The Therapeutic Benefits of Essential Oils. Nutrition Well-Being and Health. Croatia: Janeza Trdine. Anca. Racoti, Adam.J. Buttress, Eleanor. Binner, Chris. Dodds, Adrian. Trifan and Ioan. Calinescu. (2017). Microwave assisted hydro-distillation of essential oils from fresh ginger root (Zingiber officinale Roscoe). England: University of Nottingham. Ahmet AKDAG, Ergin OZTURK. (2019). Distillation Methods of Essential Oils. Nisan (2019). 45(1). pp. 22-31. Dr. Nabil Alnasser, Dr. Osama Samih Shaban and Dr. Ziad Al-Zubi. (2014). The Effect of Using Break-Even-Point in Planning, Controlling, and Decision Making in the Industrial Jordanian Companies. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences. Vol.4. No.5. pp. 626-636. Gabriel Abraham Cardoso-Ugarte, Gladys Paola Juárez-Becerra, María Elena Sosa-Morales and Aurelio Lopez-Molo. (2013). Microwave-assisted Extraction of

56 Essential Oils from Herbs. Journal of Microwave Power and Electromagnetic Energy. 47 (1). pp. 63-72. Ibtehal K. Shakir, Sarah J. Salih. (2015). Extraction of Essential Oils from Citrus By-Products Using Microwave Steam Distillation. Iraqi Journal of Chemical and Petroleum Engineering. Vol.16 No.3 (September 2015). pp. 11-22. Imael Henri Nestor Bassole, H. Rodolfo Juliani. (2012). Essential Oils in Combination and Their Antimicrobial Properties. Molecules 2012. 17. pp. 3989- 4006. Jamel Mejri, Abdelkarim Aydi, Manef Abderrabba and Mondher Mejri. (2018). Emerging extraction processes of essential oils: A review. Asian Journal of Green chemistry 2. pp. 246-267. Jeffery B. Cannon, Charles L. Cantrell, Tess Astatkie and Valtcho D. Zheljazkov. (2012). Modification of yield and composition of essential oils by distillation time. Industrial Crops and Products. 41(2013). pp. 214-220. Rudolf Kampf, Peter Majercak and Pavel Svagr. (2016). Application of Break- Even Point Analysis Primjena Break-Even Point analize. “Nase more”. 63(3). pp. 126- 128. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

57มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ ภาคผนวก

58 ภาคผนวก ก แบบเครอ่ื งกลน่ั นำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหาวทิ ยาลยั ราช 3 6 5 1 1 4 7 9 8 2

ช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงDETAIL B SCALE 1 : 3 A B 10 8 DETAIL A // 1 : 6.5 SCALE 1 : 6 31/1/2022 . 0000

1 16.15 mm 56 mm 394 mm 12.5 mm 316 mm A DETAIL A SCALE 1 : 2 37 mm 3 B 489มmmู่ ้บานจอม ึบง 38 mm 8.5 mm 18.8 mm R10 mm 855าชmm ัภฏห 71.5 6 mm DETAIL B SCALE 1 : 2 21 mm 15 mm 2 386มหาวิทยmmา ัลยร C 4 mm 466 mm 32 mm 1 DETAIL C 2 SCALE 1 : 2 3 394 x 489 mm. SUS304 0001 1 . 32 x 466 mm. SUS304 0001 12 SUS304 0001 3 4 mm. // 1 : 6.5 31/1/2022 0001

19 mm 25 mm 28 mm 19 mm 13 mm มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บา12.น5mจmอม 8ึบmงm 210mm394 mm DETAIL E E SCALE 1 / 2 4 394 x 210 mm. SUS304 0002 1 . // 1:4 31/1/2022 0002

5 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง5-1 5-2 5-4 5-3 - 0003 1 5-5 - 0003 1 - - 0003 1 5-1 Safety Valve - - 0003 1 5-2 Tee 1/2 inch - - 0003 1 5-3 Nipple 1/2 inch - 5-4 Bushings 1/2 to 3/8 inch - 5-5 Nipple 1/4 inch // 1 : 1.5 . 31/1/2022 0003

6-1 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6-2 7-4 7-3 7-2 6-1 1/2 90 - - 0004 1 6-2 1/2 12.7 x 300 mm SUS304 0004 1 7-1 1/2 12.7 x 100 mm SUS304 0004 1 7-1 7-2 1/2 0004 1 7-3 - - 0004 1 7-4 12.7 x 120 mm SUS304 0004 1 // 1:2 - - 24/2/2022 . 0005

1.2 mm ม10หmาm ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1.2mm 280 mm 1 260 mm 296 mm 9-1 18 mm 40 mm 6 mm 10 mm 36 mm R21.5 mm 55 mm 8 260 x 280 mm. SUS304 0005 1 9-1 25 mm. SUS304 0005 6 9-2 10 mm. SUS304 0005 6 9-2 . // 11/2/2022 1:4 0005

มหาวทิ ยาลยั ราช 3 2

ช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 // 1 : 6.5 1 19/2/2022 4 . 0006

1มหาวทิ ยาลยั ราช 6 3 4

2 ช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 // . 2/3/2022 1:4 0007

100 mm 2.5 mm 1 17 mm 23.5มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง mm 50 mm 75 mm 25 mm 300 mm 2 mm 100 mm 2.5 mm 2 50 mm 75 mm 25 mm 300 mm 2 mm 3 400 mm 25 mm 25 mm 2 mm 4 5 296 mm 2 mm 6 67.5 mm 280 mm 25 mm 2 mm 157 mm 25 mm 67.5 mm 19 mm 50 mm 292 mm 2 mm 1 1 300 mm. SS400 0008 1 2 1 300 mm. SS400 0008 3 3 1 400 mm. SS400 0008 4 4 1 296 mm. SS400 0008 2 5 1 280 mm. SS400 0008 2 6 1x2 292 mm. SS400 0008 2 . 1:3 // 5/3/2022 0008

2 มหาวิทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บ15าmmนจอม ึบง9 mm 350 mm17 mm 2 mm 250 mm 25 mm 2 250 x 350 mm. SUS304 0009 1 // . 8/1/2022 1:4 0009

3 745 mm มหาวิ310ทmmยา ัลยราช ัภฏห ู่ม335้บmาmนจอม ึบง 3 9 mm. SUS304 0010 1 . // 1:4 11/1/2022 0010

4 4-3 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง4-2 4-1 4-1 - - 0011 1 4-2 - - 0011 1 4-3 6 mm - 0011 1 . // 1:4 31/1/2022 0010

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5-3 2 5-2 5-4 5-1 Ball Valve 3/8 inch - - 0012 1 5-2 Nipple 3/8 inch - - 0012 1 5-3 Red Nipple 3/8 inch - - 0012 1 5-5 9 mm. 90 3 x 140 mm - 0012 1 . // 1:1 15/1/2022 0012

ใบรับรอง ชอ่ื โครงงานวิจยั เครื่องกลั่นนำ้ มนั หอมระเหยขนาดเลก็ โดย นายปรญิ วีระนนท์ สาขาวชิ า อาจารย์ทีป่ รึกษา นายไพศาล ชมภู ปีการศกึ ษามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง นายจัดพล แฉล้มนงนชุ นางสาวจริ าภรณ์ เลีย่ นเตย๊ี ะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลติ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วีระยทุ ธ สุรคิ ำ อาจารย์ ดร.โชติ อนิ ทวงศ์ 2564 สาขาวชิ าเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมการผลิต คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฎหม่บู ้านจอมบึง อนุมัติใหโ้ ครงงานวจิ ัยฉบับนี้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของการศึกษาค้นควา้ ตามหลกั สูตร วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ คณบดี (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ว่าท่รี อ้ ยตรี ดร.วสันต์ นาคเสนยี ์) คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม คณะกรรมการสอบโครงงานวจิ ัย ประธาน กรรมการ (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล อำ่ ด)ี (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วีระยทุ ธ สรุ ิคำ) กรรมการ กรรมการ (อาจารย์ ดร.โชติ อนิ ทวงศ์) (อาจารย์พลอยไพลนิ น้อยบาท) กรรมการ กรรมการและเลขานุการ (นางสาวดรณุ ี วัฒนน์ ครบัญชา) (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์อรนชุ จนิ ดาสกุลยนต์)

72 ภาคผนวก ข ขอขอบคุณความอนเุ คราะห์สนบั สนนุ งบประมาณจดั ทำโครงงาน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 73 ภาคผนวก ค ประวัตผิ วู้ ิจัย

74 ประวัติผ้วู จิ ัย ชือ่ นกั ศึกษามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงนางสาวจริ าภรณ์ เลย่ี นเตย๊ี ะ โครงงานเร่อื ง เครื่องกล่ันนำ้ มนั หอมระเหยขนาดเล็ก สาขาวชิ า เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมการผลิต ประวัติสว่ นตวั เกดิ วันที่ 7 ธันวาคม 2541 ท่ีอยปู่ จั จบุ ัน 6/1 หมู่ 6 ตำบลดอนคา อำเภอบางแพ จังหวัด ราชบุรี 70160 ประวตั ิการศกึ ษา พ.ศ. 2560 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนบางแพปฐมพิทยา อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2565 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยอี ุตสาหกรรมการผลติ มหาวิทยาลัยราชภฎั หมูบ่ า้ นจอมบงึ

75 ประวตั ผิ วู้ จิ ัย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงช่อื นักศึกษานายจัดพล แฉล้มนงนชุ โครงการเร่อื ง เคร่อื งกลั่นน้ำมนั หอมระเหยขนาดเล็ก สาขาวชิ า เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลติ ประวตั สิ ว่ นตวั เกิดวันที่ 4 พฤศจิกายน 2540 ที่อยู่ปัจจุบัน 30 หมู่ 3 ตำบลเบิกไพร อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ. 2559 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายที่โรงเรียนคุรุ ราษฎร์รงั สฤษฎ์ อำเภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. 2565 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมการผลิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หมู่บา้ นจอมบึง

76 ประวิตผิ ูว้ จิ ัย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงช่ือนักศึกษานายปรญิ วีระนนท์ โครงการเรือ่ ง เครอื่ งกล่นั น้ำมนั หอมระเหยขนาดเลก็ สาขาวิชา เทคโนโลยอี ุตสาหกรรมการผลิต ประวัตสิ ว่ นตวั เกิดวันที่ 4 กันยายน 2541 ที่อยู่ปัจจุบัน 27/1 หมู่ 3 ตำบลดอนกระเบื้อง อำเภอโพ ธาราม จงั หวัดราชบุรี 70120 ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2558 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนดรุณาราชบุรี อำเภอ เมือง จงั หวัดราชบุรี พ.ศ. 2561 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ตำบลดอนกระเบื้อง อำเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. 2565 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมการผลิต มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หมู่บา้ นจอมบึง

77 ประวัตผิ ้จู ดั ทำ ชอ่ื นักศกึ ษามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงนายไพศาล ชมภู โครงการเร่อื ง เครอื่ งกล่ันนำ้ มันหอมระเหยขนาดเล็ก สาขาวิชา เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลติ ประวตั ิสว่ นตวั เกิดวันที่ 21 กันยายน 2539 ที่อยู่ปัจจุบัน 89/5 หมู่ 4 ตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี 70140 ประวตั ิการศกึ ษา พ.ศ. 2558 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายที่โรงเรียนวัดสันติ การามวิทยาในพระบรมราชานุเคราะห์ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบรุ ี พ.ศ. 2565 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมการผลติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หมูบ่ า้ นจอมบงึ