Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภณิชชา จงสุภางค์กุล

ภณิชชา จงสุภางค์กุล

Published by วิทย บริการ, 2022-07-05 03:29:46

Description: ภณิชชา จงสุภางค์กุล

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงมคี วามพรอมที่ดี โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในดานความชดั เจนของขอบง ชใี้ นการเยี่ยมบาน หรอื อาจจะเปน เปาหมายในการเย่ยี มบาน และการยนิ ยอมพรอมใจของผปู ว ยและครอบครวั เมอ่ื เลอื กครอบครวั ทจ่ี ะ เย่ียมแลว กระบวนการในการเยย่ี มบา นแบง ไดเปน 3 ขน้ั ตอน ไดแก o ระยะกอนเยยี่ มบาน (Pre-visiting stage) o ระยะเยีย่ มบาน (Visiting stage) o ระยะหลังเยยี่ มบาน (Post-visiting stage 1. ระยะกอ นเยยี่ มบา น ระยะกอนเยยี่ มบานมีความสาํ คัญมาก และมกั นิยมใชเปน เครือ่ งมอื ใน การทํานาย ความสําเร็จของการปฏิบัติงานและการดูแลรักษาผูปวยที่บาน แตอยางไรก็ตาม ผูเยี่ยมมักจะ มองขามหรือขามข้นั ตอนนีไ้ ป โดยไมใหความสําคัญหรืองดการทํากิจกรรมในข้ันตอนนี้ หรือทําอยางไมมีระบบ หรือไมสม่าํ เสมอ เพราะขนั้ ตอน นี้จะเปนการวางแผน เตรียมความพรอม และ กําหนดขั้นตอนที่สําคัญ กอ นท่ีจะออกไปเย่ยี มบาน กระบวนทส่ี าํ คัญประกอบดว ย 1) ระบขุ อ บงชหี้ รือประเภทของการเยย่ี มบาน เพราะแตละประเภทจะมกี าร กาํ หนดวัตถุประสงคหรอื เปาหมายที่แตกตา งกัน 2) กาํ หนดวัตถุประสงคในการเยยี่ มบานใหชัดเจน เชน การเยี่ยมบา นคร้งั แรก หรอื การติดตามเพ่ือทําอะไรบาง ถามีหลายวัตถุประสงค ใหจัดลําดับ ความสําคัญ ท้ังน้ีตองไมมากจนเกินไป วตั ถปุ ระสงคจ ะชว ยในการ เตรียมการ เชน จะใหใครไปเยยี่ มบาง เตรียมอุปกรณอะไรบาง เปน ตน 3) วางแผนการเยี่ยมบา น 3.1) การเตรยี มตัว ♣ศกึ ษาประวตั หิ รอื ขอ มลู ท่สี าํ คัญของผูปว ยและสมาชกิ ใน ครอบครวั ตลอดจนผงั ครอบครัวเทาทีม่ ีอยู (ซ่ึงอาจจาํ เปน ตอง ปรบั ปรุงใหเ ปน ปจจบุ ันในภายหลงั เยีย่ มบา น) รปู ท่ี 1 ผังครอบครวั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง♣ ฟน ฟคู วามรูเทาที่จาํ เปน เปนการศกึ ษาตอเนอื่ งดว ยตนเอง หรือ อาจไปปรกึ ษา หรือขอความเห็นจากผูรกู ไ็ ด ♣ ประสานขอความชว ยเหลือจากผเู กี่ยวขอ ง เชน นกั กายภาพเมอ่ื ตองเยี่ยมบาน ผปู วย Stroke หรือ โภชนากรในผูป ว ยโรคเบาหวาน เปน ตน ♣ เตรยี มอปุ กรณใ นการเยย่ี มบา น การไปเยย่ี มบานควรมีอปุ กรณพน้ื ฐานสาํ หรบั เยย่ี มบาน โดยบรรจุไวใ นกระเปา ไดแก - แผนที่สําหรบั การเดินทางไปบา นผปู วย สว นใหญมักทําขน้ึ เอง - หูฟง (Stethoscope) - เคร่ืองวดั ความดันโลหติ และที่พนั ขนาดตางๆ (Sphygmomanometer & various cuff sizes) ในปจ จุบันมีชนิด Digital สามารถพกพาไดง าย - เคร่ืองตรวจหูและตา (Otoscope and ophthalmoscope) - แฟม บนั ทกึ ประวตั ิครอบครวั - ไมกดลน้ิ (Tongue depressors) - ถงุ มือแบบใชแลว ทงิ้ - ไฟฉายพรอ มถานไฟฉาย - ปรอทวัดไข (Thermometer) - แบบบนั ทกึ การเย่ียมบา น - เครื่องมอื สอ่ื สาร อุปกรณอ่ืนๆอาจจะจัดเตรียมตามความจําเปนตามวัตถุประสงคของการเย่ียมบาน เชน เตรียมชุด ทําแผลสําหรับทําแผล ชุดตรวจระดับนํ้าตาลในเลือด แผนพับเร่ืองโรค ตางๆที่จําเปนเคร่ืองชั่งนํ้าหนัก คอมพวิ เตอรพกพา เปน ตน ♣ กาํ หนดวนั และเวลาเย่ียมและประสานงานเพอ่ื ขออนุญาตเย่ียมบาน รวม คาดการณระยะเวลาท่ีจะใชเย่ียม ท้ังนี้ตองใหเหมาะสม กับลักษณะงานของเราและของผูปวยดวย โดยทั่วไป นิยมเยี่ยม บานในชวงบาย เพราะชวงเชามักติดภารกิจใหบริการรักษาท่ีรพ. สต. ชวงและระยะเวลาเย่ียมให ปรับตามสถานการณ การขอ อนุญาตเยยี่ มบา น เชน แจง ผานอสม. โทรศพั ท จดหมายนดั ♣แหลงที่อยแู ละหมายเลขโทรศพั ทข องผูป ว ย(ควรทาํ แผนท่ีเดนิ ทางไวลวงหนา หรอื ถาไมม ี ควรทาํ ไวห ลังจากเยยี่ มบาน) การไปคร้งั แรกอาจให อสม. พาไป ♣แผนท่ีและยานพาหนะทใ่ี ชเ ดนิ ทาง ♣เตรยี มขอ มูล หรอื คําแนะนาํ (เชน แผน พับ) เพอื่ ชวยใหเ กดิ ความ เขา ใจมากขน้ึ ♣กําหนดจาํ นวนเจา หนาทแี่ ละระบุหนาทีข่ องแตละคน (ตามสหวิชาชีพ ซง่ึ แตล ะ คร้ังอาจมีจํานวนแตกตางกัน ท้งั นี้ขน้ึ กับ วัตถปุ ระสงคก ารเยีย่ มบาน) ♣ เปา หมายของการเยย่ี มบา น รวมทงั้ จํานวนผปู วย/ครอบครัวท่จี ะ เย่ยี มในวัน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงหรอื สปั ดาหน ั้น ทั้งนี้ตองคํานึงถึงการเดินทางและ พืน้ ทีท่ ี่อยูใกลเคยี งกนั ♣ ปญหาเฉพาะหนาทีอ่ าจมไี ดแ ละแนวทางแกไข ♣ การปองกนั หรือจดั การความเสี่ยงหรืออันตรายตอผเู ย่ียม (Risk management) เชน การเยี่ยมบา นในแหลงอันตรายอาจตองขอ กาํ ลังตํารวจหรือผูใหญบา นรว มไปดวย หลกี เล่ยี งการเย่ียม บา น คนเดยี วหรอื ในเวลาวิกาล เปนตน 3.2) การเตรียมขอมลู ผูปว ยและครอบครัว ♣ แฟมอนามัยครอบครวั (Family folder) ♣ แบบบนั ทกึ สุขภาพผปู ว ยหรอื การใหบริการ (Home visit record) ♣ ขอ มูลการเยีย่ มบานคร้งั กอน (ถา ม)ี 2. ระยะเยีย่ มบาน เปนระยะของการปฏิบตั ิ ใหก ารประเมนิ ท้ัง ดานรา งกาย จติ ใจและ ส่งิ แวดลอ มของ ครอบครัว เพอ่ื วินิจฉยั โรค/ปญหาเบ้ืองตน และใหการชวยเหลือ โดยดําเนินตามแผน ท่ีวางไว หรอื ปรบั ไดตามสภาพการณ จะชวยใหการเย่ียมบานประสบความสําเร็จ และราบรื่นมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ผูเยี่ยม ทีด่ ี ผูเ ย่ียมตองมีทกั ษะท่ีสาํ คัญ ดงั น้ี 2.1) ทกั ษะในการส่อื สาร (Communication skills) เพื่อสรางความสัมพนั ธและ ความ ไววางใจ และตองหลีกเล่ียงการวพิ ากษวิจารณใ นส่ิงที พบเหน็ 2.2) ทักษะในการคน หาและแกป ญ หา (Problem tracing and solving skills) โดย เนน การจดั การแบบองคร วม 2.3) การใหบ ริการดูแลดานจติ วิทยาและสงั คม (Psychosocial care) 2.4) การใชเครือ่ งมอื ทางเวชศาสตรครอบครวั (Family tools) ไดแก 2.4.1) ชวี ประวตั ิ (History taking) 2.4.2) ผงั ครอบครวั (Family genogram) 2.4.3) การบนั ทึกความเจบ็ ปวย (Illness episode record) 2.4.4) แนวทางการเยยี่ มบา นแบบ INHOMEMESS ทม่ี อี งคป ระกอบ ดงั น้ี I = Immobility ประเมินความสามารถในการชวยเหลือตนเองวาทําได หรือไม อยางไร ทําไดดี มากนอยเพียงใด ตองอาศัยคนอื่นหรือไม หรือ ตองใชอุปกรณใดชวยบาง คุณภาพของอุปกรณมีความ เหมาะสมหรือไม รวมทั้งประวัติการหกลมหรือบาดเจ็บจากการเดินหรือเคล่ือนไหว ถาไม สามารถเดินได ตอง ประเมินเกี่ยวกับกระดูกและขอ หรือแผลกดทับ เพิ่มเติม การชวยตนเองจะมีผลตอสภาพจิตใจและคุณภาพ ชวี ิต โดยใชแบบประเมินกจิ วตั รประจําวนั ดชั นบี ารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในการชวยประเมินเบื้องตน N = Nutrition ประเมินภาวะโภชนาการอาหาร รวมทั้งคุณคาและคานิยม ในการรับประทานอาหาร ที่มีประโยชนและเหมาะสมกับโรค และระยะ ของโรค โดยเฉพาะในผูปวยโรคเรื้อรัง ตลอดสอบถามถึง ความสามารถ ในการเขาถึงหรือจัดหาอาหาร เพราะบางคร้ังอาจมีอุปสรรคจากฐานะ หรือตองพึ่งพาคนอ่ืนใน ครอบครวั

H = Home environment ประเมินสภาพส่ิงแวดลอมในบานและบริเวณ รอบๆ บานที่อาจมีผลตอ วธิ กี ารดูแลหรือความเจ็บปว ย O = Other people ประเมินความสัมพันธร ะหวา งบคุ คลภายในบา น เพ่อื นบาน และแหลงสนับสนุน ท่สี ําคญั ในชุมชน เชน จติ อาสา M = Medications ประเมนิ การใชย า อายขุ องยา และการเขาถึงการ บรกิ ารทางสุขภาพ ตลอดจนยา หรือวิธีการรักษาท่แี สวงหามาดวย ตนเองหรือตามความเชอื่ E = Examination ประเมินสุขภาพดวยการตรวจรา งกาย S = Safety ประเมินความปลอดภัยภายในบานท่ีอาจมีผลตอผูอยูอาศัย โดยเฉพาะอยางย่ิงเด็ก คน พกิ าร และคนชรา S = Spiritual health ประเมินจิตวิญญาณ ไดแก ความเชื่อ ทัศนคติ วัฒนธรรมและประเพณี ความ มุง มัน่ ความทกุ ข สง่ิ ยดึ เหนย่ี วท่ี สาํ คญั ความศรทั ธา หรอื บคุ คลทีผ่ ูปวยเชอ่ื และนับถือ S = Service ประเมินการบริการที่ไดรับ ความพึงพอใจตอบริการ และ ความตองการของผูปวยและ ครอบครวั หมายเหตุ การใชแ นวทางการเยยี่ มบา นแบบ INHOMEMESS นนั้ ไมจ ําเปนตองทาํ ทง้ั หมดใน ครง้ั เดยี ว แตขน้ึ กบั วตั ถปุ ระสงคทว่ี างไวหรือตามสถานการณเ ฉพาะหนา เชน การดูแลแผลกดทบั อาจใส ใจดาน Examination (การตรวจรา งกาย) และ Immobility (การเคล่ือนไหว) มากเปน พเิ ศษ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตัวอยาง แบบบนั ทึกการเย่ียมบา นแบบองคร วม “IN-HOMESSS” ชอื่ -สกุล ผปู วย...................................................................................................อายุ..................ป ท่อี ย.ู ................................................................................................................................................ การวนิ จิ ฉยั โรค............................................................................................................................... I : Immobility (ความสามารถในการเคล่อื นไหว) -Activities of daily living (กจิ วัตรประจําวันพน้ื ฐาน)...................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... -Balance/Gait problems (ปญ หาการทรงตวั /การเดิน).................................................................... ........................................................................................................................................................................... N : Nutrition (โภชนาการ) -นํ้าหนกั ........................กก. สวนสงู .....................ซม. คาดชั นีมวลกาย...........กก/ม2 -ลกั ษณะรูปรา งทั่วไป  ผอม  สมสว น ทว ม  อวนมาก -จาํ นวนอาหารมือ้ /วนั ............................... -คุณภาพอาหาร : ปรงุ เอง ซือ้ สาํ เร็จรูป อาหารแชแข็ง อืน่ ๆ....................

-ลกั ษณะของอาหารท่ีรบั ประทาน อาหารธรรมดา อาหารออน อาหารเหลว อาหารทางการแพทย ระบ.ุ ..................................  อน่ื ๆระบุ....................................... -อุปนิสัยการรับประทานอาหาร (ตอบไดมากกวา 1 ขอ ) ชอบทานรสหวาน ชอบทานรสเคม็ ชอบทานเผ็ด ชอบทานอาหารมันๆ อ่ืนๆ................ -อาหารเหมาะสมกบั โรคหรอื ไม เหมาะสม ไมเหมาะสม -เหลา /แอลกอฮอล : ดมื่ ไมดม่ื ปรมิ าณ............................................................................ -บุหร่ี/ยาเสน : สบู ไมสูบ ปริมาณ............................................................................ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงH : Home Environment & Safety (สภาพสิ่งแวดลอ มและความปลอดภัย) -ความสะอาดภายในบาน สะอาด ไมสะอาด -ความเปน ระเบียบเรยี บรอยภายในบา น  เปนระเบยี บเรยี บรอย  ไมเปน ระเบยี บ -แสงสวางในบา น เพยี งพอ ไมเ พียงพอ -อากาศภายในบาน  ถายเทสะดวก  ถายเทไมส ะดวก -ความปลอดภัยในบา น ปลอดภัย ไมป ลอดภยั (ระบุ).......................... -สภาพสิง่ แวดลอมรอบๆบา น (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)  ช้ืนแฉะ มนี ้าํ ขังเปน ยอ มๆ  เลี้ยงสัตวใ ตถ ุนบา น/รอบๆบาน ระบชุ นดิ ของสัตว. ................  หญา หรือตนไมข ้ึนรก  มเี พื่อนบา นอาศยั อยูรอบๆบานอยางนอย 1 หลงั  มีร้ัวบา นลอ มรอบ  อนื่ ๆระบ.ุ .............................................................................. O : Other people (ความสัมพนั ธกบั บุคลและเพอ่ื นบาน) -ความสัมพนั ธกับบุคลในบา น ………………………………………………………………………………………………… -ความชวยเหลือกันของบุคคลในบา น................................................................................................... -ผูดูแลหลัก คอื ....................................................เกยี่ วขอ งเปน.......................................................... -ความสัมพนั ธก บั เพื่อนบาน ………………………………………………………………………………………………….. -ความชวยเหลอื กนั ของบคุ คลในบา น................................................................................................... M : Medication (การใชยา) -มยี าโรคประจําตวั  มี ระบุโรค  ไมมี ระบชุ อ่ื ยา............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... -ยาสมนุ ไพร/อาหารเสริม …………………………………………………………………………………………………… -ความสมํา่ เสมอในการรบั ประทานยา รบั ประทานสม่ําเสมอ รบั ประทานไมส ม่ําเสมอ  ไมรับประทาน -วธิ กี ารรับประทานยา

 รับประทานยาถูกตอง(ถูกช่ือ ถูกขนาด ถกู เวลา)  รับประทานยาไมถ ูกตอง E : Examination (การตรวจรางกาย) Vital signs : Temp………C.O PR……ครั้ง/นาที RR………ครงั้ /นาที BP…………………mmHg General appearance (ลกั ษณะทว่ั ไปของผปู วย) ……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจระบบทีเ่ กี่ยวของ: ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง S : Spiritual health (ความเชอื่ และทศั นคติตอสขุ ภาพ) (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) 1. ความเชือ่ ตอการเจ็บปวย  เชอื่ วาเปนเรือ่ งของเวรกรรม  เชอื่ วา ถูกผสี างเทวดาเขา สิง/ลงโทษ  เช่อื วา เปน เพราะกรรมพนั ธุ  อน่ื ๆระบ.ุ ...................................... 2. ทัศนคติตอการรกั ษา  รกั ษาหมอน้าํ มนต/ หมอผี  รักษาดวยยาสมุนไพร  รักษาแพทยแ ผนปจ จุบนั  อน่ื ๆระบุ.................................... S : Services (สถานทีไ่ ปรบั บริการเมื่อเกดิ การเจบ็ ปวย) (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ )  โรงพยาบาลรฐั บาล  โรงพยาบาลเอกชน  คลนิ ิก  โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตาํ บล  รา นขายยา  อน่ื ๆระบ.ุ .................... สรปุ ปญหาทไี่ ดจากการเยีย่ มบา น 1. …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ……………………………………………………………………………………………………………………………. 4. …………………………………………………………………………………………………………………………… 5. …………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ……………………………………………………………………………………………………………………………. 7. ……………………………………………………………………………………………………………………………. 8. …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ระยะหลงั เยยี่ มบาน หลังจากทีม่ กี ารเยีย่ มบานทุกครัง้ (อาจเปนการเยย่ี มโดยพยาบาล หรอื นักสาธารณสขุ ) ผเู ย่ยี มจะตอ งกจิ กรรมท่สี ําคัญ ดงั นี้ 3.1) การบันทกึ ขอ มลู ในแบบบันทึกการเยี่ยมบานในแฟมครอบครัว หรือ OPD card หรือใน ระบบอิเลคทรอนิกส ซึง่ อาจใชร ูปแบบ SOAP ไดแ ก

♦ Subjective ขอมูลทไี่ ดร ับคาํ บอกเลาของผปู ว ยและญาติ ซง่ึ ครอบคลมุ ทัง้ ดานกาย จิตใจ สงั คม และจิตวญิ ญาณ ♦ Objective ขอมูลทไ่ี ดจ ากการสังเกตและตรวจพบโดยผเู ยี่ยม ♦ Assessment ประเมนิ และระบุปญหาของผปู วยและครอบครวั ♦ Plan management เปนการแกปญหาอยางครอบคลุม เบ็ดเสร็จ ผสมผสาน ตอเนื่อง และแบบองครวม 3.2) วางแผนติดตามหรือเยี่ยมคร้ังตอไป ระบุจํานวนคร้ังของการเย่ียมบาน หรืออาจยุติการ เย่ยี มบานถา ภารกิจสิ้นสดุ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ตัวอยา ง แบบบันทกึ การเยย่ี ช่อื .....................................................นามส เพศ........................โรคประจาํ ตัว.............. เยยี่ ม วนั /เดือน/ป ปญ หาทพ่ี บ ว ครง้ั ท่ี จากการเยีย่ มบา น มหา ิวทยา ัลยราช ขอ เสนอแนะ ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ลงช่ือ.................................................. ผูรบั บรกิ าร

ยมบา นของผูปวยในชุมชน สกุล.......................................อายุ............ป .................................................................. ช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วิธีแกไ ขปญหาทพ่ี บ การประเมินผล เย่ียมคร้ังตอ ไป วัน/เดอื น/ป ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................... เจา หนาท่ีผเู ยยี่ มบา น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สรุปแนวทางปฏบิ ัตใิ นการเยี่ยมบา น รูปท่ี 2 แนวทางปฏบิ ัติในการเย่ียมบาน ประโยชนข องการเยี่ยมบา น การเย่ยี มบา นกอใหเกดิ ประโยชนทข่ี ัดเจน 3 ประการ คอื 1. สง เสรมิ การดูแลสขุ ภาพของตนเองท่ีบา น (Home health care) 2. เพม่ิ ความพงึ พอใจของผูปว ยและครอบครวั ตอ บริการ 3. เสรมิ สรา งความสัมพนั ธท่ีดีระหวางเจาหนา ท่แี ละผูปวยและญาติ คาํ ถามทายบท 1. จงใชสถานการณที่กาํ หนดให เขยี นลงในแบบฟอรม INHOMENESS ใหถูกตอง 2. จงนําขอมลู ที่กรอกลงในแบบฟอรม NHOMENESS มาสรปุ ปญหาที่ได และนาํ ลงไป เขยี นในแบบบนั ทึกการเย่ยี มผูปว ยในชุมชนใหถูกตอง 17

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงเอกสารอางองิ ปราณี เทียมใจ. (2534). การเยย่ี มบา น. ใน กองงานวทิ ยาลัยพยาบาล. การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน (พิมพครง้ั ที่ 3, หนา 273-313). นนทบรุ ี: กองงานวิทยาลยั พยาบาล. ไพเราะ ผองโชค. (2547). การเย่ยี มดูแลผูปวยและครอบครัวทบ่ี าน, ใน ไพเราะ ผองโชค (บรรณาธกิ าร). การพยาบาลอนามยั ชุมชน (หนา 193-216). กรงุ เทพฯ: จดุ ทองการพิมพ. รุจา ภไู พบูลย. (2541). การพยาบาลครอบครวั : แนวคดิ ทฤษฎี และการนําไปใช (พมิ พ ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วี เจ พร้ินติง้ . วโิ รจน วรรณภริ ะ. (2555). การเยีย่ มบานและการดูแลผูปวยท่ีบา น (Home visit and Home Care). ในเอกสารประกอบการฝกอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารศนู ยเ รยี นรเู วชศาสตรครอบครัวเขต18 โรงพยาบาลกาํ แพงเพชร (หนา22, 25-35). พษิ ณุโลก: คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. สภุ าวดี ลิมปนาทร. (2546). การดูแลทีบ่ า น, ใน วนั เพ็ญ พิชติ พรชัย และอุษาวดี อศั ดรวิเศษ (บรรณาธกิ าร). การวางแผนการจา หนายผูปว ย: แนวคิดและการประยกุ ตใช(พิมพครัง้ ที่ 2, หนา 61- 69). คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. สายพณิ หตั ถรี ัตน. (2551). คูมอื หมอครอบครวั ฉบบั สมบูรณ. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พหมอ ชาวบาน. 18

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บรรณานกุ รม กรมการพฒั นาชุมชน. (2526). คูมือการปฏิบตั ิงานพฒั นาชุมชนสําหรบั นกั พัฒนากร.กรงุ เทพฯ: กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. นาถ พนั ธมุ นาวิน. (2523). สังคมวิทยาชนบท. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั สงเสรมิ และสงเสริม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศา สตร. ประดิษฐ มัฌชิมา. (2522). สงั คมวทิ ยาชนบท. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ไพรตั น เตชะรนิ ทร. (2524). การบริหารงานพฒั นาชนบท. กรุงเทพ ฯ; ไทยวฒั นาพานิช. รัชนีกร เศรษฐโส. (2522). สงั คมวทิ ยาชนบท. กรงุ เทพฯ: คณะสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2542). พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรงุ เทพฯ: บริษทั นามี บคุ สพบั ลเิ คชนั่ ส จาํ กัด. สนธยา พลศร.ี (2533). ทฤษฎแี ละหลกั การพฒั นาชมุ ชน. กรุงเทพฯ; โอเดียนสโตร. สัญญา สัญญาวิวัฒน. (2526). การพฒั นาชมุ ชน. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . เสถียร เหลอื งอรา ม. (2533). การบรหิ ารงานบุคคล. กรุงเทพฯ; พมิ พลกั ษณ. ศิวพร องึ้ วฒั นา. (2555). การทาํ แผนท่.ี เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา 551312 การ พยาบาลชมุ ชน. คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. ศวิ พร อ้งึ วัฒนา. (2560). การพยาบาลสาธารณสขุ . กรงุ เทพมหานคร: สิ่งพิมพแ ละบรรจภุ ณั ฑ สมารท โคตตง้ิ แอนด เซอรว สิ จํากัด. สาํ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยที างอากาศ และภมู ิสารสนเทศ(องคการมหาชน). (2559). การทําแผนที่. สบื คน เม่ือ 23 พฤศจกิ ายน 2564. จาก http;//www.gistda.or.th/main/th/node/926. ขนษิ ฐา นนั ทบุตร. (2551). ระบบการดแู ลสขุ ภาพชุมชน: แนวคดิ เคร่อื งมือ การออกแบบ. นนทบุร:ี สถาบนั วิจยั และพฒั นาระบบการพยาบาลสภาการพยาบาล. พรรณี บวั เล็ก. (2557). วิถชี ุมชนเครื่องมือ 7 ชิ้นทท่ี ําใหงานชุมชน งาย ไดผล และสนุก. วารสาร รม พฤกษ มหาวิทยาลยั เกรกิ ปท ่ี 32 ฉบบั ที่ 3 มถิ ุนายน-กนั ยายน 2557 วนิดา ดรุ งคฤ ทธิชยั ,และจรยิ าวัตร คมพยัคฆ. (2553). การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิด หลักการ และ การปฏิบัตกิ ารพยาบาล. กรุงเทพ:จามจุรโี ปรดักท. ศิวพร อึง้ วัฒนา,และพรพรรณ ทรพั ยไพบูลยกจิ . (2555). การพยาบาลชุมชน. เชียงใหม: ครองชา ง พริ้นทต ง้ิ . สมใจ วนิ จิ กลุ . (2550). อนามยั ชุมชน กระบวนการวนิ จิ ฉยั และการแกปญ หา. กรงุ เทพฯ: ฟนน่ี พับบลิชชงิ่ . สุนยี  ละกําปน. (2558). แนวคิดเกีย่ วกับชมุ ชนและการประเมิน สขุ ภาพชมุ ชน. ใน วณี า เท่ียงธรรม ,และ อาภาพร เผาวัฒนา. (บ.ก.). การพัฒนาศักยภาพชุมชน: แนวคิดและการประยุกตใช. หนา 129-157. กรุงเทพฯ: แดเน็กซอนิ เตอรค อรป อเรช่นั . อาภาพร เผา วัฒนา. (2558). การจดั ลาํ ดับความสาํ คญั ของปญ หา. ใน วณี า เท่ยี งธรรม, และอาภา พร เผาวัฒนา. (บ.ก.). การพัฒนาศักยภาพชุมชน: แนวคิดและการประยุกตใช. หนา 159- 177. กรงุ เทพฯ: แดเน็กซอนิ เตอรคอรป อเรชัน่

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงพรศริ ิ พันธะส.ี (2552). กระบวนการพยาบาลและ แบบแผน สขุ ภาพ: การประยกุ ตใ ชท างคลนิ ิก. พมิ พค รัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพ: พิมพอักษร. สุขศิริ ประสมสุข.(2554). กระบวนการอนามัยชุมชน. ใน: จรยิ าวัตร คมพยัคฆ, วนดิ า ดรุ งคฤ ทธิชยั , บรรณาธ กิ าร. การพยาบาลอนามัยชุมชน แนวคิดหลกั การและการปฏบิ ตั ิการพยาบาล. พิมพ คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: จุดทองจํากัด เดชา ทาํ ดีและวิลาวลั ย เตอื นราษฎร. (2555). การวนิ ิจฉยั ชมุ ชนและการจดั ลาํ ดับความสาํ คญั ของ ปญ หา. ในศวิ พร อง้ึ วัฒนาและพรพรรณ ทรัพยไ พบูลยกจิ , บรรณาธิการ การพยาบาล ชมุ ชน. พมิ พค รง้ั ที่ 1 เชียงใหม: ครองชา งพร้ินทต ้งิ จํากัด. กรี ดา ไกรนวุ ตั ร และรกั ชนก คชไกร. (2561). การพยาบาลชมุ ชน (ฉบบั ปรบั ปรงุ คร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ: โครงการตาํ ราคณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. พิมพพรรณ ศลิ ปสวุ รรณ. (2555). ทฤษฎี ปรัชญา ความรูสูก ารปฏิบตั ิในงานพยาบาลอนามยั ชุมชน (พิมพครง้ั ท่ี 3). กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสขุ คณะสาธารณสขุ ศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล. ลัดดาวลั ย ไวยสรุ ะสงิ ห และสุภาภรณ วรอรุณ. (2560). กระบวนการพยาบาลชุมชน : แนวคดิ ทฤษฎี และการประยุกตใชดูแลสุขภาพประชาชน. กรงุ เทพฯ: สํานกั พิมพแ หงจุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. กีรดา ไกรนวุ ตั ร และรักชนก คชไกร. (2561). การพยาบาลชุมชน (ฉบับปรับปรงุ ครัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ: โครงการตาํ ราคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. พมิ พพ รรณ ศลิ ปสวุ รรณ. (2555). ทฤษฎี ปรัชญา ความรสู ูก ารปฏบิ ัตใิ นงานพยาบาลอนามัย ชมุ ชน (พิมพครัง้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ : ภาควชิ าการพยาบาลสาธารณสุข คณะสาธารณสขุ ศาสตรมหาวทิ ยาลยั มหิดล. ลัดดาวัลย ไวยสุระสิงห และสภุ าภรณ วรอรณุ . (2560). กระบวนการพยาบาลชุมชน : แนวคิด ทฤษฎี และการประยกุ ตใ ชด ูแลสขุ ภาพประชาชน. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พแหงจฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . ปราณี เทยี มใจ. (2534). การเย่ียมบาน. ใน กองงานวทิ ยาลัยพยาบาล. การพยาบาลอนามัยชุมชน (พมิ พครั้งท่ี 3, หนา 273-313). นนทบุรี: กองงานวิทยาลัยพยาบาล. ไพเราะ ผอ งโชค. (2547). การเยย่ี มดูแลผูปว ยและครอบครัวท่บี าน, ใน ไพเราะ ผองโชค (บรรณาธิการ). การพยาบาลอนามัยชมุ ชน (หนา 193-216). กรงุ เทพฯ: จดุ ทองการพิมพ. รจุ า ภไู พบูลย. (2541). การพยาบาลครอบครัว: แนวคดิ ทฤษฎี และการนําไปใช (พิมพครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วี เจ พริ้นตงิ้ . วโิ รจน วรรณภริ ะ. (2555). การเย่ยี มบา นและการดแู ลผปู วยที่บา น (Home visit and Home

Care). ในเอกสารประกอบการฝกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการศนู ยเ รยี นรูเวชศาสตรครอบครัวเขต18 โรงพยาบาลกาํ แพงเพชร (หนา22, 25-35). พิษณโุ ลก: คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. สุภาวดี ลิมปนาทร. (2546). การดูแลท่ีบา น, ใน วันเพญ็ พิชิตพรชยั และอุษาวดี อศั ดรวิเศษ (บรรณาธิการ). การวางแผนการจา หนา ยผปู วย: แนวคิดและการประยุกตใช(พิมพคร้ังท่ี 2, หนา 61-69). คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. สายพิณ หัตถรี ัตน. (2551). คูมอื หมอครอบครัวฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: สาํ นักพมิ พหมอชาวบา น. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook