Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ.ดร.ปุญญาพัฒน์ จันทร์เพชร

อ.ดร.ปุญญาพัฒน์ จันทร์เพชร

Published by วิทย บริการ, 2022-07-27 01:52:25

Description: อ.ดร.ปุญญาพัฒน์ จันทร์เพชร

Search

Read the Text Version

40 ช่วงเวลา กิจกรรม องค์ประกอบ มีนาคม 2563 มีนาคม 2563 (Video content) จาก Application ในโทรศพั ท์มือถอื อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ครงั้ ที่ 3 1.3, 2.1, 2.2, 2.3 - การประยกุ ต์ใชช้ อ่ งทางการขาย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ร่วมกับช่องทางอน่ื ๆ เช่น website เพจ Facebook - อพั โหลดไฟล์ขนึ้ เวบ็ ไซต์ยูทูบ (YouTube) - ความรู้เก่ียวกับ กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง เช่น กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ และ กฎหมายรบ. คอมพวิ เตอร์ ตวั อย่างผลงานการใช้ YouTube เพื่อเพ่ิมช่องทางการจาหน่ายผลติ ภัณฑจ์ ากหัตถกรรมของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวดั เพลง จงั หวัดราชบุรี ภาพที่ 4-5 ตัวอยา่ งช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหตั ถกรรมของกลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวดั เพลง จงั หวัดราชบุรี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 ภาพที่ 4-6 ตวั อย่างช่องทางการจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากหัตถกรรมของกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวัดเพลง จงั หวดั ราชบรุ ี ภาพท่ี 4-7 ตัวอย่างช่องทางการจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์จากหตั ถกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวัดเพลง จังหวดั ราชบุรี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 42 ภาพที่ 4-8 ตวั อยา่ งช่องทางการจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากหัตถกรรมของกลุม่ วสิ าหกิจชมุ ชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวดั เพลง จงั หวัดราชบรุ ี เม่ือได้รูปแบบท่ีพัฒนาขึ้นผู้วิจัยสารวจความพึงพอใจต่อรูปแบบการเพ่ิมช่องทางทางการ จาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตาบลจอมประทัด อาเภอวัดเพลง จังหวัด ราชบรุ ี ภายหลังที่ผู้วจิ ัยได้ถา่ ยทอดองคค์ วามร้คู วามเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเพ่ิมช่องทาง การตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนใน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ความพึงพอใจต่อกระบวนการถ่ายทอดองค์ ความรู้ และระยะที่ 2 ความพงึ พอใจตอ่ รปู แบบเม่อื การดาเนินการเสรจ็ ส้นิ แล้วสรปุ ไดด้ ังน้ี ระยะที่ 1 ความพงึ พอใจต่อกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ ผลการสารวจความพึงพอใจต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการเพิม่ ชอ่ งทางการตลาดของกล่มุ วิสาหกิจชมุ ชน มรี ายละเอยี ดดังน้ี

43 ตารางที่ 4.6 ความพงึ พอใจต่อกระบวนการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ S.D. แปลผล 4.80 0.50 มากท่ีสดุ รายการ 4.75 0.49 มากทสี่ ุด 1. ทา่ นมคี วามเข้าใจในกระบวนการถา่ ยทอดองค์ความรู้ในครั้งน้ี 3.51 0.66 มาก 2. กระบวนการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้มีความเหมาะสม 4.71 0.84 มากทสี่ ุด 3. ทา่ นมีความเข้าใจในเน้ือหาสาระที่นามาถ่ายทอดในคร้ังนี้ 2.50 0.60 น้อย 4. วิทยากรมีเทคนคิ /วธิ ีการถา่ ยทอดองคค์ วามร้ไู ด้น่าสนใจ 4.44 0.57 มาก 5. ท่านมคี วามรูก้ อ่ นเข้ารับการถ่ายทอดองค์ความรู้ 4.11 0.61 มาก 6. ทา่ นมคี วามร้หู ลังจากเขา้ รับการถา่ ยทอดองค์ความรู้ รวม มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง จากตารางที่ 4.6 พบว่า กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการถ่ายทอดองค์ ความรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.11, S.D. 0.61) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดรายการข้อที่ 1-5 สามารถเรียงลาดับค่าเฉล่ียสูงสุดไปยังค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้ดังน้ี ผู้ไดร้ ับการถ่ายทอดองค์ความรู้มี ความเข้าใจในกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ ( = 4.80, S.D. 0.50) รองลงมาคือ กระบวนการ ถ่ายทอดองค์ความรู้มีความเหมาะสม ( = 4.80, S.D. 0.50) วิทยากรมีเทคนิค/วิธีการถ่ายทอดองค์ ความรู้ได้น่าสนใจ ( = 4.71, S.D. 0.84) และมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระท่ีนามาถ่ายทอด ( = 3.51, S.D. 0.66) ตามลาดบั เมื่อพิจารณารายการข้อที่ 5-6 เพื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังการเข้ารับการ ถ่ายทอดองค์ความรู้พบว่า ค่าเฉลี่ยความรู้หลังจากเข้ารับการถ่ายทอดองค์ความรู้อยู่ในระดับมาก ( = 4.44, S.D. 0.57) ซ่ึงสูงกว่าค่าเฉล่ียความรู้ก่อนเข้ารับการถ่ายทอดองค์ความรู้ซง่ึ เปน็ คา่ เฉล่ียใน ระดบั นอ้ ย ( = 2.50, S.D. 0.60) ระยะที่ 2 ความพึงพอใจต่อรูปแบบการเพิ่มชอ่ งทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหตั ถกรรมของ กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน ตาบลจอมประทดั อาเภอวัดเพลง จงั หวัดราชบุรี ผลการสารวจความพึงพอใจต่อรูปแบบท่ีได้พัฒนาข้ึนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน ประโยชน์ของรูปแบบ ด้านคุณภาพของรูปแบบ และด้านการประยุกต์ใช้รูปแบบ สรุปผลในแต่ละด้านมี รายละเอียดดังน้ี

44 ตารางที่ 4.7 ความพงึ พอใจต่อประโยชน์ของรูปแบบการเพิ่มช่องการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยใช้ สงั คมออนไลน์ Social Network ผา่ นเว็บไซต์ยูทบู (YouTube) รายการ S.D. แปลผล 1. เทคโนโลยี สื่อสงั คมออนไลน์ สามารถเพมิ่ ช่องทางการตลาดได้ 4.68 0.61 มากที่สดุ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. ส่ือในสังคมออนไลน์ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซ้ือสินค้าของ 4.52 0.65 มากทส่ี ุด ผูบ้ รโิ ภค 3. สื่อสังคมออนไลน์สามารถใช้สร้างความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ 4.50 0.54 มาก ได้ 4. เทคโนโลยดี จิ ิทัลและส่ือสังคมออนไลน์ชว่ ยลดต้นทุนหลายๆ อย่างได้ 4.10 0.49 มาก 5. การส่ือสารผ่านสังคมออนไลน์ช่วยทาให้รับรู้ความต้องการของ 4.48 0.61 มาก ผู้บรโิ ภคได้ 6. เทคโนโลยีดิจทิ ัล สังคมออนไลน์ สามารถใชง้ านได้ตลอดเวลา 4.75 0.49 มากทสี่ ุด 7. เทคโนโลยดี ิจิทัล สงั คมออนไลน์สรา้ งรายไดไ้ ด้หลายช่องทางนอกจาก 3.80 0.50 มาก ยูทบู 8. สอ่ื สังคมออนไลนช์ ่วยให้เกิดความระมดั ระวังและป้องกนั 3.80 0.59 มาก อันตรายอนั อาจะเกิดกับตนเองและทรัพย์สิน 9. สือ่ สังคมออนไลนม์ ีทงั้ ขอ้ ดแี ละข้อเสีย 4.33 0.54 มาก 10. เทคโนโลยดี ิจทิ ัลชว่ ยในการติดต่อสื่อสาร ได้สะดวกและรวดเรว็ 4.70 0.65 มากที่สดุ รวม 4.36 0.56 มาก จากตารางท่ี 4.7 พบว่ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความพึงพอใจต่อประโยชน์ของรูปแบบการ เพิ่มช่องการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.36, S.D. 0.56) เม่ือ พิจารณาในรายละเอียด สามารถเรียงลาดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปยังค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุดได้ดังนี้ เทคโนโลยี ดิจิทัล สังคมออนไลน์ สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ( = 4.75, S.D. 0.49) รองลงมาคือ เทคโนโลยี สื่อสังคมออนไลน์ สามารถเพ่ิมช่องทางการตลาดให้กับชุมชนได้ ( = 4.68, S.D. 0.61) เทคโนโลยี ดจิ ิทัลช่วยในการติดตอ่ ส่ือสาร ได้สะดวกและรวดเร็ว โดยมีค่าเฉลี่ย ( = 4.70, S.D. 0.65) และการ รับรู้ว่าเทคโนโลยี ส่ือสังคมออนไลน์ สามารถเพิ่มช่องทางการตลาดได้ให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์ของ ตนเองได้ ( = 4.50, S.D. 0.54) สื่อสังคมออนไลน์สามารถใช้สร้างความน่าเชื่อถือและความ ไว้วางใจได้ ( = 4.48, S.D. 0.61) ส่ือในสังคมออนไลน์ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของ ผู้บริโภค ( = 4.48, S.D. 0.61) ส่อื สังคมออนไลน์มีท้ังข้อดแี ละข้อเสีย ( = 4.33, S.D. 0.54) การ

45 ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและส่ือสังคมออนไลน์ช่วยลดต้นทุนหลายๆ อย่างได้ ( = 4.10, S.D. 0.49) รับรู้ ว่าส่ือสังคมออนไลน์ช่วยให้เกิดความระมัดระวังและป้องกันอันตรายอันอาจะเกิดกับตนเองและ ทรัพย์สิน ( = 3.38, S.D. 0.59) และเทคโนโลยีดิจิทัล สังคมออนไลน์สามารถสร้างรายได้ได้หลาย ชอ่ งทางนอกจากยทู ูบ ( = 3.38, S.D. 0.50) ตามลาดบั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตารางที่ 4.8 ความพึงพอใจต่อคุณภาพรูปแบบการเพิ่มชอ่ งการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยใช้สงั คม ออนไลน์ Social Network ผ่านเวบ็ ไซต์ยูทบู (YouTube) รายการ S.D. แปลผล 1. ยูทูบ (YouTube) มีกฎเกณฑ์และให้ความคุ้มครองเร่ืองกฎหมาย 4.55 0.61 มากท่ีสดุ ลขิ สิทธ์ิ 2. สามารถจัดทาวิดีโอและนาวิดีโอขึ้น (Upload) ทางเว็บไซต์ยูทูบได้ 4.70 0.65 มากที่สดุ ฟรี 3. วิดี โอ ต้ อ งถู ก ส ร้างข้ึ น จาก อุ ป ก รณ์ เท ค โน โล ยี อ่ื น เช่ น 4.50 0.59 มากทส่ี ดุ โทรศัพท์มือถือ และบันทึกเป็นไฟล์ประเภทวิดีโอจึงสามารถนาเข้า เว็บไซต์ยูทบู ได้ 4. การสมัครเปิดบญั ชีเวบ็ ไซต์ยทู บู (YouTube) ไมย่ งุ่ ยาก ซบั ซอ้ น 4.40 0.47 มาก 5. การตกแต่ง วิดีโอ ส่ือ เนื้อหาสามารถทาได้บนเว็บไซต์ยูทูบและ 4.58 0.61 มากทส่ี ุด เผยแพรใ่ นโลกออนไลน์อย่างรวดเรว็ 6. ไม่สามารถนาเนื้อหาเกย่ี วกบั การทารุณกรรม การทาร้ายรา่ งกาย 3.85 0.49 มาก อาวุธรา้ ยแรง หรอื เนอ้ื หาเกี่ยวกับเดก็ 7. ผู้สร้างสรรค์ผลงาน หรือ ผลิต เน้อื หา ท่เี กิดความคิดตวั เอง ไม่ลอก 4.80 0.50 มากทส่ี ุด เลียนผลงานคนอน่ื หรือนาวิดโี อจากช่องยูทูบอน่ื มาใชเ้ ปน็ ของตนเอง 8. สามารถเปิดสร้างรายได้จากวิดีโอที่นาขึ้นผ่าน YouTube ได้อีก 3.89 0.77 มาก ชอ่ งทางหนง่ึ 9. การใชเ้ วบ็ ไซต์ยูทบู อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีที่ใช้ตอ้ งเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ต 3.77 0.58 มากที่สดุ 10. การนาเสนอเนื้อหาผ่านยทู ูบเป็นการส่อื สารทางเดียว 3.55 0.49 มาก รวม 4.25 0.57 มาก

46 จากตารางท่ี 4.8 พบว่ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพรูปแบบการเพิ่ม ช่องการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.25, S.D. 0.57) เมื่อ พิจารณาในรายละเอียดสามารถเรียงลาดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปยังค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดได้ดังน้ี ผู้สร้างสรรค์ ผลงานหรอื ผลิตเนื้อหาที่เกิดความคิดตัวเอง ไม่ลอกเลียนผลงานคนอื่น หรือนาวิดีโอจากช่องยูทูบอื่น มาใช้เป็นของตนเอง ( = 4.80, S.D. 0.50) รองลงมาคือ สามารถจัดทาวิดีโอและนาวิดีโอขึ้น (Upload) ทางเว็บไซต์ยูทูบได้ฟรี ( = 4.70, S.D. 0.65) ยูทูบ (YouTube) มีกฎเกณฑ์และให้ ความสาคัญในการให้ความคุ้มครองเร่ืองกฎหมายลิขสิทธ์ิ ( = 4.55, S.D. 0.61) การรับรู้ว่าการ ตกแต่ง วิดีโอ สื่อ เน้ือหาสามารถทาได้บนเว็บไซต์ยูทูบและเผยแพร่ในโลกออนไลน์อย่างรวดเร็ว ( = 4.58, S.D. 0.61) วิดีโอต้องถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์เทคโนโลยีอ่ืน เช่น โทรศัพท์มือถือ และ บันทึกเป็นไฟล์ประเภทวิดีโอจึงสามารถนาเข้าเว็บไซต์ยูทูบ (Youtube) ได้ ( = 4.50, S.D. 0.59) การสมัครเปิดบัญชีเว็บไซต์ยูทูบ (Youtube) ได้ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ( = 4.40, S.D. 0.47) สามารถ เปิดสร้างรายได้จากวิดีโอท่ีนาขึ้นผ่านเว็บไซต์ YouTube ได้อีกช่องทางหนึ่ง ( = 3.89, S.D. 0.77) ไม่สามารถนาเน้ือหาเกี่ยวกับ การทารุณกรรม การทาร้ายร่างกายอาวุธร้ายแรง หรือเนื้อหาเกี่ยวกับ เด็ก ( = 3.85, S.D. 0.49) ลาดับถัดไปคือ การใช้เว็บไซต์ยูทูบอุปกรณ์เทคโนโลยีที่ใช้ต้องเช่ือมต่อ อินเตอร์เน็ต ( = 3.77, S.D. 0.58) และการนาเสนอเนื้อผ่านยูทูบเป็นการสื่อสารทางเดียว ( = 3.55, S.D. 0.49) ตามลาดับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางท่ี 4.9 ความพึงพอใจต่อการประยุกต์ใช้รูปแบบการเพิ่มช่องการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยใช้สงั คมออนไลน์ Social Network ผา่ นเวบ็ ไซต์ยทู ูบ (YouTube) รายการ S.D. แปลผล 1. สามารถสร้างช่องยทู ูบ (Youtube) ไดด้ ้วยตนเอง 4.83 0.59 มากทส่ี ุด 2. สามารถจัดทาวิดีโอ ท่ีมีความสร้างสรรค์ และน่าสนใจในผลิตภัณฑ์ 4.60 0.47 มากที่สดุ ของตนเองได้ 3. สามารถบริหารจดั การวิดีโอ ใน ช่อง YouTube ได้ 4.11 0.40 มาก 4. สามารถจดั ทาวิดโี อและนาวิดีโอขน้ึ (Upload) ลงใน YouTube ได้ 4.85 0.49 มากทส่ี ุด 5. สามารถดาวน์โหลด (Download) หรือนาวิดีโอของตนเองท่ี 3.76 0.50 มาก เผยแพร่แล้วไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางการตลาดในช่องทาง อน่ื ๆ ได้ 6. ใช้ YouTube เป็นช่องทางการพัฒนาทักษะการนาเสนอผลติ ภัณฑ์ 4.33 0.61 มาก ประเภทอน่ื ๆ ควบคู่ไปดว้ ย

47 รายการ S.D. แปลผล 7. การสมัครลงทะเบียนสมาชิกเว็บไซต์ยูทูบ (YouTube) ไม่ยุ่งยาก 4.50 0.65 มากทส่ี ุด ซับซ้อน 8. รบั ข้อมูลการสง่ั ซอ้ื สินค้า ผลิตภัณฑ์ โดยสามารถส่ือสารโดยตรงกับ 4.80 0.54 มากท่ีสุด ผู้ท่ีตอ้ งการสินค้าไดด้ ว้ ยตนเอง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9. เพ่มิ ชอ่ งทางการหารายได้จากการจัดทาวดิ ีโออยา่ งต่อเนื่อง 4.00 0.49 มาก 10. สามารถนาผลการเข้าชมวิดีโอมาวิเคราะห์เพ่ือดูความสนใจของ 4.55 0.61 มากทสี่ ดุ ผู้บริโภคเพ่ือนามาพัฒนาสินค้า/ผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่างและตรง กับความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคไดม้ ากขึน้ รวม 4.43 0.53 มาก จากตารางท่ี 4.9 พบว่ากลุม่ วิสาหกิจชมุ ชนมีความพึงพอใจต่อการประยกุ ต์ใช้รูปแบบการ เพิ่มช่องการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.43, S.D. 0.53) เม่ือ พิจารณาในรายละเอยี ดสามารถเรียงลาดบั คา่ เฉล่ยี สงู สุดไปยังคา่ เฉล่ยี น้อยท่ีสุดได้ดงั น้ี สามารถจัดทา วิดีโอและนาวิดีโอขึ้น (Upload) ลงใน YouTube ได้ ( = 4.85, S.D. 0.49) รองลงมาคือ สามารถ สร้างช่องยูทูบ (Chanel) ได้ด้วยตนเอง ( = 4.83, S.D. 0.59) รับข้อมูลการสั่งซ้ือสินค้า ผลิตภัณฑ์ โดยสามารถสื่อสารโดยตรงกับผู้ท่ีต้องการสินค้าได้ด้วยตนเอง ( = 4.80, S.D. 0.54) สามารถจัดทา วิดีโอ ท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ และน่าสนใจในผลิตภัณฑ์ของตนเองได้ ( = 4.60, S.D. 0.47) สามารถนาผลการเข้าชมวิดีโอมาวิเคราะห์เพ่ือดูความสนใจของผู้บริโภคเพ่ือนามาพัฒนาสินค้า/ ผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่างและตรงกับความต้องการของผู้บริโภคได้มากข้ึน ( = 4.55, S.D. 0.61) การสมัครลงทะเบียนสมาชิกเว็บไซต์ยูทูบ (YouTube) ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ( = 4.50, S.D. 0.65) ใช้ YouTube เป็นช่องทางการพัฒนาทักษะการนาเสนอผลิตภัณฑ์ ประเภทอ่ืน ๆ ควบคู่ไปด้วย ( = 4.33, S.D. 0.61) สามารถบริหารจัดการวิดีโอ ใน ช่อง YouTube ได้ ( = 4.11, S.D. 0.40) เพ่ิมช่องทางการหารายได้จากการจัดทาวิดีโออย่างต่อเน่ือง ( = 4.00, S.D. 0.49) และสามารถ ดาวน์โหลด (Download) หรือนาวิดีโอของตนเองที่เผยแพร่แล้วไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทาง การตลาดในช่องทางอนื่ ๆ ได้ โดยมีค่าเฉล่ยี อย่ใู นระดับมาก ( = 3.76, S.D. 0.50) ตามลาดบั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 48 4.3 ตอนท่ี 3 การเปรียบเทียบยอดจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรมของวิสาหกิจ ชุมชน ระหว่างจัดจาหน่ายผ่านเครื่องมือทางเทคโนโลยี Social network ผ่าน YouTube กับ การจัดจาหน่ายรูปแบบเดิม ผลการเปรยี บเทียบยอดจัดจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์จากหัตถกรรมของวิสาหกิจชุมชน ระหว่าง จัดจาหน่ายผ่านเคร่ืองมือทางเทคโนโลยี Social network ผ่าน YouTube กับ การจัดจาหน่ายรูป แบบเดิม โดยนาข้อมูลจากการสอบถามและสมั ภาษณ์กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนก่อนนามาเปรียบเทยี บยอด จดั จาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ในแตล่ ะช่วงเวลาทุก ๆ 3 เดือน ไดด้ งั น้ี ภาพที่ 4-9 ยอดจัดจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์จากหตั ถกรรมของวสิ าหกจิ ชุมชน ระหวา่ งจดั จาหน่ายผา่ นเครอ่ื งมอื ทางเทคโนโลยี Social network ผา่ น YouTube กบั การจัดจาหนา่ ยรปู แบบเดิม จากภาพที่ 4-9 แสดงให้เห็นว่าภายหลังการใช้รูปแบบการเพิ่มช่องทางทางการจาหน่าย ผลติ ภัณฑ์จากหัตถกรรมของกลุ่มวสิ าหกิจชุมชน ตาบลจอมประทัด อาเภอวัดเพลง จงั หวัดราชบุรี ยอดจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรมของวิสาหกิจชุมชนผ่านเครื่องมือทางเทคโนโลยี Social network ผ่าน YouTube สูงกวา่ การจดั จาหน่ายรูปแบบเดิมในช่วงทกุ เวลา นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้สัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มหัตถกรรมเก่ียวกับสภาพปัญหาการ จาหน่ายสินคา้ /ผลิตภัณฑ์ ซ่ึงผู้ให้ข้อมูลทั้ง 5 คน ได้สนับสนนุ ผลลัพธ์ที่เป็นยอดขายจากการเพิ่มช่อง ทางการจัดการหนา่ ยสนิ ค้า มรี ายละเอยี ดดังนี้

49 “งานทขี่ ายได้ ในแบบเดมิ ก็เพ่ิมข้ึน ถามคนท่ีมาซอ้ื เขาบอกว่าอยากมาดูและมาเทยี่ วด้วย รอโควดิ เบาๆ กอ่ น เค้าดูมาจากทาง YouTube” (สมาชกิ กลุ่มคนที่ 1, ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์, 9 พฤษภาคม 2564) “เร่ิมแรกจากการทาวิดีโอเผยแพร่ แชร์ข้อมูลในกลุ่มและกับคนที่รู้จักก่อน และกาหนดการ เผยแพร่เป็นแบบสาธารณะ โดยจะแทรกคาอธิบายและมีตัวอักษรและเบอร์โทรศัพท์ ยอดการส่ังซื้อ ในชว่ ง 3 เดือนแรกจะมาจากการสง่ั ซื้อจากคนท่ีอ่ืน เอาไปขายตอ่ ทางเว็บไซต์ของเขาอีกที ครั้งละ 3- 5 ชนิ้ ” (สมาชกิ กล่มุ คนที่ 2, ผู้ใหส้ มั ภาษณ์, 22 มิถนุ ายน 2564) “มีโทรศัพท์มาถามว่า มีกี่แบบ กีล่ าย ทาให้เรา คิดเพ่ิมวา่ ต้องแสดง ลายให้ครบ และให้เห็น ภาพชดั ๆ เขาจะได้ เลอื กได้ หรอื ไม่ก็ใส่รหสั หรือช่อื ลายไปดว้ ยในวิดโี อ” (สมาชกิ กลมุ่ คนท่ี 3, ผใู้ ห้สัมภาษณ์, 10 มกราคม 2565) “มคี นชมในช่องคอมเมน้ ต์ขา้ งล่าง และสอบถามข้อมูลในน้นั บางทกี ็ไม่ไดด้ ทู กุ ครง้ั เพราะไม่ได้เขา้ ไปดชู ่องเลย” (สมาชกิ กลมุ่ คนที่ 4, ผใู้ หส้ มั ภาษณ์, 15 ธนั วาคม 2564) “มีคนมาซอ้ื ซา้ เพ่ือนาไปขายต่อก็มี” (สมาชิกกลมุ่ คนท่ี 5, ผู้ให้สัมภาษณ์, 15 ธนั วาคม 2564) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บรรณานกุ รม กระทรวงพานชิ ย.์ (2559). กระทรวงพาณิชยข์ านรบั นโยบาย พร้อมเร่งขับเคลื่อนการค้าการสง่ ออกปี 2559 เข้าถึงจาก http://www.moc.go.th/index.php/moc-news/2015-10-19-04-33- 08/item/8785.html. (3 พฤศจกิ ายน 2563). กระทรวงพานชิ ย.์ (2561) รายงานประจาปี 2561. นนทบุร:ี กระทรวงพานิชย์. กระทรวงพานิชย์. (2560). “พาณชิ ย์” เดินหนา้ 9 นโยบาย และจดั 8 กจิ กรรมลด คา่ ครองชพี มอบเป็นของขวญั สง่ ท้ายปีเกา่ ต้อนรบั ปีใหม่ 2561 ใหค้ นไทยท้ังประเทศ. เขา้ ถงึ จาก http://www.moc.go.th. (11 พฤศจิกายน 2561). กรมสง่ เสริมการเกษตร. (2548). พระราชบัญญัติสง่ เสริมวสิ าหกิจชุมชน พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ขวญั ปภัสสร จานทอง. (2557). อิทธิพลของปัจจัยภูมหิ ลัง การมงุ่ ประกอบการ และเครอื ข่ายทาง สงั คมต่อความสาเร็จทาง ธุรกิจของ ผปู้ ระกอบการจงั หวัดราชบรุ ี. วารสาร สมาคมนกั วิจัย ปี ท2่ี 2 ฉบบั ที19. จรยิ า ศรีจรูญ. (2564). พฤติกรรมการซ้ือสนิ คา้ ผา่ นส่ือสังคมออนไลน์. Southeast BANGKOK JOURNAL, 7(2), 8-9. เจนา่ ห์ เลนน์ พาร์เมลี .(2562). เปรยี บเทียบประสิทธิผลของส่ือโฆษณาประเภทวิดีโอระหวา่ งโฆษณา ประเภทขายแฝงและประเภท ขายตรง ระหว่างกลุ่มนกั ศึกษาจบใหม่และกล่มุ นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยชาระเงนิ โฆษณาผ่านกเู กลิ (Google Ads) กรณีศกึ ษาคอร์ส “Interview in English Like-a-Pro\" บนชอ่ งยูทปู Exchanges with Jeynah , การค้นควา้ อสิ ระเป็นสว่ นหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สตู ร นเิ ทศศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสื่อสาร การตลาดดิจิทัล มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ ณฐาพัชร์ วรพงศ์พชั ร์ และคณะ. (2563). การพฒั นาสือ่ สังคมออนไลน์ผลิตภัณฑ์ก้อนเชื้อเหด็ วิสาหกิจชมุ ชนเห็ดและผกั หลากชนิด ปลอดสารพิษสู่ชีวติ พอเพียง จงั หวัดราชบรุ .ี วารสาร การบรหิ ารนิติบุคคลและ นวตั กรรมทอ้ งถิน่ . 6(3), 157-160. ณฐั พล ไยไพโรจน์. (2562). Digital Marketing (พมิ พ์ครง้ั ที่ 6). นนทบรุ :ี ไอดีซีพรีเมียร์. ณัฐภัณฑ์ พงษ์ณะเรศ , นิภาพร กล่ินระรื่น , พิทักษ์ ศิริวงศ์.(2560). การสร้างมูลค่าเพ่ิมโดยการ ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและช่องทางการจัดจําหน่าย ของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์แปรรูป สมุนไพรสุมาลี ตําบลหนองหัวเเรต อําเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา,การประชุม วชิ าการเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศึกษาคร้งั ท่ี 2,หน้า 349

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 59 บรรณานกุ รม (ต่อ) ดารณี พมิ พ์ชา่ งทอง. (2561). การวเิ คราะหจ์ ัดกลมุ่ เพ่ือการรณรงค์ทางการตลาดดว้ ยการใชเ้ ครอื ขา่ ย สงั คมออนไลน,์ Rmutt Global Business and Edconomics Review, p.149, ปที ่ี 13 มิถุนายน 2561. ทพิ ยว์ ัลย์ ขันธมะ. (2556). เทคโนโลยีสารสนเทศ. พมิ พค์ รง้ั ท5ี่ . กรงุ เทพฯ เสมาธรรม ไทยรัฐ. (2560). พาณชิ ย์ เรง่ นโยบายปนั้ SME ป้อนตลาด จบั มือเอกชนดันชอ่ งทางขายเพมิ่ . เข้าถึง จาก https://www.thairath.co.th/content/ 1014237. ธงชัย ศรีวรรธนะ. (2560). โมเดลสมการโครงสร้างปัจจยั ความสอดคล้องทางภาพลกั ษณ์กลยุทธ์ การตลาดเชงิ เนอ้ื หาทีม่ ลี ูกคา้ เปน็ ศูนย์กลาง และพฤติกรรม ความภกั ดีต่อตราสินค้าของ ผตู้ ิดตามเฟสบุคธนาคารไทยช้นั นา. วารสาร สมาคม นกั วจิ ยั , ปที ี่ 22 ฉบบั ท่ี 1. ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2556). แนวทางการพัฒนาการดาเนินงานของวิสาหากิจชมุ ชน ใน เขตลมุ่ ทะเลสาบสงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร. นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2557). การสื่อสารการตลาด (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.ปราณิศา ธวัชรุงโรจน. (2558). การวิเคราะห์คลิปวิดีโอไวรัลมารเก็ตต้ิงและ ปัจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจแบ่งปัน, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒน บรหิ ารศาสตร. ประสทิ ธิ รัตนพันธ์. (2561). การพัฒนาชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ยและการสรา้ งมลู ค่าเพิม่ ให้กับ ผลติ ภณั ฑ์ชุมชนประเภทอาหารในจังหวดั สงขลา. วารสารการวิจัยเพอ่ื พัฒนาชุมชน (มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์). 11(4), 42-51 ปารดา ยังสบาย. (2558). อทิ ธิพลของสื่อออนไลน (Online Media) ทมี่ ีผลตอความต้งั ใจ ทาศลั ยกรรมของผูหญิงในเขตกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานิพนธปรญิ ญามหาบณั ฑิต, สถาบัน บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร. พงศธร ศริ วิ ฒั นสกุล. (2562) .ความหมายของคาวา่ ตลาดยุคดจิ ทิ ลั . เขา้ ถึงจาก : https://www.dir.co.th/ขา่ วสาร/ข่าวสารทว่ั ไป/การตลาดยคุ ดจิ ทิ ัล.html พจน์ใจ ชาญสุขกิจ. (2555). เมื่อโลกเปลีย่ น : ถึงจุดเปลีย่ นแหง่ การสื่อสาร. Communication Change ปที ี่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม หน้า 64-75. ภิเษก ชัยนริ ันดร์. (2553). การตลาดแนวใหม่ผา่ น social media. กรุงเทพมหานคร: ซเี อด็ ยูเคชัน่ .

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 60 มทนา วบิ ลู ยเสข. (2556). พฤติกรรมของผู้หญงิ ในอาเภอเมืองเชยี งใหม่ต่อการเปิดรับการส่อื สาร การตลาดผ่านสือ่ สงั คมออนไลน์. (การค้นควา้ อิสระปรญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลัยเชยี งใหม)่ . รัชนกี ร อตุ ตมา. (2553). ชอ่ งทางการจดั จาํ หนา่ ย (Distribution) สบื ค้นเม่อื 29 ตลุ าคม 2563, จาก https://fifathanom.wordpress.com เลิศชัย สธุ รรมนนท.์ (2557). บทบาทของสภามหาวิทยาลยั ในการบริหารทรัพยากรบุคคล. วารสาร ปญั ญาภวิ ฒั น์, ปที ี่ 5 ฉบับ พเิ ศษ. วิภาดา พทิ ยาวิรุฬย์ และณักษ์ กลุ สิ ร.์ (2557). สื่อดจิ ิทลั ท่ีมีอทิ ธิพลต่อการตอบสนองของผ้บู รโิ ภคใน การเขา้ ถงึ ข้อมลู ทางการตลาด. วารสารการบรหิ ารธรุ กจิ ศรีนครินทรวิโรฒ. 5(1), 81-96. ศภุ ฤกษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ครี ี วงก.์ (2562). การตลาดดิจิตอล= Digital marketing.การตลาดดจิ ทิ ลั , สารนิพนธ์ มหดิ ล หนา้ 15. สุพรรณี ขอดเฝือ. (2551). ปัจจยั ที่ผลต่อการดาเนนิ งานของวิสาหกจิ ชุมชนในอาเภอสันปา่ ตอง จังหวดั เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ สุภางค์ จันทวานิช. (2537). วิธกี ารวิจยั เชิงคุณภาพ. พมิ พ์ครั้งท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สรุ างคณา ณ นคร. (2552). การสื่อสารตราสินค้าในแนวทางการตลาดสมยั ใหม่ (พิมพ์คร้ังท่ี 3). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ ย.์ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และ สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ: ส้านกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และ สงั คมแหง่ ชาตสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2558). รายงานผลการ ดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2558. ฝ่ายตดิ ตามและประเมนิ ผล สานักงานส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม. สานกั งานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560). แผนการสง่ เสรมิ SME ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม. Smart SME. (2561). กระทรวงพาณิชย์ ติดปกี SMEs ไทยบนิ ไกลสู่ตลาดโลก. เข้าถงึ จาก https://www.smartsme.co.th/content/90616. (14 พฤศจิกายน 2563). อดเิ ทพ บุตราช. (2553). ความหมายของคาว่า Social network สังคมออนไลน.์ เข้าถงึ จาก : [ออนไลน์].https://sites.google.com/site/socialnetworksangkhmxxnlin05. (วนั ท่ี ค้น ขอ้ มลู : 22 ธนั วาคม 2564.)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 61 บรรณานุกรม (ต่อ) อจั ฉราภรณ์ จฑุ าผาด, ชนานนท์ คาํ หวลลา้ํ จมุ จัง, และกุลธดิ า พลเยยี่ ม. (2564). การประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยี ดจิ ิทลั ในการส่งเสริมการบริหารจัดการกลุม่ วิสาหกจิ ชมุ ชน กรณศี ึกษา: บา้ นง้ิว ตําบลธงธานี อําเภอ ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอด็ . วารสารการบรหิ ารนิตบิ คุ คลและนวตั กรรม ท้องถิน่ . 7(7), 85-98. อคั รเดช ปิ่นสขุ และนิตนา ฐานิตธนกร. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณภาพ การ บริการอเิ ล็กทรอนิกส์และสว่ นประสมการตลาดในมุมมองของลูกค้า ที่สง่ ผลต่อ ความพึง พอใจ (E-satisfaction) ในการจองต๋ัวภาพยนตร์ออนไลนผ์ ่านระบบแอพพลิเคชัน่ ของ ผู้ใช้บรกิ ารในจงั หวัดกรงเทพมหานคร. ใน การประชมุ วิชาการระดบั ชาตสิ หวทิ ยาการ เอเชยี อาคเนย์ 2559 ครงั้ ที่ 3. นนทบรุ ี: โรงแรมรชิ มอนด์สไตลิส คอนเวนช่นั อรพรรณ บลุ สถาพร. (2549). “กลยุทธ์การตลาดสม้ โอขาว แตงกวาภายใต้โครงการสินคา้ หนึ่งตาบล หน่งึ ผลิตภัณฑ์ จังหวดั ชยั นาท,” วิทยานิพนธศ์ ลิ ปศาสต รมหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์, 2549. Dent, J. (2011). Distribution Channels : Understanding and managing Channels to market. 2th ed. United Kingdom : Kogan Page Limited” Galloway, C. (2005). Cyber-Public Relations and ‘dynamic touch’. Public Relations Review, (Electronic Version) 31, PP, 572-577. Google .(2012). Google's 'ZMOT' and How the Smartphone has Disrupted Traditional Path-. (n.d.). Retrieved December 28, 2020, from https://www.ipsos.com/en/googles-zmot- and-how-smartphone-hasdisrupted-traditional-path-purchase Harad, K. C. (2016). Don’t avoid content marketing. Journal of Financial Planning, 29(7), 20-22. Jara, A. J., Parra, M. C., & Skarmeta, A. F. (2013). Participative marketing: extending social media marketing through the identification and interaction capabilities from the Internet of things. Personal and Ubiquitous Computing, 1-15, doi: 10.1007/s00779-013-0714-7

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 62 บรรณานุกรม (ต่อ) Kee, A. W. A., & Yazdanifard, R. (2015). The review of content marketing as a new trend in marketing practices. International Journal of Management, Accounting & Economics, 2(9), 1055-1064. Kotler, P. and Armstrong, G. (2011). Principle of Marketing, 14th ed.Boston : Pearson Prentice-Hall. Kotler, P., & Keller, K. L. (2012). Marketing management. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Richard, M. O., & Chebat, J. C. (2016). Modeling online consumer behavior: Preeminence of emotions and moderating influences of need for cognition and optimal stimulation level. Journal of Business Research, 69, 541–553. Tuten, T. L., & Solomon, M. R. (2013). Social media marketing. New Jersey: Prentice Hall.Taylor, M. and Kent, Michal L. (2010). Anticipating Socialization in the Use of Social Media in Public Relations : a Content Analysis of PRSA’s Public Relations Tactics. Public Relations Review, 36 PP 207-214 Safko, L.& Brake, D.(2010). Social media bible. Hoboken. New Jersey: Johnwley& Sons Whiting, A., & Deshpande, A. (2016). Toward greater understanding of social media marketing: a review, Journal of Applied Business and Economics, 18(4), 82-91. Whiting, A., & Deshpande, A. (2016). Toward greater understanding of social media marketing: review, Journal of Applied Business and Economics, 18(4), 82-91. Zhao, Y., Wang, L., Tang, H., & Zhang, Y. (2020). Electronic word-of-mouth and consumer purchase intentions in social e-commerce. Electronic Commerce Research and Applications, 41, 100980. doi:10.1016/j.elerap.2020.100980


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook