มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 7.19 วงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบชั่วขณะ โดยการใชสวิตชป ุมกด ท่ีมา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) 2.2.1 การตรวจสอบความถูกตอ งของวงจร ดานวงจรกําลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส เชนเดียวกันกับแบบใช สวติ ชเ ลอื ก ดานวงจรควบคุม นาํ มเิ ตอรวัดท่ี L1 กับ N เข็มขึ้นเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท.ของ ไฟแดง จากนั้นกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K1 กด K2 เข็มตกมาตาํ แหนงเดมิ ปลอ ย สวิตชป มุ กด (S2) หลังจากนน้ั กด สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มข้ึนเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K2 กด K1 เข็มตกมา ตําแหนงเดิม กด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากน้ันยายจุดวัด จาก N ไปทหี่ นาสัมผัส 98 OL-F3 เขม็ จะเพ่ิมขน้ึ ไปทจี่ ุด 0 กดรเี ซต็ OL- F3 เข็มจะตกกลับมาที่ ∞ 2.2.2 การทาํ งานของวงจรเมื่อยกเบรกเกอร ภาพท่ี 7.20 วงจรการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบชว่ั ขณะ โดยการใชสวิตชป มุ กด การทํางานของวงจรเมือ่ ยกเบรกเกอร ท่มี า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95- 96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงไปรอท่ี ขา 3 ของ สวติ ชป ุมกด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูท่ี หนา สัมผสั หลกั 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 145
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.2.3 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวติ ชปุมกด (S2) ภาพที่ 7.21 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวติ ชปมุ กด (S2) ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติ 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทาํ งาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหลไปที่ไฟ เขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอร ลอ คคอยล K2 ไวไมใ หทํางานพรอ มกัน ดา นวงจรกาํ ลงั เมอื่ คอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปที่มอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดา นหน่งึ 2.2.4 การทํางานของวงจรเมอื่ กดสวิตชปุมกด (S2) แลว ปลอยมอื ภาพท่ี 7.22 การทํางานของวงจรเมือ่ กดสวติ ชป ุมกด (S2) แลว ปลอ ยมอื ทมี่ า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เม่ือปลอยมือหนาสัมผัส 3-4 ของ PB-2 ตัดวงจรกระแสไฟฟาเขา คอยล K1 เลิกทาํ งาน ทําใหหนา สัมผัสชวย 13-14 ของ K1 ตัดไฟเขา ไฟเขยี ว 1 ดับลง หนาสัมผัสชวย 31-32 ของ K1 กลับมาตอวงจรเลิกอินเตอรล อค คอยล K2 146
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอร ทําใหมอเตอรหยุดหมุน 2.2.5 การทาํ งานของวงจรเมื่อกดสวติ ชปมุ กด (S3) ภาพที่ 7.23 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวิตชป มุ กด (S3) ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) หนาสัมผัส 3-4 ของสวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหล ไปที่ไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจร อนิ เตอรล อ คคอยล K1 ไวไ มใหทํางานพรอมกัน ดา นวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 ทาํ งานจะสงั่ ใหหนาสมั ผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปที่มอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดานหนึ่ง 2.2.6 การทาํ งานของวงจรเม่อื กดสวิตชปมุ กด (S3) แลวปลอยมอื ภาพท่ี 7.24 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวิตชปุม กด (S3) แลว ปลอ ยมือ 147
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงท่ีมา : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือปลอยมือหนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจร กระแสไฟฟาเขาคอยล K2 เลิกทํางาน ทําใหหนาสัมผัสชวย 13-14 ของ K2 ตัดไฟเขาไฟเขียว 2 ดับ ลง หนาสมั ผัสชว ย 31-32 ของ K2 กลบั มาตอ วงจรเลิกอนิ เตอรล อค คอยล K1 ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหมอเตอรห ยุดหมุน 2.2.7 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวติ ชป มุ กด (S2) คา งไว แลว กดปมุ กด (S3) ภาพที่ 7.25 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชป มุ กด (S2) คางไว แลวกดสวิตชปมุ กด (S3) ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) คางไว หนาสัมผัส 3-4 ของสวิตชปุมกด (S2) ตอ วงจรกระแสไฟฟาไหลผา น หนาสัมผสั ชว ยปกตปิ ด 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เมื่อคอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหล ไปท่ีไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจร อินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดังนั้นเมื่อกดปุม สวิตชปุมกด (S3) คอยล K2 จึงไม ทํางานคอยล K1 ก็ยงั คงทํางานอยเู ชนเดมิ 2.2.8 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวติ ชปมุ กด (S3) คา งไว แลวกดปุมกด (S2) ภาพที่ 7.26 การทาํ งานของวงจรเมอ่ื กดสวิตชปมุ กด (S2) คา งไว แลวกดสวิตชป ุมกด (S3) ทม่ี า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เมอื่ กดสวิตชปุม กด (S2) คางไว หนาสมั ผัส 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติ 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหล 148
ไปที่ไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจร อินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดังนั้นเม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S3) คอยล K2 จึงไม ทาํ งานคอยล K1 ก็ยังคงทาํ งานอยูเ ชน เดมิ สรุปวงจรน้ีเปนวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร 3 เฟส แบบชั่วขณะ (jogging) โดยการใช สวิตชปุมกด (Push Button) กลับทางหมุนมอเตอร 3 Phase โดยการใช สวิตชปุมกด (S2) ควบคุม คอยล K1 และ สวิตชปุมกด (S3) คอยล K2 เมื่อคอยลตัวใดทํางานจะไปส่ังหนาสัมผัสชวยปกติปดไป เปดวงจรอินเตอรลอคคอยลอีกตัวหน่ึงไวไมใหทํางานพรอมกัน ไปส่ังหนาสัมผัสชวยปกติเปดตอวงจร Indicator Lampแสดงสถานะการทํางาน และไปสั่งหนาสัมผัสหลักดานวงจรกําลังตอวงจร กระแสไฟฟาจะไหลผา นไปท่ี โอเวอรโ หลด (F3) ไปทม่ี อเตอรไ ฟฟา ครบวงจร มอเตอรหมุนไปดานหนึ่ง แตเม่ือปลอยมือ สวิตชปุมกด (S2) หรือ สวิตชปุมกด (S3) จะตัดวงจรไฟเขาคอยล ทําใหคอยลเลิก ทาํ งาน หนา สมั ผสั หลักตดั ไฟเขา มอเตอรห ยุดหมนุ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.3 โดยการใชสวิตชปุมกด (push Button) อินเตอรลอค(Interlock) ดวยหนาสัมผัส ปกตปิ ด ของสวติ ชปุมกดอกี ตัวหนง่ึ BK BK 1 2 1 2 BK 4 F1 3 6 F3 95 F3 BK F2 F2 F2 96 5 98 S2 3 13 S3 3 13 S3 K1 K2 4 14 4 14 1 1 1 3 5 1 3 5 S2 K1 K1 K1 K2 K2 K2 2 2 2 4 6 2 4 6 1 3 5 A1 Gr een1 A1 Gr een2 Red Yel l o w K1 K2 F3 F3 F3 2 4 6 A2 A2 ภาพท่ี 7.27Mวotงoจr3รPhกasาeรกลับทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟา กระแสสลบั 3 เฟส แบบชว่ั ขณะ โดยการใชสวิตชป มุ กด อินเตอรลอคดว ยหนา สมั ผสั ปกตปิ ด ของสวิตชปุมกดอกี ตัวหนงึ่ 2.3.1 การตรวจสอบความถูกตอ งของวงจร ดานวงจรควบคุม นํามิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มข้ึนเล็กนอยเน่ืองจากคา ค.ต.ท.ของ ไฟแดง จากน้ันกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K1 กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S2) หลังจากน้ันกด สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวด คอยล K2 กด สวิตชปุมกด (S2) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S2) เข็มจะ เพ่ิมข้ึน กด Trip OL- F3 คอนแทคเตอร 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากนั้นยายจุดวัด จาก N ไปทีค่ อนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมข้ึนไปท่ีจุด 0 กดรเี ซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาท่ี ∞ 149
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.3.2 การทํางานของวงจรเมื่อยกเบรกเกอร ภาพท่ี 7.28 แสดงวงจรการกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบช่วั ขณะ โดยการใชสวิตชปุมกด อินเตอรลอคดวยหนาสัมผัสปกติปดของสวิตชปุมกด การทํางาน ของวงจร เมือ่ ยกเบรกเกอร ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95- 96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งไปรอท่ี ขา 3 ของ สวติ ชป มุ กด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนา สมั ผสั หลกั 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 2.3.3 การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวติ ชปุม กด (S2) ภาพที่ 7.29 การทาํ งานของวงจรเมือ่ กดสวิตชป ุมกด (S2) ท่มี า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคมุ เมอ่ื กดสวติ ชปมุ กด (S2) หนา สัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ไปท่ีคอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร 150
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงกระแสไหลไปท่ีไฟเขยี ว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และทําใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S2) เปดวงจรอนิ เตอรล อ คคอยล K2 ไวไมใหท ํางานพรอ มกัน ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปทม่ี อเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไปดานหน่ึง 2.3.4 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวิตชปมุ กด (S2) แลวปลอ ยมอื ภาพท่ี 7.30 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปมุ กด (S2) แลวปลอ ยมือ ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่อื ปลอยมือหนา สมั ผสั ปกติเปด 3-4 ของ PB-2 ตัดวงจรกระแสไฟฟา เขาคอยล K1 เลิกทํางาน ทําใหคอนแทคเตอร 13-14 ของ K1 ตัดไฟเขาไฟเขียว 1 ดับลง หนาสัมผัส ปกติปด 1-2ของ สวิตชปุมกด (S2) กลับมาตอวงจรเลิกอินเตอรลอค คอยล K2 ดานวงจรกําลัง เม่ือ คอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอ เวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหมอเตอรหยุดหมุน 2.3.5 การทํางานของวงจรเมือ่ กดสวิตชปมุ กด (S3) ภาพที่ 7.31 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวติ ชปุม กด (S3) ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) 151
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดา นวงจรควบคมุ เม่อื กดสวิตชป ุมกด (S3) หนา สมั ผสั ปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) ไปท่ีคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เม่ือคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด และทําใหหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S3) เปดวงจรอินเตอรล อ คคอยล K1 ไวไมใ หท ํางานพรอมกนั ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจร กระแสไฟฟา จะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปทม่ี อเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไปดา นหนง่ึ 2.3.6 การทํางานของวงจรเมอื่ กดสวิตชปุมกด (S3) แลว ปลอยมอื ภาพที่ 7.32 การทาํ งานของวงจร เมือ่ กดสวิตชปมุ กด (S3) แลวปลอยมอื ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม เมอื่ ปลอยมือหนาสมั ผสั ปกติเปด 3-4 ของ PB-3 ตัดวงจรกระแสไฟฟา เขาคอยล K2 เลิกทํางาน ทําใหคอนแทคเตอร 13-14 ของ K2 ตัดไฟเขาไฟเขียว 2 ดับลง หนาสัมผัส ปกติปด 1-2ของ สวติ ชปุมกด (S3) กลับมาตอวงจรเลิกอนิ เตอรล อ ค คอยล K1 ดานวงจรกําลัง เมือ่ คอยล K2 หยดุ การทาํ งานจะทาํ ใหห นาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทาํ ใหม อเตอรหยุดหมนุ 2.3.7 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปมุ กด (S2) คางไว แลว กดสวิตชปมุ กด (S3) 152
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 7.33 การทํางานของวงจร เม่อื กดสวติ ชป ุมกด (S3) แลวปลอยมอื ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เมื่อคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และทําใหหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปุมกด (S2) เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดังนั้นเม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S3) คอยล K2 จงึ ไมทาํ งาน และหนา สมั ผสั ปกติปด 1-2 ของ สวิตชป ุมกด (S3) ตัดวงจรไฟเขาคอยล K1 ทําใหคอยล K1 หยุดทาํ งาน ดานวงจรกําลงั เมอ่ื คอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปด วงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทาํ ใหมอเตอรหยดุ หมนุ 2.3.8 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชป มุ กด (S3) คางไว แลว กดสวิตชปมุ กด (S2) ภาพที่ 7.34 การทาํ งานของวงจร เมือ่ กดสวิตชปุมกด (S3) คา งไว แลวกดสวติ ชป ุมกด (S2) ท่มี า : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S3) ตอ วงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) ไปท่ีคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K3 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร กระแสไหล ไปทไ่ี ฟเขยี ว 2 ครบวงจร ไฟเขยี ว 2 ติด และทาํ ใหห นาสมั ผสั ปกตปิ ด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) เปด วงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดังนั้นเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) คอยล K2 จึงไม ทํางาน และหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรไฟเขาคอยล K2 ทําใหคอยล K2 หยดุ ทํางาน ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหมอเตอรหยดุ หมนุ สรุปการทํางาน วงจรนเ้ี ปนวงจรการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบชัว่ ขณะ โดยการใชส วติ ชป ุมกด อนิ เตอรลอคดว ยหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของสวิตชป มุ กด ตัว หน่งึ ไปตออนุกรมกับหนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของสวติ ชปมุ กดอีกตัวหนง่ึ และตออนุกรมไวดา นหนึ่ง 153
ของคอยลทตี่ องการอนิ เตอรลอค ดังนน้ั เม่ือกดสวิตชป ุมกดใหคอยลตวั ใดตวั หนึง่ ทํางานอยู แลวกด สวติ ชป ุมกดอกี ตวั หนงึ่ ใหกลับทางหมุนจะทาํ ใหมอเตอรหยุดทํางาน เน่ืองจากหนา สมั ผัสปกตปิ ด 1-2 ของปุมสวติ ชป มุ กดท่ีตออนกุ รมอยจู ะตัดวงจรไฟเขาคอยลซ่ึงกันและกนั 3. การกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบการกลับทางหมุน หลงั จากหยุดมอเตอร (reversing after stop) 3.1 โดยการใชสวิตชปุมกด(push button) อินเตอรล็อค(interlock) ดวย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงหนาสมั ผสั ชวยปกตปิ ดแมคเนตกิ คอนแทคเตอร BK BK 12 12 BK 4 F1 3 BK 6 F3 95 F3 5 F2 F2 F2 96 Red 1 3 5 1 3 5 S1 1 3 13 23 98 K1 K1 K1 K2 K2 K2 S2 K2 K2 Yel l o w 2 2 4 6 2 4 6 3 13 23 4 14 24 K1 K1 S3 4 14 24 31 31 K2 K1 32 32 A1 1 3 5 K1 A1 F3 F3 F3 A2 K2 2 4 6 Gr een1 A2 Gr een2 ภาพท่ี 7.35 วงจรMกotาorร3กPhลasับe ทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบการกลับทาง หมุนหลงั จากหยดุ มอเตอรโ ดยการใชส วติ ชปุมกด อินเตอรล็อคดว ยหนา สัมผัสชว ยปกติ ปดของแมคเนตกิ คอนแทคเตอร ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) 3.1.1 การตรวจสอบความถกู ตอ งของวงจร ดานวงจรควบคุม นํามเิ ตอรว ัดท่ี L1 กบั N เข็มขึ้นเล็กนอยเน่อื งจากคา ค.ต.ท. ของ ไฟแดง จากน้ันกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K1 หลังจากน้ันกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K2 เข็มเพ่ิมขึ้น หลังจากนั้น กด K1 ปลอย สวิตชปุมกด (S2) เข็มจะคาง เน่ืองจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจร แทน หลงั จากนัน้ กด สวติ ชป มุ กด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนง เดิม ปลอ ย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เขม็ ตกมาตําแหนง เดมิ ปลอย K2 เข็มเพ่ิมขึ้นหลังจากน้ันกด สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมขึ้นเนื่องจากเปนคาค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K2 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัด วงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มข้ึน กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอ ย K1 เขม็ เพมิ่ ขนึ้ หลงั จากน้นั กด K2 ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มจะคาง เน่ืองจากมีหนาสัมผัส ชว ยปกตเิ ปด 13-14 ตอ ขนานวงจรแทน หลงั จากนั้นกด สวิตชป ุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนง เดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มขึ้น กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมขึ้นกด Trip OL- F3 คอนแทคเตอร 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากน้ันยายจุดวัดจาก N ไปท่ี คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพมิ่ ขึน้ ไปทีจ่ ดุ 0 กดรเี ซ็ต OL- F3 เข็มจะตกกลับมาที่ ∞ 3.1.2 การทํางานของวงจรเมอ่ื ยกเบรกเกอร 154
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 7.36 วงจรการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส แบบการกลับทาง หมนุ หลังจากหยดุ มอเตอรโ ดยการใชส วติ ชปุมกด อินเตอรลอ็ คดว ยหนาสมั ผัสชว ยปกติ ปดของแมคเนตกิ คอนแทคเตอร การทํางานของวงจรเมื่อยกเบรกเกอร ที่มา : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปที่ไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงจะไหลผาน PB ขา 1-2ไปรอที่ ขา 3 สวิตชปุมกด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) และคอนแทคชวย 13 23 ของ K1 และ K2 ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูท่ี หนาสัมผัสหลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 3.1.3 การทาํ งานของวงจรเมื่อกดสวติ ชปุมกด (S2) แลวปลอย ภาพที่ 7.37 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวติ ชปุมกด (S2) แลว ปลอย ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ตดิ และสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางาน พรอมกนั 155
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรกําลงั เมื่อคอยล K1 ทาํ งานจะส่งั ใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดานหน่งึ 3.1.4 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย หลังจากน้ันกด สวิตชปุม กด (S1) แลว ปลอ ย ภาพที่ 7.38การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชป ุม กด(S2)แลวปลอ ยหลังจากนัน้ กดสวิตชปมุ กด(S1)แลว ปลอ ย ทม่ี า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S1) ตดั วงจร ไมม ีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K1 เลกิ ทาํ งาน เม่ือคอยล K1 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสมั ผสั ชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอนิ เตอรล อค คอยล K2 ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหม อเตอรห ยุดหมุน 3.1.5 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวติ ชป ุมกด (S3) แลว ปลอ ย ภาพที่ 7.39 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวติ ชปุมกด (S3) แลวปลอย ที่มา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) 156
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรควบคมุ เม่อื กดปุม สวติ ชป มุ กด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปท่ีคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ตดิ และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางาน พรอ มกัน ดานวงจรกําลงั เมอ่ื คอยล K2 ทาํ งานจะสั่งใหหนาสมั ผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดา นหนึง่ 3.1.6 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย หลังจากนั้นกด สวติ ชป มุ กด (S1) แลว ปลอ ย ภาพท่ี 7.40 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย หลงั จากน้ันกดสวติ ชป ุมกด (S1) แลวปลอย ท่ีมา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S1) ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟา ไหลผา นคอยล K2 เลกิ ทํางาน เมอ่ื คอยล K2 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาท่ีไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดับลง และหนา สมั ผสั ชว ยปกตปิ ด 31-32 กลับมาตอ วงจรเลกิ การอินเตอรล อค คอยล K1 ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปด วงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทาํ ใหมอเตอรห ยดุ หมุน 3.1.7 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S2)แลว ปลอย กดสวิตชป ุม กด (S3) ภาพท่ี 7.41 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวติ ชปมุ กด(S2)แลวปลอ ยกดสวิตชปุมกด(S3) 157
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงทม่ี า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผา น หนา สมั ผสั ชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปทีค่ อยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เมื่อคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนา สัมผสั ชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ไี ฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และสั่งให หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดงั น้ันเมื่อกดปุม สวติ ชป ุมกด (S3) คอยล K2 จึงไมท ํางานคอยล K1 กย็ ังคงทาํ งานอยูเชน เดิม 3.1.8 การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) แลว ปลอ ย กดสวิตชปมุ กด (S2) ภาพท่ี 7.42 การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวิตชป ุม กด (S2)แลวปลอ ย กดสวติ ชป มุ กด (S3) ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม เมอ่ื กดปมุ สวิตชป มุ กด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปท่ีคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เม่ือคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ตดิ และสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางาน พรอมกัน ดังนน้ั เม่ือกดสวิตชป ุมกด (S2) คอยล K1 จงึ ไมท าํ งานคอยล K2 กย็ ังคงทาํ งานอยเู ชน เดมิ สรุปการทาํ งาน วงจรน้ีเปนวงจร Reversing After Stop มอเตอร 3 เฟส โดยการใช Push Button -Interlock ดวยคอนแทคชวยปกติปด (N.C) ของแมคเนติกคอนแทคเตอร ตออนุกรมท่ี 158
คอยลของแมคเนติกคอนแทคเตอรของอีกตัวหนึ่ง เม่ือตัวหนึ่งทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ที่ตอ อนุกรมอยเู ปดวงจรอินเตอรลอคคอยล ของอีกตวั หน่ึงไวไมใ หท าํ งานพรอมกนั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง3.2 โดยการใชสวติ ชป ุมกด(push button) อินเตอรล ็อค(interlock) ดวยหนาสัมผัส ชว ยปกติปด ของสวิตชปุมกดอีกตัวหนึง่ รวมกับการใชหนาสมั ผสั ชวยปกตปิ ด ของแมคเนติกคอน แทคเตอรอนิ เตอรล็อคซึ่งกนั และกนั BK BK 12 12 BK 4 F1 3 BK 6 F3 95 F3 5 F2 F2 F2 S1 96 1 2 98 135 135 3 13 23 3 13 23 K1 K1 K1 K2 K2 K2 S2 K1 K1 S3 K2 K2 246 246 4 14 24 4 14 24 11 S3 S2 22 135 31 31 F3 F3 F3 K2 K1 246 32 32 A1 A1 K1 Gr e e n1 Gr e e n2 Re d Ye llo w K2 A2 A2 ภาพท่ี 7.43Mวoงtจorร3กPhาaรsกeลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบการกลบั ทางหมุน หลงั จากหยุดมอเตอร โดยการใชส วติ ชป มุ กด อินเตอรล ็อคดวยหนา สัมผัสชว ยปกติปดของสวติ ช ปุม กดอกี ตวั หน่งึ รวมกบั การใชหนาสัมผัสชว ยปกตปิ ดของแมคเนติกคอนแทคเตอรอนิ เตอรล ็อคซึง่ กนั และกนั ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 3.2.1 การตรวจสอบความถูกตองของวงจร ดานวงจรควบคมุ นาํ มิเตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มข้ึนเลก็ นอ ยเนือ่ งจากคา ค.ต.ท. ของ ไฟแดง จากนั้นกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K1 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพิ่มข้ึน กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K2 เข็มเพิ่มขึ้น หลังจากน้ัน กด K1 ปลอย สวติ ชป มุ กด (S2) เข็มจะคา ง เนื่องจากมีหนาสัมผสั ชวยปกตเิ ปด 13-14 ตอขนานวงจร แทน หลังจาก นนั้ กด สวิตชป ุมกด (S1) ตดั วงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมขึ้น กด K2 เขม็ ตกมาตาํ แหนงเดมิ ปลอ ย K2 เข็มเพมิ่ ข้นึ หลังจากน้ันกด สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K2 หลังจากนนั้ กด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มข้ึน กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช 159
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงปุมกด (S3) เข็มเพิ่มข้ึน กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพิ่มข้ึน หลังจากน้ัน กด K2 ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มจะคาง เนื่องจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจรแทน หลงั จากนน้ั กด สวิตชป ุม กด (S1) ตดั วงจรเข็มตกมาตําแหนงเดมิ ปลอ ย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มข้ึน กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมขึ้นกด Trip OL- F3 คอนแทคเตอร 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากนั้นยายจุดวัดจาก N ไปที่คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมข้ึนไปที่ จุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลับมาท่ี ∞ 3.2.2 การทํางานของวงจรเมื่อยกเบรกเกอร ภาพที่ 7.44 วงจรการกลบั ทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบการกลับทางหมุน หลังจากหยดุ มอเตอร โดยการใชสวติ ชป ุมกด อินเตอรล็อคดว ยหนาสัมผสั ชว ยปกตปิ ดของสวิตช ปุมกดอกี ตวั หน่งึ รว มกบั การใชหนา สมั ผสั ชว ยปกตปิ ดของแมคเนติกคอนแทคเตอรอนิ เตอรล็อคซึง่ กนั และกัน การทาํ งานของวงจรเม่ือยกเบรกเกอร ทม่ี า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95- 96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งจะไหล ผาน PB ขา 1-2ไปรอท่ี ขา 3 สวิตชปุมกด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) และคอนแทคชวย 13 23 ของ K1 และ K2 ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนา สัมผสั หลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 3.2.3 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวติ ชปมุ กด (S2)แลวปลอ ย ภาพท่ี 7.45 การทาํ งานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2)แลว ปลอ ย ที่มา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) 160
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ผานไปที่ หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และในขณะท่ีกดสวิตชปุมกด (S2) หนา สัมผัสปกตปิ ด 1-2 จะเปดวงจรอนิ เตอรลอคคอยล K2 ไวอ ีกช้นั หนึง่ 3.2.4 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย หลังจากนั้นกด สวิตชป มุ กด (S1) แลวปลอย ภาพท่ี 7.46การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวติ ชปมุ กด(S2)แลว ปลอ ยหลังจากน้นั กดสวติ ชป มุ กด(S1)แลวปลอย ท่มี า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปุม กด (S1) ตดั วงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผา นคอยล K1 เลกิ ทาํ งาน เมื่อคอยล K1 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาท่ีไหลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค คอยล K2 ดานวงจร กําลัง เม่ือคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัด กระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอร ทาํ ใหมอเตอรหยดุ หมนุ 3.2.5 การทํางานของวงจรเม่อื กดสวติ ชป ุมกด (S3) แลวปลอ ย 161
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 7.47 การทํางานของวงจรเมือ่ กดสวิตชป มุ กด (S3) แลวปลอย ท่มี า : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคุม เมื่อกดปุม สวิตชป มุ กด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) ผานไปที่ หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปที่ไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และในขณะที่กดปุม สวิตชปุมกด (S3) หนาสมั ผสั ปกตปิ ด 1-2 จะเปดวงจรอนิ เตอรลอคคอยล K1 ไวอ กี ชั้นหนึ่ง ดานวงจรกาํ ลงั เมอื่ คอยล K2 ทาํ งานจะส่งั ใหหนาสัมผสั หลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปที่ โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดา นหนงึ่ 3.2.6 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย หลังจากน้ันกด สวติ ชปมุ กด (S1) แลว ปลอ ย ภาพท่ี 7.48 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชป มุ กด(S3)แลวปลอ ยหลังจากน้นั กดสวิตชป ุมกด(S1)แลว ปลอ ย ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S1) ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟา ไหลผานคอยล K2 เลิกทํางาน เม่ือคอยล K2 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค คอยล K1 ดานวงจร กําลงั เมือ่ คอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6เปดวงจรตัดกระแสไฟ เขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหมอเตอรหยดุ หมนุ 3.2.7 การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย กดสวติ ชป มุ กด (S3) 162
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 7.49 การทํางานของวงจรเมอื่ กดสวิตชปมุ กด(S2)แลว ปลอยกดสวติ ชปมุ กด(S3) ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปท่ีคอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ตดิ และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางาน พรอมกัน ดังน้ันเม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S3) คอยล K2 จึงไมทํางานคอยล K1 ก็ยังคงทํางานอยู เชนเดมิ 3.2.8 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S3) แลว ปลอ ย กดสวติ ชปุม กด (S2) ภาพที่ 7.50 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวิตชป ุม กด (S3) แลวปลอย กดสวิตชป ุม กด (S2) ทมี่ า : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดา นวงจรควบคมุ เมือ่ กดปุม สวติ ชปุมกด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปท่ีคอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เม่ือคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 163
ติด และสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางาน พรอมกนั ดังนัน้ เมอื่ กดสวติ ชปุม กด (S2) คอยล K1 จึงไมทํางานคอยล K2 กย็ งั คงทาํ งานอยูเชนเดมิ สรุปวงจรการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบการกลับทางหมุน หลังจากหยุดมอเตอร โดยการใชสวิตชปุมกด อินเตอรล็อคดวยหนาสัมผัสชวยปกติปดของสวิตช ปุมกดอีกตวั หนึง่ รวมกบั การใชหนาสมั ผัสชว ยปกตปิ ดของแมคเนตกิ คอนแทคเตอรอินเตอรล็อคซ่ึงกัน และกัน เม่ือตัวหนึ่งทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ที่ตออนุกรมอยูเปดวงจรอินเตอร ลอคคอยล ของอกี ตวั หนงึ่ ไวไมใ หท าํ งานพรอมกัน และในขณะที่กดสวิตชปุมกดหนาสัมผัสปกติปด 1- 2 จะเปด วงจรอินเตอรล อคคอยลไวอ กี ชน้ั หน่ึง 3.3 การกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร-เดลตา โดยการใชสวิตชปุมกด(push button) อินเตอรล็อค(interlock) ดวยหนาสัมผัสชวยปกติปด ของสวิตชปุมกดอีกตัวหนึ่ง รวมกับการใชหนาสัมผัสชวยปกติปดของแมคเนติกคอนแทคเตอร อนิ เตอรล็อคซึง่ กนั และกนั มหา ิวทย F3าF3F3ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง BK BK 12 12 BK F1 34 BK 95 F3 56 F3 98 96 F2 F2 F2 1 S1 2 135 135 135 135 3 3 23 23 K1 K1 K1 K2 K2 K2 K3 K3 K3 K4 K4 K4 S2 S3 4 13 K2 246 246 246 246 4 13 K1 K1 K2 24 1 14 1 14 24 S3 S2 1 1 13 K1T K4 22 K1T 4 3 14 W1 31 31 31 41 31 W2 K2 K1 K4 K4 K3 V1 V2 32 32 32 42 32 U2 A1 A1 2 A1 A1 U1 K1 K2 K1T K3 K4 ภาพท่ี 7.51 การกMotลor3บัPhaทse ศิ ทางการหมุนมอเตอรไฟฟากรAะ2 แGสreeสn1 ลบั A23 เฟสGreen2 7แบบสA2ตาร-เAด2 ลตา โดยการใชRed Yellow สวติ ชปุมกดอนิ เตอรลอ็ คดวยหนาสมั ผสั ชว ยปกติปดของสวติ ชปมุ กดอกี ตัวหนงึ่ รว มกบั การใชหนา สัมผสั ชว ยปกตปิ ด ของแมคเนตกิ คอนแทคเตอรอินเตอรล็อคซ่ึงกันและกัน ท่มี า : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) 3.3.1 การตรวจสอบความถกู ตอ งของวงจร ดา นวงจรกําลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟสของวงจรกําลังกลับทางหมุน ตงั้ มิเตอรย า น RX10 วัด L1 กบั ขา 2 Overload หรือ U1 กด K1 ชอต *นอกนัน้ ไมชอต L1 กบั ขา 6 Overload หรือ W1 กด K2 ชอต *นอกนน้ั ไมชอ ต วัด L2 กับขา 4 Overload หรือ V1 กด K1 ชอ ต *นอกนนั้ ไมช อต L2 กับขา 4 Overload หรอื V1 กด K2 ชอ ต *นอกนั้นไมช อต 164
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วัด L3 กับขา 6 Overload หรอื W1 กด K1 ชอ ต *นอกนนั้ ไมชอ ต L3 กบั ขา 2 Overload หรือ U1 กด K2 ชอ ต *นอกน้ันไมชอ ต หลงั จากนั้น วัด L1 กบั ขา U1 กด K1 ชอ ต L1 กับขา W2 กด K1พรอ มกับกด K3 ชอ ต *นอกนั้นไมช อ ต วดั L2 กับขา V1 กด K1 ชอ ต *นอกนนั้ ไมชอต L2 กบั ขา U2 กด K1พรอมกบั กด K3 ชอ ต *นอกนัน้ ไมชอ ต วัด L3 กบั ขา W1 กด K1 ชอ ต *นอกนน้ั ไมชอต L3 กับขา V2 กด K1พรอมกบั กด K3 ชอต *นอกน้นั ไมช อต วดั L1 กับขา W1 กด K2 ชอ ต *นอกนน้ั ไมช อ ต L1 กับขา V2 กด K2พรอมกบั กด K3 ชอ ต *นอกนน้ั ไมช อ ต วดั L2 กับขา V1 กด K2 ชอต *นอกน้ันไมช อ ต L2 กับขา U2 กด K2พรอ มกับกด K3 ชอ ต *นอกนน้ั ไมช อต วัด L3 กบั ขา U1 กด K2 ชอ ต *นอกน้ันไมชอต L3 กบั ขา W2 กด K2พรอ มกับกด K3 ชอต *นอกนัน้ ไมช อ ต หรือ วัดขา U1 กบั ขา W2 กด K3 ชอต วดั ขา V1 กบั ขา U2 กด K3 ชอต วัดขา V1 กบั ขา U2 กด K3 ชอต ดา นวงจรควบคุม นาํ มเิ ตอรว ัดท่ี L1 กับ N เขม็ ขน้ึ เล็กนอ ยเนอื่ งจากคา ค.ต.ท. ของ ไฟแดง จากน้ันกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K1 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมขึ้น กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K2 เข็มเพิ่มขึ้น หลังจากน้ัน กด K1 ปลอย สวติ ชป มุ กด (S2) เขม็ จะคา ง เน่อื งจากมหี นา สมั ผสั ชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจร แทน หลังจาก นน้ั กด สวติ ชป มุ กด (S1) ตดั วงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมขึ้น กด K2 เขม็ ตกมาตาํ แหนงเดิม ปลอ ย K2 เขม็ เพ่ิมขึ้น หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวดคอยล K2 หลังจากนั้นกด สวติ ชป ุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมข้ึน กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S3) เข็มเพ่ิมข้ึน กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมข้ึน หลังจากน้ัน กด K2 ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มจะคาง เนื่องจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจรแทน หลังจากน้นั กด สวิตชปุม กด (S1) ตดั วงจรเขม็ ตกมาตาํ แหนง เดิม ปลอ ย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมข้ึน กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมขึ้นกด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัด 165
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงวงจร เข็มตกมาที่ ∞ จากนน้ั ยา ยจุดวดั จาก N ไปท่คี อนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมข้ึนไปที่จุด 0 กดรเี ซต็ OL- F3 เข็มจะตกกลบั มาที่ ∞ หลังจากน้ันกด K1 ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K3 หลังจากน้ันกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมข้ึน กด K4 เข็มตกเล็กนอยแลวกลับข้ึนมาตําแหนงเดิม แลวกด K3 เข็มตก เล็กนอยปลอย K3 เข็มกลับข้ึนมาตําแหนงเดิม ปลอย K4 เข็มอยูตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มจะ กลับไปทต่ี าํ แหนงเดมิ หลังจากนั้นกด K2 ตอวงจรคางไว เข็มจะเพิ่มข้ึนเน่ืองจากเปนคา ค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K3 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมข้ึน กด K4 เข็มตกเล็กนอยแลวกลับข้ึนมาตําแหนงเดิม แลวกด K3 เข็มตก เล็กนอยปลอย K3 เข็มกลับข้ึนมาตําแหนงเดิม ปลอย K4 เข็มอยูตําแหนงเดิม ปลอย K2 เข็มจะ กลับไปที่ตําแหนงเดิม หลังจากน้ันกด Trip OL- F3 หนาสัมผัส 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็มตกมาท่ี ∞ จากนน้ั ยา ยจุดวัดจาก N ไปท่ีคอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพ่ิมขึ้นไปที่จุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลบั มาท่ี ∞ 3.3.2 การทํางานของวงจรเม่ือยกเบรกเกอร ภาพที่ 7.52การกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ3เฟส แบบสตาร- เดลตา โดยการใชสวติ ชปมุ กด อนิ เตอรล อ็ คดวยหนาสัมผัสชวยปกตปิ ด ของสวติ ชป ุมกดอีกตัวหน่งึ รว มกับการใชห นาสมั ผสั ชว ยปกติ ปดของแมคเนตกิ คอนแทคเตอรอ นิ เตอรล อ็ คซึง่ กนั และกนั การทาํ งานเมอื่ ยกเบรกเกอร ทีม่ า : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95- 96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปที่ไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหนึ่งจะไหล ผาน PB ขา 1-2ไปรอท่ี ขา 3 สวิตชปุมกด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) และคอนแทคชวย 23 ของ K1 และ K2 166
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนาสมั ผัสหลัก 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 3.3.3 การทํางานของวงจรเมือ่ กดสวิตชป ุมกด (S2)แลวปลอ ย ภาพที่ 7.53 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวติ ชปุมกด (S2)แลว ปลอ ย ท่ีมา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัส 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอ วงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ผานไปที่หนาสัมผัสชวย ปกติ 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 และไฟเขียว1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน ไฟเขียว 1 ติด เมื่อ คอยล K1 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ และส่ังใหหนาสัมผัส ชว ยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรล อ คคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และหนาสัมผัส ชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลผานหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K4 ไปท่ีคอยล Timer K1T ครบวงจร คอยล K1T จับเวลา และไหลผานคอนแทคเตอร 1-4 ของ K1T ไหลผาน หนาสัมผสั ชวยปกตปิ ด 41-42 ของ K4 ไปทคี่ อยล K3 ครบวงจร ดา นวงจรควบคมุ เมอื่ คอยล K3 ทาํ งานจะเปนการทํางานแบบสตาร และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K3 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K4 ไว ไมใหทํางานพรอมกัน และในขณะที่กดสวิตช ปมุ กด (S2) หนา สัมผัสชว ยปกติปด 1-2 จะเปด วงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวอีกช้ันหน่ึงไมใหทํางาน กลบั ทางหมนุ พรอมกัน ดา นวงจรกาํ ลงั เมื่อคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหห นา สมั ผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจรกระแสไฟฟา จะไหลผา นไปท่ี โอเวอรโ หลด (F3) ไปที่มอเตอรไฟฟา และเมื่อคอยล K3 ทํางานจะ สั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจรแบบสตาร ทําใหครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตาร ไปดานหนึ่ง 3.3.4 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย และ K1T จับ เวลาจนครบ 167
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพที่ 7.54 การทาํ งานของวงจรเมือ่ กดสวติ ชป มุ กด (S2)แลวปลอย และ K1T จับเวลาจนครบ ท่ีมา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อคอยล Timer K1T จับเวลาจนครบ หนาสัมผัสปกติปด 1-4 ของ K1T ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K3 เลิกทํางาน เม่ือคอยล K3 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวย 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค กระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสชวย ปกติปด 31-32 ไปที่คอยล K4 ครบวงจร คอยล K4 ทํางาน เมื่อคอยล K4 ทํางาน จะทําใหคอนแท คชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขาคอยล K1T และหนาสัมผัสชวยปกติปด 41-42 เปด วงจรอนิ เตอรลอ ค คอยล K3 ไวไ มใหทํางานพรอ มกัน ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K3 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจร เลิกตอวงจรแบบสตาร และเปล่ียนมาเปนคอยล K4 ทํางานจะทําใหหนาสัมผัส หลัก 1-2 3-4 และ 5-6 จะตอวงจรแบบเดลตา กระแสไฟจะไหลผานไปเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อกี ดานหนึง่ ครบวงจร ทําใหมอเตอรหมุนเปลยี่ นการทํางานเปน แบบเดลตา 3.3.5 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย และ K1T จับ เวลาจนครบหลงั จากน้ันกดสวิตชป ุมกด (S1) แลว ปลอย 168
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 7.55 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชป ุม กด (S2)แลว ปลอย และ K1T จับเวลาจนครบหลงั จากนัน้ กดสวิตชปมุ กด (S1) แลว ปลอ ย ทมี่ า : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปุมกด (S1) ตดั วงจร ไมม ีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K1 เลกิ ทํางาน เม่ือคอยล K1 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค คอยล K2 และหนาสัมผัส ชวยปกติเปด 23-24 ของ K1 เปดวงจรตัดกระแสไฟฟา ทไ่ี หลผานคอยล K4 เลกิ ทํางาน ดานวงจรควบคุม เม่ือคอยล K4 เลิกทํางานจะทําใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาคอยล K4 คอยล K4 เลิกทํางาน ทําใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลบั มาตอ วงจรเลกิ การอนิ เตอรลอค คอยล K3 ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K1 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอร และเม่ือคอยล K4 หยุดทํางาน จะทาํ ใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟที่เขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อกี ดานหน่ึงทาํ ใหม อเตอรห ยดุ หมนุ 3.3.6 การทํางานของวงจรเมือ่ กดสวติ ชป มุ กด (S3) แลวปลอย ภาพท่ี 7.56 การทํางานของวงจรเมอ่ื กดสวิตชปมุ กด (S3) แลวปลอ ย 169
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงที่มา : (ภาพโดยผูเ ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมอื่ กดปุม สวติ ชป ุมกด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) ผานไปที่ หนาสมั ผสั ชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 และไฟเขยี ว2 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน ไฟ เขยี ว 2 ตดิ เมือ่ คอยล K2 ทาํ งานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ และส่ัง ใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และหนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลผานหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K4 ไปที่คอยล Timer K1T ครบวงจร คอยล K1T จับเวลา และไหลผานคอนแทคเตอร 1-4 ของ K1T ไหลผานหนาสัมผัสชวยปกติปด 41-42 ของ K4 ไปที่คอยล K3 ครบวงจร เม่ือคอยล K3 ทํางานจะ เปนการทํางานแบบสตาร และสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K3 เปดวงจรอินเตอรลอค คอยล K4 ไว ไมใ หทาํ งานพรอ มกัน และในขณะที่กดสวติ ชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 จะเปด วงจรอินเตอรล อ คคอยล K2 ไวอ ีกชั้นหน่ึงไมใ หทาํ งานกลับทางหมนุ พรอ มกนั ดานวงจรกาํ ลงั เม่ือคอยล K2 ทาํ งานจะส่งั ใหหนา สัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจรกระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟา และเม่ือคอยล K3 ทํางานจะ ส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอวงจรแบบสตาร ทําใหครบวงจร มอเตอรหมุนแบบสตาร กลับทางหมนุ ไปดา นหน่งึ 3.3.7 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย และ K1T จับ เวลาจนครบ ภาพที่ 7.57 การทํางานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชปมุ กด (S3) แลว ปลอ ย และ K1T จับเวลาจนครบ ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อคอยล Timer K1T จับเวลาจนครบ หนาสัมผัสปกติปด 1-4 ของ K1T ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานคอยล K3 เลิกทํางาน เมื่อคอยล K3 เลิกทํางานจะทํา 170
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงใหหนาสัมผัสชวย 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค กระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสชวย ปกติปด 31-32 ไปที่คอยล K4 ครบวงจร คอยล K4 ทํางาน เมื่อคอยล K4 ทํางาน จะทําใหคอนแท คชวยปกติปด 31-32 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขาคอยล K1T และหนาสัมผัสชวยปกติปด 41-42 เปด วงจรอนิ เตอรลอ ค คอยล K3 ไวไมใ หท าํ งานพรอ มกนั ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K3 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจร เลิกตอวงจรแบบสตาร และเปล่ียนมาเปนคอยล K4 ทํางานจะทําใหหนาสัมผัส หลัก 1-2 3-4 และ 5-6 จะตอวงจรแบบเดลตา กระแสไฟจะไหลผานไปเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีกดานหนงึ่ ครบวงจร ทาํ ใหมอเตอรห มุนเปลีย่ นการทํางานเปน แบบเดลตา 3.3.8 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย และ K1T จับ เวลาจนครบ หลังจากนัน้ กดสวิตชปุม กด (S1) แลว ปลอย ภาพท่ี 7.58 การทาํ งานของวงจรเมื่อกดสวติ ชป มุ กด (S3) แลว ปลอ ย และ K1T จับเวลาจนครบ ท่ีมา : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S1) ตัดวงจร ไมม กี ระแสไฟฟาไหลผานคอยล K2 เลิกทํางาน เมือ่ คอยล K2 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ ตัดกระแสไฟฟาท่ีไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค คอยล K1 และหนาสัมผัส ชวยปกติเปด 23-24 ของ K2 เปด วงจรตัดกระแสไฟฟา ทีไ่ หลผานคอยล K4 เลกิ ทํางาน ดานวงจรควบคุม เมื่อคอยล K4 เลิกทํางานจะทําใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ และตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาคอยล K4 คอยล K4 เลิกทํางาน ทําใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอ วงจรเลกิ การอินเตอรลอ ค คอยล K3 ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอร และเม่ือคอยล K4 หยุดทํางาน 171
จะทาํ ใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัดกระแสไฟท่ีเขามอเตอรทางดาน U2 V2 และ W2 อีกดานหนง่ึ ทาํ ใหมอเตอรห ยุดหมนุ สรุปการทํางาน วงจรน้ีเปนวงจร วงจรการกลับทางหมุนสตาร-เดลตา โดยการใชสวิตช สวิตชปุมกด (S2) และ สวติ ชปุมกด (S3) เปนตัว Start ไปควบคมุ คอยล K1 หรือ K2 ในการกลับเฟส กระแสไฟเขาโอเวอรโหลด (F3) ไปเขามอเตอรทางดาน U1 V1 และ W1 เพื่อกลับทางหมุนมอเตอร มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงและมีคอยล K3 เปนตัวควบคุมการตอวงจรมอเตอรหมุนแบบสตาร และใช Timer K1T เปนตัว เปล่ียนการทํางานจาก Star เปน Delta เมื่อ K1T จับเวลาจนครบ จะตัดวงจรไฟเขาคอยล K3 เลกิ ทํางาน ทําใหหนาสัมผัสหลักตัดวงจรกําลังแบบสตาร และเลิกอินเตอรลอค คอยล K3 กลับมาตอ วงจรทําใหค อยล K4 ทาํ งาน ตอวงจรกาํ ลงั แบบเดลตาตอไป 4. การกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส แบบการกลับทางหมุน มอเตอรโดยตรงหรอื ทนั ที (direct reversing or plugging) BK BK 12 12 BK 4 F1 3 BK 6 F3 95 F3 5 F2 F2 F2 S1 96 1 2 98 1 3 5 1 3 5 3 13 23 3 13 23 K1 K1 K1 K2 K2 K2 K2 K2 S2 K1 K1 S3 2 4 6 2 4 6 S3 4 14 24 4 14 24 1 1 S2 2 2 31 1 3 5 31 K1 F3 F3 F3 K2 32 2 4 6 A1 32 K2 A2 A1 K1 Green1 Green2 Red Yellow A2 ภาพที่ 7.59 กาMรoกtoลr3ับPทhaศิseทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลบั 3เฟสแบบการกลบั ทางหมนุ มอเตอรโ ดยตรงหรือทนั ที ทม่ี า : (ภาพโดยผูเ ขียน, 2564, มกราคม 16) 4.1 การตรวจสอบความถูกตอ งของวงจร ดานวงจรกําลัง ตรวจสอบการตรงเฟสและการขามเฟส เชนเดียวกันกับแบบชั่วขณะ และแบบการกลบั ทางหมนุ หลงั จากหยุดมอเตอร ดา นวงจรควบคมุ นาํ มเิ ตอรวัดที่ L1 กับ N เข็มข้ึนเล็กนอยเนื่องจากคา ค.ต.ท. ของไฟ แดง จากน้ันกด สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรคางไว เข็มจะเพ่ิมข้ึนเนื่องจากเปนคา ค.ต.ท. ของขดลวด คอยล K1 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพม่ิ ขึ้น กด สวติ ชปุม กด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตาํ แหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K2 เข็มเพ่ิมขึ้น หลังจากนั้น กด K1 ปลอย สวิตชปุมกด (S2) เข็มจะคาง เนื่องจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจรแทน หลังจากนั้นกด สวิตช ปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพิ่มขึ้น กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S3) เข็มเพิ่มขึ้น กด K2 เข็มตกมาตําแหนง เดิม ปลอ ย K2 เขม็ เพิ่มขึน้ หลงั จากนั้นกด สวติ ชป มุ กด (S3) ตอวงจรคางไว เขม็ จะเพิ่มขน้ึ เน่อื งจากเปนคาค.ต.ท. ของ ขดลวดคอยล K2 หลังจากนั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตช ปุมกด (S1) เข็มเพิ่มข้ึน กด สวิตชปุมกด (S3) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด 172
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง(S3) เข็มเพ่ิมขึ้น กด K1 เข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมขึ้น หลังจากนั้น กด K2 ปลอย สวติ ชปมุ กด (S3) เขม็ จะคาง เน่ืองจากมีหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอขนานวงจรแทน หลังจาก นั้นกด สวิตชปุมกด (S1) ตัดวงจรเข็มตกมาตําแหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S1) เข็มเพ่ิมขึ้น กด สวิตชปมุ กด (S2) ตัดวงจรเข็มตกมาตาํ แหนงเดิม ปลอย สวิตชปุมกด (S2) เข็มเพ่ิมขึ้น กด K1 เข็มตก มาตําแหนงเดิม ปลอย K1 เข็มเพ่ิมขึ้นกด Trip OL- F3 คอนแทคเตอร 95-96 OL-F3 ตัดวงจร เข็ม ตกมาที่ ∞ จากน้ันยายจุดวัดจาก N ไปที่คอนแทตเตอร 98 OL-F3 เข็มจะเพิ่มขึ้นไปที่จุด 0 กดรีเซ็ต OL- F3 เขม็ จะตกกลบั มาที่ ∞ 4.2 การทาํ งานของวงจรเม่ือยกเบรกเกอร ภาพที่ 7.60 การกลบั ทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ3เฟสแบบการกลบั ทางหมนุ มอเตอรโ ดยตรงหรือทนั ที การทาํ งานของวงจรเม่อื ยกเบรกเกอร ที่มา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม กระแสไฟฟาจาก L1 ไหลผานฟวสควบคุม F1 ไหลผานขา 95-96 ของโอเวอรโหลด F3 สวนหน่ึงไหลผานไปท่ีไฟแดงครบวงจรไฟแดงติด และอีกสวนหน่ึงจะไหลผาน PB ขา 1-2ไปรอท่ี ขา 3 สวิตชปุมกด (S2) และ สวิตชปุมกด (S3) และคอนแทคชวย 13 23 ของ K1 และ K2 ดานวงจรกําลัง กระแสไฟฟาจาก L1 L2 L3 จะไหลผานฟวสกําลัง F2 มารออยูที่ หนาสัมผสั หลกั 1 3 5 ของคอยล K1 และ K2 4.3 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวติ ชป ุมกด (S2) แลวปลอ ย ภาพท่ี 7.61 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวิตชป มุ กด(S2)แลว ปลอย ที่มา : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) 173
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) ผานไปที่ หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปท่ีคอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปที่ไฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และในขณะที่กดสวิตชปุมกด (S2) หนา สมั ผัสปกติปด 1-2 จะเปด วงจรอนิ เตอรล อคคอยล K2 ไวอกี ชั้นหน่งึ ดานวงจรกําลัง เม่ือคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปที่มอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดา นหน่ึง 4.4 การทํางานของวงจรเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2)แลวปลอย หลังจากนั้นกดสวิตช ปุม กด (S1) แลว ปลอย ภาพที่ 7.62 การทาํ งานของวงจรเม่อื กดสวิตชป ุมกด(S2)แลว ปลอยหลังจากนนั้ กดสวติ ชป มุ กด(S1)แลวปลอย ท่ีมา : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปุมกด (S1) ตัดวงจร ไมมีกระแสไฟฟา ไหลผานคอยล K1 เลกิ ทาํ งาน เมอื่ คอยล K1 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสมั ผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอนิ เตอรลอ ค คอยล K2 ดา นวงจรกาํ ลัง เมือ่ คอยล K1 หยุดการทาํ งานจะทําใหห นา สัมผสั หลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปดวงจรตัด กระแสไฟเขา โอเวอรโหลด (F3) และมอเตอรท ําใหม อเตอรห ยดุ หมนุ 4.5 การทาํ งานของวงจรเมื่อกดสวิตชป ุมกด (S3) แลวปลอ ย 174
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพท่ี 7.63 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชป ุมกด(S3)แลว ปลอ ย ทีม่ า : (ภาพโดยผูเขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดปุม สวิตชปุมกด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) ผานไปท่ี หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจรคางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด และสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางานพรอมกัน และในขณะท่ีกดปุม สวิตชปุมกด (S3) หนาสัมผสั ปกตปิ ด 1-2 จะเปด วงจรอินเตอรล อ คคอยล K1 ไวอ ีกช้ันหนง่ึ ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 ทํางานจะส่ังใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 ตอ วงจร กระแสไฟฟาจะไหลผานไปท่ี โอเวอรโหลด (F3) ไปท่ีมอเตอรไฟฟาครบวงจร มอเตอรหมุนไป ดานหนึง่ 4.6 การทํางานของวงจรเม่ือกดสวิตชปุมกด (S3) แลวปลอย หลังจากน้ันกดสวิตช ปมุ กด (S1) แลวปลอย ภาพที่ 7.64 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชปุมกด(S3)แลว ปลอ ยหลังจากนั้นกดสวติ ชป ุมกด(S1)แลว ปลอย ท่ีมา : (ภาพโดยผเู ขียน, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S1) หนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของ สวิตช ปมุ กด (S1) ตัดวงจร ไมม ีกระแสไฟฟา ไหลผานคอยล K2 เลิกทํางาน เมื่อคอยล K2 เลิกทํางานจะทํา ใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดบั ลง และหนาสมั ผสั ชวยปกตปิ ด 31-32 กลบั มาตอวงจรเลกิ การอนิ เตอรล อ ค คอยล K1 ดานวงจรกําลัง เมื่อคอยล K2 หยุดการทํางานจะทําใหหนาสัมผัสหลัก 1-2 3-4 และ 5-6 เปด วงจรตดั กระแสไฟเขา โอเวอรโ หลด (F3) และมอเตอร ทําใหม อเตอรห ยุดหมุน 4.7 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชปุมกด (S2)แลว ปลอ ย กดสวติ ชปมุ กด (S3) 175
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 7.65 การทาํ งานของวงจรเม่ือกดสวติ ชป มุ กด(S2)แลว ปลอ ยกดสวติ ชปุม กด(S3) ทมี่ า : (ภาพโดยผูเขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เม่ือกดสวิตชปุมกด (S2) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอ วงจรกระแสไฟฟาไหลผา น หนา สัมผสั ชว ยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปทค่ี อยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เมื่อคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขยี ว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และส่ังให คอนแทคชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปด วงจรอนิ เตอรลอ คคอยล K2 ไวไ มใ หท าํ งานพรอ มกนั แตเม่ือกดปุม สวิตชปุมกด (S3) คอนแทคชวยปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S3) จะเปดวงจรตัดไฟ เขา คอยล K1 จงึ ทาํ ใหค อยล K1 หยุดทาํ งาน จะทาํ ใหหนา สัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคางสภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาท่ีไหลเขาหลอดไฟเขียว 1 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมา ตอ วงจรเลกิ การอนิ เตอรล อค คอยล K2 และหนา สมั ผัสปกตเิ ปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S3) ตอวงจร กระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทาํ งาน เมือ่ คอยล K2 ทาํ งานจะส่ังใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัส ชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปที่ไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด และส่ังใหคอนแท คชวยปกตปิ ด 31-32 ของ K2 เปด วงจรอินเตอรลอ คคอยล K1 ไวไ มใหทํางานพรอมกัน ดังน้ันจะเห็น ไดว าเมื่อกดสวติ ชปมุ กด (S3) จะทําใหคอยล K2ทาํ งานกลับทางหมนุ มอเตอรโ ดยทนั ที 4.8 การทาํ งานของวงจรเมอื่ กดสวติ ชป มุ กด (S3) แลว ปลอ ย กดสวิตชป ุมกด (S2) ภาพที่ 7.66 การทาํ งานของวงจรเมอ่ื กดสวติ ชป มุ กด(S3)แลวปลอ ยกดสวติ ชปมุ กด(S2) ท่ีมา : (ภาพโดยผเู ขยี น, 2564, มกราคม 16) ดานวงจรควบคุม เมื่อกดปุม สวิตชปุมกด (S3) หนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตช ปุมกด (S3) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K1 ไปที่คอยล K2 ครบวงจร คอยล K2 ทํางาน เมื่อคอยล K2 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนาสัมผัสชวยปกติเปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปท่ีไฟเขียว 2 ครบวงจร ไฟเขียว 2 ติด และส่ังใหคอนแทคชวยปกติปด 31-32 ของ K2 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K1 ไวไมใหทํางาน 176
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงพรอมกัน แตเมื่อกดสวิตชปุมกด (S2) คอนแทคชวยปกติปด 1-2 ของ สวิตชปุมกด (S2) จะเปดวงจร ตัดไฟเขา คอยล K2 จึงทําใหคอยล K2 หยุดทํางาน จะทําใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 เลิกคาง สภาวะ 23-24 ตัดกระแสไฟฟาที่ไหลเขาหลอดไฟเขียว 2 ดับลง และหนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 กลับมาตอวงจรเลิกการอินเตอรลอค คอยล K1 และหนาสัมผัสปกติเปด 3-4 ของ สวิตชปุมกด (S2) ตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผาน หนาสัมผัสชวยปกติปด 31-32 ของ K2 ไปที่คอยล K1 ครบวงจร คอยล K1 ทํางาน เมื่อคอยล K1 ทํางานจะสั่งใหหนาสัมผัสชวยปกติเปด 13-14 ตอวงจร คางสภาวะ หนา สัมผัสชว ยปกตเิ ปด 23-24 ตอวงจรกระแสไหลไปทไี่ ฟเขียว 1 ครบวงจร ไฟเขียว 1 ติด และสั่งให คอนแทคชวยปกติปด 31-32 ของ K1 เปดวงจรอินเตอรลอคคอยล K2 ไวไมใหทํางานพรอมกัน ดังนัน้ จะเหน็ ไดวาเมอ่ื กดสวติ ชปมุ กด (S2) จะทาํ ใหคอยล K1ทาํ งานกลับทางหมนุ มอเตอรโ ดยทันที สรุปการทํางาน วงจรนี้เปนวงจร การกลับทางหมุนแบบ Plugging หรือ Direct Reverse มอเตอร 3 Phase กลับทางหมุนโดยตรง มอเตอร 3 เฟส โดยการใช Push Button โดยการใชคอน แทคเตอรปกติปด1-2 ของ Push Button ตัวหน่ึงไปตออนุกรมกับคอนแทคเตอรปกติเปด 3-4 ของ Push Button อีกตัวหน่ึง และตออนุกรมไวดานหนึ่งของคอยลที่ตองการอินเตอรลอค ดังน้ันเม่ือกด ปุม Push Button ใหคอยลตัวใดตัวหน่ึงทํางานอยู แลวกดปุม Push Button อีกตัวหนึ่งใหกลับทาง หมุนจะทําใหมอเตอรหยุดทํางาน เน่ืองจากหนาสัมผัสปกติปด 1-2 ของปุม Push Button ท่ีตอ อนุกรมอยูจะตัดวงจรไฟเขาคอยลเลิกอินเตอรลอคซึ่งกันและกัน และหนาสัมผัส 3-4 ของ Push Button จะตอวงจรกระแสไฟฟาไหลผานไปท่ีคอยลของอีกตัวหน่ึงทํางานกลับทางหมุนมอเตอรโดย ทันที บทสรปุ ลักษณะการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ ท่ีนิยมกันโดยทั่ว ๆ ตาม ลกั ษณะการใชงานมีอยูดวยกัน 3 แบบ คือ การกลับทางหมุนแบบกลับทิศทางหมุนชั่วขณะ การกลับ ทางหมนุ หลงั จากหยดุ มอเตอร และการกลับทางหมนุ มอเตอรโ ดยตรงหรือทันที หลักการกลับทิศทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส ทําไดโดยการกําหนดทิศ ทางการไหลของกระแสในขดลวดสตารทและขดลวดรัน ดงั น้ี มอเตอรหมุนตามเขม็ นาฬิกา ตอวงจรให ทิศทางการไหลของกระแสในขดลวดสตารทและขดลวดรันมีทิศทางเดียวกัน และมอเตอรหมุนทวน เข็มนาฬิกา ตอวงจรใหทิศทางการไหลของกระแสในขดลวดสตารทและขดลวดรันมีทิศทางสวนทาง กัน หลักการกลับทิศทางการหมุนมอเตอร 3 เฟส ของมอเตอรไฟฟากระแสสลับแบบเหนี่ยวนํา สามารถบังคับใหหมุนเดินหนาหรือกลับทางหมุนดวยการกําหนดทิศทางการเคล่ือนท่ีของ สนามแมเหล็กหมุน โดยการสลับสายจายไฟเขามอเตอรเพียงคูใดคูหน่ึงสวนปลายท่ีเหลือไวคงเดิม มอเตอรจ ะกลบั ทางหมนุ ทันที แบบฝกหัดทายบทเรยี น 177
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง1. อธบิ ายลกั ษณะการกลบั ทิศทางการหมุนมอเตอรไ ฟฟากระแสสลับ 2. อธบิ ายการตอวงจรการกลับทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส 3. บอกวธิ ีการตอวงจรการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส 4. อธบิ ายการตอ วงจรการกลับทิศทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟสได 5. บอกวิธีการการตอวงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส 6. บอกวิธกี ารตอ วงจรการกลับทศิ ทางการหมนุ มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 3 เฟส แบบลด กระแส ขณะเริ่มเดนิ แบบสตารเ ดลตาได เอกสารอา งอิง ธนเจต สครรมั ย. (2552). มอเตอรไฟฟาและการควบคมุ . กรงุ เทพมหานคร : ศูนยส งเสรมิ อาชวี ะ. สานนั ท คงแกว . (2556). การควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟา . ออนไลน คน เม่ือ มกราคม 16, 2556, จาก http://www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.html. สนุ ทร ดอนชยั . (2562). การควบคุมมอเตอรไฟฟา . กรงุ เทพมหานคร : ศูนยสงเสรมิ อาชวี ะ. 178
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บรรณนานุกรม กจิ จา แกนศิริ. (2550). การควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟา. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พเ อมพันธจาํ กัด. ชลติ พานทอง. ความหมายและจดุ มุงหมายของการควบคุมมอเตอร. บทเรียนออนไลน คนเม่อื มกราคม 28, 2564, จาก https://elearnkrutung.blogspot.com/2017/02/blog- post_20.html __________. ประเภทของการควบคุมมอเตอร. บทเรียนออนไลน คนเมื่อ มกราคม 28, 2564, จาก https://elearnkrutung.blogspot.com/2017/02/blog-post_87.html ไชยชาญ หินเกิด. (2560). มอเตอรไ ฟฟา และการควบคุม. กรุงเทพมหานคร : สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี ุน). ธนเจต สครรัมย. (2552). มอเตอรไ ฟฟาและการควบคมุ . กรุงเทพมหานคร : ศูนยส งเสรมิ อาชวี ะ. ธนภทั ร ไพคํานาม. (2557). การควบคุมมอเตอรไฟฟา. กรงุ เทพมหานคร : แม็คเอด็ ดูเคชนั่ . ธวัชชยั อัตถวิบูลยก ลุ ประสิทธ นางทนิ และอุทัย มัน่ วงศ. (2556). การควบคุมมอเตอรไฟฟา. กรงุ เทพมหานคร : ศูนยสงเสริมอาชวี ะ. ธนาทรพั ย สวุ รรณลักษณ. (2564). มอเตอรไ ฟฟาและการควบคมุ . บทเรยี นออนไลน คนเมอ่ื มกราคม 28, 2564, จาก http://itech.npu.ac.th/plan_,tqf/fileplan /150320171506_09.pdf นพ มหษิ านนท. (2564). ระบบและวงจรควบคุมมอเตอรไฟฟา . นนทบุรี : คอรฟง กช น่ั . บรษิ ทั แฟคโตมารท. (2564ก). คูมอื เซอรกติ เบรกเกอร. ออนไลน คนเมื่อ มกราคม 25, 2564, จาก https://mcusercontent.com/969d54d965d5d231d4c22bfec/files/ e8342e38-df5d-4b04-83d3-9e64804e2acc/Motor_Protection_Circuit _Breaker_Manual_02.01.pdf . (2564ข). คมู อื สวิตชปุมกด. ออนไลน คน เม่ือ มกราคม 25, 2564, จาก https://mcusercontent.com/969d54d965d5d231d4c22bfec/files/ 6d6dd3fa-f105-4c64-a3e2-809d8b344abc/Push_Button_Manual.pdf . (2564ค). คมู อื แมกเนตกิ คอนแทคเตอร. ออนไลน คน เม่ือ มกราคม 25, 2564, จาก https://mcusercontent.com/969d54d965d5d231d4c22bfec/files/ de7fd89f-e9ab-4913-86a2-aa59af52be8c/Magnetic_Contactor_Manual_02.pdf . (2564ง). คมู ือสวติ ชค วบคุมความดนั . ออนไลน คนเม่ือ มกราคม 25, 2564, จาก https://mcusercontent.com/969d54d965d5d231d4c22bfec/files/ 71fd5b04 -482e-43ab-932a-7a615306bcfb/Pressure_Swtich_Manual.pdf . (2564จ). คมู อื ไฟแสดงสถานะ. ออนไลน คนเมื่อ มกราคม 25, 2564, จาก https://mcusercontent.com/969d54d965d5d231d4c22bfec/files/ 24b6b01a-36b1-475d-a465-e4bb2ee9b142/Pilot_Lamp_Manual.pdf บุญเลิศ โพธิขํา. (2564). มอเตอรไ ฟฟา และการควบคมุ . ออนไลน คนเม่ือ มกราคม 28, 2564, จาก http://itech.npu.ac.th/plan_,tqf/fileplan 187
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง /150320171506_09.pdf มนตรี กันทาสวุ รรณ. (2564). การควบคมุ มอเตอรไ ฟฟา . ออนไลน คน เม่ือ มกราคม 28, 2564, จาก https://ivenr2.ac.th/wp-content/uploads/2020/08/ เผยแพร -อ.มนตรี กันทาสวุ รรณ.pdf ลอื ชยั ทองนิล. (2542). การออกแบบและตดิ ตัง้ ระบบไฟฟาตามมาตรฐานของการไฟฟา. กรงุ เทพฯ : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน). ไวพจน ศรธี ัญ. (2548). การควบคมุ เครอื่ งกลไฟฟา. กรงุ เทพมหานคร : วงั อักษร. สานันท คงแกว. (2556). การควบคุมเครื่องกลไฟฟา. ออนไลน คน เมื่อ มกราคม 16, 2556, จาก http://www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.html. สุนทร ดอนชยั . (2562). การควบคุมมอเตอรไฟฟา. กรงุ เทพมหานคร : ศนู ยสงเสริมอาชีวะ. อภิรักษ สุขเกษม. (2562). มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอด็ ยูเคช่นั . อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธ. (ม.ป.ป.). การควบคุมมอเตอร. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนือ. Frank D. Petruzella. (2010). Electric motors and control systems. New York, McGraw-Hill Companies, Inc. 188
ภาคผนวกมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ
190 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ
ภาคผนวก กมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ ใบงานปฏิบตั ิบทท่ี 2-7
ใบงานบทที่ 2-1 การทดสอบการทํางานของสวติ ชควบคมุ แบบตา ง ๆ วัตถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม หลกั จากจบการเรยี นการสอนบทนีแ้ ลว ผูเรยี นควรมีความสามารถดงั ตอ ไปนี้ 1. ตอ วงจรทดสอบการทาํ งานของสวติ ชควบคุมแบบตา ง ๆ ได 2. อธิบายการทํางานของวงจรได 3. เลอื กใชอปุ กรณก ารควบคุมไดอยา งถูกตอง วงจรการทดลอง BK 12 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง F1 Pus h 3 Pus h Toggle Selector 4 3 1 31 42 44 Toggle 2 Red1 Yellow 1 Red2 Yellow 2 Green2 A1 K1 A2 ภาพที่ ก. 2-1 การทดสอบการทาํ งานของสวติ ชค วบคมุ แบบตา ง ๆ เครือ่ งมือและอปุ กรณท ีใ่ ชใ นการทดลอง 1. .................................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................................. 3. .................................................................................................................................................. 4. ..................................................................................................................................................
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง5. .................................................................................................................................................. 6. ................................................................................................................................................. 7. .................................................................................................................................................. ลาํ ดับข้ันการทดลอง 1. ตอ วงจรตามรปู ที่กําหนดให 2. ตรวจสอบความถูกตองของวงจรดวยมัลตมิ เิ ตอร 3. ยกเบรกเกอรจา ยกระแสไฟฟา /220 โวลตใ หก ับวงจร อธบิ ายและสงั เกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. กดสวิตชปุมกด (push button แลว ปลอย อธิบายและสงั เกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. กดสวติ ชปมุ กด (toggle switch) แลวปลอย กดซํา้ อีกคร้งั แลว ปลอย อธิบายและสังเกตการ ทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. บิดสวติ ชเ ลือก (selector switch) จากตาํ แหนง ตรงกลาง ไปทางดา นซาย แลวบิดกลบั หลงั จากน้นั บดิ ไปทางดานขวาแลว บิดกลับ อธบิ ายและสงั เกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. สรปุ ผลการทดลอง 194
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ใบงานบทท่ี 2-2 การทดสอบการทํางานของแมคเนตกิ คอนแทคเตอร (magnetic contactor) วตั ถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม หลักจากจบการเรียนการสอนบทน้แี ลว ผเู รยี นควรมีความสามารถดังตอ ไปนี้ 1. ตอ วงจรทดสอบการทาํ งานของแมคเนติกคอนแทคเตอร ได 2. อธิบายการทาํ งานของวงจรได 3. เลอื กใชอ ปุ กรณการควบคมุ ไดอยางถกู ตอง วงจรการทดลอง BK 12 F1 Sele ctor1 3 4 195
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพท่ี ก. 2-2 การทดสอบการทาํ งานของแมคเนติกคอนแทคเตอร เคร่อื งมือและอปุ กรณท ่ใี ชในการทดลอง 1. .................................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................................. 3. .................................................................................................................................................. 4. .................................................................................................................................................. 5. .................................................................................................................................................. 6. ................................................................................................................................................. 7. .................................................................................................................................................. ลาํ ดบั ขน้ั การทดลอง 1. ตอวงจรตามรูปท่ีกาํ หนดให 2. ยกเบรกเกอรจา ยกระแสไฟฟา 220 โวลตใ หกบั วงจร อธิบายและสังเกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บดิ สวิตชเ ลอื ก (selector1) จากตาํ แหนงตรงกลางไปทางดา นขวา แลว บดิ กลับ อธบิ าย และสังเกตการทาํ งานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 196
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บิดสวติ ชเ ลอื ก (selector1) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดานขวา หลงั จากนั้นบดิ สวติ ชเลือก (selector2) จากตาํ แหนงตรงกลางไปทางดา นขวา แลวบดิ กลับ อธบิ ายและสังเกตการทํางาน ของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สรปุ ผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 197
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงใบงานบทที่ 2-3 การทดสอบการทาํ งานของอเิ ล็กทรอนิกสไ ทมเ มอร วัตถุประสงคเ ชิงพฤติกรรม หลักจากจบการเรยี นการสอนบทนแี้ ลว ผูเรียนควรมคี วามสามารถดังตอ ไปน้ี 1. ตอวงจรทดสอบการทาํ งานของ Timer On Delay และ Timer Off Delay ได 2. อธิบายการทาํ งานของวงจรได 3. เลอื กใชอุปกรณก ารควบคุมไดอยางถกู ตอง วงจรการทดลอง BK 12 F1 Se le cto r 1 3 4 Selector2 3 Ond el ay 1 Ond el ay 1 Offd el ay 1 1 44 3 4 3 Offd el ay 4 2 2 Ond el ay Offd el ay 7 7 L1-Ondelay L2-Ondelay L3-Offdelay L4-Offdelay ภาพที่ ก. 2-3 การทดสอบการทาํ งานของอเิ ล็กทรอนกิ สไทมเมอร 198
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงเครอ่ื งมือและอุปกรณท ใี่ ชในการทดลอง 1. .................................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................................. 3. .................................................................................................................................................. 4. .................................................................................................................................................. 5. .................................................................................................................................................. 6. ................................................................................................................................................. 7. .................................................................................................................................................. 8. .................................................................................................................................................. 9. ................................................................................................................................................. 10. .................................................................................................................................................. ลาํ ดบั ขน้ั การทดลอง 1. ตอวงจรตามรูปท่ีกําหนดให 2. อธิบายขนั้ ตอนการตรวจสอบความถกู ตองของวงจรดว ยมลั ติมเิ ตอร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ยกเบรกเกอรจา ยกระแสไฟฟา 220 โวลตใ หก บั วงจร อธบิ ายและสังเกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บิดสวิตชเ ลอื ก (selector1) จากตําแหนง ตรงกลางไปทางดานขวาคางไวแลว บดิ กลับ อธิบาย และสงั เกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ต้ังเวลาท่ี Timer On-delay บดิ สวิตชเ ลอื ก (selector1) จากตาํ แหนง ตรงกลางไปทางดาน ขวา หลงั จากน้นั บิดสวิตชเ ลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดา นซายคา งไวให มากกวาเวลาท่ไี ดต ้งั ไวแ ลวบดิ กลบั อธบิ ายและสงั เกตการทํางานของวงจร 199
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. หลังจากน้ันต้ังเวลาท่ี Timer Off-delay บิดสวิตชเลือก (selector1) จากตําแหนงตรงกลาง ไปทางดานขวา หลงั จากน้ันบิดสวิตชเลือก (selector2) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดานขวา คา งไวใหมากกวาเวลาทีไ่ ดต้งั ไวแลว บิดกลับ อธบิ ายและสังเกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ใบงานบทที่ 5-1 การเร่ิมเดินมอเตอรกระแสสลับ 1 เฟส โดยการใชส วิตชเลอื ก วตั ถปุ ระสงคเ ชงิ พฤติกรรม หลกั จากจบการเรียนการสอนบทน้ีแลว ผูเรยี นควรมีความสามารถดังตอ ไปน้ี 1. ตอวงจร การควบคุมมอเตอร 1 เฟสดว ยวิธสี ตารทตรงโดยการใช สวิตชเลอื ก ได 2. อธบิ ายการทํางานของวงจรได 200
3. เลอื กใชอปุ กรณก ารควบคมุ ไดอยางถูกตอง วงจรการทดลอง BK BK 12 12 BKมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง F1 34 95 F3 F3 98 F2 96 13 Se le ctor 3 KK 4 24 13 13 K 14 F3 F3 A1 24 K A2 Gr een Red Yel l o w ภาพท่ีMกo.to5r-11Pการเริม่ เดินมอเตอรกระแสสลบั 1 เฟส โดยการใชส วิตชเ ลือก เครอื่ งมอื และอปุ กรณท่ใี ชในการทดลอง 1. .................................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................................. 3. .................................................................................................................................................. 4. .................................................................................................................................................. 5. .................................................................................................................................................. 6. ................................................................................................................................................. 7. .................................................................................................................................................. ลําดบั ขน้ั การทดลอง 1. ตอ วงจรตามรูปท่ีกาํ หนดให 2. อธบิ ายขน้ั ตอนการตรวจสอบความถกู ตองของวงจรดวยมัลตมิ เิ ตอร 201
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ยกเบรกเกอรจ ายกระแสไฟฟา 220 โวลตใ หก ับวงจร อธบิ ายและสงั เกตการทํางานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บิดสวติ ชเ ลือก (selector) จากตําแหนงตรงกลางไปทางดานขวา แลว บดิ กลับ อธิบายและ สังเกตการทาํ งานของวงจร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สรปุ ผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 202
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ใบงานบทท่ี 5-2 การเรม่ิ เดนิ มอเตอรกระแสสลบั 1 เฟส โดยการใชส วิตชปุมกด วัตถุประสงคเชงิ พฤติกรรม หลักจากจบการเรยี นการสอนบทนแี้ ลว ผเู รียนควรมคี วามสามารถดงั ตอไปน้ี 1. ตอวงจรการควบคมุ มอเตอร 1 เฟสดว ยวิธีสตารท ตรงโดยการใช สวิตชป มุ กด ได 2. อธบิ ายการทาํ งานของวงจรได 3. เลือกใชอปุ กรณการควบคมุ ไดอยางถกู ตอง วงจรการทดลอง BK 12 BK 12 F1 BK F3 95 F3 34 Stop Start 96 98 F2 Yellow 1 13 KK 2 24 3 13 23 13 F3 F3 KK 24 4 14 24 A1 203 K Green Red A2
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238