39 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 3 จงสร้างภาพสเกตซ์ กําหนด Constraint กําหนดขนาด และสร้างงาน 3 มิติดว้ ยคําส่ัง Extrude 1. 2. 3. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 40 4. 5. 6.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 บทที่ 4 การใช้ Revolve และ Sweep บทนา ในบทนี้จะได้ศึกษาการใช้คาส่ัง Revolve และ Sweep สร้างงาน 3 มิติ ซ่ึงมีรายละเอียดดังน้ี หลักการสรา้ งงาน 3 มิติ ดว้ ย Revolve ความรพู้ ื้นฐานเก่ียวกับฟเี จอร์ Revolve การฝึกสร้างช้ินงานโดยใช้ คาสั่ง Revolve ฝึกสรา้ งชน้ิ งาน 3 มิติ ด้วยการใช้ Revolve ภาพที่ 4.1 แสดงการใช้คาสั่ง Revolve ความรใู้ นการสร้างชิน้ งาน 3 มิติ ดว้ ยการ Sweep การฝกึ สรา้ งชิ้นงาน 3 มติ ิ ด้วยการ Sweep ภาพท่ี 4.2 แสดงการใช้คาสงั่ Sweep
42 หลกั การสร้างงาน 3 มิติ ด้วย Revolve Revolve เป็นฟีเจอร์ทใี่ ชใ้ นการสร้างเนื้อของชนิ้ สว่ น 3 มิติ โดยวิธกี ารหมนุ หน้าตัดสเกตซร์ อบแกน หมนุ ไปตามองศาที่ต้องการตั้งแต่ 0 ถึง 360 องศา ซงึ่ แกนหมนุ จะเปน็ เสน้ ของของหน้าตัดทห่ี มนุ หรือเสน้ ทมี่ ี ระยะเย้ืองจากหน้าตัดท่หี มนุ ก็ได้ โดยตัวอย่างของชิน้ งานท่ีไดจ้ ากการ Revolve ช้ินงานไป 360 องศา แสดง ดงั ตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 แสดงหลักการสร้างงานด้วยคาสั่ง Revolve มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงชน้ิ งานหนา้ ตัดสเกตซ์ช้นิ งาน 3 มติ ิ ที่ได้รับการหมุน เพลาสง่ กาลัง วงแหวน ทรงกลม ไขไ่ ก่ แจกัน ดอกไม้ ความร้พู ืน้ ฐานเกีย่ วกบั ฟีเจอร์ Revolve เมอื่ คลิกคาสั่ง Revolve บนรบิ บอน จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Revolve ข้นึ ดังภาพที่ 4.3 ซง่ึ ประกอบด้วย แท็บของ Shape และ More มีความหมายตาม แทบ็ Shape จะประกอบดว้ ย ออปชันต่างๆ ภาพที่ 4.3 แสดงกล่องโตต้ อบของ Revolve ดังนี้
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 43 Profile คลิกป่มุ นี้แลว้ คลิกเลือกหน้าตัดสเกตซท์ ี่ตอ้ งการจะ Revolve ในกรณีท่มี ีหลายสเกตซ์ แตถ่ ้า มีสเกตซเ์ ดียวโปรแกรมจะเลือกใหโ้ ดยอตั โนมตั ิ Axis คลกิ ปมุ่ นี้แล้วคลกิ เลอื กแกนหมุนทตี่ ้องการ ซ่งึ แกนหมุนอาจจะเป็นแกนทางาน (Work Axis) เปน็ เส้นศนู ย์กลาง เส้นรา่ ง หรือเส้นปกติก็ได้ Solids ปมุ่ นใี้ ชส้ าหรบั เลอื ก Solid body ท่ีตอ้ งการ (กรณีท่ีชิน้ งานมีหลาย Solid body) เพือ่ ให้ ฟเี จอรท์ ี่จะถูกสร้างข้นึ มาใหม่อยใู่ น Solid body ทเี่ ลอื กน้ัน ภาพท่ี 4.3 แสดงกลอ่ งโตต้ อบของ Revolve Extent ประกอบด้วย Termination, Distance และ Direction 1. Termination จะเปน็ ตวั กาหนดวธิ ีการยดื ของสเกตซ์ มีอยู่ 5 วธิ คี อื -Full สเกตซ์จะถูกหมนุ ไป 1 รอบ (360 องศา) -Angle สเกตซจ์ ะถกู หมุนไปตามมุมท่ีกาหนด -To สเกตซจ์ ะถกู หมุนไปจนถึงระนาบหรือพนื้ ผิวทเ่ี ราเลอื กไวโ้ ดยเราจะตอ้ งใชป้ ุ่ม Select Surface เลือกระนาบหรือพนื้ ผิวที่ตอ้ งการจะหมุนไปถงึ -Between สเกตซ์จะหมุนจากระนาบหรือพื้นผิวเร่มิ ตน้ ทีเ่ ลอื กไปยังระนาบหรือพน้ื ผวิ สุดท้ายทีเ่ ลอื ก -To-Next สเกตซจ์ ะถูกหมนุ ไปจนถงึ ระนาบหรือพืน้ ผิวทเ่ี ลือก 2. Distance เปน็ ช่องสาหรบั กรอกคา่ มุมที่ต้องการหมนุ จะเปน็ ออปชนั ทใ่ี ช้กาหนดทิศทางของการ Revolve มอี ยู่ 4 วธิ ีคอื 1.สเกตซ์จะหมุนไปตามทศิ ทางท่โี ปรแกรมกาหนด 2.สเกตซ์จะหมนุ กลบั ทศิ ทางจากทิศทางทโี่ ปรแกรมเลือกครั้งแรก 3.สเกตซ์จะหมุนออกท้ังสองทิศทางโดยโปรแกรมจะแบ่งระยะการหมุนใหเ้ ทา่ กันทั้ง 2 ทศิ ทาง 4.สเกตซจ์ ะหมุนออกท้ังสองทิศทาง โดยใหผ้ อู้ อกแบบกรอกคา่ มมุ ของการหมนุ ได้ตามความ ตอ้ งการทัง้ 2 ทิศทาง โดยมุมท่กี รอกไมจ่ าเปน็ ต้องเท่ากัน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 44 การฝึกสร้างชน้ิ งานโดยใชค้ าสัง่ Revolve 1.การใช้ Revolve สรา้ งลอ้ ของรถเข็น 1.1เลอื กระนาบ XZ เป็นระนาบสเกตซ์ คลกิ คาสัง่ Line และคาสั่ง Centerline แลว้ ลาก เมาส์ไปสร้างเส้นศูนย์กลางดงั รปู โดยเริ่มจากจุด Center point (จดุ สีเหลอื ง) หลังจากน้ันให้คลิกคาส่ัง Centerline อกี คร้ังเพ่ือออกจากการสรา้ งเสน้ ศูนยก์ ลาง 1.2 ใชค้ าสง่ั Line และคาส่ัง Dimension สเกตซ์ภาพและกาหนดขนาดดังรปู 1.3 ใชค้ าสงั่ Mirror เพ่อื คดั ลอกภาพสเกตซ์ไปอีกดา้ นดงั ภาพ เพ่ิมเติม : กรณที ่คี ุณไมต่ ้องการวาดภาพสเกตซ์ 2 มติ ิ 1.4 คลิกท่ีเส้นใดกไ็ ด้บนรูปท่สี เกตซไ์ ว้ จะปรากฏไอคอนบนเส้นนน้ั ใหค้ ลกิ เลือกปุ่ม Create Revolve 1.5 กล่องโตต้ อบ Revolve จะปรากฏขึ้น -คลิกปมุ่ Profile ลากเมาส์ไปคลิกเลอื กหน้าตดั ท้ังสองท่ีเขยี นไว้ -คลิกปมุ่ Axis คลกิ เลอื กแกนหมนุ และ -กาหนดออปชนั ของ Extent เป็นแบบ Full 1.6 คลกิ ปุม่ OK จะไดล้ อ้ ของรถเข็นดงั รูป บนั ทึกไฟล์ กรณีทีเ่ ลือก Extent แบบ Angle สามารถทดลองกรอกคา่ มุมที่ต้องการได้ ภาพที่ 4.4 แสดงการใช้คาสงั่ Mirror สรา้ งลอ้ ของรถเขน็ ภาพที่ 4.5 แสดงการใช้คาสัง่ Revolve สร้างลอ้ ของรถเข็น
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 45 2 การใช้ Revolve สรา้ งชิ้นงานวงล้อหมนุ วงล้อหมุนมีส่วนประกอบดังภาพเป็นช้ินงานท่ีเหมาะสาหรับนามาใช้เป็นตัวอย่างในการฝึกใช้คาส่ัง Revolve ได้เป็นอย่างดี ซึ่งในตัวอย่างน้ี นอกจากจะนาเสนอเทคนิคการสเกตซ์ท่ีทาเพียงคร้ังเดียวสามารถ สรา้ งเนอ้ื ชิ้นงานได้ท้ังหมด ยังได้เพิ่มคาสั่ง Rib, Fillet, Circular Pattern และคาสั่ง Hole เพื่อให้ได้ชิ้นงานท่ี สมบรู ณ์ ซ่ึงมขี ัน้ ตอนในการสรา้ งดังนี้ 2.1 เปดิ ไฟลส์ รา้ งช้ินงาน Standard(in).ipt (แสดงหน่วยเปน็ นิ้ว) เลอื กระนาบ XY Plane เป็นระนาบสเกตซ์ สเกตซ์ภาพและกาหนดขนาดดังรูป เพ่ือใช้เป็นหน้าตัดในการสร้างช้ินส่วนวงล้อ ดุมล้อและ ซล่ี ้อ 2.2 สเกตซ์รปู สเี่ หล่ียมผนื ผ้าและกาหนดขนาดดงั รูป เพ่อื ใช้เป็นหน้าตดั ในการสร้างชิ้นสว่ น เบา้ สวมมอื หมนุ 2.3 สเกตซ์ภาพและกาหนดขนาดดงั รูป เพือ่ ใช้เปน็ หนา้ ตดั ในการสร้างช้ินส่วนมอื หมนุ 2.4 เม่ือสเกตซภ์ าพจากข้อ 1-3 เสร็จจะไดภ้ าพสเกตซท์ ่ีพร้อมจะ Revolve ดังรปู ออกจาก โหมดสเกตซ์ ภาพที่ 4.6 แสดงสเกตซ์ภาพและกาหนดขนาดชนิ้ งานวงล้อหมุน 4.5.ใช้ Revolve สรา้ งช้นิ สว่ นวงล้อ และดุมลอ้ โดยเลือกหน้าตดั แกนหมนุ และกาหนดออก ชนั ของ Extent เป็นแบบ Full ดงั ภาพ 4.6.คลกิ ป่มุ OK จะได้ช้นิ สว่ นวงลอ้ และดมุ ลอ้ ดังภาพ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 46 4.7 คลิกเครือ่ งหมาย + หนา้ Revolve1 บนบราวเซอร์บาร์ คลิกขวาบน Sketch1 แลว้ เลอื ก Share Sketch จากเมนู เพ่ือที่จะนาสเกตซ์ของ Revolve1 มาใช้สร้างชิ้นส่วนอ่ืนๆ ซ่ึงสเกตซ์ดังกล่าวจะ ปรากฏบนกราฟิกวินโดว์ กรณีที่เนื้อของชิ้นส่วนที่ได้จากการ Revolve บังภาพสเกตซ์ คุณสามารถเปลี่ยน มุมมองภาพให้แสดงเฉพาะเส้น โดยใช้คาส่ัง Wireframe with Visible Only Model edges with hidden edges removed ที่อยู่บนแทบ็ View 4.8 ใช้ Revolve สรา้ งชนิ้ สว่ นเบ้าสวมมอื หมุน โดยเลือกหนา้ ตัดสีเ่ หลีย่ ม แกนหมนุ และ กาหนดออปชันของ Extent เป็นแบบ Angle หมนุ ไป 180 องศา กาหนดทิศทางการ Revolve ดงั ภาพ 4.9 คลิกปุม่ OK จะไดช้ น้ิ สว่ นเบ้าสวมมอื หมุนดังภาพ 4.10 สร้างซล่ี ้อ โดยคลิกคาสงั่ Rib กลอ่ งโต้ตอบ Rib จะปรากฏขน้ึ คลกิ ป่มุ Profile ลาก เมาส์ไปคลิกเลือกเส้นตรงที่เขียนไว้ และกาหนดออปชันของ Thickness (ความหนา) 0.75 in Extents เป็น แบบ Finite เทา่ กับ 0.31 in 4.11 คลิกป่มุ OK จะไดช้ นิ้ ส่วนซี่ลอ้ ภาพท่ี 4.7 แสดง Revolve สร้างชิ้นสว่ นเบา้ สวมมอื หมนุ ของช้นิ งานวงล้อหมุน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 47 4.12 ลบมมุ ขอบด้านขา้ งของซีล่ อ้ ท้ังสด่ี า้ น โดยใช้คาสงั่ Fillet แลว้ คลกิ เลือกขอบทัง้ ส่ีด้าน และกาหนด Radius 0.1 in คลกิ OK 4.13 ใชค้ าสง่ั Fillet ลบมมุ ขอบทป่ี ลายของซี่ล้อทั้งสองด้าน 0.1 in โดยใช้วิธีเดียวกับ 4.12 4.14 คดั ลอกซลี่ อ้ โดยคลิกคาสั่ง Circular กล่องโตต้ อบ Circular Pattern จะปรากฏข้นึ คลิกปุ่ม Feature ลากเมาส์ไปคลิกเลือกซี่ล้อ(รวมทั้ง Fillet ในข้อ 12 และ 13) คลิกปุ่ม (Rotation Axis) คลกิ ท่ีผิวของดุมล้อดงั รปู 4.15 ในสว่ นของ Placement ใหก้ รอกคา่ จานวนการคดั ลอกเท่ากบั 3 ลงในชอ่ ง Count และมมุ 360 องศา ลงในชอ่ ง Angle คลกิ ปมุ่ OK จะไดซ้ ี่ลอ้ 3 อันดังรปู ภาพท่ี 4.8 แสดงงานสาเร็จของชิ้นงานวงลอ้ หมุน 4.16 สร้างรสู วมมอื หมนุ โดยคลกิ คาสัง่ Hole กล่องโตต้ อบ Hole จะปรากฏขึ้น เลอื ก Placement แบบ Concentric คลิกปุ่ม Plane ลากเมาส์ไปคลิกเลือกระนาบด้านบนของเบ้า คลิกปุ่ม Concentric Reference แล้วคลกิ เลือกเส้นขอบของวงกลม กาหนดความโตของรู 0.201 in และกาหนดออป ชันคลิกปมุ่ OK 4.17 ใช้คาสั่ง Fillet ลบมมุ ขอบของเบา้ สวมมอื หมนุ 0.03 in 4.18 ใช้ Revolve สรา้ งช้นิ สว่ นมอื หมุน โดยเลือกหน้าตดั แกนหมนุ และกาหนดออปชนั ของ Extent เป็นแบบ Full ดงั รปู คลกิ ปุม่ OK จะไดช้ ้ินสว่ นมอื หมุน โดยปกตชิ ิ้นส่วนมอื หมุน และล้อหมุนจะ เป็นช้ินงานคนละชนิ้ กนั แตใ่ นแบบฝึกหัดนี้จะทาเปน็ ชนิ้ งานเดียวกันเพ่อื ใหผ้ อู้ ่านไดฝ้ ึกใชค้ าสง่ั Revolve 4.19 กาหนดวัสดุวงล้อหมุนเป็น Aluminum (Polished) บนแทบ็ View ในกลุม่ คาสัง่ Appearance จะได้ช้นิ งานดงั ภาพ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ : โปรแกรมจะมีสแี ละวัสดุจานวนมากให้ผู้ออกแบบได้เลือกใช้ แต่ละวัสดุจะมี ข้อความเขียนกากับไวข้ ้างหลังช่ือวสั ดุ ซง่ึ มคี วามหมายดงั น้ี Clear โปรง่ ใสสามารถมองทะลุผา่ นได้ Flat พน้ื ผิววสั ดุจะด้านๆ Polished พ้นื ผวิ วัสดุจะมันเงา Texture พืน้ ผิววสั ดุจะมลี วดลายต่างๆ
Cast 48 Machined Light พ้ืนผิววัสดุจากงานหล่อ Dark พน้ื ผวิ วสั ดจุ ากงานท่ีผา่ นเคร่ืองมือกล เชน่ การกลึง การไส เป็นต้น Rusted พ้ืนผวิ วสั ดุจะสว่าง พ้ืนผิววัสดุจะมดื พน้ื ผิววสั ดทุ ่ีขึน้ สนิม มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพที่ 4.9 แสดงการเลอื กใช้วสั ดุงานสาเร็จของชน้ิ งานวงล้อหมนุ 4.20 การกาหนดวสั ดใุ ห้ฟเี จอร์ โดยการคลิกขวาบนฟีเจอร์ท่ีต้องการแลว้ เลอื ก Properties จากเมนู ในนใี้ หเ้ ลือกฟีเจอร์ของมือหมุนคือ Revolve3 4.21 จะปรากฏกล่องโตต้ อบ Feature Properties ข้ึนมาใหเ้ ลอื ก Plastic (Black) ในชอ่ ง Feature Color Style คลิกปุม่ OK จะไดช้ ิน้ งานวงล้อหมนุ ดงั ภาพท่ี 4.9 ฝกึ สรา้ งชน้ิ งาน 3 มิติ ดว้ ยการ Sweep Sweep เป็นฟีเจอร์ท่ีใช้ในการสร้างเนื้อของชิ้นส่วน 3 มิติ โดยให้เส้นรอบนอกหรือหน้าตัด (Profile) ว่ิงหรือกวาด (Sweep) ไปตามเส้นทางเดิน (Path) ท่ีเลือก ดังรูปท่ี 4.10 ซ่ึงหน้าตัดท่ีสเกตซ์จะเป็นหน้าตัด เดียว หรือหลายหน้าตัดก็ได้ กรณีที่เป็นหน้าตัดแบบปิด (Closed profiles) สามารถสร้างเน้ือช้ินงานได้ท้ัง แบบ Solid body และงานพ้ืนผิว (Surface) ส่วนหน้าตัดแบบเปิด (Open profiles) จะสร้างเนื้อช้ินงานได้ เฉพาะงานพืน้ ผวิ เท่าน้ัน ภาพที่ 4.10 ชน้ิ สว่ น 3 มิติ ที่สร้างจาก Sweep
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 49 คาส่ัง Sweep บนรบิ บอน จะปรากฏกล่องโตต้ อบ Sweep ขนึ้ สามารถเลือกวิธกี าร Sweep ไดต้ าม ความตอ้ งการทช่ี ่อง Type มีอยู่ 3 แบบดว้ ยกนั คือ Path, Path&Guide Rail และ Path&Guide Surface แต่ ละออปชันมีความหมาย ภาพที่ 4.11 กลอ่ งโตต้ อบของ Sweep ซง่ึ Type แต่ละแบบจะใช้งานตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบดังน้ี Path หน้าตัดสเกตซจ์ ะถูก Sweep ไปตามเส้นทางเดินเท่ากันตลอดช้ินงาน หรอื มคี วามเรียวอย่างเปน็ สดั ส่วนตามมมุ ทก่ี าหนด เชน่ ชน้ิ งานท่อนา้ สายไฟ หรือแหวนลูกสูบ เป็นตน้ Path & Guide Rail หน้าตัดสเกตซ์จะถกู Sweep ไปตามเสน้ ทางเดนิ และเส้นโค้งนา (Guide Rail) ซึ่งเส้นโคง้ นาจะเป็นตวั ควบคมุ รูปทรงของการ Sweep นิยมใชส้ รา้ ง ช้นิ งานทม่ี ีหนา้ ตดั ไมค่ งท่โี ดยจะมีรปู ร่างสัมพันธก์ ับเส้นโค้งนา เชน่ ช้ินงาน ดา้ มจบั ของอุปกรณ์ไฟฟา้ เป็นตน้ Path & Guide Surface หน้าตัดสเกตซจ์ ะถูก Sweep ไปตามเสน้ ทางเดนิ และพ้นื ผิวนา (Guide Surface) ใช้สร้างชนิ้ งานทม่ี ีหน้าตดั คงท่โี ดยจะโคง้ สมั พนั ธ์ไปดับพนื้ ผิวที่ เลอื ก เช่น ชิ้นงานกระบอกสูบ ด้ามจับชนดิ ต่างๆ เป็นตน้ การฝกึ สร้างชนิ้ งาน 3 มติ ิ ดว้ ยการ Sweep 1. การใช้ Sweep สร้างชิ้นงาน Hair-pin 1.1 เปดิ ไฟล์สรา้ งชนิ้ งาน Standard (in).ipt (แสดงหนว่ ยเป็นน้วิ ) เลือกระนาบ XY เป็น ระนาบสเกตซ์ คลกิ คาสัง่ Line และคาส่ัง Construction สเกตซเ์ สน้ ร่างอ้างอิงดังรปู เมื่อวาดเสร็จ ใหค้ ลิก คาส่ัง Construction อีกคร้ัง เพ่อื ออกจากการสรา้ งเสน้ รา่ ง 1.2 สเกตซ์ภาพและกาหนดขนาดบนระนาบ XY ดงั รูป แล้วออกจากโหมดสเกตซ์ 1.3 สรา้ งระนาบสเกตซ์ทตี่ ้งั ฉากกบั เสน้ สเกตซ์ โดยคลิกคาสงั่ Parallel to Plane through Point ลากเมาส์ไปคลกิ ระนาบ YZ บนบราวเซอร์ และจดุ ปลายของเส้นตรง จะได้ Work Plane1 ตั้งฉากกับ สเกตซ์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 50 1.4 ใช้ Work Plane1 เปน็ ระนาบสเกตซ์ คลิกคาสง่ั Circle สร้างวงกลมเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 0.115 in โดยให้จุดศนู ยก์ ลางชองวงกลมอยจู่ ดุ เดียวกับจุดปลายของเสน้ ตรง 1.5 คลกิ คาสง่ั Sweep โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเปน็ หน้าตดั ของการ Sweep โดย อัตโนมตั ิ คลิกปุ่ม Path แลว้ ลากเมาส์ไปคลิกเสน้ ที่สเกตซไ์ ว้ กาหนด Type แบบ Path 6.คลกิ ปมุ่ OK จะได้ช้นิ สว่ น Hair-pin ภาพที่ 4.12 สเกตซช์ ้นิ งาน Hair-pin ภาพที่ 4.13 การใช้ Sweep สร้างชนิ้ งาน Hair-pin 2. การใช้ Sweep สร้าง Cotter Pin 2.1 เปดิ ไฟล์สรา้ งช้นิ งาน Standard (in).ipt (แสดงหน่วยเป็นน้ิว) สเกตซ์ภาพและกาหนด ขนาดบนระนาบ XY Plane ดงั รปู แลว้ ออกจากโหมดสเกตซ์ 2.2 สรา้ งระนาบสเกตซ์ท่ตี ้ังฉากกับเสน้ สเกตซ์ โดยคลิกคาสงั่ Parallel to Plane through Point ลากเมาส์ไปคลกิ ระนาบ YZ บนบราวเซอร์ และจดุ ปลายของเส้นตรงดงั รปู จะได้ Work Plane1 ตง้ั ฉากกบั เสน้ สเกตซ์ 2.3 สเกตซห์ น้าตัดและกาหนดขนาดของ Cotter Pin บน Work Plane1 โดยให้จุดกลาง ของวงกลมอยู่จุดเดียวกนั กบั จุดปลายของเสน้ ตรงด้านล่าง 2.4 คลิกคาสัง่ Sweep โปรแกรมจะเลือกรปู วงกลมเปน็ หน้าตัดของการ Sweep โดย อตั โนมตั ิ คลกิ ปุ่ม Path แลว้ ลากเมาสไ์ ปคลกิ เส้นที่สเกตซไ์ ว้ กาหนด Type แบบ Path 2.5 คลิกปมุ่ OK จะไดช้ ิ้นสว่ น Cotter Pin
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 51 2.6 กาหนดวสั ดุของ Cotter Pin เปน็ Aluminum (Polished) บนแทบ็ View ในกล่มุ คาส่งั Appearance จะไดช้ นิ้ งานดังรปู บันทกึ ไฟล์ ภาพท่ี 4.14 สเกตซช์ ้ินงาน Cotter Pin ภาพท่ี 4.15 การใช้ Sweep สรา้ ง Cotter Pin ภาพท่ี 4.16 กาหนดวสั ดุของ Cotter Pin เป็น Aluminum
52 สรปุ Revolve เป็นฟีเจอร์ท่ีใช้ในการสร้างเน้ือของชิ้นส่วน 3 มิติ โดยวิธีการหมุนหน้าตัดสเกตซ์รอบแกน หมุนไปตามองศาท่ีต้องการตั้งแต่ 0 ถึง 360 องศา ซ่ึงแกนหมุนจะเป็นเส้นของของหน้าตัดท่ีหมุน หรือเส้นที่มี ระยะเย้ืองจากหน้าตัดท่ีหมุนก็ได้ โดยตัวอย่างของช้ินงานท่ีได้จากการ Revolve ชิ้นงานไป 360 องศา แสดง ดงั ตารางดา้ นล่าง Sweep เป็นฟีเจอร์ที่ใช้ในการสร้างเนื้อของชิ้นส่วน 3 มิติ โดยให้เส้นรอบนอกหรือหน้าตัด (Profile) ว่ิงหรือกวาด (Sweep) ไปตามเส้นทางเดิน (Path) ที่เลือก ซ่ึงหน้าตัดท่ีสเกตซ์จะเป็นหน้าตัดเดียว หรือหลาย หน้าตัดก็ได้ กรณีท่ีเป็นหน้าตัดแบบปิด (Closed profiles) สามารถสร้างเน้ือช้ินงานได้ท้ังแบบ Solid body และงานพ้ืนผิว (Surface) ส่วนหน้าตัดแบบเปิด (Open profiles) จะสร้างเนื้อช้ินงานได้เฉพาะงานพื้นผิว เทา่ น้นั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
53 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 4 จงใช้คาส่ัง Revolve และ Sweep ช่วยในการสรา้ งงาน 3 มิติ 1. 2. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 54 3. 4.
55 บทท่ี 5 การใช้ Loft Decal และ Emboss บทนา ในบทที่ 5 จะศกึ ษาการสร้างงาน 3 มิติโดยใชค้ าส่งั Loft, Decal และ Emboss ซงึ่ มรี ายละเอียดดังนี้ - หลกั การสรา้ งงาน 3 มิติ ดว้ ย Loft - สง่ิ ทีค่ วรรเู้ ม่ือใช้ Loft สร้างงาน 3 มิติ - ความร้พู ืน้ ฐานเก่ียวกบั ฟเี จอร์ Loft - การฝึกสรา้ งช้ินงานโดยใชค้ าส่ัง Loft - ความรพู้ ้ืนฐานเกี่ยวกับฟเี จอร์ Decal และตวั อย่างการใช้งาน - ความรูพ้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั ฟเี จอร์ Emboss และตัวอย่างการใช้งาน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง หลกั การสรา้ งงาน 3 มติ ิ ด้วย Loft Loft ใช้สร้างเนื้อวัตถุโดยการเชื่อมต่อกันแบบกลมกลืนของเส้นรอบนอก (Profile) หลายๆหน้าตัดท่ี สเกตซ์ไว้บนระนาบ (Plane) ต่างๆนอกจากนั้นยังสามารถเลือกพื้นผิวของช้ินงาน หรือจุดที่มีอยู่เป็นหน้าตัด เชื่อมต่อของ Loft ได้เช่นกัน นิยมใช้คาสั่งนี้สร้างช้ินงานที่มีรูปร่างซับซ้อน เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ หรือ ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ต่างๆ ท่ีผลิตจาหน่ายกันในปจจจุบัน ทั้งนี้สามารถใช้คาส่ังน้ีสร้างช้ินงานที่เป็น Solid body โดยตรง หรือขึ้นรูปเป็นงานพื้นผิว (Surface) แล้วแปลงเป็น Solid body หรือใช้เพื่อขึ้นรูปงานพ้ืนผิว สาหรับการสรา้ งรปู ร่างของชิ้นงานทต่ี อ้ งการดังตาราง ตารางท่ี 5.1 หลักการสรา้ งงาน 3 มิติ ดว้ ย Loft ภาพประกอบการใช้ Loft สรา้ งช้นิ งาน การใช้งาน Loft สร้างชิน้ งานทีเ่ ป็น Solid body ข้นึ รูปเป็นงานพ้ืนผิว (Surface) แล้วแปลงเปน็ Solid body ขึน้ รปู งานพื้นผวิ (Surface) สาหรับการสรา้ งรปู รา่ ง ของช้นิ งานท่ตี อ้ งการ ส่ิงท่ีควรร้เู มอ่ื ใช้ Loft สรา้ งงาน 3 มติ ิ 1.ตอ้ งมีกห่ี นา้ ตัดสเกตซถ์ ึงจะใช้งาน Loft ได้ การจะใช้ Loft สร้างชิ้นงานจะต้องมีหน้าตัดสเกตซ์อย่างน้อย 2 หน้าตัด ซ่ึงสามารถสเกตซ์หน้าตัด หลายๆหน้าตัดเพื่อใช้คาสั่งนี้สร้างรูปร่างของช้ินงานตามท่ีต้องการ นอกจากน้ันยังสามารถใช้การกาหนด น้าหนักให้หน้าตัด ใช้เส้นโค้งนา หรือเส้นศูนย์นาช่วยกาหนดรูปร่างในการสร้างช้ินงานระหว่างหน้าตัดสเกตซ์ ท้งั สองดงั นี้
56 ตารางที่ 5.2 หน้าตดั สเกตซใ์ ช้งาน Loft ภาพประกอบการใช้ Loft สรา้ งช้ินงาน การกาหนดออปชันระหว่างหนา้ ตัดสเกตซ์ ไม่กาหนดนา้ หนักใหห้ น้าตัดทั้งสอง กาหนดนา้ หนกั การ Loft ให้หนา้ ตดั ทั้งสองเท่ากนั ใช้เส้นโค้งนา ใช้เส้นศนู ย์นาชว่ ยกาหนดรูปรา่ ง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2.ใชพ้ ื้นผวิ ของช้นิ งานหรือจุด (Point) สร้างเนอื้ วตั ถจุ ากการ Loft พ้ืนผิวของช้ินงานไม่ว่าจะเป็นพ้ืนผิวโค้งหรือพื้นผิวเรียบสามารถท่ีจะเลือกให้เป็นหน้าตัดเริ่มต้น หรือ หน้าตัดสดุ ทา้ ยของการ Loft ได้ โดยการคลกิ เลือกพ้นื ผวิ น้ันโดยตรงดงั ภาพที่ 5.1 ซง่ึ จะสร้างเนื้อช้ินงานให้เข้า กับพ้ืนผิวของชิ้นงานที่เลือกโดยใช้การเช่ือมต่อของเส้นโค้งแบบ Tangential continuity (G1) หรือ Curvature continuity (G2) ภาพท่ี 5.1 การเลือกพื้นผวิ บนชน้ิ งานเพอ่ื ใช้ในการ Loft สาหรับจุดต่างๆทีม่ อี ยกู่ ็สามารถที่จะนามาใช้ชว่ ยในการ Loft ไดเ้ ช่นกัน โดยอาจจะเลอื กจาก จุดตอ่ หรอื มมุ ของช้นิ งาน จุดกึง่ กลางเสน้ ขอบของชน้ิ งาน จดุ ทีส่ ร้างข้นึ เพือ่ ใชง้ าน (Work points) จุดท่ีมองเห็นของเส้นสเกตซ์ จุดต่อ หรือจุดกึ่งกลางของเส้นสเกตซ์ การสร้างเนื้อส่วนปลาย (Termination) ของชนิ้ งานจากการ Loft โดยใช้จุด สามารถเลอื กได้ 3 Conditions ดังนี้ ตารางท่ี 5.3 การสร้างเนอื้ สว่ นปลาย (Termination) ของช้นิ งานจากการ Loft โดยใชจ้ ดุ การกาหนด Condition สาหรบั สร้างเนอ้ื ส่วนปลายของชิน้ งาน ภาพประกอบการใช้ Loft สรา้ งชิน้ งาน Sharp Point condition เนอื้ ของช้นิ งานที่ไดจ้ ะมลี ักษณะแหลม Tangent condition เนือ้ ของชิน้ งานท่ีได้จะมลี ักษณะมนกลม Tangent to Plane condition เนอื้ ของชน้ิ งานที่ได้จะมลี กั ษณะมน กลมสมั ผสั กับระนาบอา้ งองิ ที่เลือก ใช้เส้นศูนยน์ าชว่ ยกาหนดรปู รา่ ง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 57 ขอ้ เสนอแนะและขอ้ ควรระวงั ในการใชจ้ ดุ สรา้ งเนือ้ ชน้ิ งานโดยการ Loft -กรณที ใ่ี ชเ้ ส้นศนู ย์กลาง (Centerline) ร่วมกับจดุ ในการสร้าง Loft เส้นศูนย์กลางน้ันจะต้องผ่านจุดท่ี เลอื ก และจะได้ผลลพั ธด์ ที ่ีสดุ ถา้ เส้นศูนยก์ ลางนั้นผ่านจุดก่ึงกลางของทุกๆ หนา้ ตัดสเกตซท์ ใ่ี ชใ้ นการ Loft -การใช้ Loft ระหว่างจุดสองจุดจะต้องมีหน้าตัดสเกตซ์อยู่ระหว่างจุดท้ังสองเพื่อช่วยในการสร้าง รปู ร่าง -ควรระมัดระวงั ในการคลกิ เลอื กจดุ ถา้ คลกิ เลือกเส้นสเกตซ์แทนการเลือกจุดจะทาให้เกิด Error ขณะ Loft ดังน้ันจึงควรใช้ Select Other ช่วยในการเลอื กจุด 3. สามารถบงั คบั ลกั ษณะการ Loft สร้างพ้ืนผิวของช้ินงานระหวา่ งสองหน้าตดั สเกตซ์ ในคาส่งั Loft จะมแี ท็บ Condition ท่ีใช้ในการบังคับลักษณะการสร้างพ้ืนผิวของชิ้นงานระหว่างสอง หน้าตัดสเกตซ์ โดยสามารถกาหนดค่ามุมของการเปล่ียนแปลงรูปร่าง (Transition angle) และกาหนด น้าหนัก (Weight) เพื่อกาหนดลักษณะการสร้างรูปร่างและการสัมผัสกันของพื้นผิวระหว่างสองหน้าตัด การกาหนดนา้ หนกั ไม่ได้หมายถึงการกาหนดค่าระยะของการสร้างพ้ืนผิวของ Loft แต่เป็นการกาหนดค่าแฟค เตอรใ์ นการควบคุมรูปร่างของหน้าตัดทีต่ อ้ งการจะให้เคลื่อนไปรวมกนั กบั หนา้ ตดั อ่นื 4. เสน้ โค้งนา (Rail) และเสน้ ศูนยน์ า (Centerline) มผี ลต่อรปู รา่ งของชน้ิ งานท่ไี ดจ้ ากการ Loft -เส้นโค้ง 2 มิติ หรือ 3 มิติ หรือเส้นขอบของชิ้นงานสามารถท่ีจะนามากาหนดให้เป็นเส้นโค้งนา เพ่ือที่จะสร้างรูปร่างของชิ้นงานจากการ Loft ได้เช่นเดียวกัน ในการ Loft หน่ึงคร้ังสามารถใช้เส้นโค้งนาได้ หลายเสน้ จุดปลายของเส้นโค้งนาจะต้องสัมผสั กับหนา้ ตดั เริม่ ต้นและหนา้ ตัดสดุ ทา้ ยทใ่ี ชส้ าหรับ Loft -นอกจากน้ันเส้นโค้งนายังสามารถที่จะยาวเลยออกไปจากหน้าตัดเริ่มต้นและหน้าตัดสุดท้ายท่ีใช้ สาหรับ Loft (แต่ต้องสัมผัสกับหน้าตัด) ซึ่งเป็นเทคนิคท่ีนิยมใช้เพ่ือเกิดความกลมกลืนของพื้นผิวมากข้ึน โดย โปรแกรมจะสร้างเนื้อของชิ้นงานไปจนถงึ หน้าตัดเทา่ น้นั -เสน้ ศนู ย์นาจะชว่ ยสร้างรูปรา่ งของชิ้นงานโดยการนาหน้าตัดสเกตซ์ต้ังฉากกับเส้นศูนย์นาเหมือนการ เลือกออปชัน Path ในคาสั่ง Sweep แต่จะมีความกลมกลืนระหว่างหน้าตัดมากกว่า ในการ Loft หนึ่งครั้ง สามารถใช้เสน้ ศนู ยน์ าได้เพยี งเส้นเดียวเท่าน้นั ภาพท่ี 5.2 แสดงเสน้ โค้งนา (Rail) และเสน้ ศนู ยน์ า (Centerline) มผี ลต่อรูปร่าง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 58 5. Merge Tangent Faces ใช้ทาอะไร Merge Tangent Faces เปน็ ออปชนั ท่ีใช้เพอ่ื เอาเสน้ ขอบที่ไมต่ ้องการออกขณะการ Loft โดย เฉพาะงานท่ีมรี ปู ร่างซับซ้อนที่ใช้การเชื่อมต่อของเส้นโค้งแบบ Tangential continuity (G1) หรอื Curvature continuity (G2) ซ่งึ เสน้ ขอบท่เี กดิ ขนึ้ จะเกิดจากจดุ แบง่ ของหนา้ ตดั เช่น หนา้ ตดั รูปส่ีเหลย่ี มจะมี 4 มุม หรือมี 4 จุดแบ่ง เม่อื ใช้ Loft จะทาให้ชน้ิ งานที่ไดม้ ี 4 พ้ืนผิวออฟชั่นน้จี ะถกู เลือกโดยอัตโนมัติเมอื่ ใช้เสน้ ศนู ยน์ าช่วย ในการ Loft - ไมใ่ ชอ้ อปชัน Merge Tangent Faces - ใชอ้ อปชัน Merge Tangent Faces ภาพที่ 5.3 แสดง Merge Tangent Faces ความรูพ้ ื้นฐานเก่ียวกบั ฟีเจอร์ Loft เมอ่ื คลิกคาสัง่ Loft บนริบบอน จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Loft ขนึ้ ซึง่ ประกอบด้วย แท็บของ Curves, Condition และ Transition มคี วามหมายดังน้ี ภาพท่ี 5.4 แท็บ Curves ของกล่องโต้ตอบ Loft
59 เครือ่ งมือชว่ ย Loft -Rails เลือกไอคอนนีเ้ พือ่ เลือกใช้เส้นโค้งชว่ ยสรา้ งรปู รา่ งของช้ินงาน -Centerline เลอื กไอคอนนเี้ พ่อื เลือกใชเ้ ส้นศูนยน์ าช่วยสรา้ งรูปร่างของชิ้นงาน -Area Loft เลอื กไอคอนนเ้ี พ่ือเลือกใช้ Area Loft ชว่ ยสรา้ งรปู ร่างของชิน้ งาน -Closed Loop ใชเ้ ช่ือมต่อระหวา่ งหนา้ ตัดแรกและหน้าตัดสดุ ท้ายของ Loft ใหม้ ีลกั ษณะเปน็ วงรอบปดิ (Closed loop) -Merge Tangent Faces เปน็ ออปชนั ท่ีใชเ้ ลือกเพ่ือเอาเส้นขอบท่ีไม่ต้องการออกขณะการ Loft มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพที่ 5.5 แทบ็ Condition ของกล่องโตต้ อบ Loft แท็บ Condition ดงั ภาพที่ 5.5 จะใช้บังคับลกั ษณะการสรา้ งพืน้ ผวิ ของชน้ิ งานของแต่ละหน้าตดั สเกตซ์ หรือจุดปลายของการสร้างพ้นื ผวิ ของการ Loft ประกอบดว้ ยไอคอนต่างๆ ให้คลิกเลอื กใช้ ข้นึ อยู่กับ การ Loft วา่ ในขณะนัน้ กาลงั สร้างพื้นผวิ จากหน้าตดั สเกตซ์ 2 มิติ จากพน้ื ผวิ ของช้นิ งานหรือจุด แตล่ ะออปชนั มคี วามหมายดังน้ี Free condition เลือกไอคอนน้ีเมื่อไมต่ ้องการกาหนดบังคับลกั ษณะการสรา้ งพน้ื ผวิ ใหห้ น้าตดั Direction condition ออปชนั น้จี ะเปิดใหใ้ ช้สาหรับการสเกตซ์ 2 มติ ิเทา่ นนั้ ใชก้ าหนดค่ามมุ ของการ เปลย่ี นแปลงรปู รา่ ง และน้าหนักใหก้ ับหนา้ ตัดท่ีตอ้ งการ Tangent condition ออปชนั นี้จะเปิดให้ใช้เมอื่ มกี ารเลอื กหนา้ ตดั สเกตซ์ หรือเสน้ โค้งทนี่ าไปเช่ือมต่อ กับพืน้ ผวิ ของช้นิ งาน หรอื พ้นื ผวิ ท่ีเป็นวงรอบ จะสร้างเนื้อช้ินงานให้เข้ากับพื้นผิวของช้ินงานที่เลือกโดยใช้การ เชื่อมต่อกบั ของเสน้ โค้งแบบ Tangential continuity (G1) Smooth condition ออปชันนจ้ี ะเปดิ ให้ใช้เมอ่ื มกี ารเลอื กหน้าตดั เชน่ เดยี วกับ Tangent condition แต่จะสร้างเนื้อช้ินงานให้เข้ากับพ้ืนผิวของช้ินงานที่เลือกโดยใช้การเช่ือมต่อของเส้นโค้งแบบ Curvature continuity (G2) Sharp point ออปชันนจี้ ะเปิดให้ใช้เม่อื หนา้ ตัดเรมิ่ ตน้ หรือหน้าตัดสดุ ทา้ ยของการ Loft เป็นจุด เท่านั้นเม่ือเลือกใช้ออปชันนี้เน้ือของช้ินงานท่ีได้จะมีลักษณะเรียวแหลมเข้าไปหาจุดท่ีเลือก และไม่สามารถ กาหนดนา้ หนกั ให้กับหนา้ ตดั ได้ Tangent ออปชนั นจี้ ะเปิดใหใ้ ชใ้ นกรณีเดยี วกบั Sharp point เม่อื เลือกใช้ออปชันนี้เนอื้ ของช้นิ งานท่ี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 60 ไดจ้ ะมลี ักษณะมนกลม และสามารถกาหนดน้าหนักใหก้ บั หน้าตดั ได้ Tangent to plane ออปชนั จะเปิดใหใ้ ชก้ รณีเดยี วกบั Sharp point เมอ่ื เลอื กใชอ้ อปชันน้ีเนื้อของ ช้ินงานที่ได้จะมีลกั ษณะมนกลมสมั ผสั กับระนาบทเี่ ราเลอื ก และสามารถกาหนดน้าหนักให้กบั หนา้ ตดั ได้ Angle ใช้กาหนดคา่ มุมของการเปล่ียนแปลงรปู ร่าง (Transition angle) ใหก้ บั หน้าตดั สเกตซ์ คา่ มมุ default ของโปรแกรมเท่ากับ 90 องศา ซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลงมุมแบบตั้งฉาก ถ้ากาหนดมุม 180 องศา จะ เปน็ การเปลย่ี นแปลงมุมแบบราบเรยี บ คณุ สามารถต้งั ค่ามมุ นีไ้ ด้ ระหว่าง 0 ถงึ 180 องศา Weight ให้กาหนดค่าแฟคเตอร์นา้ หนักในการควบคุมรปู ร่างของหน้าตดั ที่ต้องการจะให้เคล่ือนไป รวมกนั กับหน้าตัดอ่นื โดยปกตคิ า่ นา้ หนักทมี่ ใี ห้ใช้จะอย่รู ะหวา่ ง 10-20 ภาพที่ 5.6 แทบ็ Transition ของกล่องโต้ตอบ Loft Transition ดังภาพที่ 5.6 เป็นแท็บท่ีใช้สาหรับการปรับเปลี่ยนตาแหน่งของจุดแบ่งของแต่ละหน้าตัด เพื่อเปล่ียนทิศทางในการสร้างพ้ืนผิวของชิ้นงานจากการ Loft ตามการออกแบบที่ต้องการ นอกจากนั้นยัง สามารถเพมิ่ หรอื ลดจดุ แบง่ ตามความตอ้ งการ เมอื่ ปิด Automatic mapping จะปรากฏรายการของจุดแบ่งใน ช่องตา่ งๆ ดงั น้ี Point Set เป็นชอ่ งแสดงรายการของจุดแบง่ บนเสน้ เชื่อมตอ่ ของแตล่ ะหนา้ สเกตซ์ Map Point เปน็ ช่องแสดงรายการของจุดแบง่ ทอี่ ยู่บนหน้าตัดสเกตซ์ Position เปน็ ช่องที่ใช้กาหนดตาแหนง่ ของจุดแบง่ ที่เลือกบนเส้นสเกตซ์ ซง่ึ สามารถกาหนดคา่ ได้ ระหวา่ ง 0-1 ถา้ กาหนด 0 จุดแบ่งจะอยู่ท่ีปลายดา้ นหน่งึ ของเสน้ สเกตซต์ ามท่โี ปรแกรมคานวณ 0.5 จุดแบ่งจะ อยกู่ งึ่ กลางเสน้ สเกตซ์ 1 จดุ แบง่ จะย้ายไปอย่ทู ปี่ ลายอีกดา้ นหน่ึงของเส้นสเกตซ์ เป็นต้น Automatic ค่า Default จะตัง้ ใหอ้ อปชนั นีเ้ ปดิ เมอื่ ต้องการปรับเปล่ียน หรอื แก้ไขตาแหน่งของจุด Mapping แบง่ จะต้องปดิ ออปชันนโ้ี ดยเอาเครื่องหมายถูกออกจาก Check Box การฝึกสร้างช้นิ งานโดยใช้คาสง่ั Loft 1.การใช้ Loft สร้างชน้ิ งานสกัด 1.1เปิดไฟลส์ รา้ งชน้ิ สว่ น Standard (mm).ipt คลิกเครื่องหมาย + หนา้ Origin บน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 61 บราวเซอรบ์ าร์ คลกิ ขวาบนระนาบ XZ Plane เลือก Visibility จากเมนูเพื่อแสดงระนาบ XZ แล้วกด F6 เพ่ือ เปลีย่ นมุมมองเป็น Isometric View 1.2 สร้างระนาบใชง้ านสาหรับการวาดหน้าตัดสเกตซ์ โดยคลกิ คาสงั่ Offset from Plane คลิกที่ระนาบ XZ ค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปทางด้านหลังจะปรากฏ Work Plane1 และช่องให้กรอกค่าระยะ เย้ืองกรอกค่า 20 mm จะได้ระนาบใช้งานทีห่ ่างจากระนาบ XZ เท่ากบั 20 mm 1.3 ใชค้ าส่งั Offset from Plane สรา้ งระนาบ Work Plane2 หา่ งจากระนาบ Work Plane1 เท่ากบั 30 mm ดว้ ยวิธีเดยี วกับข้อ 2 1.4 ใช้คาสั่ง Offset from Plane สรา้ งระนาบ Work Plane3 ห่างจากระนาบ Work Plane2 เท่ากับ 30 mm และสร้างระนาบ Work Plane4 ห่างจากระนาบ Work Plane3 เท่ากับ 120 mm จะไดร้ ะนาบใช้งาน 5 ระนาบ 1.5 คลกิ บนระนาบ XZ Plane ให้ไอคอน Create Sketch ปรากฏ แล้วคลิกที่ไอคอนน้ัน เพอื่ เขา้ ส่โู หมดสเกตซ์ 1.6 สรา้ งวงกลมขนาด ระนาบ XZ Plane โดยใช้ คาสั่ง Circle Center Point โดยให้จุด ศนู ย์กลางของวงกลมอยทู่ จ่ี ดุ Center point แล้วออกจากโหมดสเกตซ์ 1.7.ใช้ 2D Sketch วาดรปู วงกลมและส่เี หลย่ี มบน Work plane ตา่ งๆ ดว้ ยวิธเี ดียวกบั ข้อ 5 และ 6 ดงั นี้ -Work plane 1 วาดรปู วงกลมเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 30 mm - Work plane 2 วาดรูปวงกลมเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 50 mm - Work plane 3 วาดรปู วงกลมเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 30 mm - Work plane 4 วาดรปู สเี่ หลีย่ มขนาด กว้าง 25 mm ยาว 40 mm - Work plane 5 วาดรูปส่ีเหลี่ยมขนาด กว้าง 4 mm ยาว 120 mm ภาพท่ี 5.7 Work plane ของ Loft สรา้ งช้ินงานสกัด 1.8 คลิกคาส่ัง Loft กล่องโต้ตอบ Loft จะปรากฏข้ึนมา ใช้เมาส์คลิกท่ีเส้นรอบรูปของรูป สเกตซ์ทีเ่ ขยี นไว้บน Work Plane ทง้ั หมด และกาหนดออปชัน 1.9 คลกิ ปมุ่ OK จะไดผ้ ลลัพธด์ ังรูป จะเหน็ วา่ ชิน้ งานจะมรี ปู ร่างไม่สวยงามให้คลกิ ปุม่ Undo
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 62 บนควิกแอคเซสทลู บาร์ เพื่อยกเลิกการ Loft 1.10 ใช้คาสัง่ Loft อีกครัง้ แตไ่ ม่ต้องคลิกเลอื ก Sketch 5 1.11 คลิกปุ่ม OK จะได้ชิ้นสว่ นด้ามจับของสกดั 1.12 สร้างส่วนลาตัวของสกดั โดยใช้คาส่งั Loft โดยคลกิ เลอื กพ้นื ผวิ สเ่ี หลยี่ มบน Work plane3 แลว้ คลิกเลอื กท่รี ูปสี่เหลย่ี มบน Work plane 4 กาหนดออปชนั 1.13.สรา้ งคมของสกดั โดยคลกิ คาสั่ง Chamfer กลอ่ งโต้ตอบ Chamfer จะปรากฏขนึ้ มา กาหนดระยะลงขอบเท่ากับ 2 mm แล้วคลิกท่ีเส้นขอบทั้งสองเส้นของรูปสี่เหล่ียมส่วนปลายของตัวสกัด และ กาหนดออปชัน 1.14 คลกิ ปมุ่ OK จะไดช้ ิ้นงานสกดั ภาพที่ 5.8 แสดง Loft สรา้ งชิน้ งานสกดั 2.การฝึกใช้เส้นศูนย์นา การกาหนดนา้ หนกั ให้หนา้ ตดั การใช้จดุ สร้างช้นิ งานจากการ Loft 2.1.เปดิ ไฟลส์ ร้างชนิ้ สว่ น Standard (in).ipt เลือกระนาบ XY เปน็ ระนาบสเกตซ์ คลิกคาส่ัง Spline สรา้ งเสน้ โค้งลักษณะดงั รูป โดยจดุ ปลายด้านลา่ งของเส้นโค้งเริ่มจากจุด Center point (จดุ สีเหลือง) ออกจากโหมดสเกตซ์ 2.2 สร้างระนาบใชง้ านสาหรับการวาดหนา้ ตดั สเกตซ์ท่จี ดุ ปลายของเส้นโค้งทัง้ สองดา้ น โดย คลิกคาส่ัง Normal to Curve at point คลิกทเ่ี ส้นโคง้ และคลกิ ท่ีจุดปลายของเส้นโค้ง จะได้ระนาบใช้งาน ทต่ี งั้ ฉากกบั เสน้ โค้งดังรปู 2.3 ใชค้ าสัง่ Normal to Curve at Point สร้างระนาบท่ีต้ังฉากกับเสน้ โค้งทป่ี ลายของเสน้ โคง้ อีกด้านหนึง่ ดว้ ยวิธีเดยี วกัน 2.4 คลกิ บนระนาบ Work Plane1 ให้ไอคอน Create Sketch ปรากฏ แลว้ คลิกทีไ่ อคอน นั้นเพื่อเข้าส่โู หมดสเกตซ์ 2.5 สร้างรูปสีเ่ หล่ยี มยาว 0.55 in กวา้ ง 0.25 in โดยใชค้ าสงั่ Rectangle (ให้จุดกลางของ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 63 สี่เหลย่ี มอย่ทู ่ีจดุ Center point) ต่อจากน้นั ลบมุม 0.1 in ทมี่ มุ ทั้งสข่ี องรปู ส่ีเหล่ียม โดยใชค้ าสงั่ Fillet แล้ว ออกจากโหมดสเกตซ์ 2.6 สรา้ งวงกลมขนาดเท่ากับ 0.17 in ระนาบ Work Plane2 โดยใชค้ าส่ัง Circle Center Point โดยใหจ้ ดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่ที่จุด Center point แลว้ ออกจากโหมดสเกตซ์ ภาพที่ 5.8 การสเกตซ์การใช้จดุ สร้างชนิ้ งานจากการ Loft 2.7คลกิ คาสั่ง Loft กลอ่ งโต้ตอบ Loft จะปรากฏขึน้ มา ใชเ้ มาสค์ ลกิ ท่เี ส้นรอบรูปของรปู สเกตซท์ เ่ี ขียนไวบ้ น Work Plane ท้ังสอง และเลือกออปชัน Centerline จะเหน็ วา่ Sketch1 จะปรากฏใน ช่อง Center line ดงั รูป ( ถ้า Sketch1 ไม่ปรากฏในชอ่ ง Center line ให้ลากเมาสไ์ ปคลกิ เลอื ก) 2.8 คลกิ ปุ่ม OK จะได้ชน้ิ งานทไี่ ด้จากการ Loft โดยไม่ได้กาหนดนา้ หนักใหห้ น้าตดั ซึ่งการ กาหนดน้าหนักทาได้โดยคลกิ ทแ่ี ท็บ Conditions กาหนดน้าหนักที่ต้องการ แล้วคลิกปมุ่ OK 2.9 ฝกึ กาหนดน้าหนกั ใหห้ นา้ ตัด เรมิ่ จากการแก้ไข Loft โดยคลิกทผ่ี ิวของชิน้ งาน เลือก Edit Loft เพ่อื เขา้ สู่โหมดการแก้ไข กลอ่ งโตต้ อบ Loft จะปรากฏขึ้นมา 2.10 คลกิ ทีแ่ ทบ็ Conditions เลือก Direction condition ท่ชี อ่ งของ Sketch2 กาหนด น้าหนกั เท่ากับ 5 (ในตัวอย่างน้จี ะกาหนดนา้ หนักให้ Sketch2 เท่านั้น ถ้าผู้อ่านต้องการกาหนดนา้ หนักให้ Sketch3 ก็ทาได้โดยวธิ เี ดียวกัน) 2.11 คลิกปมุ่ OK จะได้ชน้ิ งาน 2.12 ใชค้ าสัง่ Offset from Plane สรา้ งระนาบ Work Plane3 หา่ งจากระนาบ Work Plane2 เทา่ กบั -0.1 in 2.13 สเกตซจ์ ดุ บนระนาบ Work Plane3 โดยใช้คาสงั่ Point โดยใหห้ ่างจากจุด Center point 0.1 in แลว้ ออกจากโหมดสเกตซ์ 2.14 คลิกคาสั่ง Loft กลอ่ งโตต้ อบ Loft จะปรากฏข้ึนมา ใชเ้ มาสค์ ลิกทีเ่ สน้ ขอบท่ปี ลายของ วงกลมและจดุ บน Work Plane3 2.15 คลิกท่แี ทบ็ Conditions เลือก Tangent condition ท่ชี ่องของ Edges1 และ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 Tangent ในช่องของ Point Sketch4 2.16 คลกิ ปมุ่ OK จะได้ชน้ิ งานดังรูป ภาพท่ี 5.9 ใชเ้ สน้ ศนู ย์นา การกาหนดนา้ หนักใหห้ น้าตัด การใช้จดุ สรา้ งชนิ้ งานจากการ Loft 3. การฝกึ ปรบั เปล่ียนตาแหน่งของจดุ แบ่งของหนา้ ตัด 3.1 เปิดไฟล์สรา้ งชนิ้ สว่ น Standard(in).ipt แสดงระนาบ YZ และสร้างระนาบใช้งาน Work Plane1 หา่ งจากระนาบ YZ เท่ากับ 1.5 in 3.2 สรา้ งรูปส่ีเหล่ยี มยาว 1 in กวา้ ง 0.5 in บนระนาบ YZ วางรูปในแนวนอน และบน ระนาบ Work Plane1 วางรปู ในแนวตั้งดงั รปู (ใหจ้ ดุ กลางของสี่เหลี่ยมอยทู่ ีจ่ ุด Center point) 3.3 ใชค้ าสั่ง Loft คลกิ เลอื กเส้นรอบรูปของสเ่ี หลี่ยมท้งั สองทเี่ ขียนไว้บน Work Plane 3.4 ถา้ คลิกปุ่ม OK จะได้ชิ้นงานดงั รูป แต่เราจะทาการปรับเปลย่ี นตาแหน่งของจดุ แบง่ ของ หนา้ ตดั ท่โี ปรแกรมไดเ้ ลือกไว้ ดงั นัน้ ยังไม่ต้องคลกิ ปุ่ม OK ภาพที่ 5.10 แสดงการ Lofe ของหน้าตัดเหล่ยี ม
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 65 3.5 คลิกแทบ็ Transition แล้วเอาเครอ่ื งหมายถกู ออกจากเช็คบอกซข์ อง Automatic mapping จะปรากฏรายการของจุดแบ่งที่โปรแกรมได้เลือกไว้ในช่องต่างๆ ดังรูป เช่น ช่อง Point set จะ แสดง Set ของเส้นเช่ือมต่อระหว่างสเกตซ์ 1 และสเกตซ์ 2 ถ้าคลิกเลือก Set ใด ในช่องน้ีเส้นเช่ือมของ Set นน้ั 3.6 ปรับเปลยี่ นตาแหน่งของจดุ แบ่งเพือ่ เปล่ียนทศิ ทางการ Loft โดยเริม่ จาก Set1 คลิกที่จดุ ปลายของเส้นเช่ือมตอ่ ของ Set 1 (ตาแหนง่ ท1่ี ) คา้ งไว้ แล้วลากเมาส์ไปคลิกวางทจ่ี ดุ ในตาแหน่งที 2 3.7 เปลย่ี นตาแหนง่ ของจดุ แบง่ เสน้ เชือ่ มตอ่ Set2 (ตอ้ งคลกิ เลือก Set2 ในชอ่ ง Point set ก่อน เส้นเช่ือมต่อ Set2 จะเป็นสีชมพู) คลิกที่จุดปลายของเส้นเชื่อมต่อ Set2 (ตาแหน่งที่ 1) ค้างไว้ แล้วลาก เมาส์ไปคลิกวางท่จี ุดในตาแหน่งที่ 2 3.8 เปล่ียนตาแหน่งของจุดแบง่ เสน้ เชอื่ มตอ่ Set3 ดงั รูป ดว้ ยวธิ ีเดยี วกบั ขอ้ 7 3.9 เปล่ียนตาแหน่งของจุดแบ่งเส้นเชอื่ มต่อ Set4 ดังรปู ดว้ ยวิธีเดยี วกบั ขอ้ 7 3.10 คลิกปุ่ม OK บนกลอ่ งโต้ตอบ Loft จะได้ชน้ิ งาน ภาพที่ 5.11 แสดงปรับเปล่ียนตาแหน่งของจุดแบ่งเพ่ือเปลี่ยนทศิ ทางการ Loft ความรพู้ ้นื ฐานเกี่ยวกับฟเี จอร์ Decal และตวั อย่างการใช้งาน Decal เป็นฟีเจอร์ใช้ในการอัดพิมพ์ภาพถ่ายโลโก้ เครื่องหมายการค้า หรือข้อความเตือนต่างๆ ใน กระบวนการผลิตลงบนผวิ ของช้นิ งานในตาแหน่งหรอื ตามพน้ื ทที่ ีต่ อ้ งการ เมอื่ ผู้ออกแบบ คลิกคาสั่ง Decal บน ริบบอน จะปรากฏกลอ่ งโตต้ อบ Decal ขนึ้ ซ่ึงแตล่ ะออปชนั มีความหมายดงั นี้ ภาพท่ี 5.12 กล่องโต้ตอบของคาสง่ั Decal
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 66 Image ใชเ้ ลอื กรูปภาพหรือข้อความ (.bmp, .doc หรอื .xls) ที่ตอ้ งการวางลงบนพื้นผิวของชิ้นงาน ในตาแหนง่ ท่ตี ้องการ หรอื บนพนื้ ผิวทสี่ ร้างเตรยี มไว้ Face ใชเ้ ลอื กผิวของชนิ้ งานทตี่ ้องการวางรปู ภาพหรือข้อความ Wrap to Face เลือกเมอ่ื ต้องการใหร้ ปู ภาพหรือข้อความวางโค้งไปตามลักษณะของพน้ื ผวิ ของช้ินงาน โดยเฉพาะชิ้นงานที่มีรปู ร่างทรงกระบอก หรือทรงกรวย เปน็ ตน้ Chain Faces เลอื กเมอ่ื ต้องการให้รปู ภาพหรอื ขอ้ ความสามารถวางเกนิ ขอบของพนื้ ผิวทเ่ี ลอื ก ซึ่ง พ้นื ผวิ นีจ้ ะเชือ่ มต่อกับพืน้ ผวิ อ่ืนๆของชน้ิ งาน เพ่ือให้เข้าใจการใช้ออปชัน Wrap to Face และ Chain Faces มากข้ึนจึงได้แสดงตัวอย่างของการ เลือกใช้และไม่เลอื กใชอ้ อปชันนี้ดงั น้ี ตัวอย่าง การใช้ Decal อัดพิมพ์โลโก้ลงบนพน้ื ผิวของชน้ิ งาน 1.เปิดไฟล์ชิ้นงานพัดลมของตัวอย่างที่ผ่านมาสร้างระนาบใช้งาน Work Plane2 ห่างจากผิวด้านบน ของจานใบไมข้ นึ้ ไปทางดา้ นบนเท่ากบั 5 mm 2.ใชร้ ะนาบ Work Plane2 เป็นระนาบสเกตซ์ คลกิ คาสง่ั Image (อยใู่ นกลุม่ Insert) จะปรากฏกล่อง โตต้ อบ Open ขึ้นมา ให้เปิดไฟลร์ ปู ช่ือ Autodesk.bmp ท่ีอยใู่ นบทที่ 5 หวั ข้อ 5.5 ในแผน่ CD 3.คลิกปุ่ม Open รูปท่ีเลือกจะถูกวางลงบนระนาบ Work Plane2 ให้ย่อขนาดให้ใหญ่ภาพเล็กน้อย ดังรูป ออกจากโหมดสเกตซ์ สามารถท่ีจะเปลี่ยนแปลงขนาด หรือย้ายตาแหน่งของรูปภาพหรือข้อความที่จะ อดั พิมพล์ งบนพื้นผวิ ของช้ินงาน หลงั จากทีไ่ ด้วางรูปภาพหรอื ข้อความนน้ั ลงบนระนาบสเกตซ์เรียบร้อยแลว้ โดย -การย้ายตาแหน่ง โดยคลิกท่ีจุดกลางของรูปภาพหรือข้อความนั้นค้างไว้แล้วลากไปคลิกวาง ยงั ตาแหนง่ ทตี่ อ้ งการ -การแก้ไขขนาด โดยคลิกที่มุมหรือเส้นขอบของรูปภาพหรือข้อความน้ันค้างไว้ แล้วเลื่อน เมาส์ย่อหรือขยายขนาดของรูปภาพตามที่ต้องการ ซ่ึงขนาดของรูปจะเปลี่ยนแปลงแบบ Aspect ratio (ด้าน ยาวจะเปล่ียนขนาดสัมพนั ธก์ บั ด้านกวา้ ง) -การหมุนภาพ โดยคลิกที่มุมของรูปภาพหรือข้อความน้ันค้างไว้ แล้วหมุนภาพไปตามมุมที่ ต้องการ นอกจากนั้นยังสามารถใช้คาสั่ง Dimension หรือ Constraints ของ 2D Sketch ช่วยในการแก้ไข ขนาด หรอื ย้ายตาแหนง่ ของภาพได้เช่นกนั ภาพท่ี 5.13 การใช้ Decal ตดิ ตัง้ ภาพโลโก้ลงบนพน้ื ผิวของช้ินงาน
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 67 4.อัดพมิ พร์ ปู ลงบนผิวด้านบนจาน โดยคลิกคาสง่ั Decal เม่ือกล่องโต้ตอบ Decal ปรากฏขึ้น คลิกปุ่ม Image เลือกรปู ทวี่ างอย่บู นระนาบ Work Plane2 แลว้ คลิกปุม่ Face เลอื กผิวด้านบนของจานใบไม้ 5.คลกิ ป่มุ OK ภาพจะถกู อัดพมิ พล์ งผิวดา้ นบนของจานใบไมด้ งั ภาพ บนั ทกึ ไฟล์ ภาพท่ี 5.14 การใช้ Decal อดั พมิ พ์โลโกล้ งบนพนื้ ผิวของช้นิ งาน ความร้พู นื้ ฐานเกย่ี วกับฟเี จอร์ Emboss และตวั อยา่ งการใช้งาน ฟีเจอร์ Emboss ใช้สร้างงานลักษณะพิเศษบนพื้นผิวของช้ินงาน เช่น การเขียนตัวหนังสือลงบนผิว ของชน้ิ งานโดยอาจจะสร้างเปน็ ตวั นนู หรือเซาะลงไปในผิวของชนิ้ งานได้ตามที่ตอ้ งการ นอกจากนั้นยังใช้เตรียม พ้ืนผิวของชิ้นงานเพื่อใช้คาส่ัง Decal อัดพิมพ์ภาพถ่าย หรือโลโก้ ลงบนพ้ืนผิวนั้น เมื่อผู้ออกแบบคลิกคาสั่ง Emboss บนรบิ บอน จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Emboss ขึ้น ดังภาพท่ี 5.15 ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี ภาพที่ 5.15 กล่องโต้ตอบของคาสงั่ Emboss Profile ใช้เลอื กตัวหนงั สือหรอื หน้าตดั สเกตซ์ทีต่ ้องการวางลงบนผิวของชิน้ งานในตาแหนง่ ทตี่ อ้ งการ Face ใชเ้ ลอื กตาแหน่งหรอื ผิวของช้ินงานทีต่ อ้ งการวางตัวหนังสือหรอื หน้าตัดสเกตซ์ ใชค้ ลิกเลอื กทศิ ทางของการ Emboss Wrap to Face เลอื กเมื่อต้องการให้ตวั หนังสอื หรอื หนา้ ตัดสเกตซ์วางโคง้ ไปตามลักษณะของพื้นผวิ ของชิ้นงาน ใช้ไดเ้ ฉพาะชนิ้ งานทีม่ รี ปู ร่างทรงกระบอก หรอื ทรงกรวยเทา่ นนั้ Depth ใชก้ าหนดความสูง หรือความลกึ ตัวหนงั สือหรอื หน้าตัดสเกตซท์ ใ่ี ชใ้ นการ Emboss Top Face Colorใชก้ าหนดสบี นผิวด้านบนของตัวหนงั สอื หรือหนา้ ตัดสเกตซท์ ไ่ี ดจ้ ากการ Emboss Type หรือรูปแบบของการ Emboss มเี ลอื กใช้ดังนี้
68 Emboss from Face ตวั หนังสือหรือหนา้ ตัดสเกตซ์จะนูนออกมาจากพืน้ ผวิ ที่เลือกตาม ความสูงท่กี าหนด Engrave from Face ตัวหนงั สอื หรอื หน้าตัดสเกตซ์จะเปน็ รอ่ งลงไปในพ้ืนผิวที่เลือกตามความ ลกึ ทกี่ าหนด Emboss/Engrave from Plane ตัวหนงั สือหรือหน้าตดั สเกตซจ์ ะถกู ยดื ไปยังพืน้ ผิวของ ชิ้นงานจากระนาบที่ใช้สเกตซ์หรือตัดเน้ือของช้ินงานจากระนาบท่ีใช้สเกตซ์ ซึ่งข้ึนอยู่กับตาแหน่งของระนาบ สเกตซก์ บั พนื้ ผิวของช้นิ งาน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตัวอยา่ งที่ การใช้ Emboss สร้างโลโกบ้ นพ้นื ผวิ ของชิน้ งาน 1.งานตัวอย่างท่ีผ่านมา คลิกขวาบนไอคอน Decal1 เลือก Suppress Feature จากเมนูเพื่อซ่อน ฟีเจอร์ Decal1 ที่ทาไว้ 2.ใช้ระนาบ Work Plane2 เป็นระนาบสเกตซ์ คลิกคาสั่ง Text จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Format Text ขึ้นมา ให้พิมพค์ าว่า การผลติ เลอื กรูปแบบของตัวหนงั สือและคลกิ วางในตาแหนง่ ดังรปู 3.ใช้ 2D Sketch วาดสเกตซ์รูปหน้าตดั ดังรปู 4.ออกจากโหมด Sketch เปล่ยี นมมุ มองเป็น Isometric โดยกด F6 ดงั รปู 5.วางโลโก้ลงบนผิวด้านบน โดยคลิกคาส่ัง Emboss เม่ือกล่องโต้ตอบ Emboss ปรากฏขึ้น คลิกปุ่ม Profile เลือกรูปท่ีวางอยู่บนระนาบ Work Plane2 แล้วคลิกปุ่ม Face เลือกผิวด้านบนของแกนพัดลม เลือก Type แบบ Emboss from Face กาหนดความสูง 1 mm 6.คลกิ ปมุ่ Top Face Color กาหนดสบี นพน้ื ผวิ ด้านบนของ Emboss เป็น Red (Chili) 7.คลิกปมุ่ OK จะไดผ้ ลดังรปู 8.คลิกขวาบนไอคอน Decal1 เลือก Unsuppress Feature จากเมนูเพ่ือแสดงฟีเจอร์ Decal1 จะ ได้ผลดงั รูป บันทกึ ไฟล์ ภาพที่ 5.16 การใช้ Emboss สร้างโลโกบ้ นพ้นื ผวิ ของช้นิ งาน
69 สรปุ Loft ใช้สรา้ งเน้อื วตั ถุโดยการเช่อื มต่อกนั แบบกลมกลืนของเสน้ รอบนอก (Profile) หลายๆหน้าตัดท่ี สเกตซ์ไวบ้ นระนาบ (Plane) ต่างๆนอกจากนั้นยังสามารถเลือกพื้นผวิ ของช้นิ งาน หรอื จุดทมี่ ีอยูเ่ ปน็ หนา้ ตัด เช่อื มตอ่ ของ Loft ได้เช่นกนั Decal เป็นฟเี จอร์ใช้ในการอัดพิมพภ์ าพถ่ายโลโก้ เครอ่ื งหมายการค้า หรือข้อความเตือนตา่ งๆ ใน กระบวนการผลติ ลงบนผวิ ของชิ้นงานในตาแหนง่ หรือตามพื้นท่ที ีต่ ้องการ เม่ือผู้ออกแบบ คลิกคาส่งั Decal บน รบิ บอน จะปรากฏกล่องโตต้ อบ Decal ขนึ้ Emboss ใชส้ รา้ งงานลักษณะพเิ ศษบนพ้ืนผิวของช้ินงาน เชน่ การเขียนตวั หนงั สอื ลงบนผิวของ ชน้ิ งานโดยอาจจะสรา้ งเป็นตัวนูนหรอื เซาะลงไปในผิวของช้ินงานไดต้ ามที่ตอ้ งการ นอกจากนน้ั ยังใช้เตรียม พนื้ ผวิ ของชิน้ งานเพ่ือใช้คาสัง่ Decal อัดพิมพภ์ าพถ่าย หรือโลโก้ ลงบนพืน้ ผวิ น้ัน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
70 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 5 จงใช้คาส่ัง ใช้คาสัง่ Loft, Decal และ Emboss ชว่ ยในการสรา้ งงาน 3 มติ ิ 1. 2. 3. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 71 บทที่ 6 การใชค้ าส่งั Coil ในงาน 3 มิติ บทนา Coil เปน็ เครื่องมือฟเี จอร์พ้ืนฐานชนิดหนงึ่ ทใ่ี ชส้ ร้างงาน 3 มติ ิ ของโปรแกรม Autodesk Inventor ใช้งานคอ่ นข้างงา่ ย ซึ่งในบทที่ 6 จะบรรยายและยกตัวอย่างเพือ่ จะได้ศึกษา และทราบวา่ คาส่ังนี้สามารถ สรา้ งสรรค์งาน 3 มติ ไิ ดอ้ ย่างไร ดงั หัวขอ้ ต่อไปน้ี - ความรูพ้ น้ื ฐานของคาสง่ั Coil - การสร้างสปริงขดแบบกด (Compression Spring) - การสร้างสปริงดดี (Torsion Springs) - การสรา้ งสปรงิ ดึง (Extension Spring) - การสร้างสกรูลาเลยี ง (Screw Conveyor) - การสร้างดอกสวา่ นรอ่ งเกลียว (Twist drill) ความรพู้ ื้นฐานของคาสงั่ Coil Coil เป็นฟีเจอร์ที่อยู่ในกลุ่ม Model ใช้สร้างสปริงและงานท่ีมีลักษณะเป็นเกลียว โดยการกาหนดค่า ต่างๆ ท่ีต้องการลงในกล่องโต้ตอบของคาสั่งนี้ เมื่อคลิกไอคอน Coil บนริบบอน จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Coil ขึ้นดงั ภาพท่ี 6.1 ประกอบด้วย แท็บ Coil Shape, Coil Size และ Coil Ends ซ่งึ มคี วามหมายดงั นี้ ภาพท่ี 6.1 กลอ่ งโตต้ อบ Coil แทบ็ Coil Shape จะประกอบดว้ ย ออปชันตา่ งๆดังน้ี Profile คลิกปุ่มนแี้ ลว้ คลิกเลือกหน้าตัดสเกตซ์ทตี่ อ้ งการ ในกรณที ม่ี หี ลายสเกตซ์ แตถ่ า้ มี สเกตซเ์ ดียวโปรแกรมจะเลือกใหโ้ ดยอัตโนมตั ิ Axis ปุม่ นใ้ี ชส้ าหรบั เลอื กเส้นตรง หรือแกน (Axis) ทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แกนหมุนสาหรับการสร้าง Coil สามารถกลับทิศทางการสรา้ ง Coil ได้โดยการคลกิ ที่ปมุ่ Rotation สองปุม่ นใ้ี ช้สาหรับกาหนดทิศทางการหมนุ ของ Coil วา่ จะใหห้ มนุ ตามเข็ม หรอื ทวนเขม็ นาฬกิ า
72 แทบ็ Coil Size จะประกอบด้วย ออปชันตา่ งๆ ดงั นี้ Type เปน็ ช่องใหเ้ ลือกวิธีการสรา้ ง Coil มี 4 แบบ คอื -Pitch and Revolution ใช้สร้าง Coil โดยการกาหนดระยะพิตช์ และจานวนรอบ การหมนุ -Revolution and Height ใชส้ ร้าง Coil โดยการกาหนดจานวนรอบการหมุน และ ความสูง -Pitch and Height ใช้สร้าง Coil โดยการกาหนดระยะพติ ช์ และความสงู -Spiral ใชส้ ร้าง Coil แบบกน้ หอยทอ่ี ยบู่ นระนาบเดียวกัน Pitch เป็นช่องสาหรับกรอกค่าระยะพิตช์ Height เป็นชอ่ งสาหรบั กรอกค่าความสงู ของ Coil Revolution เป็นช่องสาหรบั กรอกค่าจานวนรอบการหมนุ ของ Coil Taper เป็นชอ่ งสาหรับกรอกคา่ ความเรียวของ Coil มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง แท็บ Coil Ends ใช้สาหรับกาหนดลักษณะของจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของ Coil จะประกอบด้วย ออปชันตา่ งๆ ดังนี้ Start ใช้สาหรับกาหนดลกั ษณะของจดุ เรมิ่ ตน้ ของ Coil End ใช้สาหรับกาหนดลักษณะจุดสุดท้ายของ Coil ซ่ึงทั้งสองแบบน้ีมีออปชันให้เลือก เหมอื นกนั คอื Natural กาหนดใหส้ ่วนปลายของ Coil เปน็ แบบธรรมดา Flat กาหนดให้สว่ นปลายของ Coil เป็นแบบแบนราบ - Transition Angle ช่องน้ใี ช้กรอกคา่ การเปลย่ี นแปลงการหมุนของมมุ ส่ง - Flat Angle ช่องนีใ้ ชก้ รอกค่ามุมการหมนุ สว่ นปลายของ Coil ที่เป็นส่วนแบนราบ ตารางท่ี 6.1 แสดง Flat เฉพาะจุดเร่ิมตน้ ของ Coil Natural Flat เฉพาะจุดเร่ิมตน้ ของ Coil (ดา้ นลา่ ง) โดยกาหนดค่า Transition Angle ที่ 90 องศา 180 องศา 270 องศา 360 องศา
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 73 การสรา้ งสปริงขดแบบกด (Compression Spring) สปริงขดแบบกดทาจากลวดสปริงท่ีขดขึ้น โดยมีระยะห่างของเส้นลวดหรือเรียกว่าระยะพิตช์ ซึ่ง จานวนขดและความยาวของสปริงจะขึ้นอยู่กับการใช้งาน ส่วนปลายของสปริงจะเป็นปลายชิดแบบตรงหรือ ปลายชิดแบบเจียระไนก็ได้ สปริงแบบน้ีจะรับความเค้นเฉือนตามแนวแกนของสปริง เมื่อมีแรงภายนอกมา กระทาขดสปรงิ จะเกดิ การยบุ ตัว ซ่งึ ระยะยุบตัวใช้งานนจ้ี ะสง่ แรงกลับไปเพอ่ื ถา่ ยทอดพลังงาน เช่น สปริงวาล์ว ของเครือ่ งยนต์ เป็นต้น โดยปกติโปรแกรม Autodesk Inventor จะมีกลุ่มคาสั่งท่ีอยู่บนแท็บ Design ท่ีอยู่ใน ไฟล์ Assembly สามารถนามาใช้สร้างช้ินส่วนมาตรฐานต่างๆ รวมท้ังการสร้างสปริงแบบต่างๆ ดังภาพท่ี 6.2 แต่ยังคงเห็นว่าควรจะนาเสนอวิธีการสร้างสปริงที่นิยมนาไปใช้งาน เนื่องจากคาสั่งมาตรฐานไม่สามารถสร้าง สปริงได้ครอบคลุมทุกแบบ อีกท้ังยังช่วยให้ได้ฝึกทักษะในการใช้โปรแกรม และสามารถนาไปประยุกต์ใช้งาน ของตนเองได้ต่อไป ภาพท่ี 6.2 สปริงแบบต่างๆ ทสี่ รา้ งจากคาสัง่ มาตรฐานของโปรแกรม Autodesk Inventor 1. การสรา้ งสปรงิ ขดแบบกดแบบธรรมดา 1.1 เลือกระนาบ XY Plane เป็นระนาบสเกตซ์ คลกิ คาสัง่ Line สร้างเสน้ อา้ งองิ และคลิก คาสั่ง Circle Center Point สรา้ งวงกลมขนาด 2 mm และกาหนดระยะห่างจากเส้นอ้างอิง 15 mm (สปริง จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางลวดเท่ากับ 2 mm และเส้นผ่านศูนย์เฉลี่ยของสปริงเท่ากับ 30 mm) ทาเสร็จแล้ว ออกมาจากโหมดสเกตซ์ ภาพที่ 6.3 แสดงสเกตซ์การสรา้ งสปริงขดแบบกดแบบธรรมดา
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 74 1.2คลกิ คาสัง่ Coil โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเปน็ Profile คลิกปุ่ม Axis แล้วลากเมาสไ์ ป คลกิ เสน้ อ้างอิง 1.3คลกิ แท็บ Coil Size เลือก Type แบบ Pitch and Revolution กาหนดระยะพติ ช์ 10 mm รอบการหมุนเท่ากบั 5 รอบ(สปริงจะมคี วามยาวเทา่ กบั 50 mm) 1.4 ในกรณีที่จะกาหนด Coil Ends เปน็ แบบ Natural สามารถคลิกปุ่ม OK ได้เลย จะได้ สปรงิ ดงั ภาพ 1.5 ในกรณีทจ่ี ะกาหนด Coil Ends เป็นแบบ Flat ให้คลกิ ทแ่ี ทบ็ Coil Ends เลือก Flat แลว้ กาหนดคา่ ของ Transition Angle และ Flat Angle ตามความต้องการ ในแบบฝึกหัดนี้ให้กาหนดดงั รูป 1.6 คลิกปุ่ม OK จะไดส้ ปริงดงั รปู บันทึกไฟล์ ภาพที่ 6.4 สปริงขดแบบกดแบบธรรมดากาหนด Coil Ends เป็นแบบ Flat ภาพท่ี 6.5 ภาพ 3 มิตสิ ปรงิ ขดแบบกดแบบธรรมดา 2. การสรา้ งสปริงแบบกดแบบใช้งานเฉพาะ 2.1.สร้างสปริงโดยใช้ขนาดและระยะพิตช์เดยี วกบั ข้อท่ี 1 -กาหนดค่า Taper ทแี่ ท็บ Coil Size เท่ากับ -10 องศา -กาหนด Coil Endsเป็นแบบ Natural
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 75 ภาพที่ 6.6 แสดงกลอ่ งโต้ตอบ Coil กาหนด Taper -10 2.2 คลกิ ปมุ่ OK จะได้สปรงิ ดงั ภาพ 2.3คลิกเครอื่ งหมาย + หนา้ Coil1 บนบราวเซอรบ์ าร์ คลกิ ขวาบน Sketch1 แลว้ เลือก Share Sketch จากเมนู เพื่อท่ีจะนาสเกตซ์ของ Coil1 มาใช้งาน ซ่ึงสเกตซ์ดังกล่าวจะปรากฏบนกราฟิก วินโดว์ 2.4 คลิกคาสงั่ Coil คลิกป่มุ Profile แล้วเลือกรปู วงกลม คลกิ ปุม่ Axis แลว้ ลากเมาสไ์ ปคลกิ เสน้ อา้ งอิง กรณีทีส่ ปริงหมุนกลบั ทศิ ให้คลิกทีป่ มุ่ ภาพที่ 6.7 การสร้างสปรงิ แบบกดแบบใชง้ านเฉพาะ 2.5 คลิกแทบ็ Coil Size เลือก Type แบบ Pitch and Revolution กาหนดระยะพติ ช์ 10 mm รอบการหมุนเท่ากับ 4 รอบ (เน้ือสปริงที่สร้างใหม่จะมีความยาวเท่ากับ 40 mm) และกาหนด Taper เท่ากับ -10 องศา 2.6 คลกิ ปุ่ม OK จะไดส้ ปริงดงั รูป บันทกึ ไฟล์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 76 ภาพที่ 6.8 สปรงิ แบบกดคู่ การสรา้ งสปริงดดี (Torsion Springs) สปริงดดี เปน็ สปริงทใี่ ช้สาหรบั งานท่ีรบั แรงในแนวเส้นรอบวง มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่ กบั ผลิตภัณฑ์ท่จี ะนาสปรงิ ไปใชป้ ระกอบร่วมกนั 1.การสร้างสปริงดีด 1.1 เลอื กระนาบ XY Plane เปน็ ระนาบสเกตซ์ คลกิ คาส่ัง Line สร้างเส้นอา้ งอิง และคลกิ คาสั่ง Circle Center Point สร้างวงกลมขนาด 8 mm และกาหนดระยะห่างจากเส้นอ้างอิง 20 mm (สปริง จะมเี ส้นผา่ นศูนย์กลางลาดเทา่ กบั 8 mm และเสน้ ผา่ นศนู ยเ์ ฉลย่ี ของสปริงเท่ากบั 40 mm) 1.2 คลิกคาสัง่ Coil โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเป็น Profile คลิกปุ่ม Axis แล้วลากเมาส์ไป คลิกเสน้ อา้ งอิง 1.3 คลิกแทบ็ Coil Size เลอื ก Type แบบ Pitch and Revolution กาหนดระยะพติ ช์ 9 mm รอบการหมุนเท่ากบั 4 รอบ และกาหนด Coil Ends เปน็ แบบ Natural 1.4 คลกิ ปมุ่ OK จะไดส้ ปริงดงั ภาพ ภาพที่ 6.9 การสรา้ งสปรงิ ดดี 1.5 สรา้ งแขนต่อของสปรงิ โดยคลิกทพ่ี น้ื ผิวหน้าเรยี บของสปริงใหม้ นิ ิทลู บารป์ รากฏ แลว้ คลกิ เลือกไอคอน Create Sketch ดงั รปู โปรแกรมจะเขา้ สูโ่ หมดสเกตซ์ 1.6 คลกิ คาส่งั Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลกิ ทีพ่ ื้นผวิ หนา้ เรียบของสปริง เพ่ือ คดั ลอกวงกลมที่เปน็ เส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสปริงดงั รูป
77 1.7 คลิกคาสง่ั Extrude ยดื หนา้ ตัดวงกลมขึ้นไป 60 mm 1.8 คลิกปมุ่ OK จะได้สปรงิ ดงั รปู 1.9 สรา้ งแขนต่อสปรงิ อีกด้านโดยใชว้ ธิ กี ารเดียวกับข้อ 5-8 เม่อื ทาเสร็จจะไดส้ ปรงิ ดังรูป บันทึกไฟล์ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ 6.10 งานชนิ้ ส่วนสปริงดดี ขอ้ เสนอแนะ : แขนต่อของสปรงิ ในแบบฝึกหัดนี้จะเปน็ แบบ Tangential Straight ทจี่ ะกาหนดมมุ ระหว่าง แขนตอ่ ทั้งสองขา้ งได้โดยการตัง้ ค่า Revolution ของสปริงทแี่ ท็บ Coil Shape ดังตารางตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี 6.2 แสดงแขนต่อของสปรงิ ท่ีกาหนดมุมระหวา่ งแขนต่อ คา่ Revolution 4 รอบ 4.25 รอบ 4.5 รอบ 4.75 รอบ การสร้างสปรงิ ดึง 1.เปิดไฟล์สร้างช้ินงาน Standard(in).ipt (แสดงหน่วยเป็นน้ิว) เลือกระนาบ XY Plane เป็นระนาบ สเกตซ์ คลิกคาส่ัง Line สร้างเส้นอ้างอิง และคลิกคาส่ัง Circle Center Point สร้างวงกลมขนาด 0.063 in และกาหนดระยะห่างจากเสน้ อา้ งอิง 0.25 in 2.คลิกคาส่ัง Coil โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเป็น Profile คลิกปุ่ม Axis แล้วลากเมาส์ไปคลิกเส้น อ้างอิง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 78 3.คลกิ แท็บ Coil Size เลอื ก Type แบบ Revolution and Height กาหนดความสงู ของสปริง 0.689 in รอบการหมุนเท่ากับ 10 รอบ และกาหนด Coil Ends เปน็ แบบ Natural 4.คลกิ ปุ่ม OK จะไดส้ ปรงิ ภาพท่ี 6.11 การสรา้ งสปริงดึง 5.การสร้างห่วงของสปริง โดยใช้คาสั่ง Sweep เร่ิมจากการสร้างจุดอ้างอิง โดยคลิกคาสั่ง Center Point of Loop of Edges แล้วลากเมาส์ไปคลิกเส้นวงกลมของเส้นสปริง จะเกิดจุดอ้างอิงตรงกลางของ วงกลมดังรูป (จะปรากฏ Work Point1 บนบราวเซอร์บาร์) 6.คลิกเคร่อื งหมาย + หนา้ Origin บนบราวเซอร์บาร์ คลิกขวาบนระนาบ YZ Plane แล้วเลือก New Sketch จากเมนู เพ่ือสร้างสเกตซ์ใหม่ 7.คลิกคาส่ัง Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลิกท่ีจุดอ้างอิงตรงกลางของวงกลม หรือคลิกท่ี Work Point1 บนบราวเซอรบ์ าร์ เพอ่ื คดั ลอกจุดอ้างองิ ไปยงั ระนาบ YZ Plane 8.กด F7 เพ่ือใช้ Slice Graphics (ซ่อนเน้ือช้ินงานที่บังการสเกตซ์) แล้วคลิกคาส่ัง Arc Center Point สร้างเส้นโค้งรัศมี 0.25 in หมุนไป 310 องศา และให้จุดสุดท้ายของเส้นโค้งประสานกับจุดอ้างดังรูป ออกจากโหมดสเกตซ์ ภาพท่ี 6.12 การสรา้ งสปรงิ ดึงสว่ นปลาย
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 79 9.สร้างระนาบอ้างอิงโดยคลิกคาสั่ง Normal to Axis through Point แล้วลากเมาส์ไปคลิกแกน Y Axis และจุด Work Point1 บนบราวเซอร์บาร์ จะเกิดระนาบอ้างอิงดังรูป(จะปรากฏ Work Plane1 บน บราวเซอรบ์ าร์) 10.คลิกท่ีระนาบอ้างอิงที่สร้างข้ึนให้มินิทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือกไอคอน Create Sketch ดังรูป โปรแกรมจะเข้าสู่โหมดสเกตซ์ 11.คลิกคาสั่ง Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลิกท่ีจุดอ้างอิงตรงกลางของวงกลม (Work Point1) และจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมดังรูป เพ่ือคดั ลอกจุดอา้ งอิงทง้ั สองจุดไปยังระนาบสเกตซ์ 12.คลิกคาสั่ง Arc Three Point สร้างเส้นโค้งรัศมี 0.126 in โดยใช้จุดทั้งสองจุดที่คัดลอกมาเป็นจุด ปลายของสว่ นโคง้ ดงั รูป 13.ออกจากโหมดสเกตซ์ (Finish sketch) จะไดเ้ สน้ ทางเดินของการ Sweep 14.คลิกท่พี ้ืนผิวหนา้ เรยี บของสปริงให้มินิทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือกไอคอน Create Sketch คลิก คาสัง่ Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลิกท่พี ้ืนผวิ หน้าเรียบของสปริง เพ่ือคัดลอกวงกลมท่ีเป็นเส้นผ่าน ศูนยก์ ลางของลวดสปริงดังรูป ออกจากโหมดสเกตซ์ 15.คลิกคาสั่ง Sweep โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเป็น Profile คลิกปุ่ม Path แล้วลากเมาส์ไปคลิก เสน้ โคง้ 16.คลกิ ปุ่ม OK จะได้สปรงิ ดงึ ภาพที่ 6.13 การสร้างสปรงิ ดึงสาเร็จ การสร้างสกรูลาเลยี ง (Screw Conveyor) สกรลู าเลียงเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนถ่ายวัสดุ มีลักษณะเป็นเกลียวยึดติดกับเพลาหมุน ปริมาณการ ขนถ่ายขน้ึ อยูก่ ับความเร็วรอบในการหมุน ระยะพติ ช์ และเสน้ ผ่านศูนย์กลางของเกลียว การออกแบบจะต้องมี ความเขา้ ใจเกยี่ วกับคณุ สมบตั ิของวัสดุทจี่ ะลาเลียงเปน็ อยา่ งดี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 80 การสร้างสกรูลาเลยี ง 1.เปิดไฟล์สร้างชิ้นงาน Standard(in).ipt (แสดงหน่วยเป็นนิ้ว) เลือกระนาบ XY Plane เป็นระนาบ สเกตซ์ คลิกคลิกคาส่ัง Circle Center Point สร้างวงกลม 2 วงขนาด 2 in และ 2.375 in ตามลาดับ (จุด ศนุ ยก์ ลางของวงกลมทั้ง 2 วงต้องอยู่บนจุด Center Point) แลว้ ออกจากโหมดสเกตซ์ ภาพที่ 6.14 คาสัง่ Extrude สกรลู าเลยี ง 2.ใช้คาสั่ง Extrude ยืดหน้าตัดวงแหวนที่สเกตซ์ไว้ออกไป 20 in จะได้ท่อสาหรับเป็นที่ยึดของใบ เกลียว 3.สร้างใบเกลียว โดยเร่ิมจากการเลือกระนาบ XZ Plane เป็นระนาบสเกตซ์ กด F7 เพื่อใช้ Slice Graphics คลิกคาส่ัง Line สร้างรูปสี่เหลี่ยมคางหมูท่ีขอบปลายสุดของท่อ โดยขนาดของด้านท่ีขนานกันของ ส่ีเหลี่ยมเท่ากับ 0.125 in และ 0.063 in กาหนดระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง 3 in ดังรูป แล้วออกจากโหมด สเกตซ์ 4.คลิกคาส่ัง Coil โปรแกรมจะเลือกรูปส่ีเหลี่ยมคางหมูเป็น Profile คลิกปุ่ม Axis แล้วลากเมาส์ไป คลิกแกน Z-Axis บนบราวเซอร์บาร์ ภาพท่ี 6.15 คาสัง่ Coil โปรแกรมจะเลือกรปู สีเ่ หลย่ี มคางหมูเปน็ Profile
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 81 5.คลกิ แทบ็ Coil Size เลอื ก Type แบบ Pitch and Height กาหนดระยะพิตช์เท่ากับ 4 in ความสูง ของเกลยี ว 20 in และกาหนด Coil Ends เปน็ แบบ Natural 6.คลิกปุ่ม OK จะได้สกรลู าเลยี ง ภาพท่ี 6.16 สกรูลาเลยี งตาม Coil Size เลอื ก Type แบบ Pitch and Height 7.สร้างฝาปิดท่อยึดใบเกลียว โดยคลิกท่ีพื้นผิวหน้าเรียบของท่อให้มินิทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือก ไอคอน Create Sketch คลิกคาสั่ง Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลิกที่พื้นผิวหน้าเรียบของท่อ เพื่อ คดั ลอกเส้นวงแหวนดงั รูป ออกจากโหมดสเกตซ์ 8.ใชค้ าสงั่ Extrude ยดื หน้าตดั วงแหวนและวงกลมที่คดั ลอกไว้เข้าไปในเนือ้ ของท่อ1in จะไดฝ้ าปดิ ทอ่ ภาพที่ 6.17 ใชค้ าสั่ง Extrude ยดื ตวั หนา้ ตดั วงกลมสกรลู าเลยี งตาม
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 82 9.สร้างเพลาสกรู โดยสเกตซ์รปู วงกลมเส้นผา่ นศูนย์กลาง 1.5 in บนผิวหนา้ ของทอ่ ดงั รูป 10.ใชค้ าส่ัง Extrude ยืดตวั หน้าตัดวงกลมที่สเกตซ์ไว้ออกไป 5 in จะไดเ้ พลาสกรู ดังรปู 11.คลกิ ปมุ่ OK จะไดส้ กรูลาเลยี งดงั รูป บนั ทกึ ไฟล์ ภาพท่ี 6.18 สกรลู าเลียงตามเพลาสวม การสรา้ งดอกสวา่ นร่องเกลยี ว (Twist drill) ดอกสว่านคือมีดคมตัดท่ีใช้ในการเจาะ มีให้เลือกใช้หลายแบบ ท่ีนิยมกันได้แก่ดอกสว่านร่องเกลียว ซึ่งดอกสว่านร่องเกลียวแบบมาตรฐาน (Standard Twist Drills) จะมีร่องเกลียวรอบแกนของดอกสว่าน 2 ร่อง และมีคม 2 คม ปลายดอกสว่านประกอบด้วยส่วนย่อยๆ หลายส่วน มุมที่สาคัญซ่ึงอยู่ปลายดอกสว่าน ไดแ้ ก่ - มมุ คมตดั (Cutting Angle) จะมีลกั ษณะเหมอื นกับลม่ิ ทาหนา้ ทต่ี ดั เฉือนเนื้อโลหะ - มุมคายเศษ (Rake Angle) ทาหนา้ ท่ใี หเ้ ศษตัดเฉือนเคลอื่ นทค่ี ายออกจากผิวงานทถี่ ูกตดั - มุมหลบ (Lip Clearance Angle) ทาหน้าที่ลดการเสียดสี และลดแรงต้านบริเวณผิวหน้าของมุมจิก ของดอกสวา่ น - มุมจิก (Point Angle) มุมจิกจะช่วยในการนาศูนย์ในการเจาะงานในขณะเริ่มเจาะ และมีผลต่อแรง กดเจาะ ถ้ามุมจกิ โตมากแรงตา้ นการเจาะจะมากข้นึ ตามลาดบั ดอกสว่านท่ใี ช้เจาะโลหะโดยทั่วไปจะมมี ุมจกิ 118 องศา และมุมหลบประมาณ 8-12 องศา อย่างไรก็ ตาม มมุ ทงั้ สองของดอกสว่านขนึ้ อยูก่ บั ชนิดของวสั ดุที่จะนาดอกสวา่ นไปเจาะ การสรา้ งดอกสว่านร่องเกลียว 1.เปิดไฟล์สร้างช้ินงาน Standard(in).ipt (แสดงหน่วยเป็นนิ้ว) กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ คลิกเลือกระนาบ XZ Plane, แกน X Axis และแกน Y Axis คลิกขวาเลือก Visibility จากเมนู เพื่อให้ระนาบและแกนท่ีเลือก แสดงบนกราฟิกวนิ โดว์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 83 ข้อแนะนา : การซ่อนระนาบหรือแกนที่ให้แสดงไว้ ทาได้โดยการคลิกเอาเคร่ืองหมายถูกออกจาก Visibility 2.สร้างก้านและลาตัวของสว่าน เลือกระนาบ XZ Plane เป็นระนาบสเกตซ์ ใช้คาส่ัง Circle Center Point สร้างวงกลมขนาด 0.313 in (จุดศนู ยก์ ลางของวงกลมตอ้ งอยู่บนจดุ Center point) แล้วออกจากโหมด สเกตซ์ 3.ใช้คาสั่ง Extrude ยืดหน้าตัดวงกลม โดยเลือก Direction แบบ Asymmetric ทิศทางด้านบน 2.8 in และลงดา้ นลา่ ง 1.7 in คลิกปมุ่ OK จะไดก้ า้ นของสว่านยาว 1.7 in และลาตัวของสว่านยาว 2.8 in 4.สร้างร่องเกลียวร่องแรก ใช้คาส่ัง Angle to Plane around Edge สร้างระนาบทางาน เพื่อสร้าง รอ่ งสว่าน โดยคลกิ เลือกระนาบ XZ Plane และ แกน X Axis กาหนดมมุ เอยี ง 30 องศา 5.คลิกท่ีระนาบ Work Plane1 ที่สร้างขึ้น ให้มินิทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือกไอคอน Create Sketch 6.ใช้คาสัง่ Circle Center Point สรา้ งวงกลมขนาด 0.234 in และกาหนดระยะห่างของจุดศูนย์กลาง ของวงกลมถงึ จดุ Center Point 0.156 in แล้วออกจากโหมดสเกตซ์ 7.คลิกคาสงั่ Coil โปรแกรมจะเลือกรูปวงกลมเป็น Profile คลิกปุ่ม Axis แล้วลากเมาส์ไปคลิกแกน Y Axis เลอื ก Operation เป็นแบบ Cut 8.คลิกแท็บ Coil Size เลือก Type แบบ Pitch and Height กาหนดระยะพิตช์เท่ากับ 1.7 in ความ สงู ของเกลียว 3.5 in และกาหนด Coil Ends เป็นแบบ Natural คลกิ ปุ่ม OK 9.คลิกเครื่องหมาย + หน้า Coil1 บนบราวเซอร์บาร์ คลิกขวาบน Sketch1 แล้วเลือก Share Sketch จากเมนู เพ่อื ที่จะนาสเกตซข์ อง Coil1 มาใช้งาน ซ่ึงสเกตซด์ งั กล่าวจะปรากฏบนกราฟกิ วินโดว์ 10.ใช้คาส่ัง Extrude ตัดหน้าตัดวงกลมที่สเกตซ์ไว้ออกไป โดยเลือก Operation เป็นแบบ Cut และ Extent แบบ All 11.สร้างร่องเกลียวร่องท่ีสอง ใช้คาส่ัง Angle to Plane around Edge สร้างระนาบทางานอีกด้าน เพือ่ สรา้ งรอ่ งสว่านทส่ี อง โดยคลกิ เลอื กระนาบ XZ Plane และแกน X Axis กาหนดมุมเอยี ง -30 องศา 12.สเกตซร์ ูปวงกลมบนระนาบทสี่ รา้ งข้ึน ขนาด 0.234 in และกาหนดระยะห่างของจุดศูนย์กลางของ วงกลมถงึ จุด Center Point 0.156 in แล้วออกจากโหมดสเกตซ์ 13.สรา้ งรอ่ งสวา่ นทส่ี องด้วยวธิ กี ารเดยี วกบั ข้อท่ี 7 ถงึ 10 จะได้ลาตัวดอกสวา่ น 14.สรา้ งมุมจิก คลิกที่ผิวด้านบนสุดของตัวสว่าน ให้มินิทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือกไอคอน Create Sketch 15.คลิกคาส่ัง Project Geometry แล้วลากเมาส์ไปคลิกที่พ้ืนผิวด้านบนสุดของตัวสว่าน เพ่ือคัดลอก เส้นหน้าตดั ดงั รูป 16.คลิกไอคอน Construction แล้วใช้คาส่ัง Circle Center Point คาส่ัง Line และคาสั่ง Point สเกตซ์เสน้ รา่ ง 17.สร้างแกนใช้งาน โดยคลิกคาส่ัง Through Two Points แล้วลากเมาส์ไปคลิกท่ีจุดทั้งสองจุดบน ภาพสเกตซ์ จะเกดิ แกน Axis1 18.คลิกคาสั่ง Normal to Axis through Point สร้างระนาบใช้งาน โดยคลิกท่ี Axis1 และจุด ศูนย์กลางของวงกลม จะเกิดระนาบที่ต้ังฉากกับแกนใช้งานข้ึนมาช่ือ Work Plane3 ให้คลิกที่ระนาบนี้ ให้มินิ ทูลบาร์ปรากฏ แล้วคลิกเลือกไอคอน Create Sketch
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 84 19.สเกตซภ์ าพหน้าตดั และกาหนดขนาดดังรูป เพ่ือสร้างมุมจิกของดอกสว่าน (โดยทั่วไปดอกสว่านจะ มมี ุมจกุ 118 องศา) ออกจากโหมดสเกตซ์ 20.ใช้คาสง่ั Extrude ตดั หนา้ ตัดทสี่ เกตซไ์ วอ้ อกไป โดยเลือก Operation เป็นแบบ Cut และ Extent แบบ All 21.คลกิ ปุ่ม OK จะไดม้ มุ จิก 22.สร้างมุมหลุบ สร้างระนาบใช้งาน โดยคลิกคาสั่ง Angle to Plane around Edge แล้วลากเมาส์ ไปคลิกบนผิวด้านบนสุดของตัวสว่าน (1) และเส้นขอบของมุมจิก (2) กาหนดมุม 90 องศา คลิก OK จะเกิด Work Plane4 23.สร้างระนาบใช้งานอีกหนึ่งระนาบ โดยคลิกคาส่ัง Angle to Plane around Edge แล้วลากเมาส์ ไปคลิกบนผิวด้านบนสุดของตัวสว่านอีกด้าน และเส้นขอบของมุมจิก กาหนดมุม 90 องศา คลิก OK จะเกิด Work Plane5 24.คลิกท่ี Work Plane4 ใหม้ นิ ิทลู บารป์ รากฏ แล้วคลกิ เลือกไอคอน Create Sketch 25.สเกตซ์ภาพหน้าตัดและกาหนดขนาดดังรูป เพื่อสร้างมุมหลบของดอกสว่าน (โดยทั่วไปดอกสว่าน จะมีมมุ หลบ 8-10 องศา) ออกจากโหมดสเกตซ์ 26.ใช้คาส่ัง Extrude ตัดหนา้ ตัดที่สเกตซ์ไว้ออกไป โดยเลือก Operation เป็นแบบ Cut และ Extent แบบ All 27.สเกตซภ์ าพหน้าตัดเชน่ เดียวกับข้อ 25 Work Plane5 เพือ่ สร้างมุมหลบของดอกสวา่ นอีกด้านหน่ึง 28.ใชค้ าสง่ั Extrude ตัดหนา้ ตดั ท่ีสเกตซไ์ วอ้ อกไป โดยเลือก Operation เปน็ แบบ Cut และ Extent แบบ All 29.คลกิ ปุ่ม OK จะได้มมุ หลบของสว่านทั้งสองดา้ น 30.สร้างช่วงหลบหลังคม (Body Clearance) เลือกระนาบ YZ Plane เป็นระนาบสเกตซ์ ใช้คาสั่ง Rectangle Two Point สร้างสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 0.1 in ยาว 0.565 in กาหนดระยะด้านกว้างและด้านยาว ถึงจุด Center point เท่ากับ 0.153 in และ 0.425 in ตามลาดับ แล้วใช้คาสั่ง Mirror คัดลอกรูปสี่เหล่ียมไป อีกด้าน 31.คลิกคาสงั่ Coil คลิกปุ่ม Profile เลือกหน้าตัดของรูปสี่เหล่ียมท้ังสอง แล้วคลิกปุ่ม Axis ลากเมาส์ ไปคลิกแกน Y Axis เลือก Operation เป็นแบบ Cut คลิกแท็บ Coil Size เลือก Type แบบ Pitch and Height กาหนดระยะพิตช์เท่ากับ 1.7 in ความสูงของเกลียว 3.5 in คลิกปุ่ม OK จะได้ช่วงหลบหลังคมบน ลาตัวของสวา่ นด้านบน 32.คลิกเคร่ืองหมาย + หน้า Coil3 บนบราวเซอร์บาร์ คลิกขวาบน Sketch แล้วเลือก Share Sketch จากเมนู เพือ่ ทจี่ ะนาสเกตซ์ของ Coil3 มาใช้งาน ซึ่งสเกตซ์ดังกล่าวจะปรากฏบนกราฟิกวินโดว์ 33.คลกิ คาส่งั Coil คลกิ ปุ่ม Profile เลือกหน้าตัดของรูปส่ีเหล่ียมทั้งสอง แล้วคลิกปุ่ม Axis ลากเมาส์ ไปคลิกแกน Y Axis คลิกปุ่ม เพือ่ กลบั ทิศทางการตดั เลือก Operation เปน็ แบบ Cut 34.คลิกแท็บ Coil Size เลือก Type แบบ Pitch and Revolution กาหนดระยะพิตช์เท่ากับ 1.7 in รอบการหมนุ 0.25 รอบ และมุมเอียง 3 องศา 35.คลกิ ปมุ่ OK จะได้ช่วงหลบหลังคมบนลาตัวของสว่านด้านล่าง และเป็นการเสร็จส้ินการสร้างดอก สว่านร่องเกลยี ว บนั ทึกไฟล์
85 สรปุ สปริงขดแบบกดทาจากลวดสปริงที่ขดขึ้น โดยมีระยะห่างของเส้นลวดหรือเรียกว่าระยะพิตช์ ซ่ึง จานวนขดและความยาวของสปริงจะขึ้นอยู่กับการใช้งาน ส่วนปลายของสปริงจะเป็นปลายชิดแบบตรงหรือ ปลายชิดแบบเจียระไนก็ได้ สปริงแบบน้ีจะรับความเค้นเฉือนตามแนวแกนของสปริง เม่ือมีแรงภายนอกมา กระทาขดสปรงิ จะเกิดการยบุ ตัว ซงึ่ ระยะยุบตัวใช้งานน้จี ะสง่ แรงกลับไปเพอ่ื ถา่ ยทอดพลังงาน เช่น สปริงวาล์ว ของเครอื่ งยนต์ เป็นต้น โดยปกติโปรแกรม Autodesk Inventor จะมีกลุ่มคาสั่งท่ีอยู่บนแท็บ Design ท่ีอยู่ใน ไฟล์ Assembly สามารถนามาใชส้ รา้ งชน้ิ สว่ นมาตรฐานต่างๆ รวมทง้ั การสรา้ งสปริงแบบต่างๆ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 86 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 6 จงใช้คาสั่ง Coil ชว่ ยในการสร้างงาน 3 มติ ิ 1. 2. 3. 4. จงออกแบบดอกสว่าน ขนาด 16 มลิ ลเิ มตร
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 87 บทที่ 7 การใช้ Derived Component และ Parameters ช่วยสรา้ งช้ินงาน บทนา ในบทนี้ได้ศึกษาการใช้คาส่ัง Derived Component คาสั่ง Bend Part และ Parameters ช่วยสร้าง ชิ้นงาน 3 มิติ ดงั หัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี - ความรพู้ ้ืนฐานของคาสั่ง Derived Component - การฝกึ สรา้ งชิน้ งานโดยใชค้ าส่ัง Derive Part - ความรพู้ ้ืนฐานของคาสั่ง Bend Part - การใช้ Parameters ชว่ ยสร้างชิน้ งาน - การฝึกใช้ Parameters ชว่ ยสรา้ งช้นิ งาน ความรู้พ้นื ฐานของคาส่งั Derived Component คาส่ัง Derived Component เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานข้ึนมาใหม่หรือเรียกว่า Derived part โดยการคัดลอก Solid body และองค์ประกอบอื่นๆ เช่น 2D สเกตซ์ 3D สเกตซ์ Work features และ Parameters ทเ่ี ป็นของช้ินงานท่ีมีอยู่แล้ว (หรอื อาจจะเรียกวา่ ช้ินต้นแบบ) นอกจากนั้นยงั สามารถสร้างชิ้นงาน ใหม่โดยใช้ข้อมูลจากไฟล์ Assembly ที่มีอยู่ได้เช่นกัน เมื่อชิ้นงานต้นแบบถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงช้ินงานท่ีเป็น Derived part ก็จะเปลี่ยนแปลงตาม Derived part ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่สามารถกาหนดมาตราส่วนให้มีขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าขนาดของ ชิ้นงานต้นแบบ และยังสามารถคัดลอก Solid body แบบกระจกเงา (Mirror) ตามระนาบอ้างอิง (Work Planes) ท่ีผู้ใช้กาหนด สาหรับตาแหน่งการวางและมุมมองภาพของ Derived part จะเป็นทิศทางเดียวกับ ช้นิ งานตน้ แบบ เม่ือคลิกไอคอน Derive บนริบบอน จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Derived Part ข้ึนดังภาพท่ี 7.1 ซึ่งแต่ ละออปชนั มคี วามหมายดังนี้ ภาพท่ี 7.1 กล่องโตต้ อบของ Derived Part
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 88 1.Derive Style เป็นรูปแบบของการ Derive ทมี่ ีใหเ้ ลอื กใช้งาน เพอื่ ใช้สรา้ ง Solid body ใหมจ่ าก ชนิ้ งานต้นแบบ +สร้าง Solid body เดย่ี วของช้ินงานโดยการรวมเน้ือแบบกลมกลนื ไม่แสดงรอยต่อระหวา่ ง พื้นผวิ ของช้ินงาน +สรา้ ง Solid body เดย่ี วของชิ้นงานโดยแสดงรอยต่อระหว่างพ้ืนผวิ ของชิ้นงาน +ออปชนั นีจ้ ะถูกต้ังค่าเป็น Default ของคาส่ังน้ี ถา้ ช้นิ งานตน้ แบบเปน็ Solid body เดยี ว ช้ินงานที่ถูกสร้างข้ึนใหม่ก็จะเป็น Solid body เดียวเช่นกัน ถ้าชิ้นงานต้นแบบมีหลาย Solid body จะต้อง เลอื ก Solid body ที่ตอ้ งการเพ่ือสรา้ งช้นิ งานใหม่ทีม่ หี ลาย Solid body +สร้างชิน้ งานโดยเลอื กจากพื้นผวิ (Surfaces) ของชิน้ งานต้นแบบ 2. Status เปน็ สัญลักษณท์ ่ีใชเ้ ปลีย่ นสถานะในการเลอื ก หรือไมเ่ ลอื กวัตถทุ ่เี ป็นส่วนประกอบของ ช้นิ งานตน้ แบบ เพ่ือให้แสดงไปพร้อมกบั การสรา้ ง Derived part +คลิกให้สัญลักษณน์ ีแ้ สดงหนา้ วัตถุ เม่ือต้องการเลอื กวตั ถนุ น้ั +คลิกใหส้ ัญลกั ษณ์น้ีแสดงหนา้ วตั ถุ เม่อื ไม่ตอ้ งการเลือกวตั ถนุ นั้ เพ่มิ เตมิ : เมอ่ื สัญลักษณ์ น้ีแสดงหนา้ โฟลเดอร์ใด แสดงว่าโฟลเดอร์นัน้ มที ้งั วตั ถทุ ี่ถูกเลอื ก และไม่ถกู เลือกอยูร่ ่วมกัน +คลิกเมอื่ ต้องการเปิดไฟลช์ ิน้ งานตน้ แบบ เพ่อื ใชเ้ ลือกวตั ถุท่ตี ้องการ +คลิกเพือ่ ยอมรับวตั ถุทเี่ ลอื ก ซึ่งวตั ถนุ ัน้ จะไปแสดงในไฟล์ของ Derived part 3. Symbols เปน็ ชอ่ งแสดงสถานะในการเลอื ก หรือไมเ่ ลือกวตั ถตุ ่างๆ ทเี่ ป็นส่วนประกอบของชน้ิ งาน ต้นแบบ ถ้าวัตถุใดถูกเลือกวัตถุน้ันก็จะสามารถนาไปใช้ในการสร้างหรือแก้ไข Derived part ได้ ซึ่งวัตถุต่างๆ จะเปน็ ส่วนประกอบที่ใชส้ ร้างชิ้นงานตน้ แบบมาก่อนน่นั เอง ไดแ้ ก่ - Solid bodies: เนื้อ Solid body ตา่ งๆ ของชนิ้ งานต้นแบบ - Surfaces: พนื้ ผิวต่างๆ ของชิ้นงานตน้ แบบ - Blocks: สเกตซบ์ ลอ็ กต่างๆ ของชน้ิ งานต้นแบบ - Sketches: 2D หรือ 3D สเกตซ์ของช้นิ งานต้นแบบ - Work Geometry: Work Feature ของชิน้ งานตน้ แบบ - Parameters: Parameters ทใ่ี ชค้ วบคมุ ชิ้นงานตน้ แบบ - iMates: iMates ของชนิ้ งานตน้ แบบ หมายเหตุ : วัตถุตา่ งๆทสี่ ่วนประกอบของช้นิ งานต้นแบบ อาจจะมีมากกวา่ หรือน้อยกว่าที่ แสดงไว้ขา้ งต้น ซ่งึ ขนึ้ อยู่กบั คาส่ังและวธิ ีการทใี่ ชส้ ร้างชน้ิ งานตน้ แบบน้นั 4. Show All Objects เม่ือเลอื กออปชันน้ี รายการวัตถขุ องชนิ้ งานต้นแบบจะถกู แสดงทัง้ หมด 5. Use colors from เป็นออปชันที่ให้เลือกหรือไม่เลือกใช้สีที่เป็นของช้ินงานต้นแบบ ค่า Default จะไมเ่ ปดิ ให้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149