Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โกเมศ กาบแก้ว

โกเมศ กาบแก้ว

Published by วิทย บริการ, 2022-07-07 01:34:00

Description: โกเมศ กาบแก้ว

Search

Read the Text Version

ภาพท่ี 5.2 สเตเตอรยดึ อยกู ับโครง ภาพที่ 5.3 ลกั ษณะรองสลอต ทมี่ า : (ธนาทรพั ย สวุ รรณลักษณ, 2551) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1.2 ฝาครอบของมอเตอร (end plates) ทั้งสองขางสวนใหญทํามาจากเหล็กหลอหรือ เหล็กเหน่ียวทั้งสองขางจะถูกยึดดวยสลักเกลียวใหแนนและยังมีแบร่ิงแบบตลับลูกปน(ball bearing) สําหรบั รอง เพลาในการหมนุ ของโรเตอรใหต รงแนวศูนยกลางไมเกิดการเสียดสีกับสเตเตอรและท่ีฝาปด อีกดานหนงึ่ จะมีสว นประกอบของสวิตชแ รงเหวย่ี วหนศี ูนยก ลางอยใู นสว นทเี่ ปนหนาสัมผัสที่อยูกับที่ ภาพที่ 5.4 ฝาครอบหัว-ฝาปด หัวทาย ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 1.3 สวิตชแรงเหว่ียงหนีศูนยกลาง (centrifugal switch) อยูภายในมอเตอรทําหนาที่ ตัดขดลวดชุดสตารตออกเม่ือมอเตอรหมุนไปได 75 % ของความเร็วสูงสุด โดยสวิตชแรงเหวี่ยงนี้มี สวนประกอบ 2 สวนคือ สวนที่อยูกับท่ีและสวนท่ีหมุน สวนท่ีอยูกับท่ีจะอยูดานหนาของฝาปด ดัง ภาพที่ 4.27 ซ่งึ จะมีคอนแทกทําหนา ทีเ่ ปน สวิตช อาศัยแรงเหวี่ยงในขณะที่มอเตอรหมุน มอเตอรบาง รุนสวติ ชแรงเหวยี่ งจะไมไ ดถ ูกยดึ ไวท ีฝ่ าปด ทาย แตจะยึดไวกับแผนปดขดลวดานทาย ซ่ึงอยูในระหวา ฝาปดกับขดลวดสว นท่ีหมนุ ดังภาพที่ 5.5 ภาพท่ี 5.5 สวนท่ีอยกู ับที่ ภาพที่ 5.6 สวนทเ่ี คลอ่ื นที่ ที่มา : (ธนาทรพั ย สุวรรณลักษณ, 2551) 1.4 สวนท่ีเคลื่อนที่ (rotor) โรเตอรทําดวยแผนเหล็กบาง ๆ (laminated) อัดซอนกัน เปนแกนและมีเพลารอยทะลุเหล็กบาง ๆ เพื่อยึดใหแนนรอบโรเตอรนี้ จะมีรองไปตามทางยาวในรอง น้จี ะมที องแดงหรอื อลมู ิเนยี มเสนโต ๆ ฝง อยโู ดยรอบปลายของทองแดงหรืออลมู ิเนยี มนี้จะเชื่อมติดอยู 88

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงกับวงแหวนทองแดงหรืออลูมิเนียม ซึ่งมีลักษณะคลายกรงกระรอกจึงเรียกช่ือวาโรเตอรกรงกระรอก (squirrel cage rotor) ภาพท่ี 5.7 โรเตอรแ บบกรงกระรอก ท่มี า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ภาพท่ี 5.8 โครงสรา งภายในของโรเตอร ภาพท่ี 5.9 ลักษณะแทงตวั นําท่ฝี งอยูในโรเตอร ท่ีมา : (ธนาทรพั ย สวุ รรณลักษณ, 2551) หลกั การทํางานของสปลติ เฟสมอเตอร สปลิตเฟสมอเตอรอาศัยหลักการเหนี่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟาน้ันเอง ดังภาพท่ี 5.10 โดยท่ี ขดรันและขดสตารทท่ีวางทํามุมกัน 90 องศาทางไฟฟา เพ่ือทําใหเกิดสนามแมเหล็กหมุน(rotating magnetic field) ดังภาพท่ี 5.11 ไปเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไหลในขดลวดกรงกระรอก(squirrel cage winding) กระแสสวนนี้จะสรางสนามแมเหล็กข้ึนไปผลักกับสนามแมเหล็กท่ีสเตเตอร เกิดเปน แรงบดิ ท่โี รเตอรใหหมนุ ไป เมอ่ื โรเตอร หมุนดวยความเร็ว 75 เปอรเซ็นตของความเร็วสูงสุดสวิตชแรง เหว่ียงหนีศูนยกลางจะตัดขดลวดสตารทออก จากวงจรขดลวดสตารทจะทํางานเฉพาะตอนสตารท เทานั้น สวนขดรันจะทํางานตลอดตั้งแตเร่ิมเดินมอเตอรจนหยุดหมุน เมื่อจะนํามอเตอรนี้ไปใชงาน ตอ งใหหมนุ ตวั เปลากอนแลว จึงจะตอ โหลด ภาพท่ี 5.10 ขดลวดสนามแมเ หล็กสปลิตเฟสมอเตอรและผังการตอวงจรภายใน ท่มี า : (Petruzella, Frank D, 2010, p.109) 89

ภาพที่ 5.11 แสดงสนามแมเหล็กหมุนในสเตเตอรข องสปลติ เฟสมอเตอรมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ที่มา (Petruzella, Frank D, 2010, p.110) สปลิตเฟสมอเตอรเปนมอเตอรชนิดเหนี่ยวนํา (induction motor) ทํางาน โดยอาศัย หลักการเกิดสนานแมเหล็กหมุนของมอเตอร 2 เฟส ดวยการพันขดลวด 2 ชุด คือขดลวดชุดรัน (running winding) และขดลวดชุดสตารท (starting winding) วางหางกัน 90 องศาไฟฟา (สานนั ท คงแกว, 2556) ดังน้ี 1) ขดลวดชุดรัน (running winding) เปนขดลวดหลัก (main coil) ทํางานตลอดเวลาท่ี มอเตอรทํางาน พนั ดวยลวดทองแดงอาบนํ้ายาที่มีพน้ื ท่หี นาตดั ใหญทาํ ใหความตานทานของขดลวดนอย 2) ขดลวดชุดสตารท (starting winding) เปนขดลวดชวย (auxiliary coil) ในการเร่ิม ทํางานชวงท่ีมอเตอรเริ่มเดิน เมื่อมอเตอรมีความเร็วรอบถึง 75 % ของความเร็วพิกัดแลวจะถูกตัด ออกจากวงจรดวยเซ็นติฟูกัลปสวิตช (centrifugal switch) พันดวยลวดทองแดงอาบนํ้ายาที่มีพื้นที่ หนา ตัดเล็กกวา ทําใหความตา นทานของขดลวดสูงกวา ขดลวดชดุ รนั การตอ วงจรภายใน ทง้ั ขดลวดสตารทและขดลวดรนั จะตอวงจรเหมอื นกัน คือขดลวดแต ละชุดจะตอแบบอนุกรม โดยตอใหทิศทางการไหลของกระแสกลับกันเพ่ือใหเกิดสนามแมเหล็กท่ีตาง ขัว้ แลวนาํ ปลายสายของทั้งสองขดมาตอขนานกนั ดังภาพที่ 5.10 ภาพที่ 5.12 แสดงบลอ็ กไดอะแกรม การตอวงจรภายในของสปลิตเฟสมอเตอร ที่มา : (สานนั ท คงแกว, 2556) การตอวงจรสปลิตเฟสมอเตอรเพ่ือใชงาน 90

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง จากบล็อกไดอะแกรมแสดงการตอวงจรภายในของสปลิตเฟสมอเตอรท่ีมี ขั้วแมเหล็ก 4 ข้ัว และแผนผังวงจรสปลิตเฟสมอเตอร ภาพท่ี 5.13 สามารถเขียนเปนไดอะแกรมการตอวงจรใชงาน สปลติ เฟสมอเตอรไ ด ดังภาพท่ี 5.14 L ตอเขา U1 ตอ กบั เซ็นติฟลู กัลปส วติ ช ตอกบั Z1 N ตอเขา U2 ตอกบั Z2 ภาพท่ี 5.13 แผนผังวงจรสปลิตเฟสมอเตอร ภาพที่ 5.14 การตอ วงจรใชง านสปลติ เฟสมอเตอร ทมี่ า : (Petruzella, Frank D, 2010, p.109) ทมี่ า : (สานันท คงแกว , 2556) 2. คาปาซเิ ตอรมอเตอร (capacitor motor) คาปาซิเตอรมอเตอรเปนมอเตอรท่ีพันขดลวดเหมือนสปลิตเฟสมอเตอรโดยมีคาปาซิเต อร ตอ อนกุ รมกับขดลวดสตารท มจี ุดประสงคเพ่ือเพิ่มแรงบิดหมุน (Torque) แบงตามลักษณะการต อ วงจรคาปาซเิ ตอรไ ด 3 ชนดิ คือคาปาซิเตอรสตารท คาปาซิเตอรร นั และคาปาซเิ ตอรสตารท และรัน 2.1 คาปาซเิ ตอรสตารท มอเตอร (capacitor start motor) เปน มอเตอรที่มีคาปาซิเตอร ตออนุกรมอยูกับขดลวดสตารทพรอมเซ็นติฟูกัลสวิตชมีจุดประสงคเพ่ือเพ่ิมแรงบิดหมุนขณะเร่ิมเดิน (starting torque) L1 ตอเขา U1 ตอเขาเซน็ ติฟลู กลั ปส วิตช ตอกับ คาปาซเิ ตอรสตารท ตอเขา Z1 N ตอ เขา U2 ตอ กบั Z2 ภาพที่ 5.15แผนผังวงจรคาปาซิเตอรส ตารท มอเตอร ภาพท่ี 5.16การตอ วงจรใชงานคาปาซิเตอรส ตารทมอเตอร ท่ีมา : (Petruzella, Frank D, 2010, p.111) ทม่ี า : (สานนั ท คงแกว, 2556) 91

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.2 คาปาซิเตอรรันมอเตอร (capacitor run motor) เปนมอเตอรที่มีคาปาซิเตอรตอ อนกุ รมอยกู ับขดลวดสตารท โดยไมใ ชเ ซ็นตฟิ ูกลั ปส วติ ชท าํ ใหขดลวดสตารท ตออยูกับวงจรตลอดเวลา ท่ี มอเตอรทํางานมจี ุดประสงค เพ่ือเพม่ิ แรงบดิ ทั้งในขณะเรมิ่ หมนุ และเมือ่ มอเตอรรนั ตามปกติ L1 ตอ เขา U1 ตอกับ คาปาซเิ ตอรสตารท ตอ เขา Z1 N ตอ เขา U2 ตอ กับ Z2 ภาพที่ 5.17 การตอ วงจรใชง านคาปาซเิ ตอรร ันมอเตอร ที่มา : (สานนั ท คงแกว , 2556) 2.3 คาปาซิเตอรสตารทและรันมอเตอร (capacitor start and run motor) เปน มอเตอรชนิดสปลิตเฟสมอเตอรมีคาปาซิเตอรตออนุกรมอยูกับขดลวดสตารท 2 ตัว ตัวหนึ่งตอวงจร อนุกรมกับขดลวดสตารท ตลอดการทํางานของมอเตอรเรียกวาคาปาซิเตอรรัน อีกตัวจะถูกตัดวงจร โดยเซ็นติฟูกัลสวิตชเมื่อความเร็วของมอเตอรถึง 75 เปอรเซ็นตเรียกวาคาปาซิเตอรสตารท มี จุดประสงค เพื่อ L N ขดลวดสตารท ขดลวดรันโรเตอร คาปาซิเตอรรัน U1 U2 Z1 Z2 เซ็นติฟูกัล สวิตช L N ขดลวดสตารท ขดลวดรัน โรเตอร คาปาซิเตอรสตารท U1 U2 Z1 Z2 เพิ่มแรงบิด ทั้ง ในขณะเริ่มหมุน และเม่ือมอเตอรรันตามปกติดวย ใชกับมอเตอรที่ตองการแรงบิดเร่ิม หมุนสูงกวา ปกติและแรงบดิ ขณะรนั สูงดวย หรอื มอเตอรท ่ีตอ อยกู ับโหลดตลอดเวลา L1 ตอเขา U1 ตอ เขาเซน็ ตฟิ ลู กลั ปสวิตช ตอกับ คาปาซเิ ตอรส ตารท ตอเขา Z1 L1 ตอ เขา U1 ตอ กับ คาปาซิเตอรรัน ตอ เขา Z1 N ตอเขา U2 ตอ กบั Z2 92

ภาพท่ี 5.18แผนผังวงจรคาปาซิเตอรสตารทและรนั มอเตอร ภาพที่ 5.19การตอวงจรใชงานคาปาซิเตอรสตารทและรันมอเตอร ท่ีมา : (Petruzella, Frank D, 2010, p.111) ทีม่ า : (สานนั ท คงแกว , 2556) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การเร่ิมเดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส 1. การเร่ิมเดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส โดยการใชส วติ ชเลอื ก (selector) BK BK 12 12 BK 34 F1 95 F3 F3 F2 96 98 13 Se le ctor 3 4 KK 24 13 K 13 14 F3 F3 A1 24 K A2 Gr een R ed Yel low ภาพที่ 5.20 วงจรMกoาtรoเrร1P่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส โดยการใชส วิตชเลือก ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 1.1 การตรวจสอบความถูกตอ งของวงจร ดา นวงจรกําลงั ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ตั้งมิเตอรยาน RX10 นํามิเตอร วัดที่ L1 และที่โอเวอรโหลด (F3) ขา 2 กด K ชอต ยายอีกเสนมาวัดที่โอเวอรโหลด ขา 4 กด K ไมชอต นํามิเตอรว ดั ท่ี N และทโ่ี อเวอรโ หลด ขา 4 กด K ชอต ยายอีกเสนมาวัดที่โอเวอรโหลด ขา 2 กด K ไมช อต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มข้ึนเล็กนอยเน่ืองจากคา ค.ต.ท.ของไฟ แดง จากน้ันบิดสวิตชเลือกไปทางขวาเข็มจะเพิ่มขึ้นเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K ขนานเขามา กด Trip OL- F3 หนาสัมผัสปกติปด 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากน้ัน ยา ยจุดวัดจาก N ไปที่คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมขึ้นไปท่ีจุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เข็มจะตก กลับมาท่ี ∞ 1.2 การทาํ งานของวงจร เม่ือยกเบรกเกอร 93

ภาพที่ 5.21การทํางานของวงจรการเร่มิ เดนิ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 1เฟส โดยการใชสวติ ชเ ลือกเมอ่ื ยกเบรกเกอรมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ท่ีมา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานหนาสัมผัส 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปทีไ่ ฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งไปรอท่ี ขา 3 ของสวิตชเลือก ดา นวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสกําลัง F2 ไปรออยูที่หนาสัมผัสหลัก ขา 1 ของแมกเนตกิ คอนแทกเตอร K 1.3 การทํางานของวงจรเม่ือบดิ สวิตชเลือกจากตาํ แหนงตรงกลางไปทางดานขวา ภาพท่ี 5.22การทํางานของวงจรการเร่มิ เดินมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ1เฟส เม่อื บิดสวิตชเลือกไปทางดานขวา ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) 94

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรควบคุม เมื่อบิดสวิตชเลือกมาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชเลือก ตอ วงจรกระแส ไฟฟาไหลผานเขาคอยล K ครบวงจร คอยล K ทํางาน เม่ือคอยล K ทํางานจะส่ัง หนาสัมผัสชวยชว ยปกตเิ ปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหลผานหลอดไฟสีเขียวครบวงจรไฟเขียวติด ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 ตอวงจร กระแสไฟฟา ไหลผาน โอเวอรโ หลด F3 เขามอเตอรครบวงจร มอเตอรหมุน 1.3 การทาํ งานของวงจรเมอื่ บิดสวิตชเ ลอื กกลับ ภาพท่ี 5.23การทํางานของวงจรการเรม่ิ เดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ1เฟส เมอ่ื บิดสวติ ชเ ลือกกลับ ที่มา : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อบิดสวิตชเลือกกลับ หนาสัมผัส 3-4 ตัดวงจร ไมมีกระแส ไฟฟาไหล ผานคอยล K เลิกทํางาน เม่ือคอยล K เลิกทํางานจะทําใหหนาสัมผัสชวยชวยปกติเปด 13-14 ตัด กระแสไฟฟาทีไ่ หลเขา หลอดไฟเขยี วดับลง ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 และ 3-4 เปด วงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโหลด F3 และมอเตอร ทาํ ใหมอเตอรห ยดุ หมุน สรุปวงจรนี้เปนการเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส โดยการใชสวิตชเลือก (selector) ไปควบคมุ คอยล K และใชค อยล K ไปสัง่ หนา สมั ผัสชว ย และหนา สัมผัสหลักสั่งใหมอเตอร ทํางานและหยุดทาํ งาน 2. การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส โดยการใชสวิตชปุมกด (push button) 95

BK 2 BK 1 4 12 BK F1 3 F2 F3 95 F3 Stop 96 Start 1 98 Yellow มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง13 2 23 KK 3 13 K 24 24 K 13 4 14 F3 F3 A1 24 K A2 Gree n Red M otor 1P ภาพท่ี 5.24 วงจรการเรม่ิ เดินมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 1 เฟส โดยการใชสวิตชป ุมกด ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) 2.1 การตรวจสอบความถกู ตอ งของวงจร ดา นวงจรกาํ ลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ต้ังมิเตอรยาน RX10 นํามิเตอร วดั ท่ี L1 และทีโ่ อเวอรโ หลด ขา 2 กด K ชอ ต ยายอกี เสน มาวัดท่โี อเวอรโ หลด ขา 4 กด K ไมชอต นํา มิเตอรวัดท่ี N และท่ีโอเวอรโหลด ขา 4 กด K ชอต ยายอีกเสนมาวัดที่ โอเวอรโหลด ขา 2 กด K ไมชอ ต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดท่ี L1 กับ N เข็มขึ้นเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท ของไฟ แดง จากนน้ั เมือ่ กดปุม start คา งไวเ ขม็ จะเพ่มิ ขนึ้ เนือ่ งจากมคี า ค.ต.ท. ขดลวดคอยล K ขนานเขามา จากนั้นกดปุม Stop เข็มจะตกลงมา ปลอยปุม stop เข็มจะกลับมาเพ่ิมข้ึน หลังจากนั้นกด K ปลอย ปุม start เข็มจะคาง กดปุม stop เข็มจะตก ปลอยจะเพิ่มข้ึน กดปุม Trip OL- F3 หนาสัมผัสปกติ ปด 95-96 ตัดวงจรเข็มตกมาท่ี ∞ ยายจุดวัดจาก N ไปท่ีขา 98 เข็มจะเพ่ิมข้ึนไปท่ีจุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาท่ี ∞ 2.2 การทํางานของวงจร เมอ่ื ยกเบรกเกอร 96

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 5.25 วงจรการเรมิ่ เดนิ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 1 เฟส โดยการใชส วิตชปมุ กด เมือ่ ยกเบรกเกอร ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สว นหนงึ่ ไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงไปรอที่ ขา 3 ของ สวติ ชเ ลือก ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูท่ี หนาสมั ผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K 2.3 การทาํ งานของวงจร เมื่อกดสวติ ชป ุมกด start แลวปลอย ภาพที่ 5.26 วงจรการเริม่ เดินมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 1 เฟส เมื่อกดปมุ start แลวปลอย ทม่ี า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม start หนาคอนแทคปกติปด 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานเขาคอย K ครบวงจร คอย K ทํางาน เม่ือ คอย K ทํางาน จะสั่งใหคอนแทคชวย ปรกติเปด 13-14 คา งสภาวะ 23-24 ตอ วงจรกระแสไหลไปทไ่ี ฟเขียวครบวงจรไฟเขยี วติด ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 ตอวงจร กระแสไฟฟา ไหลผาน โอเวอรโหลด F3 เขา มอเตอรครบวงจร มอเตอรห มุนคาง 2.4 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวิตชป มุ กด stop 97

ภาพท่ี 5.27 วงจรการเรม่ิ เดนิ มอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 1 เฟส เม่อื กดปมุ stop แลว ปลอยมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เมอ่ื กด Stop หนาคอนแทคปกตปิ ด 1 2 จะตดั ไฟเขาคอยล K คอยล K หยดุ การทาํ งาน ทําใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 เปดวงจรตัดไฟเขาไฟ เขียว ไฟเขียวดับ ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 และ 3-4 เปดวงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโหลด F3 และมอเตอร ทําใหมอเตอรห ยุดหมุน สรปุ วงจรนเ้ี ปนการเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส โดยการใชสวิตชปุมกด (push button) ไปควบคุมคอยล K และใชคอยล K ไปส่ังหนาสัมผัสชวย และหนาสัมผัสหลักส่ังใหมอเตอร ทํางานและหยุดทาํ งาน บทสรุป สปลิตเฟสมอเตอร มีสวนประกอบที่สําคัญ 4 สวน คือ 1.สวนท่ีอยูกับที่หรือเรียกวา โครงสรางสนามแมเหล็ก จะมีขดลวดพันอยู 2 ชุด คือขดรันหรือขดเมนพันดวยลวดเสนใหญจํานวน รอบมาก ขดลวดรันน้ีจะมีไฟฟาไหลผานอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการเริ่มสตารทหรือทํางาน ปกติ ขดลวดชุดท่สี อง สําหรบั เริ่มหมนุ หรือขดสตารตพันดวยลวดเสนเล็กและจํานวนรอบนอยกวาขด รันขดลวดสตารท จะตออนุกรมอยกู ับสวติ ชแ รงเหวย่ี งหนศี นู ยกลางแลว จึงนําไปตอขนานกับขดรนั 2. สําหรับรองเพลาในการหมุนของโรเตอร 3. สวติ ชแ รงเหว่ียงหนีศูนยกลาง ทําหนาที่ตัดขดลวดชุดสตาร ตออกเมื่อมอเตอรหมนุ ไปได 75 % ของความเร็ว 4. สว นทเ่ี คลอ่ื นทโ่ี รเตอร สปลิตเฟสมอเตอร มีหลักการทํางาน คือ อาศัยหลักการเหน่ียวนําทางแมเหล็กไฟฟานั้นเอง โดยท่ีขดรันและขดสตารทที่วางทํามุมกัน 90 องศาทางไฟฟา เพ่ือทําใหเกิดสนามแมเหล็กหมุนไป เหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไหลในขดลวดกรงกระรอก กระแสสวนน้ีจะสรางสนามแมเหล็กขึ้นไปผลักกับ สนามแมเหล็กที่สเตเตอร เกิดเปนแรงบิดที่โรเตอรใหหมุนไป เมื่อโรเตอร หมุนดวยความเร็ว 75 เปอรเซ็นตของความเรว็ สูงสดุ สวติ ชแรงเหวี่ยงหนศี ูนยกลางจะตดั ขดลวดสตารทออก จากวงจรขดลวด สตารทจะทํางานเฉพาะตอนสตารทเทาน้ัน สวนขดรันจะทํางานตลอดตั้งแตเร่ิมเดินมอเตอรจนหยุด หมุน เมอ่ื จะนํามอเตอรน้ไี ปใชง านตอ งใหห มนุ ตัวเปลากอนแลวจงึ จะตอโหลด การตอวงจรขดลวดมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 1 เฟส เพื่อใชงาน ทําไดดงั นี้ คือ การตอ วงจรสปลติ เฟสมอเตอร L ตอ เขา U1 ตอ กับ เซน็ ติฟลู กลั ปส วติ ช ตอกบั Z1 และ N ตอเขา U2 ตอ กบั Z2 98

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การตอวงจรคาปาซิเตอรสตารทมอเตอร L1 ตอเขา U1 ตอเขาเซ็นติฟูลกัลปสวิตช ตอกับ คาปาซิเตอรสตารท ตอ เขา Z1 และ N ตอเขา U2 ตอ กับ Z2 การตอวงจรคาปาซิเตอรรันมอเตอร L1 ตอเขา U1 ตอกับ คาปาซิเตอรสตารท ตอเขา Z1 และ N ตอ เขา U2 ตอกบั Z2 การตอวงจรคาปาซิเตอรสตารทและรันมอเตอร L1 ตอเขา U1 ตอเขาเซ็นติฟูลกัลปสวิตช ตอกับ คาปาซิเตอรสตารท ตอเขา Z1 L1 ตอเขา U1 ตอกับ คาปาซิเตอรรัน ตอเขา Z1 และ N ตอ เขา U2 ตอกบั Z2 แบบฝก หัดทา ยบทเรียน 1. บอกโครงสรา งสวนประกอบของมอเตอรก ระแสสลับ 1 เฟส 2. อธบิ ายหลกั การทาํ งานของสปลติ เฟสมอเตอร 3. บอกวิธกี ารตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส 4. อธบิ ายหลกั การทํางานของวงจรควบคุมการเร่มิ เดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส เอกสารอางอิง ธนาทรพั ย สวุ รรณลกั ษณ. (2558). การควบคุมมอเตอรไ ฟฟา . บทเรียนออนไลน คน เมอ่ื 19 กมุ ภาพนั ธ 2558 จาก http://edu.e-tech.ac.th/mdec/learning/ e-web/sara010.html สานนั ท คงแกว. (2556). การควบคมุ เครอื่ งกลไฟฟา. ออนไลน คนเมื่อ มกราคม 16, 2556, จาก http://www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.html. Petruzella, Frank D. (2010). Electric motors and control systems. (4th ed.). the Americas, New York: The McGraw-Hill Companies, Inc. 99

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง แผนบริหารการสอนประจําบทท่ี 6 หัวขอเนือ้ หา 1. บทนํา 2. มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส 3. หลกั การทํางานของมอเตอรกระแสสลบั 3 เฟส 4. โครงสรา งและสว นประกอบของมอเตอรกระแสสลับ 3 เฟส 5. วธิ ีการตอ วงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส 6. การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส วตั ถปุ ระสงคเ ชงิ พฤติกรรม หลังจากจบการเรยี นการสอนบทน้ีแลว ผเู รยี นควรมคี วามสามารถดงั ตอไปน้ี 1. อธิบายหลกั การทํางานมอเตอรก ระแสสลับ 3 เฟสได 2. บอกโครงสรา งสว นประกอบของมอเตอรก ระแสสลับ 3 เฟส ได 3. บอกวธิ กี ารตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟสได 4. อธบิ ายหลักการทํางานของวงจรควบคุมการเรม่ิ เดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟสได 5. สามารถตอวงจรควบคุมการเริม่ เดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟสได 6. สามารถตอวงจรควบคุมการเริ่มเดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตารเดลตาได 7. ตรวจสอบความถกู ตองของการตอ วงจรดวยการใชมลั ติมิเตอรได วิธกี ารสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบ 1.3 กิจกรรมกลุมยอย 1.4 การปฏบิ ตั ิ 1.5 การแกปญ หา 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน ใชว ิธกี ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ MIAP ดงั นี้ 103

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.1 ขนั้ สนใจปญหา (motivation) นําเขา สบู ทเรียนดว ยประเด็นปญ หาที่นาสนใจ 2.2 ขัน้ ศกึ ษาขอมลู (information) ศึกษาและทาํ การเก็บรวบรวมขอมลู เพื่อแกป ญหา 2.3 ข้ันนําขอ มูลมาใช (application) นาํ ความรูหรือทักษะท่ีไดร บั มาใชในการแกปญ หา 2.4 ขน้ั ประเมนิ ผลสาํ เรจ็ (progress) ตรวจสอบและตรวจปรับผลงานของผูเรียน ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ET62619 การควบคมุ มอเตอรไฟฟา 2. งานนาํ เสนอเพาเวอรพอยต 3. ชดุ ทดลองการควบคุมมอเตอรไ ฟฟา 4. แบบทดสอบทา ยบทเรยี น การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นและความสนใจ 2. สังเกตจากการสนทนา ซกั ถาม และการแสดงความคดิ เหน็ 3. การทําใบงาน และแบบฝกหัดทา ยบท 4. การทําแบบทดสอบทา ยบท บทท่ี 6 การเรมิ่ เดินของมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส 104

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงบทนาํ การควบคุมมอเตอรการเริ่มเดินไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส เปนการใหมอเตอรเริ่มทํางานได อยา งปลอดภัย ท้ังน้ีเน่ืองจากในขณะเร่ิมเดินมอเตอรจะใชกระแสจํานวนมากกวาปกติในการเอาชนะ แรงเฉ่ือยเพื่อฉุดใหโรเตอรเร่ิมหมุนจากขณะท่ีหยุดนิ่ง รวมท้ังใหเกิดความปลอดภัยตอทรัพยสิน และ ความปลอดภัยตอ ผปู ฏบิ ัตงิ าน มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส หลกั การทํางานของมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส สนามแมเหล็กหมุนเปนกุญแจสําคัญในการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับทั้งหมด สนามแมเหล็กในสเตเตอรถูกสรา งขึน้ ดว ยไฟฟา เพือ่ หมนุ ไปรอบ ๆ ในวงกลม สนามแมเหล็กอีกอันใน โรเตอรถูกสรางขึ้น เพื่อตามการหมุนของสนามแมเหล็ก โดยถูกดึงดูดและผลักโดยสนามแมเหล็ก สเตเตอร เนื่องจากโรเตอรมีอิสระท่ีจะหมุนตามสนามแมเหล็กหมุนในสเตเตอร ดังภาพที่ 6.1 แสดง แนวคิดของสนามแมเหล็กหมุนที่ใชกับสเตเตอรของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส สามารถสรุป การดําเนินการไดดังนี้ 1) วางขดลวดสามชุดตางเฟสกัน 120 องศาทางไฟฟาแยกจากกัน โดยแตละชุดเช่ือมตอ ปลายเขาดว ยกนั ในแตล ะเฟสของแหลง จา ยไฟสามเฟส 2) เมอ่ื กระแสไฟฟาสามเฟสไหลผานสเตเตอรม ีผลทําใหเ กดิ สนามแมเ หล็กหมุนท่ีเคล่ือนท่ีไป รอบ ๆ ดานในของแกนสเตเตอร 3) แสดงข้ัวของสนามแมเหล็กหมุนไดที่ตําแหนงท่ีเลือกหกตําแหนงถูกทําเครื่องหมายท่ีชวง 60 องศาบนคลนื่ ไซนแทนกระแสท่ีไหลในสามข้ันตอน A, B และ C 4) ในตัวอยางทแี่ สดง สนามแมเหล็กจะหมุนรอบสเตเตอรในทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า 5) เพียงแคเปล่ียนกําลังไฟฟาสองในสามเฟส ก็ทําใหขดลวดสเตเตอรกลับดานทิศทางการ หมุนของสนามแมเ หล็ก 6) จํานวนขั้วถูกกําหนดโดยจํานวนครั้งท่ีขดลวดเฟสปรากฏข้ึน ในตัวอยางนี้ แตละขดลวด ปรากฏข้นึ สองคร้งั ดังน้นั นคี่ ือสเตเตอรส องข้วั 105

ภาพที่ 6.1 สนามแมเหลก็ หมนุ (rotating magnetic field) ทมี่ า : (Petruzella, Frank D, 2010, p.104) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงประเภทของมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส2 แบบ แบงออกตามโครงสรางและหลักการทํางานของมอเตอรได (ธนาทรพั ย สุวรรณลกั ษณ, 2558) คอื 1. มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักช่นั (3 phase induction motor) มอเตอรไฟสลับ 3 ท่ีมีคุณสมบัติท่ีดี คือมีความเร็วรอบคงทีเน่ืองจากความเร็วรอบอินดักช่ัน มอเตอรขึ้นอยูกับความถ่ี (frequency) ของแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับมีราคาถูกโครงสรางไม ซับซอน สะดวกในการบํารุงรักษาเพราะไมมีคอมมิวเตเตอรและแปรงถานเหมือนมอเตอรไฟฟา กระแสตรงเมื่อใชรวมกับเครื่องควบคุมความเร็วแบบอินเวอรเตอร (invertor) สามารถควบคุม ความเร็ว (speed) ไดต้ังแตศูนยจนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอรนิยมใชกันมาก เปนตนกําลังใน โรงงานอุตสาหกรรม ขับเคลือ่ นลฟิ ทขบั เคลื่อนสายพานลําเลียงขับเคล่ือนเคร่ืองจักรไฟฟา เชน เครื่อง ไส เครอื่ งกลึง มอเตอรอินดักช่นั มี 2 แบบ แบงตามลกั ษณะตัวหมุน 1.1 อินดักช่ันมอเตอรท่ีมีโรเตอรแบบกรงกระรอก (squirrel cage induction motor) อินดักชั่นมอเตอรแบบน้ี ตัวโรเตอรจะมีโครงสรางแบบกรงกระรอกเหมือนกับโรเตอร ของสปลิทเฟสมอเตอร ภาพท่ี 6.2 สว นประกอบของอินดกั ช่นั มอเตอรทม่ี ีโรเตอรแ บบกรงกระรอก ท่มี า : (Petruzella, Frank D, 2010, p.104) 1.2 อนิ ดกั ชัน่ มอเตอรท ่ีมีโรเตอรแบบขดลวด (wound rotor induction motors) อินดักช่ันมอเตอรชนิดน้ีตัวโรเตอรจะทําจากเหล็กแผนบาง ๆ อัดซอนกันเปนตัวทุน คลาย ๆ อารเ มเจอรของมอเตอรไ ฟฟา กระแสตรง มีรองสําหรับวางขดลวดของตัวโรเตอรเปนขดลวด 106

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง3 ชุด สําหรับสรางขั้วแมเหล็ก 3 เฟส เชนกันปลายของขดลวดท้ัง 3 ชุดตอกับสปริง(Slip Ring) จํานวน 3 อันสําหรับเปนทางใหกระแสไฟฟาครบวงจรทั้ง 3 เฟสการทํางานของอินดักชั่นมอเตอร เมื่อจายไฟฟาสลับ 3 เฟสใหที่ขดลวดทั้ง 3 ของตัวสเตเตอรจะเกิดสนามแมเหล็กหมุนรอบ ๆ ตัวสเตเตอร ทําใหตัวหมุน(โรเตอร) ไดรับการเหนี่ยวนําทําใหเกิดขั้วแมเหล็กท่ีตัวโรเตอร และข้ัวแมเหล็กน้ี จะพยายามดึงดูดกับสนามแมเหล็กที่หมุนอยูรอบ ๆ ทําใหมอเตอร ของอินดักชั่นมอเตอรหมุนไปได ความเร็วของสนามแมเหล็กหมุนที่ตัวสเตเตอรน้ีจะคงที่ตามความถ่ี ของไฟฟากระแสสลับ ดังนั้นโรเตอรของอินดักชั่นของมอเตอร จึงหมุนตามสนามหมุน ดังกล าว ไ ปดว ยคว ามเ ร็ว เ ทากับ คว า มเร็ ว เท ากับ คว า มเร็ว ของ ส นา มแม เหล็ กหมุ น ภาพท่ี 6.3 อินดักชน่ั มอเตอรท่ีมโี รเตอรแ บบขดลวด ที่มา : (Petruzella, Frank D, 2010, p.107) 2. มอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบซิงโครนัส (3 phase synchronous motor) ซิงโครนัสมอเตอรเปนมอเตอรขนาดใหญท่ีสุดทีขนาดพิกัดของกําลังไฟฟาตั้งแต 150 kW (200hp) จนถึง 15 MW (20,000 hp) มคี วามเร็วต้งั แต 150 ถงึ 1,800 RPM ภาพที่ 6.4 มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบซิงโครนสั ทม่ี า : (Petruzella, Frank D, 2010, p.107) โครงสรา งและสว นประกอบของซงิ โครนัสมอเตอร มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟสแบบซิงโครนัส (3 phase synchronous motor) โครงสรา งและสว นประกอบของซงิ โครนสั มอเตอร ที่สําคญั มี 2 สว นคอื 107

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.1 สเตเตอร (stator) ของซิงโครนัสมอเตอรเหมือนกับสเตเตอรของ 3 เฟส อินดักช่ันมอเตอรมีรอ งสําหรบั พนั ขดลวดจํานวน 3 ชดุ เฟสละ1 ชุด เม่ือจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ใหกบั สเตเตอรจะเกดิ สนามแมเ หล็กหมนุ ขนึ้ เมอ่ื สนามแมเหล็กหมุนอนิ ดกั ชั่นมอเตอร ภาพท่ี 6.5 สเตเตอรมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส แบบซิงโครนัส ทม่ี า : (ธนาทรัพย สวุ รรณลักษณ, 2551) 2.2 โรเตอร (rotor) ของซิงโครนสั มอเตอร เปนแบบขั้วแมเหล็กย่ืน (salient poles) และ มีขดลวดพันขาง ๆข้ัวแมเหล็กย่ืนเหลานั้นขดลวดสนามแมเหล็กท่ีพันรอบขั้วแมเหล็กย่ืน ตอกับแหลงจายไฟฟากระแสตรงภายนอก เพ่ือสรางข้ัวแมเหล็กข้ึนที่ตัวโรเตอรการทํางานของ ซิงโครนัสมอเตอรเมื่อจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ใหกับสเตเตอรของซิงโครนัสมอเตอร จะเกิดสนามแมเหล็กหมุนเนื่องจากตัวหมุน (โรเตอร)ของซิงโครนัสมอเตอรเปนแบบข้ัวแมเหล็กยื่น แ ล ะ มี ข ด ล ว ด ส น า ม แ ม เ ห ล็ ก พั น อ ยู ร อ บ ๆ โ ด ย ใ ช แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า ก ร ะ แ ส ภ า ย น อ ก เมื่อจายไฟฟากระแสตรงใหกับโรเตอรจะทําใหเกิดขั้วแมเหล็กท่ีโรเตอร ขึ้นข้ัวแมเหล็กน้ีจะเกาะตาม การหมนุ ของสนามหมนุ ภาพที่ 6.6 โรเตอรมอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส แบบซิงโครนสั ท่ีมา : (ธนาทรัพย สวุ รรณลกั ษณ, 2551) วิธีการตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส มอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส จะกลาวถงึ การตอวงจรภายใน การตอ วงจรใชง าน การ เรม่ิ เดนิ โดยจายไฟเขามอเตอรโ ดยตรง การเร่ิมเดนิ โดยลดกระแสขณะสตารท มอเตอรเหน่ยี วนาํ (induction motor) ท่ีใชโรเตอรช นิดกรงกระรอก (squirrels cage) 108

1. การตอ วงจรภายใน มอเตอร 3 เฟสประกอบดว ยขดลวด 3 ชดุ คอื ขดลวดเฟส A (U1-U2) ขดลวดเฟส B (V1- V2) และ ขดลวดเฟส C (W1-W2) ทมี่ ีลักษณะเหมอื นกันทุกประการ วางในสลอตหา งกัน 120 องศา ไฟฟา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพท่ี 6.7 แสดงไดอะแกรมการตอ วงจรภายในขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส 4 ขั้ว ทม่ี า : (สานันท คงแกว, 2556) 2. การตอ วงจรใชง าน จากการตอวงจรภายในมอเตอร 3 เฟส ดงั ภาพท่ี 4.2 เขียนเปนสญั ลกั ษณและวางตําแหนง ข้วั มอเตอร ดงั น้ี ก. ข. ค. ภาพที่ 6.8 แสดงการกาํ หนดขั้วขดลวดมอเตอร 3 เฟส ก. สญั ลักษณขดลวด ข.การวางตาํ แหนงข้ัว และ ค. ขว้ั ตอ สาย ท่มี า : (สานนั ท คงแกว, 2556) การตอวงจรใชง าน มอเตอร 3 เฟสตอวงจรได 2 แบบคือ แบบสตาร (star หรือ Y) และ แบบ เดลตา (delta หรือΔ) 2.1 การตอ แบบสตาร (star or Y) ตอปลายดา นเดยี วกันของขดลวดทง้ั 3 เขาดวยกนั ซึ่งจดุ ตอ นจี้ ะเปน สายนวิ ตรอนของมอเตอรด วย แลวจา ยไฟเขาทอี่ ีกดา นของขดลวด L1 ตอกับ U1, L2 ตอกับ V1, L3 ตอกับ W1 N ตอกบั U2, V2 และ W2 109

ก. ข.มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ค. ภาพที่ 6.9 แสดงการตอ วงจรขดลวดมอเตอร 3 เฟสแบบสตาร ก.การตอวงจร ข.สญั ลักษณวงจร และ ค. การจัดขั้วมอเตอร ท่ีมา : (สานันท คงแกว, 2556) 2.2 การตอ แบบเดลตา (Delta or Δ) ตอ ปลายสายเฟส A (U2) เขา กับตนสายของเฟส B (V1) ตอ ปลายสายเฟส B (V2) เขา กับ ตนสายของเฟส C (W1) ตอ ปลายสายเฟส C (W2) เขากับ ตน สายของเฟส A (U1) L1 ตอ กบั U1 และ W2 L2 ตอกบั V1 และ U2 L1 ตอ กับ W1 และ V2 ก. ข. ค. ภาพท่ี 6.10 แสดงการตอ วงจรขดลวดมอเตอร 3 เฟสแบบเดลตา ก.การตอ วงจร ข.สัญลักษณวงจร และ ค. การจดั ขวั้ มอเตอร ทีม่ า : (สานนั ท คงแกว, 2556) การเรมิ่ เดินมอเตอรกระแสสลับ 3 เฟส 110

1. การเริม่ เดินมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส โดยการใชส วิตชเ ลือก (selector) BK BK 1 2 12 BK 3 4 F1 6 BK 95 5 F3 96 F3 98 F2 F2 F2 Se le ctor 3 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 135 KKK 13 K 246 135 14 F3 F3 F3 Yel low A1 2 ภา4พท่ี 66.4 แสดงกลองเร่มิ เดินมอเตอรก ระแKสAต2 รงชนิดGre3enข้ัว Red ภาพท่ี 6.11 วงจรกMาoรtoเrร3Pิม่ เดนิ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส โดยการใชส วติ ชเลือก ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 1.1 การตรวจสอบความถูกตองของวงจร ดานวงจรกาํ ลงั ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ต้งั มเิ ตอรยาน RX10 วัด L1 กบั ขา 2 Overload กด K ชอ ต วดั กับขา 4 และขา 6 ไมชอ ต วัด L2 กับขา 4 Overload กด K ชอต วัดกับขา 2 และขา 6 ไมชอต วัด L3 กับขา 6 Overload กด K ชอต วดั กบั ขา 2 และขา 4 ไมชอต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดท่ี L1 กับ N เข็มขึ้นเล็กนอยเน่ืองจากคา ค.ต.ท.ของไฟ แดง จากน้ันบิดสวิตชเลือก เข็มจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K ขนานเขามา กด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากนั้นยายจุดวัดจาก N ไปที่ คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เขม็ จะเพ่มิ ขน้ึ ไปท่จี ดุ 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เข็มจะตกกลับมาที่ ∞ 1.2 การทํางานของวงจร เม่ือยกเบรกเกอร 111

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 6.12 วงจรการเริ่มเดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส โดยการใชส วติ ชเ ลอื ก เม่อื ยกเบรกเกอร ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของ โอเวอรโ หลด F3 สวนหนงึ่ ไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงตดิ และอีกสวนหนงึ่ ไปรอที่ ขา 3 ของ สวิตชเลอื ก ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนาสมั ผัสหลกั 1 3 5 ของคอยล K 1.3 การทํางานของวงจรเม่อื บิดสวิตชเ ลือกจากตําแหนง ตรงกลางไปทางดานขวา ภาพที่ 6.13วงจรการเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3เฟส เม่อื บิดสวิตชเ ลือกจากตําแหนง ตรงกลางไปทางดา นขวา ทม่ี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อบิด สวิตชเลือก มาดานขวา หนาหนาสัมผัส3-4 ของ สวิตชเลือก ตอ วงจรกระแส ไฟฟาไหลผานเขาคอยล K ครบวงจร คอยล K ทํางาน เม่ือคอยล K ทํางานจะส่ังหนา หนาสมั ผัสชว ยปกตเิ ปด 13-14 ตอ วงจร กระแสไหลผา นหลอดไฟสีเขียวครบวงจรไฟเขยี วตดิ ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจร กระแสไฟฟา ไหลผาน Overload F3 เขา มอเตอรครบวงจร มอเตอรหมุน 1.4 การทํางานของวงจรเม่ือบดิ สวิตชเ ลือกกลับ 112

ภาพท่ี 6.14วงจรการเรมิ่ เดนิ มอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3เฟส เม่อื บดิ สวิตชเลือกกลับ ทมี่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคมุ เมอื่ บิด สวิตชเ ลอื ก กลบั หนา หนา สัมผสั 3-4 ตัดวงจร ไมมีกระแส ไฟฟา ไหลผานคอยล K เลิกทํางาน เม่ือคอยล K เลิกทํางานจะทําใหหนาหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตดั กระแสไฟฟาที่ไหลเขา หลอดไฟเขยี วดับลง ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา Overload F3 และมอเตอร ทําใหมอเตอรหยุดหมนุ สรุปวงจรนี้เปนการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส โดยการใชสวิตชเลือก (selector) ไปควบคมุ คอยล K และใชคอยล K ไปสั่งหนา สมั ผสั ชว ยและหนาสัมผัสหลัก สั่งใหมอเตอร ทํางานและหยุดทํางาน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. การเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส โดยการใชสวิตชปุมกด (push button) 2 BK 2 BK 1 1 4 F1 BK 6 3 95 F2 F2 F2 BK 96 5 135 1 KKK 2 246 F3 3 13 23 F3 135 Stop 98 F3 F3 F3 Sta rt KK 246 4 14 24 A1 Gre e n Re d Yellow K A2 ภาพท่ี 6.15 วงจรกาMรoเtoรrมิ่3Pเดนิ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส โดยการใชส วติ ชปมุ กด ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) 2.1 การตรวจสอบความถกู ตองของวงจร ดา นวงจรกาํ ลงั ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ต้งั มเิ ตอรย าน RX10 วดั L1 กับขา 2 Overload กด K ชอต วัดกับขา 4 และขา 6 ไมชอต 113

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วดั L2 กบั ขา 4 Overload กด K ชอต วัดกับขา 2 และขา 6 ไมช อต วดั L3 กับขา 6 Overload กด K ชอต วัดกับขา 2 และขา 4 ไมชอ ต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มข้ึนเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท ของไฟ แดง จากนั้น เม่ือกดสวิตชปุมกด Start คางไวเข็มจะเพิ่มข้ึนเนื่องจากมีคา ค.ต.ท. ขดลวดคอยล K ขนานเขามา จากนั้นกดสวิตชปุมกด Stop เข็มจะตกลงมา ปลอยสวิตชปุมกด Stop เข็มจะกลับมา เพ่ิมขน้ึ หลังจากน้ันกด K ปลอยสวิตชปุมกด Start เข็มจะคาง กดสวิตชปุมกด Stop เข็มจะตก ปลอย จะเพ่ิมข้ึน กด Trip OL- F3 95-96 ตัดวงจรเข็มตกมาท่ี ∞ ยายจุดวัดจาก N ไปท่ี 98 เข็มจะเพ่ิมขึ้น ไปทจี่ ดุ 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาที่ ∞ 2.2 การทํางานของวงจร เมื่อยกเบรกเกอร ภาพที่ 6.16 วงจรการเร่ิมเดนิ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส โดยการใชสวติ ชป มุ กด เมื่อยกเบรกเกอร ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผาน F1 ผานหนาหนาสัมผัสปกติปด 95-96 ของ Overload F3 ผานไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอกี สวนจะไหลผานหนาหนาสัมผัสปกติปด 1- 2 ของ Stop มารอที่หนาหนา สัมผัสปกติเปดขา 3 ของ Start และหนาหนาสัมผัสชวยขา 13 23 ของ คอยล K ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูท่ี หนา สัมผสั หลกั 1 3 5 ของคอยล K 2.3 การทํางานของวงจร เม่ือกดสวติ ชปุมกด Start แลว ปลอ ย 114

ภาพท่ี 6.17 วงจรการเร่ิมเดินมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส เมอ่ื กดสวติ ชป ุม กด start แลวปลอยมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ที่มา : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด Start หนาหนาสัมผัสปกติปด 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานเขาคอย K ครบวงจร คอย K ทํางาน เม่ือ คอย K ทํางาน จะส่ังใหหนาสัมผัส ชว ยปกติเปด 13-14 คา งสภาวะ 23-24 ตอ วงจรกระแสไหลไปทไี่ ฟเขียวครบวงจรไฟเขียวติด ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาไหลผา น Overload F3 เขามอเตอรค รบวงจร มอเตอรห มนุ คา ง 2.4 การทํางานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชปุมกด Stop ภาพที่ 6.18 วงจรการเริม่ เดนิ มอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส เม่ือกดสวิตชป ุมกด stop แลว ปลอ ย ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม เมื่อกด Stop หนาสัมผัสปกติปด 1 2 จะตัดไฟเขาคอยล K คอยล K หยุดการทํางาน ทําใหหนาหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 เปดวงจรตัดไฟเขา ไฟเขียว ไฟเขียวดับ ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5- 6เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา Overload F3 และมอเตอร ทําใหม อเตอรหยดุ หมนุ สรุปวงจรนี้เปนการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ดวยวิธีสตารทตรงโดยการใช สวิตชป มุ กด (push button) ไปควบคุมคอยล K และใชคอยล K ไปส่ังหนาสัมผัสชวยและหนาสัมผัส หลัก สงั่ ใหมอเตอรทํางานและหยุดทาํ งาน 115

การเรม่ิ เดนิ มอเตอรกระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา 1. วงจรการเริ่มเดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual มหาวิทยา ัลยราช ัภฏ F3หF3 F3 ู่ม ้บานจอม ึบง BK BK 12 12 BK F1 34 BK 95 F3 56 F3 98 F2 F2 F2 96 1 S1 2 135 135 135 3 13 K1 K1 K1 K2 K2 K2 K3 K3 K3 S2 K1 246 246 246 4 14 1 13 S3 K2 2 14 31 W1 W2 K3 A1 31 Red Yellow V1 V2 32 K1 K2 U1 U2 A1 32 K2 A2 A1 A2 K3 Green A2 ภาพท่ี 6.19 วงจรการเรM่มิ oเtoดr3ินPhมasอeเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) 1.1 การตรวจสอบความถูกตองของวงจร ดา นวงจรกําลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขา มเฟส ตง้ั มิเตอรย าน RX10 วดั L1 กับขา U1 กด K1 ชอ ต -L1 กับขา W2 กด K3 ชอ ต *นอกนน้ั ไมช อต วัด L2 กบั ขา V1 กด K1 ชอต -L2 กบั ขา U2 กด K3 ชอ ต *นอกน้นั ไมชอ ต วดั L3 กับขา W1 กด K1 ชอ ต -L3 กับขา V2 กด K3 ชอต *นอกนน้ั ไมช อ ต หรือ วัดขา U1 กับขา W2 กด K1 พรอ มกับ K3 ชอ ต วัดขา V1 กบั ขา U2 กด K1 พรอ มกับ K3 ชอต วัดขา V1 กับขา U2 กด K1 พรอ มกับ K3 ชอต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดท่ี L1 กับ N เข็มข้ึนเล็กนอยเน่ืองจากคา ค.ต.ท. ของ ไฟแดง จากนน้ั กด PB-S2 ตอวงจรคางไว เขม็ จะเพิ่มขน้ึ เนื่องจากเปน คา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K1 หลงั จากน้นั กด PB-S1 ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย PB-S1 เข็มเพิ่มขึ้น กด PB-S3 ตัดวงจร เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย PB-S3 เข็มเพ่ิมข้ึน กด K3 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K3 เข็ม เพ่ิมข้ึน หลังจากนั้นกด K2 เข็มเพิ่มขึ้นเล็กนอย ปลอย K2 เข็มตกมาตําแหนงเดิม กด K1 ปลอย PB- S2 เข็มจะคาง เนื่องจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจรแทน หลังจากนั้นกด PB-S1 ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย PB-S1 เข็มเพ่ิมขึ้น กด K2 เข็มตกมาเล็กนอย ปลอย K2 เข็ม เพ่ิมขึ้นกลับมาตําแหนงเดิม หลังจากนั้นกด Trip OL- F3 หนาสัมผัส95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตก 116

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงมาที่ ∞ จากน้ันยายจุดวัดจาก N ไปท่ีคอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพิ่มข้ึนไปท่ีจุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาท่ี ∞ 1.2 การทาํ งานของวงจรการเริ่มเดนิ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมือ่ ยกเบรกเกอร ภาพที่ 6.20 วงจรการเรมิ่ เดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมือ่ ยกเบรกเกอร ท่มี า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปที่ไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงจะไหลผาน PB ขา 1-2 ไปรอท่ี ขา 3 PB-S2 และ หนาสัมผสั ชว ย 13 ของ K1 ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนา สัมผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K3 1.3 การทํางานของวงจรการเริ่มเดนิ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมอื่ กดสวิตชป ุมกด S2 แลวปลอย 117

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 6.21 วงจรการเร่มิ เดนิ มอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เม่ือกดสวิตชป ุมกด S2 แลวปลอ ย ท่มี า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด PB-S2 หนาสัมผัส 3-4 ของ PB-S2 ตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ PB-S3 ผานไปที่หนาสัมผัสชวยปกติ 31-32 ของ K3 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทาํ งาน เมือ่ คอยล K2 ทํางานจะสัง่ ใหห นา สัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอ วงจรกระแสไหลผานไปท่ีคอยล K1 และไฟเขียว ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน และไฟเขียว ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K3 ไว ไมให ทาํ งานพรอ มกนั เม่ือคอยล K1 ทาํ งานจะส่ังใหค อนชวยปกตเิ ปด 13-14 ของ K1 คางสภาวะไว ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจรแบบสตารคางไว และเม่ือคอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี Overload F3 ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตารไป ดานหนึ่ง 1.4 การทํางานของวงจรการเร่มิ เดินมอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมอ่ื กดสวิตชป ุมกด S2 แลว ปลอย หลงั จากนั้นกดสวิตชป ุมกด S3 แลว ปลอย 118

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 6.22 วงจรการเร่มิ เดนิ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร-เดลตา แบบ manual เมือ่ กดสวิตชป มุ กด S2 แลวปลอ ย หลังจากน้นั กดสวิตชป ุมกด S3 แลว ปลอ ย ทม่ี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด PB-S3 หนาสัมผัส 1-2 ของ PB-S3 ตัดวงจร ไมม ีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K2 เลกิ ทํางาน เม่ือคอยล K2 เลิกทาํ งานจะทาํ ใหห นา สัมผัสชวยปกติ เปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค กระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ไปที่คอยล K3 ครบวงจร คอยล K3 ทํางาน เม่ือ คอยล K3 จะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K2 ไวไมใหทํางาน พรอมกนั ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปด วงจร เลกิ ตอ วงจรแบบสตาร และเปล่ียนมาเปนคอยล K3 ทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1- 2 3-4 และ 5-6 จะตอวงจรแบบเดลตา กระแสไฟฟาจะไหลผานไปเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีกดา นหนึง่ ครบวงจร ทาํ ใหม อเตอรหมุนทํางานแบบเดลตา 1.5 การทํางานของวงจรการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมื่อกดสวิตชปุมกด S3 แลวปลอย หลังจากน้ันกดสวิตชปุมกด S1 แลว ปลอย ภาพท่ี 6.23 วงจรการเรมิ่ เดินมอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ manual เมื่อกดสวติ ชป ุมกด S3 แลว ปลอ ย หลงั จากนน้ั กดสวิตชป ุม กด S1 แลวปลอย ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) 119

ดานวงจรควบคุม เมื่อกดสวิตชปุมกด PB-S1 หนาสัมผัส1-2 ของ PB-S1 ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K1 เลิกทํางาน เมอื่ คอยล K1 เลิกทํางานจะทาํ ใหห นาสัมผัสชวยปกติ เปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาคอยล K3 คอยล K3 เลิกทํางาน ทําให หนาสมั ผัสชว ยปกติปด 31-32 กลับมาตอ วงจรเลกิ การอนิ เตอรล อ ค คอยล K2 ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา Overload F3 และมอเตอร และเม่ือคอยล K3 หยุดทํางานจะทําให หนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟที่เขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีก ดานหนึ่งทําใหม อเตอรห ยุดหมุน F3มF3 F3หา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สรปุ วงจรนเี้ ปน วงจร วงจรการสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา แบบ Manual โดยการ ใชส วิตช PB-S2 เปน ตัว Start ไปควบคมุ คอยล K2 เม่ือคอยล K2 ทํางาน จะตอวงจรกําลังแบบสตาร รอไว และไปตอ วงจรคอยล K1 ใหท ํางาน เมื่อ คอยล K1 ทํางานจะตอวงจรกําลังใหกระแสไฟฟาไหล ผานเขามอเตอรทางดานโอเวอรโหลดครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตาร และใชสวิตชปุมกด PB-S3 เปนตัวเปลีย่ นการทํางานจาก Star เปน Delta เมอ่ื กดสวติ ชปมุ กด PB-S3 จะตัดวงจรไฟเขาคอยล K2 เลิกทํางาน ทําใหหนาสัมผัสหลักตัดวงจรกําลังแบบสตาร และเลิกอินเตอรลอค คอยล K3 กลบั มาตอ วงจรทําใหคอยล K3 ทํางาน ตอวงจรกาํ ลังแบบเดลตาตอไป 2. วงจรการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร-เดลตา แบบ automatic BK BK 12 12 BK F1 34 BK 95 F3 56 F3 98 F2 F2 F2 96 1 S1 2 135 135 135 3 13 K1 K1 K1 K2 K2 K2 K3 K3 K3 S2 K1 246 246 246 4 14 1 13 K1T K2 4 14 31 31 W1 K3 K2 W2 32 32 V1 V2 A1 2 A1 A1 ภาพท่ี 6.24 วงจรการเรUมิ่ 1เดนิ มอUเต2 อรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟสK2แAบ2 บKส1ตT7 าร-Kเ1ดA2ลตาGrแeeบn บK3Aa2utomRedatic Yellow ที่มา : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคมMotor3Phase 16) 2.1 การตรวจสอบความถกู ตองของวงจรการทํางานของวงจรการเรม่ิ เดินมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร-เดลตา แบบ automatic ดานวงจรกําลงั ตรวจสอบการตรงเฟสและการขา มเฟส ตัง้ มเิ ตอรย า น RX10 120

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วัด L1 กบั ขา U1 กด K1 ชอ ต -L1 กับขา W2 กด K3 ชอต *นอกนน้ั ไมช อ ต วัด L2 กับขา V1 กด K1 ชอ ต -L2 กบั ขา U2 กด K3 ชอต *นอกน้ันไมชอ ต วดั L3 กบั ขา W1 กด K1 ชอต -L3 กับขา V2 กด K3 ชอ ต *นอกน้ันไมชอ ต หรือ วดั ขา U1 กับขา W2 กด K1 พรอ มกบั K3 ชอ ต วัดขา V1 กบั ขา U2 กด K1 พรอมกับ K3 ชอ ต วดั ขา V1 กับขา U2 กด K1 พรอ มกบั K3 ชอต ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มขึ้นเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท. ของ ไฟแดง จากนน้ั กด PB-S2 ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มขึ้นเน่ืองจากเปน คา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K1 หลังจากนั้นกด PB-S1 ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย PB-S1 เข็มเพิ่มขึ้น กด K3 เข็มตกมา ตําแหนงเดิม ปลอย K3 เข็มเพิ่มข้ึน หลังจากนั้นกด K2 เข็มเพิ่มข้ึนเล็กนอย ปลอย K2 เข็มตกมา ตําแหนงเดิม กด K1 ปลอย PB-S2 เข็มจะคาง เนื่องจากมีหนาหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอ ขนานวงจรแทน หลงั จากน้ันกด PB-S1 ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย PB-S1 เข็มเพ่ิมขึ้น กด K2 เข็มตกมาเล็กนอย ปลอย K2 เข็มเพ่ิมข้ึนกลับมาตําแหนงเดิม หลังจากนั้นกด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาที่ ∞ จากนั้นยายจุดวัดจาก N ไปที่คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เขม็ จะเพม่ิ ข้นึ ไปทจ่ี ุด 0 กดรเี ซต็ OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาท่ี ∞ 2.2 การทํางานของวงจรการเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เมือ่ ยกเบรกเกอร ภาพท่ี 6.25 วงจรการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เมอื่ ยกเบรกเกอร ทม่ี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหนึ่งไหลผานไปที่ไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงจะไหลผาน PB ขา 1-2ไปรอท่ี ขา 3 PB-S2 และหนา สมั ผสั ชวย 13 ของ K1 121

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูท่ี หนา สมั ผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K3 2.3 การทํางานของวงจรการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เม่อื กดสวติ ชปมุ กด S2 แลวปลอย ภาพที่ 6.26 วงจรการเร่ิมเดินมอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เมอ่ื กดสวิตชป ุมกด S2 แลว ปลอ ย ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกดกด PB-S2 หนาสัมผัส3-4 ของ PB-S2 ตอ วงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ PB-S3 ผานไปท่ีหนาสัมผัสชวยปกติ 31-32 ของ K3 ไปที่คอยล K2 และคอยล Timer K1T ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน และ คอยล K1T จับ เวลาเม่ือคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรกระแสไหลผานไปท่ีคอยล K1 และไฟเขยี ว ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน และไฟเขียวตดิ และสง่ั ใหห นาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K3 ไว ไมใหทํางานพรอมกัน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งให คอนชว ยปกติเปด 13-14 ของ K1 คา งสภาวะไว ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจรแบบสตารคางไว และเม่ือคอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี Overload F3 ไปที่มอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตารไป ดานหน่ึง 122

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.4 การทํางานของวงจรการเร่มิ เดนิ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เม่อื กดปุมกด S2 แลวปลอย และ K1T จับเวลาจนครบ ภาพท่ี 6.27 วงจรการเร่มิ เดนิ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เมอื่ กดสวิตชปุมกด S2 แลวปลอย และ K1T จบั เวลาจนครบ ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือคอยล Timer K1T จับเวลาจนครบ หนาสัมผัสปกติปด 1-4 ของ K1T ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K2 เลิกทํางาน เม่ือคอยล K2 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาหนา สมั ผสั ชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอ วงจรเลิกการอินเตอรลอค กระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ไปที่คอยล K3 ครบ วงจร คอยล K3 ทํางาน เม่ือคอยล K3 จะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K2 ไวไ มใ หทํางานพรอมกัน ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจร เลิกตอ วงจรแบบสตาร และเปลี่ยนมาเปนคอยล K3 ทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1- 2 3-4 และ 5-6 จะตอ วงจรแบบเดลตา กระแสไฟจะไหลผานไปเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีกดานหน่ึงครบวงจร ทาํ ใหมอเตอรหมุนทํางานแบบเดลตา 2.5 การทํางานของวงจรการเร่ิมเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automatic เม่ือกดสวิตชปุมกด S2 แลวปลอย และ K1T จับเวลาจนครบหลัง จากนน้ั กดสวติ ชป ุม กด S1 แลว ปลอย 123

ภาพที่ 6.28 วงจรการเริ่มเดนิ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบสตาร- เดลตา แบบ automaticมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง เม่อื กดสวิตชปุม กด S2 แลว ปลอย และ K1T จบั เวลาจนครบหลงั จากนน้ั กดสวิตชปุมกด S1 แลวปลอย ท่ีมา : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคมุ เมือ่ กดสวิตชป มุ กด PB-S1 หนา สมั ผัส 1-2 ของสวิตชปุมกด PB-S1 ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K1 เลิกทํางาน เมื่อคอยล K1 เลิกทํางานจะทําใหหนา หนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาคอยล K3 คอยล K3 เลกิ ทํางาน ทําใหห นา สมั ผสั ชว ยปกติปด 31-32 กลับมาตอ วงจรเลิกการอนิ เตอรลอ ค คอยล K2 ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา Overload F3 และมอเตอร และเมื่อคอยล K3 หยุดทํางานจะทําให หนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟฟาท่ีเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีกดานหนง่ึ ทาํ ใหม อเตอรหยุดหมุน สรุปวงจรน้ีเปนวงจร การสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา แบบ automatic โดยการใช สวิตชปุมกด PB-S2 เปนตัว Start ไปควบคุมคอยล K2 เม่ือคอยล K2 ทํางาน จะตอวงจรกําลังแบบ สตารรอไว และไปตอวงจรคอยล K1 ใหทํางาน เม่ือ คอยล K1 ทํางานจะตอวงจรกําลังให กระแสไฟฟาไหลผานเขามอเตอรทางดานโอเวอรโหลดครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตาร และใช Timer K1T เปนตัวเปล่ียนการทํางานจาก Star เปน Delta เม่ือ K1T จับเวลาจนครบ จะตัด วงจรไฟเขาคอยล K2 เลกิ ทาํ งาน ทาํ ใหห นา สัมผสั หลักตดั วงจรกําลังแบบสตาร และเลิกอินเตอรลอค คอยล K3 กลับมาตอวงจรทําใหคอยล K4 ทาํ งาน ตอวงจรกําลงั แบบเดลตา ตอไป บทสรปุ มอเตอรกระแสสลับ 3 เฟส มีหลักการทํางานโดยอาศัยสนามแมเหล็กหมุนเปนกุญแจ สําคัญในการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับท้ังหมด สนามแมเหล็กในสเตเตอรถูกสรางข้ึนดวย ไฟฟา เพอ่ื หมนุ ไปรอบ ๆ ในวงกลม สนามแมเหล็กอีกอันในโรเตอรถูกสรางข้ึน เพื่อตามการหมุนของ สนามแมเหล็ก โดยถูกดึงดูดและผลักโดยสนามแมเหล็กสเตเตอร เนื่องจากโรเตอรมีอิสระที่จะหมุน ตามสนามแมเหล็กหมนุ ในสเตเตอร 124

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง โครงสรา งและสวนประกอบของมอเตอรก ระแสสลบั 3 เฟส แตละประเภทดงั นี้ 1.มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักช่ัน มี 2 แบบ แบงตามลักษณะตัวหมุน 1.1 แบบกรงกระรอก ตัวโรเตอรจะมีโครงสรางแบบกรงกระรอกเหมือนกับโรเตอรของสปลิทเฟสมอเตอร 1.2 แบบขดลวดตัวโรเตอรจะทําจากเหล็กแผนบาง ๆ อัดซอนกันเปนตัวทุน คลาย ๆ อารเมเจอร ของมอเตอรไฟฟากระแสตรง มีรองสําหรับวางขดลวดของตัวโรเตอรเปนขดลวด 3 ชุด สําหรับสราง ข้ัวแมเ หล็ก 3 เฟส 2. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบซิงโครนัส มีโครงสรางและสวนประกอบ ที่สําคัญ 2 สวน คือ 2.1 สเตเตอร (Stator) เหมอื นกบั สเตเตอรของ 3 เฟส อินดักช่ันมอเตอรมีรองสําหรับพัน ขดลวดจํานวน 3 ชุด เฟสละ1 ชุด เม่ือจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ใหกับสเตเตอรจะเกิด สนามแมเหล็กหมุนขึ้น 2.2 โรเตอร เปนแบบขั้วแมเหล็กย่ืน และมีขดลวดพันขาง ๆ ขั้วแมเหล็กย่ืน เหลา นัน้ ขดลวดสนามแมเ หลก็ ท่พี ันรอบข้ัวแมเหล็กย่นื ตอ กบั แหลงจายไฟฟากระแสตรงภายนอก เพื่อ สรางขั้วแมเหล็กขึ้นท่ีตัวโรเตอร เมื่อจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ใหกับ สเตเตอรของซิงโครนัส มอเตอรจะเกิดสนามแมเหล็กหมุนเนื่องจากตัวหมุน (โรเตอร)ของซิงโครนัสมอเตอรเปนแบบ ขว้ั แมเหล็กยื่น และมีขดลวดสนามแมเหล็กพันอยูรอบ ๆ โดยใชแหลงจายไฟฟากระแสภายนอก เม่ือ จายไฟฟากระแสตรงใหกับโรเตอรจะทําใหเกิดขั้วแมเหล็กที่โรเตอร ขึ้นขั้วแมเหล็กน้ีจะเกาะตามการ หมุนของสนามหมนุ การตอ วงจรขดลวดมอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส สามารถตอ ได 2 แบบ คอื 1. การตอแบบสตาร (Star or Y) ตอปลายดานเดียวกันของขดลวดท้ัง 3 เขาดวยกัน ซึ่งจุด ตอ นจี้ ะเปน สายนวิ ตรอนของมอเตอรดวย แลวจายไฟเขาท่ีอีกดานของขดลวด L1 ตอกับ U1, L2 ตอ กับ V1, L3 ตอกบั W1 และ N ตอกบั U2, V2 และ W2 2. การตอแบบเดลตา (Delta or Δ) ตอ ปลายสายเฟส A (U2) เขา กบั ตนสายของเฟส B (V1) ตอ ปลายสายเฟส B (V2) เขากบั ตนสายของเฟส C (W1) ตอ ปลายสายเฟส C (W2) เขากบั ตน สายของเฟส A (U1) L1 ตอกับ U1 และ W2 L2 ตอกับ V1 และ U2 และ L1 ตอกับ W1 และ V2 แบบฝกหัดทายบทเรียน 1. อธิบายหลักการทํางานมอเตอรกระแสสลบั 3 เฟส 2. บอกโครงสรางสวนประกอบของมอเตอรก ระแสสลับ 3 เฟส 3. บอกวิธกี ารตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส 4. อธิบายหลักการทํางานของวงจรควบคมุ การเริ่มเดินมอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส 125

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงเอกสารอางองิ ธนาทรพั ย สวุ รรณลกั ษณ. (2558). การควบคุมมอเตอรไฟฟา. บทเรียนออนไลน คน เมอ่ื 19 กมุ ภาพนั ธ 2558 จาก http://edu.e-tech.ac.th/mdec/learning/ e-web/sara010.html สานันท คงแกว . (2556). การควบคุมเคร่ืองกลไฟฟา . ออนไลน คน เมื่อ มกราคม 16, 2556, จาก http://www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.html. Petruzella, Frank D. (2010). Electric motors and control systems. (4th ed.). the Americas, New York: The McGraw-Hill Companies, Inc. 126

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 7 หัวขอเน้ือหา 1. บทนํา 2. การกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 1 เฟส 3. การกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส วัตถุประสงคเชงิ พฤติกรรม หลงั จากจบการเรยี นการสอนบทน้แี ลว ผูเ รียนควรมีความสามารถดงั ตอไปนี้ 1. อธบิ ายลักษณะการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 2. อธบิ ายการตอวงจรการกลับทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 1 เฟสได 3. สามารถตอ วงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 1 เฟสได 4. อธบิ ายการตอวงจรการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟสได 5. สามารถตอวงจรการกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3 เฟสได 5. สามารถตอวงจรการกลับทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบลด กระแสขณะเร่ิมเดินแบบสตารเ ดลตา ได 6. ตรวจสอบความถกู ตอ งของการตอวงจรดวยการใชมัลติมิเตอรได วธิ กี ารสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบ 1.3 กจิ กรรมกลุมยอ ย 1.4 การปฏิบตั ิ 1.5 การแกป ญหา 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน ใชวธิ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ MIAP ดังนี้ 2.1 ขน้ั สนใจปญ หา (motivation) นาํ เขา สบู ทเรยี นดวยประเด็นปญหาท่ีนาสนใจ 2.2 ขั้นศกึ ษาขอมูล (information) ศกึ ษาและทําการเก็บรวบรวมขอมลู เพ่ือแกป ญหา 2.3 ขน้ั นาํ ขอ มูลมาใช (application) นําความรูห รอื ทักษะท่ีไดร บั มาใชใ นการแกปญหา 2.4 ขั้นประเมินผลสาํ เรจ็ (progress) ตรวจสอบและตรวจปรบั ผลงานของผเู รียน สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ET62619 การควบคุมมอเตอรไฟฟา 131

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. งานนําเสนอเพาเวอรพ อยต 3. ชดุ ทดลองการควบคุมมอเตอรไ ฟฟา 4. แบบทดสอบทา ยบทเรียน การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนและความสนใจ 2. สงั เกตจากการสนทนา ซักถาม และการแสดงความคดิ เหน็ 3. การทําใบงาน และแบบฝกหัดทายบท 4. การทําแบบทดสอบทายบท บทท่ี 7 การกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ บทนํา การนํามอเตอรไปใชงานการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟาก็เปนจุดมุงหมายท่ีสําคัญ อยา งหน่งึ เพื่อใหเปนไปตามความตองการผูใชงาน และสอดคลองกับเคร่ืองจักรหรือลักษณะของงาน 132

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงที่นําไปใช มอเตอรไฟกระแสสลับท่ีใชในงานอุตสาหกรรมมีทั้งมอเตอรที่ใชกับ ระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส ในงานอุตสาหกรรม มีการกลับทางหมุนมอเตอรทั้งมอเตอรไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส ดังนั้นจงึ มวี งจรในการควบคุมในการกลับทิศทางหมุนมอเตอรอยูหลายแบบดวยกัน เชน การ การกลับทางหมุนมอเตอรแบบตองหยุดการทํางานกอน และการกลับทางหนุนมอเตอรไดทันที่โดยไม ตอ งหยดุ และสง่ิ สาํ คญั อกี ประการหนึง่ ของการกลับทิศทิศทางการหมนุ ของมอเตอรไฟฟา ก็คือจะตอง มีการออกแบบวงจรปองกนั ไมใ หมอเตอรไ ฟฟาหมุนในแตล ะทิศทางทํางานพรอมกันได เพราะวาจะทํา ใหเกดิ ภาวะโหลดเกนิ และเกดิ การลัดวงจรระหวางหวา งเฟสขึน้ ได ลักษณะการกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ ลักษณะการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ ท่ีนิยมกันโดยทั่ว ๆ ตาม ลกั ษณะการใชงานมอี ยูด วยกัน 3 แบบ (สุนทร ดอนชัย, 2562, หนา 123-126) คอื 1. การกลับทางหมุนแบบกลับทิศทางหมุนช่ัวขณะ (reversing by Jogging ) ลักษณะการ กลับทางหมุนแบบนี้ จะกลับทิศทางการหมุนมอเตอร ไดโดยการบิดสวิตชเลือก หรือการกดสวิตช ปุมกดคา งไว เมื่อบดิ สวติ ชเ ลอื กกลับ หรือปลอ ยมือออกจากสวติ ชป ุมกดมอเตอรก็จะหยดุ หมนุ 2. การกลับทางหมุนหลังจากหยุดมอเตอร (reversing after stop) ลักษณะการกลับ ทางหมุนแบบน้ีจะเปนการเพ่ิมความปลอดภัยใหกับมอเตอรหากมอเตอรนั้นมีพิกัดกําลังหรือมีโหลด สงู ๆ วงจรจะกลับทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไ ด เมอ่ื ทาํ การหยุดมอเตอรก อ นเทา นัน้ 3. การกลับทางหมุนมอเตอรโดยตรงหรือทันที (direct reversing or plugging) วธิ กี ารกลับทางหมนุ มอเตอรลกั ษณะน้ี วงจรสามารถทําการกลับทิศทางหมุนมอเตอรได ทันทที ันใดตลอดเวลาทีม่ อเตอรท าํ การหมนุ อยู การกลบั ทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 1 เฟส 1. หลักการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส การกลับทิศทางการหมนุ มอเตอร 1 เฟส ทําไดโดยการกําหนดทศิ ทางการไหลของกระแสใน ขดลวดสตารทและขดลวดรนั (สานนั ท คงแกว, 2556) ดังนี้ 1.1 มอเตอรหมนุ ตามเข็มนาฬิกา ตอวงจรใหทิศทางการไหลของกระแสในขดลวดสตารท และขดลวดรันมที ิศทางเดยี วกนั 1.2 มอเตอรห มุนทวนเขม็ นาฬิกา ตอวงจรใหทิศทางการไหลของกระแสในขดลวดสตารท และขดลวดรันมีทิศทางสวนทางกนั การที่จะใหกระแสในขดลวดสตารทและขดลวดรันเปนไปตามขอ 1.1 และ ขอ 1.2 ทําได โดยการสลับปลายสายของขดลวดเพยี งขดเดยี ว คือ สลับปลายสายของขดสตารท สวนปลายสายของ ขดรันใหคงตอเหมือนเดิม หรือ สลับปลายสายของขดรัน สวนปลายสายของขดสตารทใหคงตอ เหมอื นเดิมก็ได ดงั ภาพที่ 7.1 ก และ 7.2 ข 133

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงก. ข. ภาพท่ี 7.1 แสดงการตอวงจรเพอ่ื กลับทศิ ทางการหมุนสปลิตเฟสมอเตอร ก.หมนุ ตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนทวนเขม็ นาฬิกา ภาพท่ี 7.1 ก. กระแสไหลจาก L ผา นขวั้ T1 แลว แยกเปน 2 ทางขนาน คือทางแรกเขาท่ีขั้ว Z1 ผานขดลวดสตารท ออกที่ข้ัว Z2 และทางที่สองเขา ทข่ี ั้ว U1 ผานขดลวดรนั ออกทขี่ ้วั U2 แลวตอ รว มกนั ผานข้ัว T2 ครบวงจรท่ี N จะเหน็ วากระไหลในขดลวดทง้ั สองในทิศทางเดยี วกนั มอเตอรจงึ ทํางานโดยหมนุ ตามเข็มนาฬิกา L ตอกับ U1 และ Z1 N ตอ กับ U2 และ Z2 มอเตอรห มุนตามเขม็ นาฬิกา ภาพ 7.2 ข. กระแสไหลจาก L ผานขว้ั T1ทางขนานแรกกระแสออมไปเขา ทางขว้ั Z2 ผา น ขดลวดสตารท ออกท่ีข้ัว Z1 สว นทางทสี่ องยงั คงเขา ทขี่ ้วั U1 ผานขดลวดรัน ออกท่ขี ว้ั U2 เหมือนเดิม ทง้ั สองสายรวมกันและผานข้วั T2 ครบวงจรที่ N จะเหน็ วา กระไหลในขดลวดทงั้ สองมี ทศิ ทางสวนทางกนั มอเตอรจ ึงทาํ งานโดยหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ า L ตอกบั U1 และ Z2 N ตอ กับ U2 และ Z1 มอเตอรห มุนตามทวนนาฬิกา 2. การกลับทางหมนุ มอเตอร 1 เฟส โดยการใชส วิตชเลือก (selector) BK BK 1 2 1 2 BK 4 F1 3 F2 F2 F3 95 F3 Sel ecto r 1 96 1 3 3 98 K1 K1 4 Yellow 2 4 3 Sel ecto r 2 1 3 F3 F3 2 4 1 3 1 3 4 4 K2 K2 K3 K3 2 4 2 13 13 4 K2 K3 14 14 U2 Z2 A1 A1 A1 U1 Z1 K1 K2 K3 A2 A2 Green1 A2 Green2 Red ภาพท่ี 7.2 การตอMวotoงr1จPhรasเeพ่ือกลับทิศทางการหมนุ สปลติ เฟสมอเตอรโดยการใชสวิตชเลือก ท่ีมา : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 2.1 การตรวจสอบความถกู ตองของวงจร ดานวงจรกาํ ลงั ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ตั้งมเิ ตอรย า น RX10 134

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วดั L1 กบั U1 กด K1 ชอ ต -L1 กบั Z2 กด K1 และกด K3 ชอต *นอกนนั้ ไมช อ ต วัด N กบั U2 กด K1 ชอ ต -L2 กบั Z1 กด K1 และกด K2 ชอ ต *นอกน้นั ไมช อต หรือ วัด L1 กบั U1 กด K1 ชอ ต วดั N กับ U2 กด K1 ชอต *นอกนั้นไมช อต เสรจ็ เรยี บรอ ยแลว วดั U1 กับ Z1 กด K2 ชอต และวดั U2 กบั Z2 กด K3 ชอต *นอกนั้น ไมช อต วัด U2 กับ Z2 กด K2 ชอ ต และวัด U2 กบั Z1 กด K3 ชอ ต *นอกนน้ั ไมช อ ต ดา นวงจรควบคุม นาํ มิเตอรว ดั ที่ L1 กับ N เข็มขึน้ เลก็ นอ ยเนื่องจากคา ค.ต.ท.ของไฟ แดง จากน้ันบิดสวิตชเลือก (selector1) ตอวงจร เข็มจะเพิ่มข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวด คอยล K1 บดิ สวิตชเลอื ก (selector2) ไปดานซา ย เขม็ จะเพิ่มข้นึ เนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวด คอยล K2 ขนานเขามา บิดสวิตชเลือกกลับเข็มตกมาตําแหนงเดิม บิดสวิตชเลือกไปดานขวาเข็มจะ เพิ่มข้ึนเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K3 ขนานเขามา กด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95- 96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากนั้นยายจุดวัดจาก N ไปที่หนาสัมผัส 98 OL-F3 เข็มจะ เพิ่มข้นึ ไปที่จุด 0 กดรีเซต็ OL- F3 เขม็ จะตกกลบั มาท่ี ∞ 2.2 การทํางานของวงจร เม่ือยกเบรกเกอร ภาพที่ 7.3 การตอวงจรเพ่ือกลับทศิ ทางการหมนุ สปลติ เฟสมอเตอรโดยการใชส วิตชเลอื ก เมอื่ ยกเบรกเกอร ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหนึ่งไหลผานไปที่ไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งไปรอที่ ขา 3 ของสวิตชเ ลอื ก (selector1) ดา นวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่หนาสัมผัส หลกั 1 ของคอยล K1 2.3 การทํางานของวงจรเม่ือบิดสวิตชเลือก (selector 2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดา นซาย 135

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 7.4 การทาํ งานของวงจรเมอื่ บิดสวิตชเลือก (selector 2) จากตาํ แหนงตรงกลางไปทางดา นซา ย ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) มาดานซาย หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชเลอื ก (selector2) ตอ วงจรเขา กับคอยล K2 รอไว ดา นวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่หนาสัมผัส หลกั 1 ของคอยล K1 2.4 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดา นซา ยและบิดสวติ ชเ ลือก (selector1) ใหตอ วงจร ภาพท่ี 7.5 การทาํ งานของวงจรเม่อื บดิ สวติ ชเลือก (selector2) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดา นซายและบดิ สวิตชเ ลอื ก (selector1) ใหต อวงจร ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) มาดานซาย หนาสัมผัส 3-4 ของ สวติ ชเ ลอื ก (selector2) ตอวงจรเขากับคอยล K2 รอไว เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector1) ใหตอวงจร หนาสัมผัส 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานไปท่ี คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน และ กระแสไฟฟาอีกสวนหน่ึงจะไหลผานหนาสัมผัส 3-4 ของสวิตชเลือก (selector 2) ท่ีตอรออยูไปที่ คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทาํ งาน เม่อื คอยล K2 ทํางาน จะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรกระแสไหลผา นไปทไ่ี ฟเขยี ว 1 ครบวงจร ไฟเขยี ว 1 ตดิ ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 ทํางานหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาจาก L1 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 ผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรทางดาน ขดลวด U1 -U2 ครบวงจร และเม่ือคอยล K2 ทํางานหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 ตอวงจรกระแสไฟฟา ไฟฟาไปเขา มอเตอรท างดานขดลวด Z1-Z2 ครบวงจร มอเตอรห มนุ ไปดานหนงึ่ 136

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.5 การทํางานของวงจรเม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดานซา ยและบดิ สวติ ชเ ลือก (selector1) ใหต อ วงจร แลว บดิ สวิตชเลือก (selector1) กลบั ภาพท่ี 7.6 การทาํ งานของวงจรเม่ือบดิ สวิตชเลอื ก (selector2) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดา นซายและ บดิ สวติ ชเ ลอื ก (selector1) ใหตอ วงจร แลว บิดสวติ ชเ ลอื ก (selector1) กลบั ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม เมอ่ื บดิ สวิตชเลือก (selector1) กลับ หนาสัมผัส 3-4 ตัดวงจร ไม มกี ระแส ไฟฟา ไหลผา นคอยล K1 และคอยล K2 เลกิ ทาํ งาน ไฟเขยี น 1 ดับลง ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอรท างดา นขดลวด U1-U2 และเมื่อคอยล K2 เลิก ทํางาน ตดั กระแสไฟเขามอเตอรทางดานขดลวด Z1-Z2 ทําใหมอเตอรหยุดหมนุ 2.6 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector 2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดา นขวา ภาพที่ 7.7 การทํางานของวงจรเมอื่ บดิ สวิตชเลือก (selector 2) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดา นขวา ทมี่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) มาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของ สวติ ชเ ลอื ก (selector2) ตอ วงจรเขา กบั คอยล K3 รอไว ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่หนาสัมผัส หลกั 1 ของคอยล K1 137

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.7 การทํางานของวงจรเม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดา นขวาและบดิ สวิตชเ ลอื ก (selector1) ใหตอ วงจร ภาพท่ี 7.8 การทํางานของวงจรเมือ่ บดิ สวติ ชเลือก (selector2) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดานขวาและ บดิ สวติ ชเลอื ก (selector1) ใหต อ วงจร ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) มาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชเลอื ก (selector2) ตอ วงจรเขากับคอยล K3 รอไว เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector1) ใหตอวงจร หนาสัมผัส 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานไปท่ี คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน และ กระแสไฟฟาอีกสวนหนึ่งจะไหลผานหนาสัมผัส 3-4 ของ Selector 2 ท่ีตอรออยูไปท่ีคอยล K3 ครบ วงจร คอยล K3 ทาํ งาน เม่อื คอยล K3 ทํางาน จะสง่ั ใหห นา สัมผสั ชวยเปด 13-14 ตอวงจรกระแสไหล ผานไปทไ่ี ฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 ทํางานหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 จะตอวงจร กระแสไฟฟาจาก L1 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 ผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปที่มอเตอรทางดาน ขดลวด U1 -U2 ครบวงจร และเมื่อคอยล K3 ทํางานหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 ตอวงจรกระแสไฟฟา ไฟฟา ไปเขา มอเตอรทางดานขดลวด Z2-Z1 ครบวงจร ทาํ ใหมอเตอรหมนุ กลับทางไปดา นหน่งึ 2.8 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไป ทางดา นขวาและบิดสวิตชเลอื ก (selector1) ใหตอวงจร แลว บดิ สวติ ชเลอื กกลับ ภาพท่ี 7.9 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวติ ชเลอื ก (selector2) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดานขวาและ 138

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บดิ สวิตชเลือก (selector1) ใหต อวงจร แลวบดิ สวติ ชเ ลือกกลับ ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector1) กลับ หนาสัมผัส 3-4 ตัดวงจร ไม มีกระแส ไฟฟา ไหลผานคอยล K1 และคอยล K3 เลกิ ทํางาน ไฟเขยี น 2 ดบั ลง ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอรท างดานขดลวด U1-U2 และเมื่อคอยล K3 เลิก ทาํ งาน จะตดั กระแสไฟเขามอเตอรทางดา นขดลวด Z2-Z1 ทําใหม อเตอรหยุดหมุน สรุปวงจรนี้เปนวงจร การกลับทางหมุนมอเตอร 1 เฟส โดยการใชสวิตชเลือก (selector1) เปนสวิตชเลือกเร่ิมเดินหรือหยุดเดิน (start-stop) และใชสวิตชเลือก (selector2) เปนสวิตชเลือกไป ควบคมุ คอยล K2 และคอยล K3 ไปสั่งหนา สมั ผัสหลัก สง่ั ใหม อเตอรทาํ งานกลบั ทางหมนุ ซา ยขวา การกลบั ทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส 1. หลกั การกลับทศิ ทางการหมนุ มอเตอร 3 เฟส การกลับทิศทางการหมุนมอเตอร 3 เฟส ของมอเตอรไฟฟากระแสสลับแบบเหนี่ยวนํา สามารถบังคับใหหมุนเดินหนาหรือกลับทางหมุนดวยการกําหนดทิศทางการเคลื่อนท่ีของ สนามแมเหล็กหมุน โดยการสลับสายจายไฟเขามอเตอรเพียงคูใดคูหนึ่งสวนปลายที่เหลือไวคงเดิม มอเตอรจะกลับทางหมนุ ทนั ที ภาพท่ี 7.10 การตอ วงจรการกลับทศิ ทางหมุนมอเตอร 3 เฟส ทมี่ า : (ธนเจต สครรัมย, 2552, หนา 85) 2. การกลับทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบชัว่ ขณะ (jogging) 139

2.1 โดยการใชส วิตชเลือก (selector) BK 2 BK 2 1 1 BK 4 F1 3 BK 6 F3 95 F3 5 F2 F2 F2 Se le ctor1 96 3 4 98 Se le ctor2 3 1 3 5 1 3 5 44 K1 K1 K1 K2 K2 K2 31 2 4 6 2 4 6 K2 32 13 31 13 K1 K1 K2 A1 14 K1 14 32 Gr e e n2 A2 Gr e e n1 A1 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง135 K2 Re d Ye llow F3 F3 F3 A2 2 4 6 ภาพที่ 7.11 วMงoจtoรrก3Pาhaรsกe ลับทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบชั่วขณะโดย การใชส วติ ชเ ลือก ที่มา : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 2.1.1 การตรวจสอบความถูกตองของวงจร ดา นวงจรกําลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส ต้งั มิเตอรย า น RX10 วดั L1 กับขา 2 Overload หรอื U1 กด K1 ชอ ต *นอกนั้นไมชอ ต L1 กับขา 6 Overload หรอื W1 กด K2 ชอต *นอกนน้ั ไมช อ ต วดั L2 กบั ขา 4 Overload หรอื V1 กด K1 ชอ ต *นอกนัน้ ไมช อต L2 กบั ขา 4 Overload หรอื V1 กด K2 ชอต *นอกนั้นไมชอ ต วัด L3 กบั ขา 6 Overload หรอื W1 กด K1 ชอ ต *นอกน้นั ไมช อต L3 กับขา 2 Overload หรือ U1 กด K2 ชอ ต *นอกน้นั ไมช อต ดา นวงจรควบคมุ นํามิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มขึ้นเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท ของ ไฟแดง จากน้ัน บิดสวิตชเลือก (selector1) ตอวงจร เข็มจะยังเทาเดิม บิดสวิตชเลือก (selector2) ไปดา นซาย เขม็ จะเพิ่มข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K1 ขนานเขามา บิดสวิตชเลือก กลับเข็มตกมาตําแหนงเดิม บิดสวิตชเลือกไปดานขวาเข็มจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K2 ขนานเขามา กด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากน้นั ยายจดุ วัดจาก N ไปทห่ี นาสัมผัส 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมข้ึนไปที่จุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เข็มจะ ตกกลบั มาที่ ∞ 2.1.2 การทํางานของวงจรเม่อื ยกเบรกเกอร ภาพที่ 7.12 วงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบชั่วขณะโดย การใชสวติ ชเลือก การทํางานของวงจรเม่ือยกเบรกเกอร 140

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงทีม่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95- 96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหนึ่งไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งไปรอท่ี ขา 3 ของ (selector1) ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนาสมั ผัสหลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 2.1.3 การทํางานของวงจรเมอ่ื บิดสวติ ชเ ลอื ก (selector1) จากตําแหนงตรง กลางไปทางดา นขวา ภาพท่ี 7.13 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก(selector1) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดานขวา ที่มา : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) มาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของสวิตชเลือก (selector1) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานไปรอที่ขา 4 หรือ ขา 3 ของสวิตชเลือก (selector2) ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารอ อยูท่ี หนา สัมผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 2.1.4 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) จากตําแหนงตรง กลางไปทางดา นขวาแลวบดิ สวิตชเลือกกลับ 141

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 7.14 การทาํ งานของวงจรเมอื่ บิดสวติ ชเลอื ก (selector1) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดา น ขวาแลวบิดสวิตชเ ลอื กกลบั ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) กลับ หนาสัมผัส 3-4 ของสวิตช เลือก (selector1) ตัดวงจรกระแสไฟฟากลบั ไปรอทข่ี า 3 ของสวติ ชเ ลอื ก (selector1) ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารอ อยูที่ หนา สัมผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 2.1.5 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) จากตําแหนงตรง กลางไปทางดานขวา และบิดสวิตชเ ลือก (selector2) ไปดา นซา ย ภาพที่ 7.15 การทํางานของวงจรเม่อื บิดสวติ ชเลอื ก (selector1) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดาน ขวา และบิดสวติ ชเลือก (selector2) ไปดา นซา ย ทม่ี า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคมุ เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector1) มาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชเลือก (selector1) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานไปรอท่ีขา 4 หรือ ขา 3 ของสวิตชเลือก (selector2) เมื่อบิดสวิตชเลือก Selector 2 ไปดานซายหนาสัมผัส 3-4 ดานซายตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานเขาหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 และเขาคอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางาน จะสั่งหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรกระแสไหลผานไปที่ ไฟเขียว 1 ครบวงจร ทําใหไฟเขียว 1 ติด และไปสั่งหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรอินเตอร ลอ ค คอยล K2 ไวไมใหท ํางานพรอ มกนั ดา นวงจรกาํ ลัง เมื่อคอยล K1 ทาํ งานจะส่ังใหห นาสมั ผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดา นหนง่ึ 142

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.1.6 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือกสวิตชเลือก (selector1) จาก ตําแหนงตรงกลางไปทางดานซาย และบิดสวิตชเลือก (selector2) ไปดานซายแลวบิดสวิตช เลอื กกลับ ภาพท่ี 7.16 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลอื กสวิตชเ ลอื ก (selector1) จากตาํ แหนงตรงกลางไป ทางดา นซา ย และบิดสวติ ชเ ลอื ก (selector2) ไปดานซายแลวบดิ สวิตชเ ลือกกลบั ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) กลับ หนาสัมผัส 3-4 ตัดวงจร ไมมีกระแส ไฟฟาไหลผานคอยล K1 เลิกทํางาน เม่ือคอยล K1 เลิกทํางานจะทําใหหนาสัมผัสชวย ปกติเปด 13-14 ตดั กระแสไฟฟาทไี่ หลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสัมผัสชวย 31-32 กลับมา ตอวงจรเลิกการอนิ เตอรล อ ค คอยล K2 ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปด วงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทาํ ใหมอเตอรห ยุดหมุน 2.1.7 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) จากตําแหนงตรง กลางไปทางดานขวา และบดิ สวติ ชเ ลือก (selector2) ไปดา นขวา ภาพที่ 7.17 การทาํ งานของวงจรเมื่อบิดสวติ ชเ ลอื ก (selector1) จากตาํ แหนง ตรง กลางไปทางดา นขวา และบดิ สวิตชเลอื ก (selector2) ไปดา นขวา ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เมือ่ บิดสวิตชเลือก (selector1) มาดานขวา หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชเลือก (selector1) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานไปรอท่ีขา 4 หรือ ขา 3 ของสวิตชเลือก (selector2) เม่ือบิดสวิตชเลือก Selector 2 ไปดานขวาหนาสัมผัส 3-4 ดานซายตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผานเขาหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 และเขาคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางาน จะสั่งหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรกระแสไหลผานไปท่ี 143

ไฟเขียว 2 ครบวงจร ทําใหไฟเขียว 2 ติด และไปสั่งหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรอินเตอร ลอ ค คอยล K1 ไวไ มใ หทํางานพรอ มกัน ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหห นาสมั ผสั หลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป อกี ดา นหนงึ่ 2.1.8 การทํางานของวงจรเมื่อบิดสวิตชเลือก (selector1) จากตําแหนงตรง กลางไปทางดานขวา และบิดสวิตชเลือก (selector2) ไปดานขวาแลวบิดสวิตชเ ลอื กกลับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพที่ 7.18 การทาํ งานของวงจรเมอื่ บดิ สวิตชเ ลอื ก (selector1) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดา น ขวา และบดิ สวติ ชเ ลอื ก (selector2) ไปดา นขวาแลวบิดสวติ ชเ ลอื กกลับ ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือบิดสวิตชเลือก (selector2) กลับ หนาสัมผัส 3-4 ตัดวงจร ไมมีกระแส ไฟฟาไหลผานคอยล K2 เลิกทํางาน เม่ือคอยล K 2 เลิกทํางานจะทําใหหนาสัมผัสชวย ปกตเิ ปด 13-14 ตัดกระแสไฟฟา ที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดับลง และหนาสัมผัสชวย 31-32 กลับมา ตอวงจรเลกิ การอินเตอรล อ ค คอยล K1 ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปด วงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอร ทําใหม อเตอรห ยดุ หมุน สรุปวงจรนเ้ี ปนวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร 3 เฟส แบบ jogging โดยการใชสวิตซเลือก (Selector) โดยการใชสวิตชเ ลอื ก (selector1) เปนสวิตซเรมิ่ เดนิ หรอื หยดุ เดนิ (start-stop) และใช สวิตชเ ลือก (selector2) เปน สวติ ซเ ลือกไปควบคมุ คอยล K1 และคอยล K2 ไปสง่ั หนาสมั ผัสชว ยและ หนาสมั ผัสหลัก สงั่ ใหมอเตอรทํางานกลบั ทางหมนุ ซา ยขวา BK 2.2 โดยการใชส วติ ชปุมกด (Push Button) 1 BK BK 3 2 12 BK 4 F1 5 6 F3 95 F3 F2 F2 F2 96 98 S2 3 S3 3 Yellow 4 4 1 3 5 1 3 5 31 13 31 13 K1 K1 K1 K2 K2 K2 K2 K1 K1 K2 32 32 2 4 6 2 4 6 14 14 A1 A1 135 K1 Gre en1 K2 Gre en2 Red F3 F3 F3 A2 A2 246 Motor3Phase 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook