Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภณิชชา จงสุภางค์กุล

ภณิชชา จงสุภางค์กุล

Published by วิทย บริการ, 2022-07-05 03:29:46

Description: ภณิชชา จงสุภางค์กุล

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6.3 การทบทวนประวัติศาสตรชุมชนรวมกันเปนการเรียนรูท่ีสําคัญท่ีสุด อยางหนึ่ง เพราะ การทบทวนทําใหเห็นถึงเหตุปจจัยท่ีทําใหชีวิตชุมชนเปนอยางที่ เห็นอยูในปจจุบัน นอกจากนี้ยังเปน การกระตนุ จติ สาํ นกึ ชุมชนทางประวัติศาสตร และสาํ นกึ ทางการเมือง ทําใหชุมชนรูสึกตัวและตองการ ลกุ ข้นึ เพ่ือกําหนดชะตา ชีวิตของตนเอง ถงึ แมว า ประวัติศาสตรชมุ ชนจะมคี วามแตกตางจากประวัติศาสตรชาติ แตการทําความเขาใจ หรือการรับรูเหตุการณสําคัญที่เปนภาพใหญก็จะทําใหเขาใจ ความเปนไปของทองถ่ินไดดีข้ึน การหา ขอมูลในประวัติศาสตรทองถ่ินตองอาศัย ผูเฒาผูแก ผูนําชุมชนดานตางๆ และการทําความเขาใจ ประวัติศาสตรชุมชนอาจ แบงเรื่องราวออกเปนหมวดๆ เชน ประวัติศาสตรสังคมวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร เศรษฐกจิ ประวัตศิ าสตรก ารเมืองและประวัติศาสตรสุขภาพ คําถามที่ควรนํามาเนน ก็ คือ ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร กับใคร ขอมูลท่ีไดมาควรมานําเสนอเปนแผนภาพ หรือเสนทางเวลา (Time line) เพือ่ ใหเ กดิ การเขา ใจโดยงาย รปู ท่ี 6 แสดงประวัติศาสตรช ุมชน 7. ประวัติชีวิต (Life Story) คือเร่ืองเลาประสบการณชีวิตของบุคคล เร่ืองท่ีเลาจะมี มากกวาขอมูลหรือขอเท็จจริง เพราะการเลาจะบอกแงมุมตางๆ ของชีวิต ท่ีสะทอนบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัยผสมกับความรูสึกนึกคิดของบุคคล เร่ืองเลาเหลานี้ยังสะทอนใหเห็นถึงความรูสึกนึกคิด ของ ชุมชน สงั คม ความเปน อยู และความเปน ไปของสังคมแตละสมยั ประโยชนของการศึกษาประวัติ ชวี ติ ของ บุคคลชว ยใหส ามารถเห็นคานิยมและวฒั นธรรมทอ งถ่นิ และการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน และทําใหเห็นถึงศักยภาพและ ทุนมนุษย (Human capital) ประวัตชิ วี ติ อาจถกู นํามารอ ยเรียงเปนเสนทางเวลา (Time line) จะชวยใหเห็นเหตุการณตางๆ เขามา ในชวี ติ ไดง า ย 11

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง หลักการสาํ คญั ของประวัตชิ วี ิตคอื 7.1 เปาหมายสําคัญของการทําประวัติชีวิตคือการเรียนรูมิติมนุษยในงาน ชุมชน การทํา ประวัตศิ าสตรช ีวิตจงึ ไมไดมงุ ใหไดขอมูลครบถวน แตมุงที่จะได เขาใจจะซึมซับเรื่องราวประสบการณ ชีวติ ของผูคนในชุมชน 7.2 ประวัติศาสตรชีวิตเนนไปท่ีเร่ืองราว (Story) ท่ีเกิดขึ้นมากกวาเนน ขอเท็จจริง (Fact) การที่จะไดเรื่องราวตองอาศัยท้ังผูถามและผูฟงที่ดี ที่จะไดจาก คําถามปลายเปด ประเภท “ทําไม” “อยางไร” มากกวา คาํ ถามปลายปด “อะไร” “เทา ไร” 7.3 การทําประวัติศาสตรชีวิตอาจเรียบเรียงเขียนเปนเรื่องราว หรืออาจ นําเสนอเปนเสน เวลา หรอื อาจผสมผสานกันโดยการเขียนเรอื่ งราวทนี่ าสนใจสัน้ ๆ ลงในเสนทางเวลา การศึกษาประวัติ ชีวิตบุคคลทําใหเขาไปสัมผัสชีวิตของผูคนอยางใกลชิด มองเห็นทุนหรือทรัพยากรบุคคล เราจะพบ เห็น “ตัวละคร” ท่ีมีบทบาทในชุมชน ไมวาจะเปน ผูนํา หมอพื้นบาน ปราชญชาวบาน เยาวชน การ เรียนรเู รื่องราวชวี ิต ที่ลึกข้นึ ของตัวละครเหลา นท้ี ําใหเ ราเหน็ ศักยภาพของคนเหลานี้ไดชัดเจน นําไปสู การสรางความเขาใจ การไววางใจและความสัมพันธกันในระดับลึกขึ้นมาได การได ทําประวัติชีวิต และรวมกนั ทบทวนจุดเปลี่ยนท่ีสาํ คญั ของชวี ติ เพ่อื วางแผนทจี่ ะ ดาํ เนินไปขา งหนา เรอ่ื งราวของบุคคล ยงั สามารถแบงปนสรางการเรียนรรู วมกนั กับเพื่อนๆ เคร่ืองมอื 7 ชน้ิ น้จี ึงเปน เครอื่ งมือทีช่ วยใหคนทาํ งานชุมชนเรียนรูเรื่องราวของ ชุมชนไดอยาง รวดเร็ว งายและเปนระบบ นอกจากนี้เคร่ืองมือนี้ยังเปนมากกวา การเปนเครื่องมือการเก็บขอมูลแต ยังเปนเครื่องมือท่ีชวยสรางความสัมพันธท่ีดี การรูจักและเขาใจชุมชนอยางลึกซึ้ง และเปนเครื่องมือ ชวยคนหาศักยภาพของชุมชน ชวยเสริมอํานาจใหแกชุมชนจากการที่ชุมชนต่ืนตัว ทําใหเกิดพลัง อาํ นาจในการเปน ผูกระทําการใหกับชุมชน ชวยการวิจัยการเรียนรูชุมชน ชวยในการพัฒนาคน และ ชวยแปลงความรสู วนบคุ คลใหเ ปน ความรสู าธารณะซ่ึงจะมีประโยชนตอการทาํ งานชมุ ชนตอไป 2. แหลงและประเภทของขอมูลอนามยั ชุมชน การเรยี นรเู กี่ยวกับขอ มูลจะเร่ิมตนดวยการกาํ หนดความสนใจ ในสงิ่ ใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงนํา ไปสูการ ตั้งคํา ถามเกี่ยวกับสิ่งน้ัน คํา ถามจะชวยให สามารถกําหนดขอมูลท่ีตองการใชในการตอบคํา ถาม เกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ แลวจึงพิจารณาแหลงขอมูลเพ่ือทํา การเก็บรวบรวมขอมูล (data collection) ตองมีความชัดเจนวาจะเก็บขอมูลอะไร จากใคร ชวงเวลาใด และจะนําขอมูลนั้นมาทําอะไร สามารถ นําขอมูลจากแหลงท่ีมีการเก็บรวบรวมไว แลวนํามาทําการศึกษาได เรียกวา ขอมูล ซึ่งขอมูลจะมี 2 แหลง คอื ขอมูลปฐมภมู ิ (Primary data) และขอ มลู ทตุ ยิ ภูมิ (Secondary data) 1. แหลง ขอ มูลปฐมภมู ิ (Primary data) หมายถึง ขอ มลู ที่ไดจ ากแหลงขอมูลโดยตรง โดย การเดินสํารวจ กาสอบถาม การสังเกต หรือการตรวจทางหองปฏิบัติการ เชน ขอมูลท่ีไดจากการ สมั ภาษณ เปนตน 2. แหลง ขอมูลทตุ ยิ ภูมิ (Secondary data) หมายถึง ขอ มูลทไ่ี ดจ ากแหลงทม่ี ีการบนั ทึก ขอมูลไวแลว เชน ขอมูลทะเบียนราษฎร ขอมูลจากแฟมผูปวย ขอมูลจากโรงพยาบาล ขอมูลจาก ระเบียบรายงานของหนวยงานสาธารณสุขในระดบั พื้นท่ี 12

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงประเภทของขอมูลอนามัยชมุ ชน ขอ มูลทีจ่ ําเปน ในการประเมินสขุ ภาพชมุ ชน ประกอบดวย 1) ขอมูลทั่วไปของชุมชนที่แสดงถึงลักษณะ ทางกายภาพของชุมชน สามารถแสดงไดดวย แผนทเี่ ดนิ ดิน การทําแผนทีช่ มุ ชน ซึ่งจะทําใหเ หน็ ลักษณะความเปนอยู ของชมุ ชน 2) ขอ มลู ดา นประชากร โครงสรางประชากร เชน เพศ อายุเชื้อชาติศาสนา การศึกษา อาชีพ รายได ความหนาแนนของประชากร เชน จํานวนประชากรตอ พื้นท่ีอาศัยวัฒนธรรม ความเชื่อ และ คา นยิ มของชมุ ชน 3) ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม เปนขอมูลที่แสดงให เห็นฐานะวิถีการดําเนินชีวิต และ ความเปนอยูของชุมชน เชน กจิ กรรมในรอบปกจิ กรรมตามประเพณีกลุมคนที่ เก่ียวขอ ง 4) ขอมูลดานสุขภาพ เปนขอมูลหลักในการวินิจฉัยปญหาสุขภาพของชุมชน เชน จํานวน ผูปว ยดว ยโรคตางๆ ขอมลู การรับบริการดานการสรางเสริมสุขภาพและปองกัน โรค อัตราปวย อัตรา ตาย 5) ขอมูลดานพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพและพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพ ของประชาชน 6) ขอ มลู ดา นบรกิ ารสุขภาพ ระบบบริการ สขุ ภาพ ความพอเพียง รวมท้ังบริการสุขภาพแบบ พืน้ บา น สมนุ ไพรแพทยแผนโบราณ รา นขายยา 3. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลอนามัยชุมชน สามารถเลือกใชวิธีการไดตามความเหมาะสม แตควร เปนวิธีที่ใหคนในชุมชนเขามารวมเรียนรูขอมูลสุขภาพ ชุมชนและเห็นปญหาสุขภาพ เพ่ือนําไปสูการ วางแผน การดแู ลสขุ ภาพรวมกัน การรวบรวมขอมูลสุขภาพชมุ ชน มีหลายวิธีดงั นี้ 1. การวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิที่มีอยู เปนการรวบรวมขอมูลท่ีมีอยูจากแหลงตางๆ มา วเิ คราะห แยกตามหมวดหมทู ี่ตอ งการ ขอ มลู ทีไ่ ดมาเบ้ืองตน เชน ประวัติศาสตรชุมชน ขอมูลสุขภาพ ท่ีมีอยู เชน ขอมูล จากบันทึกรายงานตางๆ ท่ีทําอยูในงานประจําของหนวยงาน จะใชเปนขอมูล เริ่มตนในการทําความรูจักชุมชนในแงมุม ตางๆ เพื่อนําไปขยายความในการศึกษาจากขอมูลปฐมภูมิ ตอไป การวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิอาจทําไดโดยใชความรู ทางวิทยาการระบาดเกี่ยวกับโรค การ กระจายโรค และสาเหตุ ของการเกิดโรค มาประกอบการวิเคราะหขอมูลวาเพียงพอ ตอการอธิบาย ภาวะสุขภาพของคนในชุมชนหรือไมซึ่งถา ขอมูลสวนใดยังไมสามารถอธิบายไดชัดเจน จําเปนตอง ศึกษาขอมลู เพิ่มเติมตอ ไป 2. การสัมภาษณผูใหขอมูลหลัก ซ่ึงเปน กลุมเปาหมายที่ตองการการดูแล และผูที่เกี่ยวของ กับ การดูแลสุขภาพของกลุมเปาหมายเชน ผูดูแล ผูนําชุมชน ผูอาวุโส เจาอาวาส กลุมแมบาน อาจ เริ่มสัมภาษณเกี่ยวกับ สมาชิกหรือกลุมและเหตุการณในชุมชน ภาวะสุขภาพของ คนในชุมชน และ การจัดการตามความเห็นของบุคคลท่ีถูกสัมภาษณขอมูลท่ีไดมักเปนขอมูลเชิงคุณภาพ เชน วิธีการ ดูแลสุขภาพของกลุมคนตางๆ วิธีการรักษาตัวเม่ือ เจ็บปวย ประวัติชุมชน การดําเนินกิจกรรมของ กลุมตางๆ ในชุมชน ปจจัยที่เกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพชุมชน เชน การจัดการขยะในครัวเรือน บทบาทของชุมชนตอการจดั การ สุขภาพ 3. การสังเกต เปน การหาขอเท็จจรงิ โดย การเฝาดูสิ่งท่ีเกิดข้ึนอยางเอาใจใส เพ่ือวิเคราะหหา ความสมั พนั ธของสิง่ ท่ีเกิดขึ้นกับสิ่งอ่ืน การสังเกตแบง ออกเปน 1) การสังเกตแบบมีสวนรวมผูสังเกต 13

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงเขาไปรวม กิจกรรมของผูถูกสังเกตโดยมีการซักถาม สังเกต และบันทึก ขอดีของวิธีน้ี คือ ทําใหได ขอ มูลท่ีแทจริง สวนขอดอยคือ อาจเกิดอคติไดงายตามประสบการณของผูสังเกต และ 2) การสังเกต แบบไมมีสวนรวม ผูสังเกตจะไมเขารวมใน กิจกรรมของผูถูกสังเกตแตใชการเฝาดูจากภายนอก ขอดี คอื ใชเวลานอ ย ประหยัด สว นขอดอยคือ ผสู ังเกตจะเก็บ ขอมูลไดไมครบทุกเร่ือง เน่ืองจากอาจไมได สนใจในสิ่งท่ี ผูถูกสังเกตใหความสําคัญหรือผูถูกสังเกตรูตัววาถูกสังเกต อยูอาจไมแสดงพฤติกรรมท่ี แทจริงออกมา ซ่ึงการสังเกต อาจสังเกตส่ิงที่เกิดขึ้นในชุมชนในประเด็นที่เก่ียวของกับ สุขภาพและ การจัดการขอมูลท่ีไดเชน พฤติกรรมการกิน อาหารและดื่มสุราในงานบุญประเพณีตางๆ ของชุมชน การใช สารเคมีในการทําเกษตรกรรมของคนในชุมชน 4. การสนทนากลุม เปนการอภิปรายกับ คนกลุมเล็กๆ ประมาณ 5-10 คน โดยมีจุดเนน เฉพาะใน ประเดน็ ท่ีอภิปราย วิธีการนีใ้ ชเ พ่อื เกบ็ รวบรวมขอ มูล เม่ือตองการขอมูลจากหลากหลายคน พรอมกัน เพ่ือยืนยัน รวมกันในประเด็นท่ีเปนปญหาหรือประเด็นสําคัญ เชน หาขอคิดเห็นเกี่ยวกับ การดาํ เนนิ งานเพื่อปองกันการดมื่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอลข องเด็กวัยรนุ ในชุมชน 5. การใชแบบสํารวจ แบบสอบถามเปน การคนหาขอมูลโดยภาพรวม สวนใหญมักใชในการ รวบรวม ขอมูลเกี่ยวกับขอมูลดานประชากร ความรูเจตคติและ พฤติกรรมการสํารวจอาจใช แบบสอบถามโดยใหผูตอบ อานและตอบดวยตนเอง หรือใชการสัมภาษณท่ีมีผูถาม และอธิบายให กอนตอบ เชน แบบสํารวจคาใชจายในครัวเรือน แบบสอบถามความคิดเห็นเรื่องการใชสารเสพติด การดืม่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลของเด็กวัยรนุ ในชุมชน 6. การประเมินชุมชนแบบเรงดว น เปน กลวธิ ีท่ใี หค นในชุมชนเขามารวมเรียนรูขอมูลสุขภาพ ชุมชนและเห็นปญหาสุขภาพ นําไปสูการวางแผนการดูแล สุขภาพรวมกัน โดยมีการสรางทีมวิจัย ชุมชน ซึ่งประกอบ ดวยองคก รในพ้ืนท่ี ไดแก องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ประชาชน ผูนําชุมชน เชน กาํ นัน ผูใหญบ า น และหนว ยงาน ราชการในพนื้ ที่โดยเฉพาะหนว ยงานดา นสุขภาพ องคกร ในพื้นท่ีจะ เขา มารว มเกบ็ ขอมูลเรียนรูขอมูลสุขภาพรวมกัน หลังจากนั้น ทีมวิจัยชุมชนมารวมกันวิเคราะหขอมูล เพือ่ หา ปญ หาสุขภาพและแนวทางการแกไขปญ หารวมกัน 4. การวเิ คราะหแ ละการนําเสนอขอมลู อนามยั ชมุ ชน 4.1 การวิเคราะหขอมูลอนามัยชุมชน (Data analysis) คือ การจัดหมวดหมูขอมูลเพื่อเปน ฐานในการชี้ถึงปญหา และความตองการดานสุขภาพของคนในชุมชน เปนขั้นตอนที่กระทําเพ่ือให ขอ มูลสามารถนาํ ไปอางอิงได โดยผานกระบวนการทางสถติ ิ โดยอาจแบงเปน 4 หมวดใหญๆ ไดแก 1) ลักษณะทว่ั ไปของชมุ ชน ประกอบดวย ที่ตั้งชุมชน สภาพแวดลอมทางกายภาพ และสังคม ขอ มูลดานประชากร เชน อายุเพศ อาชีพ รายไดลักษณะ ชุมชน สภาพแวดลอม จากการ สํารวจพ้ืนทแ่ี ละสิง่ แวดลอมในชุมชน จากการพูดคุยกับผูนําหรือผูอาวุโสของชุมชน จากการทําแผนท่ี ชมุ ชน 2) ขอ มลู ดานสขุ ภาพอนามัย เชน การตาย จาํ นวนคนตายในรอบปทผ่ี านมา สาเหตุ การตายท่ีสําคัญ การเจ็บปวย จํานวนคนปวยในรอบปที่ผานมา การเจ็บปวยในปจจุบัน การปฏิบัติ ตนเมื่อเจ็บปว ย การดูแลสุขภาพตนเอง การเขาถึงบริการสุขภาพ กลุมผูพิการ กลุมเส่ียงตอการเกิด โรค การขาดสารอาหาร การขาดการออกกาํ ลังกาย การชาดการตรวจสขุ ภาพประจําป 14

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3) ขอ มลู ตา งๆ ท่ีเกย่ี วกบั โรค เชน การไดรบั ภูมิคมุ กันโรคในเด็กอาย0ุ -6 ปภาวะ โภชนาการ ภาวะ เจริญพันธุของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ15-44 ปรวมถึง พฤติกรรมของชุมชนในการ รกั ษาสุขภาพ เปนตน 4) ขอมูลระบบบรกิ ารตา งๆ สิทธิในการรักษา และการใชบ รกิ ารสุขภาพ เชน โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพ ตําบล ศูนยสขุ ภาพชุมชน 5) ขอมูลคุณภาพชีวิตและขอมูลพัฒนาชุมชนอื่นๆ การสํารวจความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) การวิเคราะหแตละองคประกอบตามเกณฑ จปฐ.ที่กําหนดไว จํานวน/รอยละประเภทของ องคกรที่เกดิ ข้นึ ในชุมชน พิรามดิ ประชากร การมสี ว นรว มของประชาชนในกิจกรรมตา งๆในชมุ ชน 6) ขอ มูลท่บี งช้สี ภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชน ขอมูลจากทะเบียนราษฎร ขอมูล จากแบบสอบถาม/สัมภาษณประชาชน การตรวจสุขภาพประชาชน การตรวจทางหอ งปฏิบตั กิ าร สวนขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ สามารถวิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีวิเคราะห เนือ้ หา (content analysis) ซ่งึ เปนการคนหาคําหรือกลุมคําจากขอมูลท่ี เก็บรวบรวมมาไดเพื่อแสดง รายละเอยี ดของประเด็นท่ีมี ตวั อยา ง ตารางแสดงการวิเคราะหขอ มูล 15

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง4.2 การนําเสนอขอมูลอนามัยชุมชน เปนการนําขอมูลท่ีรวบรวมไดมาวิเคราะห และนําเสนอใน รูปแบบที่งายตอการเขาใจ โดยวิเคราะหตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวในเบื้องตนวาตองการศึกษาส่ิง ใด นยิ มใชสถิตทิ ีไ่ มซบั ซอน โดยทัว่ ไปแบงเปน 2 วิธี คือ การนาํ เสนอขอ มูลอยางไมเปนแบบแผน และ การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน ซ่งึ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน หมายถึง การนําเสนอขอ มูลที่ไมต อ ง ถูกกฎเกณฑและแบบแผนอะไรมากนัก นยิ มใช 2 วิธี คือ 1.1 การนําเสนอขอมูลในรูปขอความ เปนการนําเสนอขอมูลโดยการบรรยายเก่ียวกับ ขอ มูลน้ันๆ เชน ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศกึ ษา อตั ราสวนนักเรียนตออาจารยใน ปการศึกษา 2548 คือ 19 ตอ 1 ในปการศึกษา 2549 อัตราสวน คือ 21 ตอ 1 และในปการศึกษา 2550 อตั ราสวน คอื 22 ตอ 1 จะเห็นไดวา อัตราสวนของนักเรยี นตออาจารย มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยาง เหน็ ไตชดั 1.2 การนําเสนอขอมูลในรูปขอความกึ่งตาราง เปนการนําเสนอขอมูลโดยการแยก ขอความและตวั เลขออกจากกนั เพื่อใหเปรียบเทียบความแตกตางของขอมูลไตชัดเจนยิ่งข้ึน เชน จาก การสํารวจตลาดสดแหง หนงึ่ ผลไมบางชนดิ ขายในราคา ตอไปนี้ สม เขยี วหวาน กิโลกรมั ละ 35 บาท ชมพู กโิ ลกรัมละ 25 บาท มะมว ง กิโลกรมั ละ 40 บาท สบั ปะรด กิโลกรัมละ 25 บาท เงาะ กิโลกรัมละ 15 บาท 2. การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน เปนการ นําเสนอท่ีจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ ที่ไตกําหนดไวเปนมาตรฐาน ตัวอยางการนําเสนอแบบน้ีเชน การนําเสนอในรูปตาราง กราฟ และ แผนภมู ิ เปนตน 2.1 การนําเสนอในรูปตาราง (Tabular Presentation) ขอมูลตาง ๆ ที่เก็บรวบรวมมา ได เมื่อทําการประมวลผลแลวจะอยูในรูปตาราง การนําเสนอเปนตาราง สามารถแบงลักษณะ ตารางขอ มูลออกไดเ ปน 3 ลักษณะ ไดแก 2.1.1 ตารางทางเดียว (One Way Table) คือ ตารางท่ีมีการจําแนกเพียงลักษณะ เดียวเทา นั้น ตารางแสดง จาํ นวนผูปว ยโควดิ -19 ของตําบลบานเลือก อําเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี หมูท่ี จํานวน(คน) 14 22 33 16

2.1.2 ตารางสองทาง (Two Way Table) คือ ตารางท่ีมีการจําแนกลกั ษณะสอง ลกั ษณะ ตารางแสดง จาํ นวนผูป ว ยโควิด-19 ของตําบลบานเลอื ก อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี หมูที่ เพศ ชาย หญิง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง112 223 311 2.1.3 ตารางหลายทาง (Multiple Classification Table) คือ ตารางที่มี การ จําแนกตง้ั แตสามลกั ษณะ (three-way table) ขึ้นไป ตารางแสดง จํานวนผูปว ยโควดิ -19 ของตาํ บลบา นเลอื ก อําเภอโพธารา จังหวัดราชบรุ ี หมทู ี่ เพศ รอ ยละ ชาย หญงิ 20.12 112 25.10 223 10.30 311 2.2 การนาํ เสนอในรูปแบบกราฟ หรือแผนภมู ิ ซึง่ การนําเสนอดวยกราฟหรือแผนภมู ิมี หลายลกั ษณะ ดงั น้ี 1) แผนภูมิแทง หรือกราฟแทง ( Bar Chart ) เปนแผนภมู ทิ ป่ี ระกอบดวยรปู สีเ่ หลยี่ มผืนผา ท่ี มคี วามยาวของแตละรปู เปนขนาดของขอ มูล มชี องไฟระหวางแทง แตละแทงมีความกวา งคงท่ี ใชใ น การเปรียบเทยี บรายการขอมูลที่แตกตา งกันหลายรายการ หรือขอมลู ท่จี ําแนกตามลักษณะคุณภาพ เวลา หรือความถี่ ซ่ึงทําใหผ ูค นเขา ใจงา ยดว ยตนเอง ตัวอยา ง แผนภมู ิแสดงจาํ นวนนักศกึ ษาของสถาบันการศกึ ษาแหงหน่งึ ในป 2534 – 2537 จาํ นวนนักศึกษา ( หนวย : พนั คน ) 17

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2) กราฟเสน ( Line Graphs ) การนําเสนอโดยกราฟเสนเปนที่นิยมใชกันมากใชกับขอมูล อนุกรมเวลา ( Time Series Data ) ซึ่งแสดงการเปล่ียนแปลงลําดับกอนหลังของเวลาท่ีขอมูลน้ัน เกิดขึน้ และมจี ํานวนมาก เปน การสรางท่ีงา ย อาจเปน เสนตรงหรือเสนโคงกไ็ ด ข้ึนอยูกับลักษณะขอมูล ท่มี ีอยู ใชเ ปรยี บเทียบระหวางหลายรายการในระยะยาว ตัวอยาง กราฟเสนแสดงขอมูลของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยแหง หน่ึง ระหวางป 2533 – 2537 3) แผนภูมิวงกลม ( Pie Chart ) เป็ นการนําเสนอข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ในรูปวงกลม โดยมี การแบ่งพืน้ ที่ภายในวงกลมออกเป็ นส่วน ๆ ในการเปรียบเทียบ ซึ่งมีหลายลักษณะของกลุ่ม ประชากร 4) แผนภมู ิภาพ ( Pictogram ) เปนแผนภมู ิท่ใี ชรูปภาพแทนคาตัวเลขจํานวนหนึ่งของขอมูล ท่ีนําเสนอ เชน ภาพรถยนต 1 คัน แทนจํานวนรถที่นําเสนอ 1,000 คน หรือภาพคน 1 ภาพแทน ประชากรท่นี ําเสนอ 100 คน ซึ่งรปู ภาพน้ันจะแทนของจริงจาํ นวนเทาไรก็ได แลวแตปริมาณมากนอย ของขอมูลท่ีนําเสนอ จะทําใหผูอานเขาใจไดงาย แปลความหมายไดทันที่และนาสนใจมากขึ้น ตัวอยาง สมมุติวา ปริมาณนักศึกษาที่รับสมัครสอบเขามหาวิทยาลัย ป 2560 – 2564 ใหแสดง ปริมาณขอ มลู โดยแผลภมู ภิ าพ 18

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2560  2561  2562  2563  2564   แทนจาํ นวนนักศึกษา 1 หมน่ื คน คาํ ถามทายบท 1. ใหนักศึกษานาํ เคร่ืองมือ 7 ช้ิน ไปประยุกตใชก ับบรบิ ทชุมชนของทา น โดยอธิบายมา อยางละเอยี ด 2. ใหน ักศึกษายกตวั อยา งขอมลู ท้ังแบบปฐมภูมแิ ละทุติยภูมิ จากแหลง ขอมลู ท่ีทา นอาศยั อยมู าอยา งละ 10 ขอมูล 3. นาํ ขอ มลู จากขอ 2 มานาํ เสนอ โดยนกั ศกึ ษาสามารถเลอื กไดตามความเหมาะสม เอกสารอางองิ ขนิษฐา นนั ทบุตร. (2551). ระบบการดูแลสขุ ภาพชุมชน: แนวคดิ เครือ่ งมอื การออกแบบ. นนทบุร:ี สถาบนั วจิ ัยและพฒั นาระบบการพยาบาลสภาการพยาบาล. พรรณี บัวเล็ก. (2557). วิถีชุมชนเครื่องมือ 7 ชิ้นท่ีทําใหงานชุมชน งาย ไดผล และสนุก. วารสารรมพฤกษ มหาวทิ ยาลัยเกริก ปท่ี 32 ฉบบั ท่ี 3 มถิ ุนายน-กันยายน 2557 วนดิ า ดุรงคฤทธิชัย,และจริยาวัตร คมพยัคฆ. (2553). การพยาบาลอนามัยชุมชน: แนวคิด หลักการและ การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล. กรงุ เทพ:จามจุรีโปรดกั ท. ศิวพร อ้ึงวัฒนา,และพรพรรณ ทรัพยไพบูลยกิจ. (2555). การพยาบาลชุมชน. เชียงใหม: ครองชาง พรนิ้ ทตงิ้ . สมใจ วินิจกุล. (2550). อนามัยชุมชน กระบวนการวินิจฉัย และการแกปญหา. กรุงเทพฯ: ฟน น่ีพบั บลิชชิ่ง. สุนีย ละกําปน. (2558). แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและการประเมิน สุขภาพชุมชน. ใน วีณา เทยี่ งธรรม,และ อาภาพร เผาวัฒนา. (บ.ก.). การพัฒนาศักยภาพชุมชน: แนวคิดและการประยุกตใช. หนา 129-157. กรงุ เทพฯ: แดเนก็ ซอ นิ เตอรค อรปอเรชั่น. อาภาพร เผาวัฒนา. (2558). การจัดลําดับความสําคัญ ของปญหา. ใน วีณา เที่ยงธรรม, และอาภาพร เผาวัฒนา. (บ.ก.). การพัฒนาศักยภาพชุมชน: แนวคิดและการประยุกตใช. หนา 159- 177. กรุงเทพฯ: แดเนก็ ซอินเตอรคอรป อเรช่ัน 19

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง แผนการบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 4 หวั ขอ เน้อื หาประจาํ บท การวนิ ิจฉัยปญ หาอนามัยชมุ ชน 1. ความหมายการวนิ ิจฉัยปญหาอนามัยชุมชน 2. วตั ถปุ ระสงคในการวินิจฉยั ปญ หาอนามัยชมุ ชน 3. กระบวนการแกไขปญ หาอนามยั ชมุ ชน 4. การระบปุ ญหาดานอนามยั ชมุ ชน 5. การจัดลาํ ดับความสาํ คัญของปญหาอนามยั ชุมชน 6. การวิเคราะหสาเหตุของปญหาอนามยั ชมุ ชน วตั ถปุ ระสงคเ ชงิ พฤติกรรม เมอื่ เรยี นจบในเนื้อหาบทน้ีแลวสามารถทาํ สงิ่ ตอไปนี้ได 1. บอกความหมายการวนิ จิ ฉยั ปญ หาอนามยั ชุมชนได 2. บอกวตั ถุประสงคในการวนิ จิ ฉัยปญ หาอนามัยชุมชนได 3. อธิบายกระบวนการแกไขปญหาอนามยั ชมุ ชนได 4. ระบุระบปุ ญ หาดานอนามยั ชุมชนได 5. อธบิ ายกระบวนการจดั ลําดบั ความสาํ คญั ของปญ หาอนามยั ชมุ ชนได 6. วเิ คราะหส าเหตขุ องปญ หาอนามัยชมุ ชนได วิธีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีสอน 1.1 วิธสี อนแบบบรรยาย 1.2 วิธกี ารสอนแบบจัดกจิ กรรมกลุม 1.3 วธิ ีสอนจากกรณีศกึ ษา 1.4 วธิ สี อนโดยศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอน 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 ผูสอนอธบิ ายทฤษฎีและซักถามพรอมยกตวั อยางประกอบการบรรยาย โดยใช power point 2.2 แบง ผูเ รียนเปนกลมุ ๆ ละประมาณ 5 คน เพอื่ ศึกษาตามสถานการณที่กาํ หนดให รวมกับเอกสารประกอบการสอน 2.3 ผูสอนและผเู รียนรวมกันอภปิ รายและหาขอสรปุ รวมกนั อีกคร้งั หนึง่ 2.4 นาํ เสนองานหนา ช้นั เรยี น 1

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.5 ใหผเู รยี นทาํ แบบฝกหดั บทท่ี 4 สงในวนั ถดั ไป ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนอนามยั ชมุ ชน 2. ไฟลเอกสารประกอบการสอนอนามัยชุมชน 3. คอมพวิ เตอร 4. หนงั สืออานประกอบคน ควาเพิม่ เติม 5. แบบฝกหัดบทที่ 1 การวดั ผลและประเมินผล 1. แบบประเมินพฤติกรรมการมสี วนรวมโดย 1.1. สังเกตจากการซักถามผเู รยี น 1.2. สงั เกตจากการรวมกจิ กรรม 1.3. สงั เกตจากความสนใจ 2. ประเมนิ จากการทาํ แบบฝกหดั 3. ประเมนิ จากการสอบยอย 4. ประเมินจากการสอบปลายภาค 2

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 4 การวินจิ ฉยั อนามยั ชมุ ชน การวนิ ิจฉัยอนามยั ชุมชน การวินิจฉัยชุมชนเปนจุดเริ่มตนที่จะนําไปสูกระบวนการในการแกไขปญหาสาธารณสุข โดยรวมของชมุ ชนตอไป กลาวคอื จะทาํ ใหท ราบสถานการณหรือระดับของปญหาสุขภาพอนามัยของ ชุมชนและการวเิ คราะหส าเหตทุ ี่แทจ ริงของปญ หา ซ่ึงจะเปนประโยชนไดตรงประเด็นและสนองความ ตอ งการของชมุ ชนอยางแทจริง นอกจากน้ีการวินิจฉัยชุมชน กอใหเกิดผลดีและประโยชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ และประชาชนในชุมชน ในการท่ีจะรวมกันกําหนดทิศทางการพัฒนาสุขภาพอนามัยและดานอื่นๆให เปน ไปทิศทางทถ่ี ูกตองและเหมาะสม การวินิจฉัยชุมชน หมายถึง การประเมินสภาวะทางสุขภาพของชุมชน (Community Health Status) และการบรกิ ารสาธารณสุข (Health Service) ตา งๆในชุมชน ตลอดจนปจจัยที่มีผล ตอสุขภาพอนามัยของชุมชน โดยการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล เพ่ือใหไดผลท่ีบงชี้วา ประชาชนในชุมชนน้ันมีสถานะสุขภาพอนามัยอยูในระดับใด ปญหาสาธารณสุขในชุมชนมีอะไรบาง ซึ่งตองอาศัยความรูดานระบาดวิทยาและดานอื่นๆโดยบรรยายลักษณะของโรคและปญหาสุขภาพ อนามัยตามลกั ษณะตางๆ วตั ถปุ ระสงคในการวนิ จิ ฉยั ชุมชน 1. เพือ่ วัดสภาวะสขุ ภาพของประชาชนในชมุ ชน 2. เพอื่ วเิ คราะหปญ หาสขุ ภาพที่สําคญั ของประชาชน แนวโนม ของปญ หา กลมุ เสย่ี ง รวมทง้ั กาํ หนดวิธีการแกไขปญ หาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ กระบวนการแกไ ขปญหาสุขภาพในชุมชน ปญหาสาธารณสุขนอกจากเปนปญหาที่เกิดจาก การเจ็บปวยของประชาชนแลว ยังเปนปญหาที่เกี่ยวของกับลักษณะโครงสรางประชากร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองและนโยบายของประเทศ ดังนั้น การแกไขปญหาสาธารณสุขนั้นตอง วิเคราะหสาเหตุท่ีแทจริงของปญหาและแกไขปองกัน ควบคุมดวยวิธีการท่ีถูกตอง เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซึ่งเจาหนาที่สาธารณสุขผูปฏิบัติงานใกลชิดกับชุมชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน จะตองรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล วินิจฉัยปญหา ตัดสินใจ ตลอดจนการ วางแผนงานเพอื่ ดําเนนิ การใหส อดคลอ งกบั ปญ หาและความตองการของชมุ ชนอยตู ลอดเวลา ข้ันตอนการวินิจฉัยชุมชน กระบวนการวินิจฉัยชุมชนเพ่ือการแกปญหาสุขภาพอนามัยของ ประชาชนประกอบดวย 3 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. การเตรียมชุมชน (Preparation) การเตรยี มการดําเนินงานอนามัยชมุ ชน มี ความจําเปนตองใหทุกฝายเกิดความพรอมในการทํางาน เปนการสรางความเขาใจเก่ียวกับ วัตถุประสงคและรายละเอียดตางๆในการดําเนินงานใหแกตนเองและทีมงาน ตลอดจนประชาชนใน 3

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงชุมชน รวมทั้งการวางแผน เตรียมการดําเนินงานใหชัดเจน เหมาะสมกับระยะเวลาที่กําหนดและ ทรพั ยากรที่มอี ยใู นชมุ ชน ซ่ึงเปนการเตรียมความพรอมในเรอ่ื ง -การเตรียมพื้นท่ีท่ีจะออกไปสํารวจ ท้ังสภาพภูมิประเทศ และความรวมมือของ ประชาชน โดยการทําความคุนเคย/รูจัก ลักษณะท่ัวไปของชุมชนจากขอมูลทุติยภูมิหรือการลงไป ศึกษาชุมชนเบ้ืองตน อาจประยุกตใชเครื่องมือเชิงสังคม (เครื่องมือ 7 ชิ้น) หรือเคร่ืองมืออื่นๆที่สราง ข้ึนเอง -การเตรียมผปู ฏบิ ัติงาน โดยการปฐมนิเทศ การแบงหนาทีก่ ารทํางาน -การเตรียมความรู หนังสือ/ตํารสที่เกี่ยวของ /งบประมาณ/คาใชจายตางๆ รวมทั้ง เตรียมสขุ ภาพรางกายใหพ รอ ม -การเตรยี มแบบสอบถาม และเครื่องมือตา งๆทใี่ ชใ นการเก็บรวบรวมขอมลู 2. การประเมนิ ภาวะอนามัยชุมชน (Assessment) ประกอบดว ย 2.1 การเก็บรวบรวมและนาํ เสนอขอ มลู (Data collection and Presentation) ซึง่ ไดกลา วไวบ ทกอ นหนานีแ้ ลว 2.2 การวเิ คราะหข อ มลู (Data analysis) ซ่ึงไดก ลาวไวบ ทกอนหนา นแี้ ลว 2.3 การระบปุ ญหาอนามยั ชุมชน (Identity Problem) 2.4 การจัดลําดบั ความสาํ คญั ของปญ หา (Priority setting) 2.5 การศึกษาสาเหตขุ องปญหาอนามยั ชุมชน (Identified cause of problem) โดยในบทนี้จะแสดงเนอื้ หาในหวั ขอ ท่ี 2.3-2.5 เทานั้น การระบุปญ หาอนามัยชมุ ชน (Identity Problem) การพจิ ารณาวาสถานการณใดเปนปญหา สามารถพิจารณาไดจาก 5 ตัวชี้วัด ไดแก การปวย การตาย ความพิการ ความไมสะดวกสบาย ความไมพึงพอใจ (5 D : Disease, Death, Disability, Discomfort and Dissatisfaction) ท้ังนี้จะตองนําสถานการณดังกลาวหรือขอมูลที่ไดจากการ วิเคราะหม าเปรียบเทยี บกับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง เชน มาตรฐานหรือตัวชี้วัดของประเทศ จังหวัด อําเภอ หรือ ทช่ี มุ ชนสงั คมยอมรบั หรอื เปรียบเทียบกับขอมูลในอดีตที่เคยเกิดขึ้น โดยทั่วไปในการระบุปญหาตางๆ จะมแี นวคดิ จากการพิจารณาจากส่ิงทปี่ รากฏอยูในปจจุบันหรือสภาพที่เปนอยู เปรียบเทียบกับภาพท่ี พึงประสงคหรือภาพท่ีควรจะเปน/ส่ิงที่คาดหวังที่ควรจะเปนในสังคมรวมกับความสนใจหรือความ ตระหนักของชุมชนสังคมน้ัน ฉะนั้นแตละสังคมจะตองมีภาพท่ีพึงประสงคหรือส่ิงท่ีควรจะเปน ตัวกาํ หนดไวเ ปนเปาหมายท่ีสําคัญสําหรับเปรียบกับส่ิงท่ีปรากฏในปจจุบันรวมกับความตระหนักของ ชุมชนนนั้ วา จะจดั การกับปญหาที่กาํ ลังเผชิญอยเู พอื่ วิเคราะหแนวทางแกไ ขตอ ไป การระบุปญหาอนามัยในชุมชน ควรระบุใหไดวาใครคือกลุมเสี่ยงหรือประชากร กลมุ เปา หมาย เพื่อการลงกจิ กรรมและโครงการตรงกบั กลุมเปา หมายและเกิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด ปญหา = (ส่งิ ทค่ี าดหวงั – สงิ่ ที่เปน อยู) ×ความตระหนกั ท่ตี อ งการแกไข 4

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง อยางไรก็ตามปญหาอนามัยชุมชนสามารถมองไดหลายลักษณะท้ังในรูปธรรมและนามธรรม เปน ภาวะสุขภาพทีเ่ บี่ยงเบนหรอื เปล่ยี นแปลงไปจากปกติในชุมชนหรือความวิตกกังวลของชุมชนดาน สขุ ภาพ ดงั นั้น ลักษณะปญ หาอนามยั ชุมชนมสี ่ิงทคี่ วรพิจารณา 3 ประการ ไดแ ก -ปญหาอนามัยของชุมชนเอง (ปญหากระทบคนสวนใหญในชุมชนและชุมชนคิดวาเปนเร่ือง จาํ เปน และเรง ดว นตองรีบแกไข) ปญหาลักษณะนี้ ประชาชนจะเขามามีบทบาทอยางเต็มท่ีในการให ความรว มมือ วางแผนและแกไขปญ หา -ปญหาอนามัยของเจาหนาท่ีสาธารณสุข (ปญหากระทบคนสวนนอยในชุมชน แตเปนปญหา ที่รุนแรงหรือเปนปญหาของรัฐหรือนโยบาย) ปญหาลักษณะน้ีเปนความรับผิดชอบโดยตรงของ เจาหนาท่ีในการแกไขปญหา จําเปนตองกระตุนใหประชาชนตระหนักถึงปญหาและรวมมือในการ วางแผนและแกไขปญ หา -ปญ หาอนามัยของชมุ ชนและเจาหนาท่ีรวมกัน (เปนปญหาท่ีคนสวนใหญในชุมชนยอมรับวา เปนปญหาของชุมชน หรือเปนปญหาที่มีความผูกพันกับปญหาอ่ืนๆกอใหเกิดผลกระทบโดยรวมกับ ชมุ ชน) ปญหาลักษณะนีป้ ระชาชนจะเขามามีบทบาทอยางเต็มท่ีในการใหความรวมมือ วางแผน และ แกไขปญหาโดยมีเจาหนาที่ในการสนับสนุน ทั้งวิชาการ เทคโนโลยี ขอเสนอแนะ และการ ประสานงานกับหนวยงานตางๆ ในการดําเนินงานถือเปนความรับผิดชอบรวมกันทั้งเจาหนาท่ีและ ประชาชน การจัดลําดบั ความสําคัญของปญ หา (Priority setting) ปญหาดานสุขภาพชุมชน มักมีหลายปญหา ในการแกไขปญหาอนามัยชุมชนน้ันไม สามารถ แกไขทุกปญหาไปพรอมกัน เน่ืองจากแตละปญหามีสาเหตุและความสลับซับซอนแตกตางกัน จึงมี ความจําเปนท่ีจะตองจัดลําดับความสําคัญของ ปญหาตามความจําเปนกอนหลังและแกไขไปตาม ความจําเปน เหลานั้น ในแตละชุมชนปญหาสุขภาพอนามัยไมได มีเพียงปญหาเดียว บางชุมชนอาจมี ปญหาถึง 10 ปญหาแตปญหาเหลาน้ันไมสามารถแกไขใหสําเร็จได ในเวลาเดียวกัน เนื่องจาก ความจํากัดทางดานทรัพยากร ดงั นน้ั ปญ หาเหลา น้ี จงึ ตอ งมีการจัดลําดบั ความจําเปนกอนวาปญหาใดเปนปญหาเรง ดวนท่ี ตองเรงแกไขทันที ปญหาไหนท่ีสามารถชะลอไวแกไขทีหลังได การจัดลําดับความจําเปนกอนหลัง น้ี เรียกวา การจดั ลําดับความสําคญั ของปญหา โดยมหี ลายวิธี ดงั นี้ 1. วิธขี องภาควิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล เปนวิธี ท่ีนิยมใชกันมาก เพราะมีองคประกอบ ท่ีตัดสินใจและคํานวณออกมาเปนคะแนนที่ตัดสินงาย ไมมี ความสลบั ซบั ซอน โดยมมอี งคประกอบ 4 อยาง แตละองคประกอบใหค ะแนนจาก 0-4 หรือ 1-5 รวม คะแนนท่ีไดท งั้ หมดแลวนํามาเรียงลําดับ จากคะแนนสูงสุดลงมา องคประกอบทั้ง 4 ที่นํามาพิจารณา ไดแ ก 1.1 ขนาดของปญหา (Size of Problem or Prevalence) หมายถึง โรคท่ีเกิด ในชุมชนวา โรคน้นั ๆ เมอ่ื เกดิ ข้ึนมผี ปู วยเทาไหร และถาเปน โรคติดตอ สามารถติดตอหรือแพรกระจาย งายหรือไม มีแนวโนมของโรคเปนอยางไร โดยแสดงในลักษณะอัตราของปญหาเชนเด็กวัย 0–5 ป 5

มีอัตราการขาดสารอาหารรอยละ 25.75 วัยรุนในชุมชนติดบุหร่ี จํานวน 90 คน คิดเปนรอยละ70 ของจาํ นวนวัยรุน ทัง้ หมดในชมุ ชน เปนตน จากนั้นนาํ มาพิจารณาให คะแนนตามเกณฑค ือ ขนาดของปญหา คะแนน ไมมีเลย 0 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง มากกวา 0-25% 1 26-50% 2 51-75% 3 76-100% 4 1.2 ความรุนแรงของปญหา (Severity of Problem) หมายถึง โรคหรือปญหานั้น เกดิ ขึน้ จะมอี ันตรายหรือความทุพพลภาพมากนอยเพียงไร โรคหรือหรือปญหาน้ันถาปลอยทิ้งไว แลว จะกอใหเกิดความเสียหายเปนอันตรายถึงแกความตายหรือไม ทําใหเกิดผลเสียแกครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ในดานเศรษฐกิจอยางไรบาง นํามาคิดเปนรอยละ ของประชากรท่ีไดรับผลกระทบ จากปญหานั้นๆและ ใหค ะแนนดงั นี้ ความรนุ แรงของปญ หา คะแนน ไมมีเลย 0 มากกวา 0-25% 1 26-50% 2 51-75% 3 76-100% 4 1.3 ความยากงายในการแกปญหา (Ease of management) หมายถึง การดําเนินงาน แกป ญหาดังกลา วจะทําไดห รอื ไม ซึ่งตอ งพิจารณาองคป ระกอบตา งๆดังน้ี คือ 6

1.3.1 ดานวิชาการ มีความรดู านวชิ าการในการนํามาใชแกป ญหาไดหรือไม ถามีมาก เทาใด เชน การฉีดวัคซนี ปองกันโรค ยารักษาโรคโดยตรง เปนตน ถาหากผูปฏิบัติมีความรูไมเพียงพอ กส็ ามารถพิจารณาแหลง ความรหู รอื หนวยงานอน่ื ๆทีส่ ามารถใหความชวยเหลอื หรอื สนับสนุนได 1.3.2 ดานบริหาร ตองคํานึงถึงทรัพยากรและปจจัยตางๆที่จะนํามาใชในการ สนับสนุน ไดแก บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ และวิธีการบริหารจัดการ รวมทั้งนโยบายของ ผบู รหิ ารในระดับสูงข้ึนไป 1.3.3 ดา นระยะเวลา มเี พียงพอทจ่ี ะแกไ ขปญ หานัน้ ๆหรือไม 1.3.4 ดานกฎหมาย ควรพิจารณาวาการดําเนินการแกปญหาน้ันขัดแยงตอขอ กฏหมายที่มอี ยหู รอื ไม 1.3.5 ดานศีลธรรม ตองพิจารณาวาการดําเนินการแกปญหานั้นขัดกับศีลธรรมหรือ ขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือไม เชน ปญหาการตั้งครรภท่ีไมพึงประสงคจะแกไขโดยการทําแทงได หรือไม จากน้ันนําองคป ระกอบท้งั หมดมาพจิ ารณาใหคะแนนดงั นี้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ความยากงายในการแกปญหา คะแนน ไมมที างทําไดเ ลย 0 ยากมาก 1 ยาก 2 งา ย 3 งา ยมาก 4 1.4 ความสนใจหรือความตระหนกั ของชมุ ชนท่ีมีตอปญหานั้น (Community Concern) หมายถึง พิจารณาวาประชาชนในชุมชนเห็นวาปญหาที่เกิดข้ึนนั้น มีความสําคัญหรือไม มีความวิตก กังวล สนใจหรือตองการแกไขหรือไม การประเมินความสนใจของชุมชนอาจไดจากการสังเกต หลังจากที่ไดปญหาแลวนํามาใชเสนอกับชุมชนไดรับทราบซึ่งตองใชกระบวนการกลุม ซ่ึงอาจจะเปน กลมุ ผูนําชาวบา นหรทอผูน าํ หมบู านรวมกับประชาชน ซ่ึงการใหคะแนนมเี กณฑ ดงั นี้ 7

ความรุนแรงของปญ หา คะแนน ไมมเี ลย 0 มากกวา 0-25% 1 26-50% 2 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 51-75% 3 76-100% 4 หรอื พจิ ารณาขอบงชจี้ ากความสนใจของชุมชนแลวสรปุ ตดั สนิ ใจจากความสนใจมากนอยและ ใหค ะแนนดงั นี้ ความสนใจของชุมชนท่ีมตี อ คะแนน ปญหานน้ั 0 ไมส นใจเลย สนใจนอย 1 สนใจปานกลาง 2 สนใจมาก 3 สนใจมากท่ีสุด 4 เม่ือไดคะแนนของท้ัง 4 องคประกอบแลวนําคะแนนมารวมกัน การรวมคะแนนทําได 2 วิธี คือ 1) วิธีบวก นําคะแนนแตละหัวขอมาบวกกนั แตผลทไ่ี ดจ ากการนาํ คะแนนมาบวกกนั วธิ ีนีจ้ ะ มองเห็นความแตกตา งของแตละปญหาไดนอย เน่ืองจากความกวา งของคะแนนแคบ 2) วธิ คี ณู นาํ คะแนนแตละหัวขอมาคณู กนั วธิ นี ี้จะทําใหเ ห็นความกวางของปญ หาไดช ดั เจน ข้ึน แตละคะแนนที่ใหในแตละหัวขอนั้น คะแนนตํ่าสุดควรเปน 1 เพราะถาใหคะแนน 0 แลว เม่ือนํา คะแนนมาคูณกันจะไดคะแนนรวมเทากับ 0 ซ่ึงคา 0 ไมได หมายความวาปญหานั้นไมไดเปนปญหา ของชุมชน แตหมายความวาปญหานั้นไมอาจแกไขไดในเวลาอันรวดเร็วหรือปญหานั้นแกไขไดยาก มาก ดงั นน้ั การใหค ะแนนองคประกอบใดเปน 0 ควรพจิ ารณาใหร อบคอบ 8

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ในกรณีที่คะแนนรวมเทากนั ตองนาํ ปญ หาที่ไดคะแนนเทากันน้ันมาพจิ ารณาในรายละเอยี ด อกี คร้ังแลงจงึ นํามาตัดสินใจ ตวั อยา งการคิดคะแนนเพอื่ จดั ลําดบั ความสาํ คัญของปญหา จากตาราง พบวา ปญหาอนามัยชุมชน อันดับท่ี 1 คือ ประชาชนมีภาวะเสี่ยงตอการไดรับ สารพษิ จากการใชส ารเคมีในการประกอบอาชีพ อันดบั ท่ี 2 ครวั เรือนมีการกําจัดขยะไมถูกสุขลักษณะ อันดบั ที่ 3 คอื ปญหาหนีส้ นิ ขอดี 1) มีเกณฑในการใหค ะแนนในแตล ะองคประกอบท่ีชัดเจน 2) เปนที่นิยมใชอ ยางแพรหลาย 3. วธิ ีของแฮนลอน (John J.Hanlon) เหมาะสมสําหรบั การพิจารณาปญ หาระดบั นโยบาย แตบางคร้ังสามารถนํามาประยุกตใชในชุมชนใหญท่ีมีประชากรมากๆ โดยพิจารณาถึง ผลกระทบของปญหาน้ันๆในประเดน็ ตางๆไดแก มผี ลกระทบตอ ประชากรมากหรือไม เปนสาเหตุที่ทํา ใหท ารกตายหรอื ไม มีผลตอ เด็กและเยาวชนหรอื ไม เปนสาเหตุของความพิการและทุพพลภาพหรือไม มีผลกระทบตอการพัฒนาชุมชนหรือชนบทหรือไมเปนสาเหตุที่ทําใหชุมชนมีความกังวลหรือไม หาก คาํ ตอบของปญหาท้ังหมด คอื “ใช” ใหถ ือวา เปน ปญหาอันดับที่หน่ึงที่ตองการแกไข วิธีนี้มีสูตรในการ จัดลําดบั ความสําคญั ของปญหา โดยใชองคประกอบ 4 ประการไวดังนี้ 9

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1) องคป ระกอบ A คือ ขนาดของปญหา (Size of Problem) ในการใหค ะแนน ขนาดของปญ หาอาจใชอตั ราสวนหรอื รอ ยละของประชากรที่เกิดปญหาบางครั้งอาจตองนํามาคํานวณ เปน Incidence หรือ Prevalence rate ตอประชากร 100,000 เกณฑการใหคะแนนใน องคป ระกอบ A มคี า คะแนน 0-10 คะแนน 2) องคป ระกอบ B คอื การคกุ คามของปญ หาน้ัน (Seriousness of Problem) มี ปจจัยที่ตองพิจารณา 4 อยาง ไดแก ความเรงดวน ความรุนแรง การสูญเสียทางดานเศรษฐกิจ และการแพรกระจายไปสูบุคคลอ่ืน เกณฑการใหคะแนนในองคประกอบ B มีคาคะแนน 0-10 คะแนน 3) องคป ระกอบ C คอื ประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั ิงาน (Effectiveness of the Intervention) เปนสวนสําคัญยิ่งแตวัดไดมากมากและวัดออกมาเปนเปอรเซ็นต เกณฑการให คะแนนในองคป ระกอบ C มีคา คะแนน 0-10 คะแนน 4) องคป ระกอบ D คือ ขอจํากัด (Limitation) ตวั กําหนดวา โครงการหรือกจิ กรรม จะกระทําไดหรือไม ภายใตระยะเวลาที่กําหนด และทรัพยากรท่ีมีอยูโดยตองพิจารณาถึงส่ิงตางๆ ตอไปนี้ คือ ความเหมาะสมของกิจกรรมแกปญหา (Property : P) เศรษฐกิจ )Economics : E) การ ยอมรับ (Acceptability : A) ขุมพลังหรือทรัพยากร (resource : R) ความเปนไปไดเชิงกฎหมาย (Legality : L) ปจจัยดังกลาวจะเปนตัวบงช้ีของความสําเร็จของโครงการตางๆแตละปจจัย (PERRL) มีคา คะแนนเปน 0 หรอื 1 การคํานวณใหค ะแนนโดยวธิ ีคูณ (P×E×A×R×L) ดังน้ัน ถาตัวใดตัวหน่ึงเปน 0 จะทําให เปน 0 และจะทําใหองคประกอบ D มีคาเปน 0 ดวย ดังน้ัน การพิจารณาใหคะแนนจึง ตอง ทําอยางระมดั ระวัง ขอ ดี 1) มีองคประกอบใหพ ิจารณาคอนขา งละเอยี ด 2) เกณฑการใหคะแนนชัดเจนในแตละองคประกอบ 3) เหมาะสมสําหรับการจัดลาํ ดับความสาํ คัญของปญหาในระดับนโยบาย 3. วิธกี ารใชก ระบวนการกลมุ (Nominal group process) เปน การใชประชาชนหรอื กลุมตัวแทนตัดสิน ท้ังน้ีสมาชิกในกลุมจะตองมีความรูในปญหาท่ีพบในชุมชนเปนอยางดี วิธีนี้เนนให ประชาชนมีสวนรวมในการจัดลําดับความสําคัญของปญหาสวนใหญ มักใชรวมกับการจัดเวที ประชาคม ประกอบดว ย 2 ขั้นตอน ไดแ ก 3.1 Listing technique ประชาชนเสนอปญหาตา งๆที่มีในชุมชน 3.2 Ranking technique ประชาชนลงคะแนนตดั สนิ เลือกปญ หาโดยใชหลัก 10

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงประชาธิปไตย ปญหาที่มีมีจํานวนผูเลือกมากที่สุด ถือเปนปญหาท่ีมีความสําคัญเปนอันดับท่ี 1 ซ่ึงถือ ไดว า เปนปญ หาที่มาจากประชาชนโดยแทจรงิ ขอ ดี 1) ประชาชนมสี ว นรว มในการจดั ลําดับความสําคัญของปญหา 2) ประชาชนในชมุ ชนมีโอกาสในการแสดงความคดิ ความเหน็ ในปญหาของชมุ ชน สงผลดตี อความรวมมือแกปญหาในอนาคต 4. วธิ ี 5 D เปนวธิ ที ่ีใชก ารจดั ลําดับความสาํ คญั ของปญ หาตามหลักวิทยาการระบาด เกณฑการพจิ ารณาประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก -Death พจิ ารณาจากจํานวนคนที่เสยี ชวี ติ จากโรคหรอื ปญ หานน้ั ๆ ในชุมชน -Disability ใหค วามสนใจจํานวนท่เี กิดความพิการจากปญ หาหรือโรคน้ันๆ รวมถงึ แนวโนม ของโรคท่ีเกิดขึ้นเปน สาเหตขุ องความพิการหลงเหลือในชุมชนนั้นๆ -Disease พิจารณาจากจาํ นวนผูป วยจากโรคหรอื ปญหาสขุ ภาพนนั้ ๆโดยมงุ สนใจท่ี อัตราปวยในชมุ ชน -Discomfort พิจารณาถงึ ปญหาสุขภาพที่กอ ใหเ กดิ ความไมสขุ สบายของคนใน ชมุ ชน -Dissatisfaction ใหความสําคัญกับความรสู กึ ไมพึงพอใจของประชาชนในชุมชน ตอ ปญหาสุขภาพท่ีเกิดขน้ึ และตอ งการแกไข ขอดี 1) มอี งคป ระกอบที่ชัดเจนไมซับซอน งา ยตอการพจิ ารณาและทาํ ความเขาใจ 2) องคป ระกอบในการใหคะแนนอาจนาํ ไปประยุกตรวมกับองคประกอบในวิธีอ่ืน ได 5. วธิ ีของ Standhope และ Lancaster มีการต้งั เกณฑสําหรบั การจัดลาํ ดบั ความสําคัญ ของปญหาไวดังน้ี 5.1 การรับรูปญหาของชมุ ชน 5.2 ความตง้ั ใจของชมุ ชน ในการแกไขปญ หานนั้ 5.3 ความสามารถของเจา หนา ท่ีในแกไขปญ หา 5.4 ผูชํานาญการในการแกปญ หานั้นๆท่มี ีอยู 5.5 ความรนุ แรงของปญ หาถาไมไดร ับการแกไข 5.6 ความรวดเรว็ ของมตทิ ่จี ะตองแกไ ขปญหานัน้ โดยแตละเกณฑมีนํ้าหนักคะแนนต้ังแต 1-10 และแตละปญหามีคะแนนตั้งแต 1-10 พรอมท้ังให เหตุผลในการใหค ะแนนปญ หาดวย หลงั จากนั้นนําคะแนนของเกณฑมาคูณกับคะแนนของปญหาและ นําคะแนนท่ีคณู ไดข องแตละเกณฑมาบวกกันจะได เปนคะแนนรวมของแตล ะปญ หา 11

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ขอดี 1) มีเกณฑก ารใหคะแนนท่แี บง เปน 2 สวน ที่เกยี่ วของกับประชาชนและสว นของ เจา หนา ทีช่ ัดเจน 2) มกี ารใหเหตผุ ลในการใหค ะแนนในแตละปญ หา ซึ่งสามารถอธบิ ายทไ่ี ปทม่ี าของ คะแนนไดชัดเจน 6. วิธขี องสรรพสิทธปิ ระสงค (SPS Model) มหี ลกั การดงั น้ี -ปรับปรงุ จากของมหาวิทยาลัยมหดิ ลรวมกบั วิธีกระบวนการกลุม (Nominal group process) -ใชห ลกั การมีสว นรว มของคนในชมุ ชน -ใชใ นเวทปี ระชาคม หรอื กระบวนการ A-I-C -ประชาชนทร่ี ว มกระบวนการตอ งเปน ตัวแทนในทุกกลุม ของชมุ ชน -มีตัวแทนผนู ําองคกร ตัวแทน องคการปกครองสวนทองถ่ิน และผูมีสวนไดสวนเสีย ในชุมชน -ไมป ด กนั้ การนาํ เสนอปญหา กระบวนการวิธีของสรรพสทิ ธปิ ระสงค (SPS Model) มี 3 ข้นั ตอน ดังน้ี ขนั้ ที่ 1 -การเตรียมการเชญิ ผูมสี ว นไดสวนเสยี ประชาชน หรอื ตวั แทนกลุมคนในชุมชนใหได ครบทกุ กลุมหรือใหไดมากท่ีสุดเทาที่จะทําได เชน กลุมผูนํา กลุมเยาวชน กลุมตัวแทน อปท. และผูมี สวนไดสว นเสยี ในชมุ ชน เปน ตน -แบงกลมุ ยอย คนหาปญหาของชมุ ชน -นําเสนอปญ หาของแตล ะกลมุ ขัน้ ที่ 2 -รวบรวมปญหาจากแตละกลุมใหเปนปญหาของชุมชนโดยปญหาท่ีเหมือนหรือ คลายกนั ใหจ ดั รวมกนั ได ขัน้ ท่ี 3 -จัดลําดับความสําคัญ เกณฑการใหคะแนน ดัดแปลงจากวิธีของภาควิชาบริหาร สาธารณสขุ มหาวทิ ยาลยั มหิดล โดยใหถือวาผูเขารวมประชาคมเปนตัวแทนของประชาชนท้ังหมดใน ชมุ ชนคิดเปน 100% เกณฑแ ละแบงองคป ระกอบของการพจิ ารณาเปน 4 ดา น ดังน้ี 1.1 ขนาดของปญหา (Size of Problem or Prevalence) หมายถึง ปญหานั้นเกิดขึ้น แลวมีผลกระทบตอคนในชุมชนเปนจํานวนมากนอยเพียงใดและพิจารณาจากจํานวนคนที่ยกมือ สนับสนุนวาปญหานั้นมีผลกระทบตอตัวเองหรือกระทบตอคนในชุมชนจํานวนมาก เกณฑการให คะแนน ดังน้ี 12

ขนาดของปญหามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงคะแนน ไมม เี ลย 0 1 มากกวา 0-25% 2 26-50% 3 51-75% 4 76-100% 1.2 ความรุนแรงของปญหา (Severity of Problem) หมายถึง ปญหาหรือโรคนั้นมี ความรุนแรงอาจทําใหคนในชุมชนเกิดการตาย พิการ มีผลกระทบรุนแรงตอคนในชุมชน และ พิจารณาจากจํานวนคนที่ยกมือสนับสนุนวาปญหานั้นมีความรุนแรงและตองการแกไข เกณฑการให คะแนน ดังน้ี ความรนุ แรงของปญหา คะแนน ไมมีเลย 0 มากกวา 0-25% 1 26-50% 2 51-75% 3 76-100% 4 1.3 ความยากงายในการแกปญหา (Ease of management) หมายถึง การดําเนินงาน แกปญหากระทําไดโดยงาย ปญหานั้นแกไขเองโดยไมตองอาศัยหนวยงานอ่ืนและตองพิจารณาปจจัย สนับสนุน ไดแก ระยะเวลา งบประมาณ และพิจารณาจากจํานวนคนท่ียกมือสนับสนุนวาปญหานั้น งา ยตอ การแกไข เกณฑก ารใหค ะแนน ดงั น้ี 13

ความงายในการแกปญ หา คะแนน ไมมีเลย 0 1 มากกวา 0-25% 2 26-50% 3 51-75% 4 76-100% มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1.4 ความสนใจหรอื ความรวมมอื (Community Concern) หมายถึง จํานวนประชาชนที่ วิตกกังวลและตองการใหชวยแกไข ประชาชนที่จะใหความรวมมือในการแกไข โดยพิจารณาจาก จํานวนคนทยี่ กมือสนับสนุนวา จะรว มมือแกไ ขปญ หาน้นั เกณฑการใหคะแนน ดังน้ี ความสนใจ คะแนน ไมม เี ลย 0 มากกวา 0-25% 1 26-50% 2 51-75% 3 76-100% 4 การรวมคะแนน -คดิ เทยี บบัญญัตไิ ตรยางค โดยถอื วาประชาชนท่รี ว มในการจัดลําดับเปนตัวแทนของ คนทง้ั ชุมชน สตู ร คะแนน % = (จาํ นวนคนโหวต×100)/N แทนคาสตู ร N = จาํ นวนผูท โ่ี หวตทงั้ หมดในแตล ะองคประกอบ -นาํ คะแนน % ท่ไี ดไปเทยี บเกณฑ คะแนน 0-4 แลว รวมเปน 14

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง -คะแนนรวมบวก -คะแนนรวมจาํ นวนคน (Vote) -จํานวน N ในแตล ะองคประกอบอาจไมเ ทากนั ไดจากขอจํากดั ของการโหวต -หากปญหาใดมคี ะแนนรวมบวกเทากนั ใหตัดสนิ ท่ีคะแนนรวมจาํ นวนคนท่ีโหวตให ปญ หานน้ั ๆ ตัวอยา ง ตารางการจัดลาํ ดับความสาํ คญั ของปญหาโดยวิธีของสรรพสิทธปิ ระสงค (SPS Model) จากตารางตัวอยาง จะเห็นไดวาปญ หาท่ีประชาชนเลือกในการจดั ลาํ ดบั ท่ี 1 ไดแก ปญ หา ไขเ ลอื ดออก รองลงมา คือ ปญหาถนนชํารุด ขอสงั เกต 1) จาํ นวน N ในแตล ะองคป ระกอบไมเ ทากนั เน่ืองมาจากการเปดโอกาสใหส มาชิก หนึ่งคน สามารถยกมือเลือกไดหลายปญหาในบางคร้ัง หากเวลาจํากัดสามารถกําหนดใหผูเขารวมยก มอื สนบั สนุนปญหาไดเพยี งปญ หาเดียวในชอ งของแตละองคประกอบ โดยให vote ทีละองคป ระกอบ 2) ปญหาที่ประชาชนนําเสนอไมควรปด กั้นใหเสนอไดเ ฉพาะท่เี กย่ี วกับโรคหรอื สุขภาพ สามารถเสนอไดหลากหลาย โดยปญหาที่ไมเกี่ยวของกับสุขภาพหรือสาธารณสุขจะมีคะแนน ตกไปเองตามกระบวนการใหคะแนนในองคประกอบของความงายและความรวมมือแกปญหา เพื่อให ประชาชนไมร ูสกึ ถูกปดกั้นและยอมรบั ตามกระบวนการสงผลตอความรวมมือแกป ญ หาในอนาคต เม่ือจัดลําดับความสําคัญของปญหาและไดปญหาอันดับท่ี 1 แลวตองถามประชาชนอีกครั้ง เพ่ือเปนการยืนยันใหทุกคนยอมรับ จากนั้นปญหาท่ีไมถูกเลือกเปนลําดับท่ี 1 หรือ 2 ตองบอกกับ ประชาชนวา จะไมท ิง้ ปญ หาที่ประชาชนนําเสนอในทกุ ปญ หา จะดําเนินการทําหนังสือสรุปรายงานการ จัดเวทีประชาคมเสนอตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของดําเนินการแกไขในลําดับถัดไปหรืออาจจะใหตัวแทน อปท.ท่ีเขารวมกระบวนการรับมอบปญหาดังกลาวไป หรือเชิญใหช้ีแจงกับประชาชนถึงแนวทางการ แกปญหา จะทําใหประชาชนท่ีเขารวมโครงการไมรูสึกวาปญหาท่ีตัวเองเสนอมาถูกละท้ิงไป และ 15

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตัวแทนหรือนายก อปท.หรือผูมีสวนเก่ียวของจะไดโอกาสน้ีในการตอบคําถามประชาชนและชวยใน การสนับสนุนงบประมาณในการดาํ เนินโครงการแกไขปญหาได สรุป ในการจัดลําดับความสําคัญของปญหามีหลายวิธี แตละวิธีมีขอดี ขอเสียแตกตางกัน ตอ งนํามาดดั แปลงเพ่ือใชใหเหมาะสมกับสถานการณขององคกร บุคคลและชุมชน การตัดสินใจเลือก วิธีและเกณฑการพิจารณาไมอาจเกิดจากบุคลากรสาธารณสุขคนใดคนหน่ึงได แตจะตองมีการ พิจารณารวมกันในบุคลากรทีมสุขภาพ และท่ีขาดไมได คือ การมีสวนรวมของชุมชนซ่ึงจะสงผลถึง ความรวมมือในการดําเนนิ กิจกรรมในชมุ ชนในลําดบั ตอ ไป การวิเคราะหสาเหตขุ องปญ หาอนามัยชุมชน (Identified cause of problem) ตอ งพจิ ารณาวาปญ หาทีส่ าํ คัญทส่ี ุดเปน ปญหาที่เก่ียวของอะไร หรืออยูในกลุมใด เชน ปญหา ทางระบาดวิทยา(H , A , E) ปญหาท่ีเกิดจากพฤติกรรม (ปจจัยนํา , ปจจัยเอื้อ , ปจจัยเสริม)หรือ ปญหาที่เกิดจากส่ิงแวดลอม ทั้งจากธรรมชาจิและสังคม และตองพิจารณาภาพรวมของปญหาที่มีอยู ในชุมชนทง้ั หมดทกุ ปญ หาดวยความมคี วามสําคัญเกี่ยวของกนั หรอื ไมอ ยางไร การวเิ คราะหป ญหาสาธารณสุขใหพิจารณาตามลําดับ ดงั นี้ คือ 1.ลักษณะของปญหา แบงตามกลุมบุคคล เชน อายุ เพศ ลักษณะครอบครัว การศึกษา แบง ตามสถานท่ี เชน การแบงเขตในหมูบาน สถานท่ีใกลแหลงน้ํา แบงตามชวงเวลา เชน ชวงเวลาตน เดอื น-ปลายเดอื น ฤดกู าล โดยจาํ แนกถงึ ขนาด และความรนุ แรงของปญหา 2.พิจารณาตามสาเหตุของการเกิดปญหาสาธารณสุข โดยใชหลักวิทยาการระบาด ระหวาง Host, Agent และ Environment ปจ จยั หลักท้ัง 3 คือ องคประกอบท่ีสําคัญหรือเปนสาเหตุของการ เกดิ โรค 2.1 สาเหตุท่ีมาจากบุคคล (Host) ไดแก ตัวบุคคลหรือกลุมคนผูเปนโรคหรือเส่ียงที่ จะเปนโรค เชน เด็กอายุนอยภูมิตานทานต่ํา ผูสูงอายุท่ีรางกายออนแอหรือมีโรคประจําตัว การมี สุขภาพไมดี การมีพฤติกรรมทเี่ สย่ี งตอ การเกดิ โรค การทาํ งานหรอื การประกอบอาชีพท่ีเสี่ยงสูงตอการ เกดิ โรค 2.2 สาเหตุท่ีมาจากสิ่งท่ีทําใหเกิดโรค (Agent) ไดแก สิ่งที่เปนตัวกอใหเกิดโรค เชน เชือ้ โรค สารพิษ สารอาหาร ความเครียด สารกอ มะเร็ง เปน ตน 2.3 สาเหตุท่ีมาจากสิ่งแวดลอม (Environment) ไดแก ส่ิงท่ีทําให Host เกิดโรคได งาย และทําให Agent เพิ่มจํานวนหรือเพิ่มความรุนแรงมากข้ึน เชน อุณหภูมิ แสง เสียง ความชื้น สภาพที่อยูอาศัยไมถูกสุขลักษณะ ลักษณะงาน และสิ่งแวดลอมในการทํางาน ตัวนําในการ แพรกระจายของเช้ือโรคโดยพาหะนําโรคตางๆ เชน อาหาร อากาศ น้ํา แมลงวัน ยุง เปนตน การหาสาเหตขุ องปญหาตอ งศึกษา 2 ชวงคือ 16

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3. พิจารณาผลของปญหาสาธารณสุข วามีผลตอบุคคล สิ่งกอโรค และสิ่งแวดลอมอยางไร บาง เชน ปญหาน้ันทําใหคนปวยเพิ่มมากข้ึนไหม มีผูปวยพิการไหม เสียชีวิตมากนอยแคไหน มีการ แพรก ระจายของเชื้อโรคเปนอยา งไร สง ผลตอ การเปลย่ี นแปลงดานส่ิงแวดลอ มอยางไรบาง เปนตน 4. นาํ ผลการวิเคราะหป ญหาสาธารณสขุ มาเรียงลําดับแลวกําหนดปญหาสุขภาพอนามัยของ ชุมชนขน้ึ โดยที่การวิเคราะหส าเหตขุ องปญหา เปนการวิเคราะหปญหาเพื่อหาสาเหตุของการเกิดโรค และปจจัยสงเสริมใหเกิดโรคและแพรกระจายของโรคเพิ่มมากข้ึนในชุมชน เปนเร่ืองสําคัญที่สุดที่จะ ทําใหเราสามารถดําเนินการแกไขปญหาไดตรงตามสาเหตุเปนการประหยัดทรัพยากรตางๆได ดังท่ี กลาวมาแลววาในทางสาธารณสุขการเกิดโรคเปนผลลัพธที่เกิดจากการเสียสมดุลระหวาง Host, Agent และ Environment ซึ่งเปนปจจัยท่ีทําใหเกิดโรคอาจจะมาจากหลายปจจัย (Multifactorial causation) นอกจากน้ีการเปล่ียนแปลงในปจจัยหนึ่งอาจสงผลไปถึงอีกปจจัยหนึ่งได มีผลทําใหเพิ่ม โอกาสเกิดโรคมากข้ึน ความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆที่มีผลตอการเกิดโรคสามารถเขียนอธิบาย ความสัมพันธข องสาเหตุของปญ หา (Web of causation) ไดหลายรูปแบบ ดังนี้ ตัวอยา ง การเขยี นความสมั พันธข องสาเหตขุ องปญ หา (Web of causation) 17

18 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5. วิเคราะหขอมูลที่เก็บได โดยรวบรวมขอมูลตางๆเพื่อใหไดขอสรุปเปนภาพรวมของชุมชน วาสาเหตุท่ีสําคัญของการเกิดปญหาคืออะไร ขอมูลที่ชวยสนับสนุนมีเพียงพอหรือยัง ตองการขอมูล สนับสนุนเพม่ิ เตมิ อีกหรือไม 6. เก็บรวบรวมขอมูลเพ่ิมเติม เพื่อชวยยืนยันสาเหตุของปญหาใหแนนอนมากขึ้น เชน การศึกษาพฤตกิ รรมเสี่ยง การศึกษาเก่ียวกับ ความรู ทัศนคติ และการปฏิบัติตัว ท่ีเกี่ยวของกับการ เกดิ โรค หาแหลงแพรก ระจายของเช้อื เปน ตน ข้นั ตอนการวเิ คราะหหาสาเหตุของปญ หา 1. สาเหตุทางวิชาการ ศึกษาสาเหตุยอยท่ีเปนปจจัยสําคัญทุกปจจัยที่ทําใหเกิดปญหาจาก หนงั สอื เอกสาร ตาํ รา งานวจิ ัย (องคค วามรทู างวิชาการของปญหานน้ั ทง้ั หมด) 2. นําปจจัยสาเหตุของปญหามาเขียนเปนแผนภาพเพ่ือเชื่อมโยงความสัมพันธของปจจัย สาเหตุ โดยอายเขียนในลักษณะของ Concept mapping, Tree Diagram, Fish Bone เปนตน โดย อยูบนพ้ืนฐานของปญหา เชน H , A , E (ระบาดวิทยา) ปจจัยนํา , ปจจัยเอ้ือ , ปจจัยเสริม (พฤตกิ รรม) หรอื อื่นๆ 3. นาํ แผนผงั ที่ไดจ ากการศึกษาสาเหตุทางวชิ าการมาเปน เครื่องมือ 4. ดําเนินการเกบ็ รวมรวมขอมูล กลับกลมุ เปาหมายของปญ หา 5.วเิ คราะหขอ มูล 6.ต้ังเกณฑก ารพจิ ารณาสาเหตขุ องปญ หาโดยใชแ นวคิดของ Best , Boom 7.นําปจจัยสาเหตุของปญหาท่ีผานการวิเคราะหขอมูลและเทียบเกณฑวาเปน ปจจัยสําคัญ ของปญหาเขียนเปน แผนภาพเพอ่ื เชอ่ื มโยงความสมั พันธของปจ จัยสาเหตุท่ีแทจ รงิ อกี หนึ่งคร้งั 8.ศึกษาแผนภาพของสาเหตุท่แี ทจรงิ ของปญหาเพื่อวเิ คราะหค วามสมั พันธเ ชงิ บวก – ลบ 9.นาํ สาเหตุทแี่ ทจริงของปญหามาเปน วัตถปุ ระสงคสาํ คัญในการดาํ เนินการเพ่ือแกไขปญหา แผนภาพแสดงขน้ั ตอนการวิเคราะหส าเหตุของปญ หา 19

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สรุป การวินิจฉยั ชมุ ชนเพ่ือใหไดป ญหาที่มีความตอ งการของประชาชนในชมุ ชน ผปู ฏิบตั งิ าน ควรจะตองมีแนวทางในการดําเนินการซ่ึงประกอบดวย กระบวนการแกไขปญหาอนามัยชุมชน การ ระบุปญ หาดา นอนามยั ชุมชน การจัดลาํ ดบั ความสําคัญของปญหาอนามัยชุมชน การวิเคราะหสาเหตุ ของปญหาอนามยั ชมุ ชน เพอ่ื ใหประชาชนไดร ับการแกไ ขปญ หาท่ีถูกตอ ง คําถามทา ยบท 1.จงระบขุ ัน้ ตอนของการวางแผนการพฒั นาอนามยั ชุมชน 2.จงอธิบายความหมายของการวนิ จิ ฉยั อนามัยชมุ ชน 3. . จงระบุองคประกอบท่ีสําคัญในการจัดลําดับความสําคัญของปญหาท่ีในทุกวิธีการ พิจารณาองคประกอบนัน้ เอกสารอา งอิง พรศริ ิ พนั ธะสี. (2552). กระบวนการพยาบาลและ แบบแผน สุขภาพ: การประยุกตใ ชท างคลินกิ . พิมพครั้งท่ี 2. กรงุ เทพ: พิมพอักษร. สขุ ศริ ิ ประสมสขุ .(2554). กระบวนการอนามัยชุมชน. ใน: จรยิ าวัตร คมพยคั ฆ, วนดิ า ดรุ งคฤ ทธชิ ัย, บรรณาธ ิการ. การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน แนวคิดหลักการและการปฏบิ ตั ิการพยาบาล. พมิ พครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: จุดทองจาํ กัด เดชา ทําดแี ละวลิ าวลั ย เตือนราษฎร. (2555). การวนิ ิจฉยั ชมุ ชนและการจัดลําดบั ความสาํ คัญของ ปญ หา. ในศิวพร อง้ึ วัฒนาและพรพรรณ ทรพั ยไ พบลู ยก จิ , บรรณาธิการ การพยาบาล ชมุ ชน. พิมพครั้งท่ี 1 เชยี งใหม: ครองชา งพรนิ้ ทติ้ง จาํ กัด. กีรดา ไกรนวุ ัตร และรกั ชนก คชไกร. (2561). การพยาบาลชมุ ชน (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ: โครงการตําราคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิ ล. พิมพพรรณ ศลิ ปสุวรรณ. (2555). ทฤษฎี ปรัชญา ความรูส ูก ารปฏบิ ตั ใิ นงานพยาบาลอนามยั ชมุ ชน (พมิ พครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ : ภาควชิ าการพยาบาลสาธารณสขุ คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล. ลดั ดาวลั ย ไวยสรุ ะสิงห และสภุ าภรณ วรอรณุ . (2560). กระบวนการพยาบาลชุมชน : แนวคิด ทฤษฎี และการประยกุ ตใ ชด ูแลสขุ ภาพประชาชน. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พแ หงจุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. 20

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง แผนการบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 5 หวั ขอ เน้ือหาประจาํ บท การวางแผนการดาํ เนินการและการประเมินผลการแกไขปญ หาอนามัยชุมชน 1. ความสาํ คญั ของการวางแผนอนามัยชมุ ชน 2. ประโยชนข องการวางแผนอนามัยชุมชน 3. ลักษณะของแผนพัฒนาอนามยั ชมุ ชน 4. กระบวนการวางแผนอนามัยชมุ ชน 5. การเขียนโครงการ 6. การประเมินผลการดําเนินการแกไขปญหาอนามัยชมุ ชน วัตถปุ ระสงคเชงิ พฤติกรรม เม่อื เรียนจบในเนื้อหาบทน้ีแลวสามารถทาํ สงิ่ ตอไปนี้ได 1. บอกความสําคัญของการวางแผนอนามยั ชมุ ชนได 2. อธบิ ายประโยชนข องการวางแผนอนามยั ชุมชนได 3. บอกลกั ษณะของแผนพัฒนาอนามัยชมุ ชน 4. อธิบายกระบวนการวางแผนอนามยั ชุมชนได 5. สามารถเขียนโครงการการแกไขปญ หาอนามยั ชมุ ชนได 6. อธบิ ายประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การแกไขปญ หาอนามยั ชุมชนได วิธกี ารสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 วิธสี อนแบบบรรยาย 1.2 วิธกี ารสอนแบบจัดกิจกรรมกลุม 1.3 วธิ ีสอนจากกรณีศกึ ษา 1.4 วธิ ีสอนโดยศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอน 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 ผสู อนอธบิ ายทฤษฎีและซักถามพรอมยกตัวอยางประกอบการบรรยาย โดยใช power point 2.2 แบงผเู รยี นเปน กลมุ ๆ ละประมาณ 5 คน เพือ่ ศึกษาตามสถานการณทกี่ าํ หนดให โดยรวมกันเขยี นโครงการ 2.3 ผสู อนและผูเรียนรว มกันอภปิ รายและหาขอสรุปรว มกนั อีกครั้งหน่ึง 2.4 นําเสนองานหนาชัน้ เรียน 1

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.5 ใหผเู รยี นทาํ แบบฝกหดั บทท่ี 5 สงในวนั ถดั ไป ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนอนามยั ชมุ ชน 2. ไฟลเอกสารประกอบการสอนอนามัยชุมชน 3. คอมพวิ เตอร 4. หนงั สืออานประกอบคนควาเพิม่ เติม 5. แบบฝกหัดบทที่ 5 การวดั ผลและประเมินผล 1. แบบประเมินพฤติกรรมการมสี วนรวมโดย 1.1. สังเกตจากการซักถามผเู รยี น 1.2. สงั เกตจากการรวมกจิ กรรม 1.3. สงั เกตจากความสนใจ 2. ประเมนิ จากการทาํ แบบฝกหดั 3. ประเมนิ จากการสอบยอย 4. ประเมินจากการสอบปลายภาค 2

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทที่ 5 การวางแผนการดาํ เนนิ การและการประเมนิ ผลการแกไขปญ หาอนามัยชุมชน ภายหลังจากที่ไดรวมกับชุมชน ผูเก่ียวของ จัดลําดับความสําคัญของปญหาที่ตองการแกไข แลว เจา หนา ท่ีสาธารณสขุ จะตอ งรวมกับประชาชน ผทู เี่ ก่ียวของในการกําหนดแผนงาน กิจกรรมท่ีจะ ดําเนินการแกไ ขปญหา ทง้ั นี้เน่ืองจากการวางแผนน้ัน เปนการตัดสินใจลวงหนาเกี่ยวกับวัตถุประสงค ท่ีตองทําใหสําเร็จและวิธีการที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงค เปนการตัดสินใจวาจะทําอะไร ทําอยางไร ทําเม่ือไร ใครเปนผูทํา การวางแผนจึงเปนเสมือนสะพานเช่ือมชองวางระหวางสิ่งท่ีเปนอยูกับส่ิงท่ี อยากเปน เพื่อใหเกิดส่งิ ทดี่ ีกวา ในอนาคตหรือบรรลุจดุ มุง หมายขององคกรท่ีกาํ หนดไว ความสาํ คัญของการวางแผนอนามยั ชมุ ชน 1.ชวยใหสามารถระบุเปาหมาย ผลสําเร็จหรือผลงานท่ีตองการอยางชัดเจนและมี ประสิทธภิ าพ 2.ชว ยใหเ กิดการกาํ หนดผรู ับผิดชอบงาน กิจกรรมไดชดั เจน 3.ชวยใหเจาหนา ทหี่ รอื ผูท่เี กี่ยวของสามารถติดตามงานไดส ะดวก 4.ชวยใหเกดิ การประสานงานการใชทรพั ยากรที่มอี ยางจํากดั ระหวางหนว ยงานไดชัดเจน ทํา ใหร วู าใครทาํ อะไรอยู และสามารถชว ยเหลอื เก้ือกลู กันใชท รพั ยากรรว มกัน 5. ชวยใหทีมสุขภาพและชุมชน ไดรวมกันตระหนักในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของ ประชาชนในชุมชน โดยมีการคาดคะเนปญ หาทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ ลวงหนาและหาวิธีการปองกันหรือแกไข กอนท่จี ะมีการเสยี หายเกดิ ข้ึน ประโยชนข องการวางแผนอนามัยชุมชน ผลของการวางแผน คือ การไดงานทด่ี ี ท่ีจะนําไปแกไขปญหาสุขภาพของชุมชน การวางแผน มีประโยชนหลายประการ ดงั น้ี 1.เปนการพิจารณาทางเลอื กทด่ี ีและเหมาะสมท่ีสดุ ชวยทําใหสามารถดําเนินโครงการไดอยาง มีประสิทธภิ าพสูงสุด โดยใชทรัพยากรนอยท่สี ุด 2.การวางแผนชว ยในการควบคมุ และประเมินผลงานไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.ชว ยเพมิ่ ประสิทธิภาพของการทํางานและลดความผดิ พลาดท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในการทาํ งาน 4. ชว ยใหเ กิดความรว มมอื และรว มกนั รบั ผิดชอบงานตามศักยภาพของแตละบคุ คล 5. การวางแผนทถ่ี กู ตอ งสมบูรณจ ะชวยใหการบริหารงานมีระบบเปน ไปดวยความเรียบรอ ย ลักษณะของแผนพฒั นาอนามยั ชมุ ชน แผนพัฒนาอนามัยชมุ ชนน้นั เปนแผนที่กาํ หนดข้นึ เพื่อตองการแกไขปญหาเฉพาะในแตละมา ชุมชน จึงเปนแผนในลกั ษณะของแผนปฏบิ ตั กิ าร ท่มี ลี กั ษณะเปนแผนในระดับลาง เปนแผนระยะสั้น ซ่ึงมีระยะเวลาไมมากกวา 1 ป มีการกําหนดวัตถุประสงคชัดเจนเจาะจงเฉพาะเร่ืองหนึ่งเรื่องใด โดย 3

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงยึดนโยบายหรือวัตถุประสงคของแผนจังหวัด แผนชาติมาเปนกรอบในการกําหนดเปาหมายในการ จัดทําแผนพัฒนาอนามัยชุมชนของชุมชน ซึ่งมักจะจัดทําในลักษณะของโครงการ (Project) ซึ่ง โครงการก็คอื แผนชนดิ หนึ่งและเพื่อใหเกิดความเขาใจในลําดับของแผน ในทีน้ีขอจัดลําดับการจัดทํา แผนตามลาํ ดบั ดงั นี้ 1.แผน (Plan) หมายถึง แผนหลกั ของหนว ยงานท่กี าํ หนดทิศทางการดําเนินงานตามนโยบาย ของหนว ยงาน อาจเปน แผนท่มี รี ะยะยาว ปานกลาง หรอื สัน้ ก็ไดข ้ึนอยกู ับหนวยงาน เชน แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติฉบับท่ี 12 2.แผนงาน (Program) หมายถึง แผนงานยอยในแผนแมบท ซ่ึงกําหนดรายละเอียดวาจะมี กิจกรรม การดําเนินการอะไรบาง ซึ่งเฉพาะเจาะจงในปญหาที่ตองการแกไขชัดเจน มีระยะเวลา 1-5 ป เชน แผนงานสาธารณสขุ มลู ฐาน ซึง่ แผนงานจะประกอบดวยกลมุ ของโครงการ 3.โครงการ (Project) หมายถึง แผนท่ีถูกกําหนดขึ้นเพื่อใชในการดําเนินการใหบรรลุ กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง มีการกําหนดวัตถุประสงคที่มีรายละเอียดชัดเจน วัดได เห็นผล โครงการใช เวลาเทาใดก็ไดขึ้นกับวัตถุประสงคและกิจกรรมในโครงการ โครงการแตละโครงการมีกิจกรรมเดียว หรอื หลายกจิ กรรมก็ได 4.กิจกรรม (Procedure) เปนรายละเอียดของการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงค กิจกรรม จะเปน แนวทางอยูในโครงการ แผนงาน กระบวนการวางแผนพัฒนาอนามยั ชุมชน การวางแผนอนามัยชุมชน เพ่ือการแกปญหาในชุมชน กอนท่ีจะมีการวางแผนการพัฒนา อนามัยชมุ ชนนนั้ เจาหนาที่ที่เก่ียวของจะตองจัดใหประชาชนในชุมชนท่ีมีความรู ความสามารถ และ เปนแกนนําดานสุขภาพ มารวมในกระบวนการจัดทําแผน ทั้งน้ีเพราะประชาชนในชุมชนจะเปนผู ไดร ับผลกระทบ และเก่ียวขอ งกับการดําเนนิ การของแผนงาน ดังน้ัน การดาํ เนินการวางแผนจึงตองให ประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผน นอกจากน้ี ตองเชิญหนวยงานที่เก่ียวของในการพัฒนา ชมุ ชนเขามาวางแผนรวมกัน กระบวนการวางแผนพฒั นาอนามัยชมุ ชน ประกอบดว ย 1.การกําหนดวตั ถปุ ระสงค 2.การประเมินสภาพแวดลอมของหนวยงาน 3.กําหนดหรือเขยี นแผน 4.การนาํ แผนไปปฏิบตั ิและควบคมุ กาํ กบั 5. การประเมินผลแผนงาน โดยจะอธิบายตามหัวขอ ดงั น้ี 1.การกําหนดวัตถุประสงค นักวิชาการสาธารณสุขจะตองพิจารณากําหนดวัตถุประสงควา ตองการส่ิงใด ตองการแกปญหาใด ตองการใหเกิดส่ิงใดในอนาคต ซึ่งการกําหนดวัตถุประสงคไดนั้น จะตอ งมีการประเมินสภาพของปญ หา วเิ คราะหปญ หาทีต่ องการแกไขมาแลว เม่ือรูความตองการแลว จงึ จะวางแนวทางในการดําเนนิ การและกําหนดวัตถุประสงคของแผน ท้ังน้ีวัตถุประสงคของแผนตองมี ความชัดเจน เปนไปได วัดไดเปนเหตุเปนผล และกําหนดใหสอดคลองกับทรัพยากร เวลา และ นโยบายของหนวยงานระดบั สงู ขน้ึ ไป 4

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. ประเมินสภาพแวดลอมของหนวยงาน โดยพิจารณาความสามารถจะดําเนินการการ แกปญหาหรือพัฒนาของหนวยงานไดมากนอยเทาใด ท้ังในดานความรูความสามารถของบุคลากร งบประมาณและสภาพแวดลอ มนโยบายของหนวยงานท่รี ับผิดชอบ 3. กําหนดหรือเขียนแผน เปนการกําหนดทางเลือกวาจะทํากิจกรรมใดใหสอดคลอง ได ผลตอบสนองตอ วัตถปุ ระสงคท ่ีกาํ หนดไวของหนวยงาน 4. การนําแผนไปปฏิบัติและควบคุมกํากับ ใหเปนไปตามแผน ท้ังน้ีการกําหนดกิจกรรม ตา งๆจะตอ งคาํ นงึ ถงึ ประชาชนในชมุ ชนเปนศนู ยกลาง โดยใชขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหมาแลว และ กาํ หนดความสําคญั ในการดาํ เนินการกอนและหลงั 5. การประเมินผลแผนงาน การประเมินผลจะประเมินตามวัตถุประสงคของแผนงานท่ี กาํ หนดไว ในกรณีทไี่ มส ามารถประเมินผลไดตามทกี่ ําหนดไว อาจปรับเปล่ียนเกณฑในการประเมินผล ใหสอดคลอ งและเหมาะสมกบั สภาพการณทเี่ กิดข้ึนจรงิ ได ซึ่งการวางแผนพัฒนาอนามัยชุมชนนั้นมีทั้งที่เปนการวางแผนในระยะยาวและระยะสั้น ใน สวนของการวางแผนระยะสั้นน้ัน นักวิชาการสาธารณสุขจะจัดทําเปนแผนในลักษณะโครงการ เพ่ือ การแกปญหาเรงดวนเฉพาะหนามากกวาการทําแผนระยะยาว ดังนั้นในทีนี้จะเสนอวิธีการเขียน โครงการ ดังน้ี การเขียนโครงการ โครงการ คือ แผนการดําเนินการในการแกปญหาอนามัยของชุมชนในระยะสั้น ที่ นักวิชาการสาธารณสุขตองจัดทําขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน และการของบประมาณ สนับสนุนในการดําเนินการ จากหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่นอกเหนือไปจากแผนงานประจํา โดยการ วางแผนในลักษณะโครงการน้ี กอ นที่นักวชิ าการสาธารณสุขจะเขียนโครงการ ตองมีการดําเนินการใน ขั้นตอนของการระบุปญหาที่ตองการแกไขมากอนแลว การเขียนโครงการจะประกอบดวยหัวขอท่ี สาํ คญั ดงั น้ี 1. ความเปน มาของโครงการหรอื ความสาํ คัญของโครงการ 2. วตั ถปุ ระสงคของโครงการ 3. เปา หมายของโครงการ 4. ขอบเขตของโครงการ 5. วิธกี ารดําเนนิ การตามโครงการ 6. ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ การ 7. งบประมาณการดําเนินการ 8. การประเมินผลโครงการ 9. ผลท่ีคาดวาจะไดรบั จากโครงการ 10. ผูรับผิดชอบ 1. ความเปนมาของโครงการหรอื ความสาํ คญั ของโครงการ เปน ตวั บง ชีถ้ ึงรากฐานความ เปนมาของการจัดทําโครงการวามาจากแนวคิดใด ตองลําดับความสําคัญของโครงการ โดยเขียนให ผูอานทราบวา โครงการนั้นมีความสําคัญตอสังคม ประเทศชาติอยางไร แสดงใหเห็นวามีความ 5

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงจําเปนตองทําโครงการอยางเรงดวน มีกลวิธีท่ีสามารถแกปญหาไดอยางไร การเขียนตองลําดับจาก ภาพกวา งสูจุดสาํ คญั ทจ่ี ะตอบคําถามใหไ ดวา 1.1 ทาํ ไมตองทาํ โครงการน้ี มีขอ มลู อะไรสนับสนนุ 1.2 ทําแลว ไดประโยชนอ ะไร มแี นวคิดใดสนบั สนุน 1.3 วธิ กี ารทีจ่ ะใชใ นโครงการสามารถแกปญหาไดอ ยางไร นอกจากนี้การเขียนความสําคญั ของโครงการ ควรไดมกี ารอา งอิงท่เี ปนหลกั การทางวชิ าการท่ี ถกู ตอ งดวยโดยเฉพาะสถติ ิ และขอมลู ตา งๆ 2. วตั ถุประสงคของโครงการ เปนสิ่งจาํ เปนและสาํ คัญตอ โครงการโดยเฉพาะเพอื่ การ ติดตามประเมินผลโครงการ เพราะวัตถุประสงคเปนตัวกําหนดแบบของการประเมินผล หากกําหนด วัตถุประสงคเชิงปริมาณจะทําใหประเมินไดงาย การระบุวัตถุประสงคท่ีชัดเจนจะมีนํ้าหนักตอ โครงการ ซ่ึงการเขียนวัตถุประสงคนั้นควรชัดเจน เปนไปไดในเวลาท่ีกําหนด วัดได เปนเหตุเปนผล คาํ ถามกวางๆท่ีใชตรวจสอบขอความวัตถุประสงคที่นิยมใชกันท่ัวไป คือ เม่ือปฏิบัติตามแผนโครงการ แลว จะไดสง่ิ ใดไดผ ลงานใด หรอื ปรากฏผลใด 3. เปา หมาย มีความคลายกับวัตถุประสงคแตจะเปนตัวชี้ทิศทางท่ีจะบรรลุวัตถุปะสงคและ เปาประสงค ของหนวยงาน เปา หมายน้ันเปนความเฉพาะเจาะจงและมีระยะเวลาส้ันหรือกําหนดเวลา แนนอน และเปนแนวทางการประเมินผล โดยสวนใหญจะกําหนดเปาหมายเปนปริมาณมากกวา คณุ ภาพ ท้งั นเี้ พ่ือการประเมินผลไดชัดเจน 4. ขอบเขตของโครงการ เปนส่ิงท่ีระบุเพ่ือใหทราบขอบเขตและสิ่งที่ดําเนินการตาม โครงการซึง่ มีขอบเขตได 3 ลักษณะ คือ 4.1 ขอบเขตเร่ืองเวลา เปนการกําหนดขอบเขตดานเวลาในการดําเนินการตาม โครงการ 4.2 ขอบเขตทางภมู ิศาสตร เปน พน้ื ทที่ ีต่ องการดําเนนิ การตามโครงการ หรือสถานที่ กําหนดในการทํากิจกรรมตามโครงการ 4.3 ขอบเขตในทางปฏิบัติ เปนการกาํ หนดขอบเขตของวิธีการในการดําเนินการตาม โครงการวา จะทาํ ดว ยวิธีการใดบาง ใชก ลมุ ตัวอยางใดจึงจะบรรลุวัตถุประสงค 5. วิธีการดําเนินการตามโครงการ เปนการกําหนดกิจกรรมในวิธีการตางๆท่ีจะสามารถ ดําเนินการไดสาํ เรจ็ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคโดยพจิ ารณาแลว วา เหมาะสมทีส่ ุดกบั ชมุ ชนนนั้ ๆ 6. ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การ เปนการกาํ หนดขน้ั ตอนการดําเนินการตามวิธีการดําเนินการ โดย ระบเุ ปน เวลา ซ่งึ สวนใหญจ ะทําเปนผงั กาํ กบั งาน 6

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตัวอยาง การเขียนแผนปฏบิ ัตงิ าน (Gant chart) 7. งบประมาณที่ใชในการดําเนินโครงการ เปนการกําหนดทรัพยากรท้ังที่เปนงบประมาณ เงนิ และบุคคล โดยโครงการการกําหนดทรพั ยากรในการจัดทําโครงการตองคํานวณใหเพียงพอ เพราะ หากเปนการทําโครงการเพ่อื การของบประมาณประจําป เม่ือกําหนดงบประมาณท่ีขอหนวยงานไปไม พอ จะมผี ลกระทบตอการดาํ เนินงานได ซึง่ หนว ยงานตา งๆจะกาํ หนดระเบียบการใชทรพั ยากรไว 8. การประเมินผลโครงการ เปนการประเมินผลวาการดําเนินตามโครงการน้ันไดผลเปน อยางไร โดยการกําหนดการประเมินนั้น จะตองระบุวาจะประเมินอะไร ส่ิงท่ีตองการประเมินนั้น สามารถประเมนิ ในระหวางการดาํ เนนิ โครงการ หรอื ทนั ทีเม่ือเสร็จสิ้นโครงการ และการประเมินจะใช วิธีใด มีคา ใชจ า ยเทาใด ซ่งึ การประเมินโครงการตองกาํ หนดไวก อนทจ่ี ะมีการดําเนินการในโครงการ 9. ผลที่คาดวาจะไดร ับจากโครงการ เปนการคาดวาจะมีอะไรเกิดข้ึนจากโครงการบาง โดย ไมใชสิ่งท่ีกําหนดวาจะไดตามวัตถุประสงค ภายหลังสิ้นสุดโครงการ แตเปนสิ่งท่ีคาดวาหรืออาจจะ เกดิ ขน้ึ จากการดาํ เนินการตามโครงการ 10. ผูรับผิดชอบ ในแตละโครงการจะตองกําหนดผูรับผิดชอบใหชัดเจน ซ่ึงอาจเปนบุคคล หรือคณะบุคคลท่ีเปนผูรับผิดชอบดําเนินการตามโครงการ ท้ังในสวนของผูบริหารและผูประสาน ผู ปฏิบัติ และในโครงการควรไดมีการลงชื่อผูเสนอโครงการดวย เพ่ือใหผูท่ีอาน หรือผูมีอํานาจอนุมัติ ทราบวาโครงการน้ีไดผานความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาเบื้องตนมาสวนหนึ่งแลวหรือใครเปน ผูรับผิดชอบในการจดั สรรงบประมาณ นอกเหนอื จากผรู ับผดิ ชอบดําเนนิ การโครงการ 7

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตัวอยาง การเขียนโครงการ ชอื่ โครงการ (ระบุชือ่ ท่ีสอดคลอ งกับวตั ถุประสงคของโครงการ) 1. หลกั การและเหตุผล - ระบุความเปนมาของโครงการ - ระบสุ ภาพ หรือสถานการณป จจบุ ัน - ระบุสภาพปญ หา หรือความตอ งการ รวมท้งั สาเหตตุ าง ๆ - ระบโุ อกาสถามกี ารลงทุนในคร้ังนี่ - ระบขุ อ จาํ กดั หากไมมโี ครงการนี้ - ระบุความสําคญั ของโครงการทจี่ ะมีตอนโยบาย 2. วัตถปุ ระสงค - ระบผุ ลลัพธท ีค่ าดหมายวา จะเกิดขนึ้ เม่ือเสร็จโครงการ (ทาํ โครงการน้ีแลว ผลตอบแทนทีไ่ ดร บั คืออะไร) 3. เปา หมาย - ระบปุ รมิ าณและคุณภาพของผลงาน หรือผลผลิตตา ง ๆ (ท่ีเมอื่ ทาํ ไดจะทําใหเ กิดผลลัพธต ามวัตถปุ ระสงคท ว่ี างไว) - ระบุเวลาทผ่ี ลงานจะแลวเสร็จ 4. วิธกี ารดําเนนิ งาน - ระบุกจิ กรรมโครงการท้ังหมด - ระบุข้นั ตอนในการดาํ เนินกิจกรรม - ระบุเทคนคิ ทใี่ ชในการปฏิบตั ิการ 5. ระยะเวลาโครงการ - ระบรุ ะยะเวลาที่ใชใ นการดาํ เนินงานของแตละกจิ กรรม 6. สถานที่โครงการ - ระบสุ ถานท่ีและเงอื่ นไขตาง ๆ ที่เกย่ี วของ 7. งบประมาณ - ระบคุ า ใชจายของโครงการตามหมวดหมูของคา ใชจาย ตามระเบียบการจัดทํางบประมาณ 8. ผูรับผดิ ชอบ - ระบุช่อื บคุ คล หรือคณะทํางานที่รบั ผิดชอบในการจดั การโครงการ 8

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง - ระบรุ ปู แบบขององคกรโครงการ 9. การติดตามและประเมินผล - ระบวุ ิธกี าร เกณฑวดั และระยะเวลาทจี่ ะตดิ ตามโครงการ - ระบุเกณฑท จ่ี ะใชในการประเมินผล 10. ผลทคี่ าดวา จะไดร บั - ระบผุ ลประโยชนทก่ี ลมุ บคุ คล หรือพน้ื ที่ หรือสังคมโดยรวมจะไดรับ - ระบุผลกระทบในดานบวกทจ่ี ะตามมาจากการมโี ครงการ ลงชือ่ ...................................................ผูเสนอโครงการ (.............................................................) ลงชื่อ......................................................ผูเ ห็นชอบโครงการ (...............................................................) ตําแหนง...................................... ลงช่ือ....................................................ผูอ นุมัตโิ ครงการ (...............................................................) ตําแหนง..................................... การประเมินผลการดําเนินงานเพอื่ แกไขปญ หาอนามยั ชมุ ชน ภายหลังการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดแลว จะตองมีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ ไดดําเนินการไปแลว ซึ่งอาจจะเปนในลักษณะการประเมินการปฏิบัติในงานประจําและการ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามโครงการ แผนงานที่ไดกําหนดไว การประเมินผล หมายถึง กระบวนการและการแสวงหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน โครงการท่ีไดปฏิบัติงานไปแลววา บรรลุวัตถุประสงคท่ีกาํ หนดไวหรือไมเพียงใด ชนดิ ของการประเมนิ ผล ชนดิ ของการประเมินผลตามแผนงาน โครงการการพฒั นาอนามยั ชุมชนน้ัน มีดังนี้ 1. ประเมนิ ความเหมาะสม สอดคลอ ง ถูกตองตามปญหาที่ตอ งการการแกไ ข 2. ประเมินความกา วหนา (Progress) 9

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3. ประเมินประสิทธภิ าพ (Efficiency) 4. ประเมนิ ประสิทธิผล (Effectiveness) 5. ประเมินผลกระทบ (Impact) 1. ประเมนิ ความเหมาะสม สอดคลอ ง ถกู ตองตามปญ หาทต่ี อ งการการแกไ ข เปน การ ประเมินเพื่อใหทราบวาการดําเนินการจัดทําโครงการตามกิจกรรมตางๆ นั้นเปนความตองการของ ประชาชน หรือเปนโครงการที่ตองการกําหนดข้ึน เพ่ือการแกปญหาอยางแทจริงหรือไม โครงการมี ความสําคัญในการทําหรือไม เพราะบางครั้งพบวาการจัดทําโครงการในชุมชน ไมสอดคลองกับความ ตอ งการของประชาชนในชุมชน และไมตรงประเด็นทช่ี ุมชนตอ งการแกไขปญ หา 2. ประเมนิ ความกาวหนา เปน การประเมนิ ผลความกาวหนา ของกิจกรรมทไ่ี ดก าํ หนดไวใ น แผนงานโครงการวาเปนไปตามเวลาที่กําหนด หรือเปาหมายท่ีกําหนดไวหรือไม โดยเปรียบเทียบ กิจกรรมที่ทําไดกับกิจกรรมที่กําหนดไวในแผนงาน โครงการทั้งในดานจํานวนและคุณภาพรวมท้ัง ประเมินปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานนั้นดวยวามีสาเหตุจากส่ิงใด การประเมินความกาวหนาน้ี สามารถประเมินไดในแตละวัน สปั ดาหหรอื แตละเดือน 3. ประเมินประสิทธภิ าพ เปนการประเมินผลท่เี ปรยี บเทยี บผลงานทไ่ี ดกับทรพั ยากรที่ใชไป หรอื ความพยายามท่ีจะทาํ ใหงานนั้นสาํ เรจ็ ในลกั ษณะของการประหยดั หรือลงทนุ นอ ยทส่ี ดุ 4. ประเมนิ ประสิทธผิ ล เปนการประเมนิ สภาพการทาํ งานทไี่ ดผ ลตามวตั ถปุ ระสงค รวมท้งั ความพึงพอใจทั้งของผูใชบริการและผูใหบริการที่มีตอการใหบริการตามโครงการ โดยท่ีการ ประเมนิ ผลน้นั จะพจิ ารณาไดใ นลักษณะของการเปรียบเทียบระหวางวัตถุประสงคที่ไดกับท่ีกําหนดไว หรอื กจิ กรรมทที่ ําไดก บั กจิ กรรมทกี่ ําหนดไวใ นลกั ษณะอตั ราสวน 5. ประเมนิ ผลกระทบ เปนการประเมนิ ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ จากโครงการ โดยทก่ี ารดาํ เนินการ ตามแผนงาน โครงการอาจกอใหเกิดผลดี หรือผลเสียก็ได โครงการนั้นมีผลกระทบตอส่ิงใดบางทั้งใน ระยะสนั้ และระยะยาว ซึ่งอาจไมใชแคก ระทบตอ ตัวบุคคล แตอาจกระทบตอระบบส่ิงแวดลอม ระบบ การเมือง ระบบเศรษฐกจิ และสังคม ฯลฯ การประเมินเม่อื ส้นิ สดุ โครงการเรียกไดวาเปน Summative Evaluation คือ เปน การประเมินผลรวมสรปุ ลักษณะของการประเมินผล การประเมนิ ผลสามารถจําแนกไดใน 3 ลักษณะ คือ 1. การประเมนิ ผลกอนการปฏิบัติงาน 2. การประเมนิ ผลขณะปฏบิ ตั ิงาน 3. การประเมินผลหลังการปฏบิ ัตงิ าน 10

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1. ประเมนิ ประสิทธิภาพ เปน การประเมนิ ผลในสว นของการเตรยี มการในการดําเนนิ การ ตามแผนงาน โครงการที่ไดกําหนดไว ซ่ึงเปนการประเมินความเปนไปไดท่ีจะทําการประเมินผล แผนงาน โครงการประเมินความพรอมของบุคคลที่จะเปนผูประเมิน ประเมินความเพียงพอของ งบประมาณ และความพรอมของบุคคลที่เปนกลุมเปาหมาย เปนตน ท้ังน้ีเพ่ือใหสามารถดําเนินการ และหาแนวทางการแกไขไดกอนที่จะมีการดําเนินการประเมินผล หากไมสามารถจัดหาทรัพยากรได เพียงพอ ก็อาจลม เลกิ โครงการการประเมนิ ผลกอ นท่จี ะตัดสนิ ใจประเมินแลว พบปญ หาทีหลัง 2. การประเมินผลในระหวา งการปฏบิ ัติงาน ซ่ึงสวนใหญจ ะเปนการประเมินเพือ่ ตอบวา โครงการมีความกาวหนาหรือไม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลหรือไม กิจกรรมที่ไดกําหนดไวใน โครงการมปี ญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานหรือไม ทั้งนี้เพื่อใหผูปฏิบัติงานไดพิจารณาปรับเวลา ปรับ กิจกรรมใหเหมาะสมกับการปฏิบัติงานตามโครงการหรือบริหารจัดการหาทรัพยากรหรือแหลง สนับสนนุ มาชว ยในการปฏบิ ัติงาน เพอ่ื ใหโ ครงการน้ันบรรลเุ ปา หมายได 3. การประเมนิ ผลภายหลังการปฏบิ ตั ิงาน เปนการประเมินผลภายหลงั เสร็จส้นิ โครงการ แลวทนั ทีหรือหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ 1 เดือน 6 เดือน 1 ป แลวแตผูบริหารโครงการ การประเมิน ในชวงน้ีจะประเมินเพ่ือตอบวาโครงการมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีผลกระทบตอประชาชน อะไรบา ง จากการท่ีไดป ฏิบตั งิ านตามโครงการทีผ่ านมา กระบวนการประเมนิ ผล ในการประเมินผลแผนงาน โครงการน้ันผูปฏิบัติงานตองดําเนินการประเมินผล โดยมี กระบวนการ ดังน้ี 1. การกําหนดเปาหมายการประเมิน 2. การกาํ หนดวิธีการประเมนิ 3. การดําเนินการประเมิน 4. การวเิ คราะหข อมูล 5. การรายงานและการนําผลไปใช 1. การกาํ หนดเปาหมายการประเมิน เปนการพิจารณากําหนดเปา หมายในการประเมนิ ให ชัดเจนวาตองการประเมินอะไร กับใคร ท่ีไหนและอยางไร โดยท่ีเปาหมายน้ันจะตองสอดคลองกับ แผนงาน โครงการที่จัดทําข้ึนในบางโครงการซ่ึงเปนโครงการใหญ ผูบริหารโครงการตองกําหนดใหมี การวางแผนงานการประเมินในลักษณะโครงการการประเมินที่ชัดเจนอีกโครงการหนึ่ง นอกจากการ จัดทําแผนหรือโครงการในเร่ืองนั้นๆ ทั้งน้ีเพื่อใหเกิดความชัดเจนวาจะประเมินแผนงาน โครงการ อยางไร 11

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. การกาํ หนดวิธีการประเมนิ ในการประเมนิ ผล ผูประเมินจะตอ งมีการดําเนินการกาํ หนด วิธีการรวบรวมขอ มูล และเครื่องมอื ทจี่ ะรวบรวมขอมลู โดยการประเมินอาจใชวิธีการสังเกต สอบถาม สัมภาษณหรือการสอบ แลวแตความเหมาะสมของกลุมที่จะประเมินและขอมูลที่ตองการ ในกรณีที่ เปนคณะ ทมี การประเมิน การกาํ หนดวธิ ีการประเมินและเคร่ืองมือตองมีการตกลงรวมกันระหวางทีม การประเมิน เพื่อสรา งความเขาใจตรงกันกอ นการประเมิน 3. การดําเนนิ การประเมนิ ผูประเมินจะตองดําเนินการประเมนิ ตามวิธี เครอ่ื งมือทีก่ ําหนด โดยผูประเมินตองมีความเขาใจในบริบทของผูถูกประเมินหรือส่ิงที่จะประเมิน โดยเก็บขอมูลใหตรง ตามความเปนจริงมากท่ีสุด ปราศจากความอคติและการตัดสินใจดวยคานิยม ความคิดเห็นของตน เพยี งผูเ ดียว มกี ารบันทกึ รายงานผลการประเมินทันที เพ่ือมิใหเกิดการสูญหายของขอมูลหรือความไม ถูกตอ งของขอมลู จากการท่ผี ูป ระเมนิ ลมื หรือจําขอมลู ไมได 4. การรายงานและการนําผลไปใช ในการดาํ เนินการประเมินผลโครงการยอ มมปี ญ หา อุปสรรคที่เกิดขึ้น จึงจําเปนตองมีการประเมินการดําเนินการประเมินวา มีปญหาอุปสรรคใดและการ ประเมนิ มคี วามกาวหนาเหมาะสมอยา งไรหรือไม บรรลุวตั ถุประสงคทกี่ าํ หนดไวหรือไม เพื่อเปนขอมูล ในการนาํ มาแกไขในการประเมินโครงการตอไป โดยจัดทําเปนรายงานผลการประเมินไวเปนหลักฐาน และเม่ือสรปุ ผลการประเมนิ ไดแลว นาํ ผลที่ไดป ระเมนิ มาปรับปรงุ โครงการตอไป สรุป ในการดําเนินงาน และการประเมินผลเปนตัวชี้วัดวาแผน หรือโครงการท่ีกําหนดขึ้น และนําไปปฏิบัติน้ันมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความสําเร็จและบรรลุวัตถุประสงคท่ีต้ังไว หรือไม ท้ังในดานปริมาณและคุณภาพ เพื่อนําผลที่ไดมาเปนแนวทางในการพิจารณาตัดสินใจในการ ดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง หรือควรปรับปรุงการวางแผน รูปแบบการดําเนินงาน ตลอดจน กระบวนการตางๆเพ่ือใหเ หมาะสมสอดคลองกับปญหาและความตองการของพื้นที่ คําถามทายบท 1. จงระบุชนดิ ของการประเมนิ การปฏิบัตงิ านพัฒนาอนามยั ชมุ ชน 2. จงระบขุ ้ันตอนการวางแผนการพฒั นาอนามยั ชุมชน เอกสารอางอิง กรี ดา ไกรนวุ ตั ร และรกั ชนก คชไกร. (2561). การพยาบาลชมุ ชน (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: โครงการตําราคณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. พิมพพรรณ ศลิ ปสุวรรณ. (2555). ทฤษฎี ปรัชญา ความรสู ูการปฏบิ ตั ใิ นงานพยาบาลอนามัย 12

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ชุมชน (พิมพครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสขุ คณะสาธารณสขุ ศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิ ล. ลดั ดาวลั ย ไวยสรุ ะสิงห และสุภาภรณ วรอรณุ . (2560). กระบวนการพยาบาลชุมชน : แนวคดิ ทฤษฎี และการประยุกตใชดูแลสขุ ภาพประชาชน. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พิมพแหงจฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั . 13

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงแผนการบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 6 หัวขอเนอื้ หาประจาํ บท การเยย่ี มบา นสําหรบั งานสาธารณสุข 1. วตั ถุประสงคในการเยย่ี มบา น 2. ทกั ษะท่ีจาํ เปน ในการเย่ียมบา น 3. ประเภทของการเยย่ี มบาน 4. การจดั ลาํ ดบั ครอบครวั เพื่อการเย่ียมบาน 5. กระบวนการเยีย่ มบา น 6. การใชกระเปา เยี่ยมบาน 7. การบนั ทึกการเยย่ี มบาน วตั ถุประสงคเชิงพฤติกรรม เมื่อเรยี นจบในเนื้อหาบทน้ีแลวสามารถทาํ สิง่ ตอไปนี้ได 1. บอกวัตถุประสงคใ นการเยย่ี มบานงานสาธารณสขุ ได 2. อธิบายทักษะทจ่ี าํ เปนในการเยีย่ มบานได 3. บอกประเภทของการเยยี่ มบา นงานสาธารณสุขได 4. บอกการจดั ลาํ ดับครอบครวั เพื่อการเย่ียมบานได 5. อธบิ ายกระบวนการย่ียมบานงานสาธารณสุขได 6. ระบุการใชกระเปาเยย่ี มบา นใหเหมาะสมกับผูป วยแตล ะรายได 7. บันทกึ แบบฟอรมท่ีใชใ นการเยยี่ มบานได วธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธสี อน 1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย 1.2 วิธกี ารสอนแบบจดั กจิ กรรมกลมุ 1.3 วธิ ีสอนจากกรณีศึกษา 1.4 วิธสี อนโดยศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอน 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 ผสู อนอธิบายทฤษฎแี ละซักถามพรอ มยกตวั อยางประกอบการบรรยาย โดยใช power point 2.2 แบง ผเู รียนเปนกลุม ๆ ละประมาณ 5 คน เพื่อศึกษาตามสถานการณทกี่ ําหนดใหร วมกบั เอกสารประกอบการสอน 2.3 ผูสอนและผูเรียนรว มกนั อภิปรายและหาขอสรุปรว มกนั อีกครง้ั หน่ึง 2.4 นําเสนองานหนา ชัน้ เรยี น 2.5 ใหผูเ รียนทาํ แบบฝก หัดบทท่ี 6 สงในวันถดั ไป

สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนอนามัยชมุ ชน 2. ไฟลเอกสารประกอบการสอนอนามัยชุมชน 3. คอมพิวเตอร 4. หนังสืออา นประกอบคน ควา เพ่มิ เติม 5. แบบฝกหัดบทที่ 6 การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. แบบประเมินพฤติกรรมการมีสวนรว มโดย 1.1. สังเกตจากการซักถามผเู รียน 1.2. สงั เกตจากการรวมกจิ กรรม 1.3. สงั เกตจากความสนใจ 2. ประเมินจากการทําแบบฝกหดั 3. ประเมนิ จากการสอบยอย 4. ประเมนิ จากการสอบปลายภาค มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงบทที่ 6 การเยี่ยมบานสําหรบั งานสาธารณสุข ในอดีต การดูแลรักษาหรือการเย่ียมไข หรือ การทําคลอด มักจะทําท่ีบาน ไมวาจะโดยแพทย แพทย ประจําตําบล หมออนามัย ผดุงครรภ หมอตําแย แตในปจจุบัน การดูแลรักษาหรือการเย่ียมไขท่ีบานมีการ ปฏิบัติกันนอยลง อาจจะเนื่องมาจากการเนนดูแลรักษาผูปวยในโรงพยาบาล ความนิยมของผูปวย การ คมนาคมทด่ี ีขึ้น หรือมีการดูแลกับแพทยเฉพาะทางเพ่ิมข้ึน ทําใหค วามสําคญั ของการดแู ลผูปว ยทบี่ า น ใน ชมุ ชน หรือการดูแลกับหมออนามัย ผดงุ ครรภลดนอย การเย่ยี มบานหรือใหก ารดแู ลทบ่ี า นในคร้ังแรกน้ัน ควรเร่ิมตนที่ความตองการของผูปวยและญาติ ใน ทองท่ีท่ีหางไกลโรงพยาบาล หรือการเดินทางเขาสูสถานบริการท่ีลําบาก/ไมสะดวก มักไดรับการยอมรับจาก ผูปวยและญาติมากข้ึน ความวิตกของผูใหบริการและผูรับบริการของการเยี่ยมและการรักษาดูแลท่ีบานที่ สาํ คัญคอื คณุ ภาพของการดแู ลรกั ษา โดยเฉพาะเม่ือเปรียบเทียบกับการดูแลรักษาในโรงพยาบาลซึ่งที่จริงแลว หากพิจารณาในดานคุณภาพเพียงอยางเดียวไมนาจะมีความแตกตางกันมากนัก แตถาพิจารณาถึงความพรอม หรือปรมิ าณของเครื่องมือ ยอมมีความแตกตาง แนวคิดแบบน้ีไมตรงกับความเปนจริงเสียทีเดียวอยูพอสมควร เพราะคุณภาพบริการจะตองพิจารณาอยูบนพ้ืนฐานของศักยภาพและคุณภาพของการใหบริการจุดน้ันๆ เชน ความปลอดภยั การทเุ ลาจาก ความเจ็บปว ย หรือมาตรฐานบริการในชุมชน เปนตน การเยี่ยมบานสําหรับงานสาธารณสุขนั้น เปนกิจกรรมของเจาหนาท่ีสาธารณสุขทุกระดับรวมทั้ง อาสาสมคั รตา งๆ เพอื่ นาํ บรกิ ารอนามัยไปสูประชาชนที่บานตามความสามารถ และขอบเขตหนาท่ี รับผิดชอบ เชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เยี่ยมบานเพ่ือเก็บขอมูลหรือขาวสารตางๆ แกครอบครัวตามที่ไดรับ มอบหมาย การเย่ียมบานเปนกิจกรรมหนึ่งของนักสาธารณสุข ซึ่งปฏิบัติตอประชาชนสวนใหญใน ดานการ สง เสริมสขุ ภาพอนามัย การปองกันโรค การดูแลผูปวยและสมาชิกในครอบครัว แกไขและปองกัน ความพิการ ตางๆ ตลอดจนชวยจัดระเบียบความเปนอยูของชีวิตใหเหมาะสมกับความพิการนั้นๆ เพื่อให ประชาชนมี พลานามัยสมบรู ณ ทัง้ รา งกาย จติ ใจ และสงั คม ความหมายของการเย่ียมบา น (Home Visit) การเย่ียมบา น หมายถึง การบริการชว ยเหลอื ประชาชนตามบา น เพื่อตรวจดู ตดิ ตาม อาการ เจบ็ ปว ย ดวยโรคตา งๆชวยเหลอื ใหคาํ แนะนํา เพ่ือใหไดร บั การพยาบาลอยางตอเน่ือง หรือไปเยี่ยมเพื่อตรวจดู ความเปน อยู สภาพทอี่ ยูอาศัย ตลอดจนขนบธรรมเนยี มและประเพณี การเยีย่ มบานจงึ เปน กลวธิ ที ่ีนกั สาธารณสขุ นาํ มาใชในการเขาไปใหการดูแลสขุ ภาพประชาชนท่ี บาน ท้ังผูท เ่ี จ็บปวยและไมเ จ็บปวย โดยการสรา งเสรมิ สุขภาพอนามัย ปอ งกนั โรค ฟน ฟูและปองกนั ความ พิการตา ง ๆ ตลอดจนเปนที่ปรกึ ษาปญหาทางดา นสุขภาพ เพื่อใหประชาชนมีสุขภาวะท่สี มบรู ณท ้ังทาง รา งกาย จิตใจ และสามารถดํารงชีวิตอยใู นสงั คมไดอยางปกติสุข

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงความสําคญั ของการเยี่ยมบาน การเยยี่ มบา นมีความสําคัญและกอ ใหเ กดิ ประโยชนตอ ผปู วย ครอบครวั ประชาชน และนัก สาธารณสุข หลายประการดวยกัน กลา วคอื ดา นผูป วยและครอบครัว 1. ผปู ว ยไดร ับการดูแลตอเนือ่ งท่ีบานอยางถูกตองเหมาะสมกบั สภาพความเปน อยู และ ไดร ับการดูและในระยะฟน ฟสู ุขภาพชวยใหก ลับคนื สูสภาพปกติไดเร็วขน้ึ 2. ผปู ว ยทีเ่ รม่ิ เปนระยะแรก จะไดร ับการตรวจรกั ษาพยาบาลท่ถี ูกตอ งแตเน่ิน ๆ เปน การปอ งกันการเจ็บปวยถงึ ขั้นรนุ แรง 3. ผปู ว ยและครอบครวั ไดร ับคาํ แนะนาํ เปนรายบคุ คลตามสภาพปญ หาและความ ตองการ ท้ังยังสะดวกตอการท่ีจะพูดคุยปรึกษาปญหาตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาสวนตัวของสมาชิกแตละคน อยางเปนกันเอง และไมร ีบรอน 4. ผปู ว ยหรือญาตจิ ะไดรบั การฝกปฏบิ ตั ิการพยาบาลบางอยา งทจ่ี ะตองดแู ลอยา ง ตอ เนือ่ งไดด ว ยตนเอง 5. ผูปวยและครอบครวั ไดรบั ความอบอุน และกาํ ลังใจจากการที่พยาบาลอนามัยชมุ ชน เขาไปดูแลอยางใกลชดิ ถึงท่บี า น โดยเฉพาะรายท่ีเปนโรคเรือ้ รังและโรคติดตอ 6. ผปู วยไดรับคําแนะนาํ หรอื สง ตอ ไปยังสถานบริการหรอื แหลง ประโยชนทเี่ หมาะสม ดานประชาชนทั่วไป 1. ไดรบั การปองกนั การแพรก ระจายของเชือ้ โรค เน่อื งจากครอบครวั ทเ่ี ปนโรคตดิ ตอ จะ ไดรบั คาํ แนะนาํ จากพยาบาลอนามัยชุมชนในเร่ืองการกําจัดและการปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคทั้งยัง ไดร ับคําแนะนําในการปองกนั โรคตาง ๆ ทีม่ กั พบบอ ย ๆ ในทอ งถิน่ ทําใหไ มเ กิดการเจ็บปวย 2. ไดรับคําแนะนําดา นการสง เสริมสขุ ภาพ ชว ยใหปฏบิ ตั ติ วั ถูกสุขลกั ษณะ อนั จะสงผล ใหม ีสขุ ภาพสมบรู ณ 3. ประชาชนสามารถเขา ใจและมองเหน็ ความสาํ คญั ในความรับผิดชอบของตนตอความ พยายามท่จี ะชว ยเหลือตนเอง ครอบครัว และชมุ ชนในเรอื่ งสขุ ภาพเพิ่มขึ้น ดา นนักสาธารณสขุ 1. ไดมองเหน็ สภาพตา งๆทแ่ี ทจ ริงของครอบครัวเชนพฒั นาการของครอบครวั ความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว และเพ่ือนบา น พฤติกรรมอนามัย ฐานะทางเศรษฐกจิ สภาพ ส่งิ แวดลอม ความเช่ือ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของครอบครัวและชมุ ชน ขอมูลเหลาน้ีจะชว ยให พยาบาลอนามยั ชุมชนนํามาวิเคราะห ระบุปญ หาและความตองการไดถูกตองยิง่ ขนึ้ 2. ไดทราบถึงปญหาและความตองการท่ีแทจรงิ ของบคุ คลและครอบครัวทั้งที่เปน ปญหาสขุ ภาพและปญ หาที่มคี วามสัมพนั ธห รอื มผี ลกระทบตอสขุ ภาพโดยตรงและทางออม ชว ยใหสามารถ รว มกับครอบครัววางแผนแกไขปญ หาไดอยางเหมาะสม 3. ทําใหมีโอกาสมองเหน็ สภาพท่ีแทจรงิ ของชุมชน ทําใหท ราบปญหาและความ ตองการของประชาชนอยางกวางขวางยิ่งข้ึน ท้ังยังชวยคาดคะเนการเจ็บปวยของประชาชนลวงหนาได และ ชวยชแ้ี นะการปอ งกันการเกิดโรคอีกดว ย 4 . กอ ใหเ กดิ ความศรัทธาในตัวนักสาธารณสุขและวชิ าชีพ เนอ่ื งจากไดใ หบริการสขุ ภาพ แกบ ุคคล ครอบครวั และชมุ ชนอยา งใกลช ดิ โดยเฉพาะการบริการทม่ี ีประสทิ ธิภาพจะเกดิ การยอมรับและ ศรัทธาขึ้นได

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงวตั ถปุ ระสงคข องการเย่ยี มบา น 1. เพื่อศกึ ษารวบรวมขอ มูลตา งๆ ของครอบครวั แลวนํามาพิจารณาวินจิ ฉัยปญหา และ วางแผน ชว ยเหลือรวมกบั ครอบครวั ใหเ หมาะสมกับสภาพเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และสิง่ แวดลอมนัน้ ๆ 2. เพื่อสงเสริมสขุ ภาพของประชาชนโดยใหค าํ แนะนาํ และใหส ขุ ศึกษา อันจะกอใหเกิด ความรูทัศนคติ และการปฏิบัติท่ีถูกตองเก่ียวกับอนามัยสวนบุคคล ตลอดจนชวยจัดระเบียบความเปนอยูของ ชีวิต ใหเหมาะสมกับสภาพของแตละบุคคลและครอบครัว รวมถึงการดูแลเกี่ยวกับการสุขาภิบาลส่ิงแวดลอม ภายในครอบครวั 3. เพ่ือใหคาํ แนะนาํ ในการปองกันโรคและอบุ ัตเิ หตุตา งๆ รวมทัง้ การปฏบิ ตั ิใหพ นจาก โรคภยั ไขเ จบ็ และการรบั ภูมคิ ุมกันโรคชนิดตางๆ 4. เพ่ือใหการรกั ษาพยาบาลท่จี าํ เปน และตอเนื่อง โดยสอนผปู ว ยและญาตใิ หส ามารถดแู ล ชวยเหลอื ตนเองและชว ยเหลือผอู ืน่ ได 5. เพอ่ื ใหกําลงั ใจแกผูปว ยและครอบครวั โดยเฉพาะผปู วยเรื้อรงั โรคติดตอ และผปู ว ยที่ พกิ าร 6. เพอ่ื ติดตามผลการรักษาพยาบาล การชว ยเหลอื และคาํ แนะนําตางๆ 7. เพอื่ ใหขอ มูลแกผูปว ยและครอบครัว เกี่ยวกับการเลอื กใชส ถานบริการสาธารณสุขใน ชุมชนอยา งถกู ตอ งเหมาะสมตามความจาํ เปน ชนิดของการเยีย่ มบาน การเยยี่ มบานแบงออกเปน 4 ชนิดใหญๆ ไดแก 1. การเย่ยี มเพ่อื ดแู ลความเจบ็ ปวย(Illness home visits) 2. การเย่ยี มบานเพื่อดแู ลผปู วยใกลต ายหรอื ระยะสุดทาย (Dying care home visits) 3. การเยย่ี มบา นเพือ่ การประเมนิ (Assessment home visits) 4. การเยี่ยมบานเพ่ือติดตามหลังจําหนายออกจากโรงพยาบาล(Hospitalization follow-up home visits) 1. การเยี่ยมเพอ่ื ดูแลความเจ็บปวย(Illness home visits) สามารถแบง ยอยออกเปน 3 แบบ ไดแ ก 1.1 การดแู ลผปู วยฉกุ เฉนิ (Emergency care) 1.2 การดแู ลผูป วยเฉียบพลนั (Acute illness care) 1.3 การดแู ลผปู วยเรอ้ื รัง (Chronic illness care) ซ่งึ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ด ของแตล ะแบบได ดงั น้ี 1.1 การเย่ียมเพอ่ื ดูแลผูป วยฉุกเฉนิ การเยย่ี มบานประเภทนี้มกั จะเปน การใหค วาม ชวยเหลือเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินกับ ผูปวยท่ีบานรวมกับครอบครัว เชน หมดสติ หายใจหอบมาก ไดรับบาดเจ็บ เปนตน เม่ือเกิดเหตุการณเหลานี้มักจําเปนตองใหความชวยเหลือหรือดูแลเบ้ืองตนท่ีบานหรือ ณ ที่เกิดเหตุ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงอยางทันทีทันใดตองมีระบบการติดตอส่ือสารกับเจาหนาที่ในพื้นที่เพื่อ ความรวดเร็วในการใหความชวยเหลือ ทีมชวยเหลือควรจะมีความรูและทักษะในการ บริบาลเบ้ืองตนในท่ีเกิดเหตุเปนอยางดีในประเทศไทยการให ความชวยเหลือ ลักษณะนี้มักจะใชกับอุบัติเหตุตามทองถนนผูชวยเหลือควรจะมีความรูหรือทักษะที่ ดีเพื่อ ปองกันไมใหเกิดอันตรายซ้ําเติม และชวยดูแลรักษาเบื้องตนแกผูปวยไดเปน อยางดีกอนท่ีจะสงตอไป โรงพยาบาลเมื่อจําเปนการพัฒนาระบบการพยาบาล ฉุกเฉินที่บานทั้งดานบุคลากร การส่ือสาร รถพยาบาล ฉุกเฉนิ และความรวมมือของ ผูปวยและครอบครัวจึงเปนส่ิงจําเปนอยางย่ิงยวดและควรมีการเตรียมการณแต เนิน่ ๆ 1.2 การเยี่ยมเพ่ือดูแลผปู วยเฉียบพลัน เปน การดแู ลผูปวยโรคฉบั พลัน เชน ปวด ทองรุนแรงทองรวงไขเลือดออก ไขหวัดใหญ ระบาด เปนตนการเยี่ยมบานจะชวยประเมินใหการชวยเหลือ เบือ้ งตน การจัดการ ส่งิ แวดลอม การสบื สวนโรคและตดิ ตาม/เฝาระวงั โรค 1.3 การเยย่ี มเพอื่ ดแู ลผูป ว ยโรคเร้อื รงั โรคเรอ้ื รงั เชน โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสูง อัมพาต แผลกดทับ เปนตน การเย่ียมบานชนิดนี้ทําเพ่ือประเมินและวางแผนใหการชวยเหลือผูปวย ญาติหรือประสานกบั หนว ยงานอ่ืนเพื่อรวมดูแลผูปวย โดยเฉพาะโรคมีความรุนแรงหรือเกินความสมารถ ของ ครอบครัว การเย่ียมบานในกรณีท่ีผูปวยไมสามารถควบคุมโรคได จะชวยให ทีมงานคนพบปจจัยหรือสาเหตุที่ เปน ตนเหตจุ ากการสงั เกตหรอื สอบถามคนใน ครอบครวั หรือเพ่อื นบา น 2. การเยี่ยมบานเพอื่ ดแู ลผปู ว ยใกลต ายหรือระยะสดุ ทา ย (Dying care home visits) ผปู วยที่ ใกลเสยี ชีวติ เชน ผูปว ยโรคมะเรง็ ระยะสดุ ทาย โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดทาย เปนตน จุดประสงคท่ี สําคัญใน การเย่ยี มบา นสําหรับผปู วยประเภทนี้ ไดแ ก • ใหก ารดูแลแบบประคบั ประครอง บรรเทาทกุ ขหรอื ความเจ็บปว ย(Palliative care) • ใหก ารดูแลรกั ษาระยะสุดทา ยของชวี ติ ทีจ่ ําเปน • เตรยี มครอบครัวใหพ รอ มรบั มอื กับภาวะโศกเศรา • ประกาศการเสยี ชวี ิต การดูแลรกั ษาระยะสุดทา ย กิจกรรมทสี่ าํ คญั ไดแก • การเตรียมความพรอมผูปวยสําหรับวาระสุดทาย อาจเปนกิจกรรมทาง สังคม ศาสนา หรือดาน อ่นื ๆ ไมเนน กจิ กรรมทางการแพทย ทั้งนอ้ี าจมผี ูร ูใน ชุมชนเขา มาชว ยสนับสนุน • ใหความชวยเหลือผูปว ยหรือการดแู บบประคับประคอง ผูปว ยเหลา นม้ี กั จะ ทรมานจาก อาการปวดมากบวม หรือหอบ เชน ใหยาบรรเทาอาการปวดลด อาการบวมใหผูปวยเจาะดูดน้ําในชองทองให ออกซเิ จน เปนตน 3. การเยยี่ มบานเพ่ือการประเมนิ (Assessment home visits) การเยี่ยมบา นแบบนสี้ ามารถ ประเมินปจจัยตางๆ ที่อาจมีผลตอการเจ็บปวย เชน ตัว ผูปวย ครอบครัว และส่ิงแวดลอมที่มีผลตอสุขภาพ ของผูปวยได จึงถือเสมือนการ สืบคนโรควิธีหนึ่งแตไมใชการเย่ียมบานเพื่อเปนการประเมินหรือทราบความ ตอ งการบริการของผูปว ย การเย่ียมบานเพ่ือการประเมนิ เหมาะสําหรบั กรณีตอไปนี้ • ผปู ว ยทไี่ มร ว มมอื ในการรกั ษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง• ผปู ว ยทข่ี าดการตดิ ตามการรักษา • ไมส ามารถควบคุมโรคของตนเองได เชน ปญหาดานพฤติกรรม ปญ หา ครอบครัว • มีปญ หาในการใชย า เชน ผสู ูงอายุ ผูปว ยทใ่ี ชย าหลายตัว • มารับบริการบอ ยเกนิ ไป • ผูปวยเคลอื่ นไหวหรือชว ยเหลอื ตนเองไมไ ด • ผูป วยอยคู นเดียวหรอื ชอบแยกตัวออกจากสงั คม • สงสัยวาจะมีการทารุณหรอื ลวงละเมิดหรอื ความรนุ แรงในครอบครวั หรอื เพอ่ื นบา น • ผปู วยทมี่ ีปญหาดานการเรยี นรู เชน หลงลืม ปฏบิ ตั ิตวั ไมได ไมเ ขา ใจ คาํ แนะนาํ ซ่ึง จาํ เปน ตอ งใหคนในครอบครวั ชว ย • มีอาการแยลงหรอื ปญหาทางจิตใจ • ผปู วยท่ตี อ งการการพยาบาลท่บี า นหรือสถานบริการเฉพาะทาง (Nursing home care) • การเย่ยี มประเมนิ รว มกับหนวยงานอน่ื เชน ทมี จากโรงพยาบาล หรอื สงั คม สงเคราะห • ตองการประเมินปจจัยแวดลอมท่ีอาจมีผลตอกระบวนการดูแลตนเอง เชน การเลี้ยงสัตวในบาน และฝนุ ในผปู วยโรคหอบหืด • ประเมนิ ความสามารถในการดูผปู ว ยของสมาชกิ ในครอบครัวหรือติดตาม ความกา วหนา 4. การเย่ียมบานเพอื่ ติดตามหลังจาํ หนา ยออกจากโรงพยาบาล(Hospitalization follow-up home visits) การเย่ียมบานประเภทน้ี ทําหลังจากจําหนายออกจากโรงพยาบาล หรือมาตรวจที่ หองตรวจ ผูปวยนอก ซึ่งจะมีประโยชนสําหรับกรณีที่ตองมีการปรับเปลี่ยนชีวิตของ ผูปวยและเตรียม/ชวยเหลือ ครอบครัว ไดแก 4.1 โรคเฉียบพลัน การเยี่ยมบานทปี่ ฏิบัติกอ นบอย ไดแก ไดร ับอุบัตเิ หตุ การผาตดั หรือผูปวยท่ีนอน รักษาในโรงพยาบาลดวยโรคตาง ๆ ที่มีความซับซอน (เชน โรคหลอดเลือดสมอง) หลังจาก จําหนา ยออกจากโรงพยาบาล ผูปวยบางรายอาจมีความจําเปนตองติดตาม เย่ียมบานเพ่ือติดตามผลการรักษา หรือความกาวหนาของโรค เมื่อผูปวยมีอาการดีข้ึนและใหกลับบานได แพทยเวชปฏิบัติครอบครัวและ/หรือ ทีมงานสามารถติดตามเย่ียมบานเพื่อดูอาการหรือปจจัยบางอยางท่ีมีผลตอโรค ผูปวย (Prognostic factors) ยกตวั อยา ง เชน • ในผูปว ยโรคไขเลือดออก เปน การติดตามเพื่อประเมนิ อาการผูปวย ประเมิน แหลง ทจ่ี ะเปน ท่วี างไขของยุง ใหค วามรแู กค รอบครัวและชมุ ชนรอบๆ เปนตน • ในกรณผี ปู ว ยอบุ ัตเิ หตหุ รอื ผา ตัด การติดตามการเยีย่ มบา นเพอ่ื ประเมิน บาดแผล การทาํ แผลผปู วย การตัดไหม • ประเมินผดู แู ล เชน ความสามารถและประสิทธภิ าพของคนในครอบครัวที่ ชวย การดแู ลผปู วย ภาวะแทรกซอ น หรอื ประเมนิ สิง่ แวดลอ ม เปนตน การเย่ยี มบา นจงึ มีประโยชนใ นดา น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง• การปรับตัวและพฤติกรรมของผูป วย • การปรับตวั และพฤตกิ รรมของครอบครัว • การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของการดูแลในโรงพยาบาล • ประเมินผลการใหคาํ แนะนาํ ของผใู หบริการ • ติดตามการดาํ เนินตามแผนการรกั ษา • ประเมนิ ผดู ูแล • ประเมนิ ท่ีพกั ความปลอดภยั และส่ิงแวดลอมจริง 4.2 มารดาและทารกหลงั คลอด การเย่ยี มบา นสาํ หรบั ครอบครวั ทีม่ ีลกู เกิดใหมเพื่อ ชวยเหลือพอแมและครอบครัวท่ี ยังไมมีประสบการณในการดูแลลูก รวมถึงการประเมินสิ่งแวดลอมใน ครอบครัว เพื่อใหเกิดการปรับตัวอยางดี ใหแนะนําดานการปองกันโรคและเสริมสราง พัฒนาการของลูก รวมทงั้ ประเมินสุขภาพของแมและ การเยยี่ มบานและดูแลผปู ว ยท่ีบา น ผูปวยที่ไมมาตรวจตามนัดหลังจําหนาย ออกจากโรงพยาบาล การเยยี่ มบา นจะชว ยประเมินสาเหตุหรอื เหตุผลของผูปวยท่ีไมสามารถมาตามนัดได หรือ มีเหตกุ ารณฉกุ เฉนิ ทผี่ ปู วยไมส ามารถมารับการตรวจรกั ษา เพ่อื ใหเกดิ ความ ตอเน่ืองของการรักษา การจดั ลาํ ดับครอบครวั เพื่อการเยี่ยมบา น ในการเยยี่ มบาน เมอ่ื ไดค ัดเลอื กรายเยี่ยมหรอื ครอบครวั ท่ีจะเย่ยี มไวแ ลว จะตองมกี าร วางแผน สําหรับการเย่ียมไวโดยนํามาจัดลําดับกอนหลัง ในการจัดลําดับครอบครัวท่ีจะไปเยี่ยมน้ัน มีหลักใน การจัด 2 ประการ คอื 1. ความเรงดวน หมายถงึ ความตองการหรือความจาํ เปนท่ีพยาบาลตองการใหช ว ยเหลือ โดยเร็ว หากทิ้งไวอาจเปนอันตรายตอผูปวยได เชน ผูที่ไดรับอุบัติเหตุหรือตกเลือดตองการการปฐมพยาบาล ผูปว ย เด็กทก่ี าํ ลงั มไี ขส ูงซงึ่ อาจชักได เปนตน 2. การปองกันการแพรกระจายของโรค ในการเยีย่ มบานคร้ังหน่งึ ๆ อาจตอ งใหก ารดูแลทั้ง อยูในวัยเสี่ยงตอการเจ็บปวย และผูที่กําลังเจ็บปวย จึงจําเปนตองระมัดระวังไมใหตนเองเปนผูนําโรค จาก บคุ คลหน่งึ ไปสอู กี บคุ คลหนง่ึ หรือจากครอบครวั หน่ึงไปสอู กี ครอบครัวหนึ่งได ดังน้ัน ในการเย่ียม ครอบครัวที่ มีผูปวยดวยโรคติดตอจึงควรเยี่ยมเปนอันดับสุดทาย เพื่อปองกันไมใหเชื้อโรคแพรกระจายไปได ในการเย่ียม บานแตละวัน พยาบาลควรน าหลักทั ง 2 ประการมาพิจารณาจัดอันดับครอบครัวท่ีจะ เยี่ยมทั ง หมด โดยยึด หลักความเรงดวนกอน ถาไมมีครอบครัวใดความเรงดวนมากกวา ก็ใชหลักการป องกัน การแพรกระจายของ โรคมาพิจารณาจัดล าดับการเย่ียมแทน ในการพิจารณาจัดล าดับการเย่ียม อาจเรียงล าดับไดดังนี  1. เย่ียม ครอบครัวที่มีความตองการหรือความจ าเป นท่ีตองใหการชวยเหลืออยางรีบดวน 2. เยี่ยมครอบครัวท่ีทราบ ประวัติแนนอนและตอ งการความชวยเหลอื เชน เด็กแรกเกดิ และมารดา หลงั คลอด เดก็ วัยทารก กระบวนการเยี่ยมบา น ความสาํ เร็จของการเยีย่ มบา นมกั จะเกิดจากการวางแผนและการเตรียมตัวของผเู ยย่ี มท่ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook