Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จรรยา คำดี

จรรยา คำดี

Published by วิทย บริการ, 2022-07-12 02:01:44

Description: จรรยา คำดี

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ความสมั พนั ธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากบั ผลการปฏบิ ตั ิงานของ ครผู ูสอนในสถานศึกษาสาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 วิทยานิพนธ ของ จรรยา ดําดี เสนอตอ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบา นจอมบงึ เพอ่ื เปนสวนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ธันวาคม 2564 ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบานจอมบงึ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงความสมั พนั ธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากบั ผลการปฏบิ ตั ิงานของ ครผู ูสอนในสถานศึกษาสาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 วิทยานิพนธ ของ จรรยา ดําดี เสนอตอ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบา นจอมบงึ เพอ่ื เปนสวนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ธันวาคม 2564 ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบานจอมบงึ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงTHE RELATIONSHIP BETWEEN EMOTIONAL INTELLIGENCE OF SCHOOL ADMINISTRATORS AND TEACHERS' PERFORMANCE IN SCHOOL UNDERRATCHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 THESIS BY JANYA DAMDEE Presented in partial fulfillment of the requirements for the Master of Education Program in Educational Administration December 2021 Copyright by Muban Chom Bueng Rajabhat University

ช่อื วทิ ยานิพนธ ความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณข องผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ช่อื ผวู จิ ัย กบั ผลการปฏบิ ัติงานของครผู สู อนในสถานศกึ ษา สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ หลักสูตร การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 อาจารยท ีป่ รึกษา นางสาวจรรยา ดาํ ดี ปทส่ี ําเรจ็ การศึกษา ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คําสาํ คัญ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรศกั ด์ิ สจุ รติ รักษ 2564 ความฉลาดทางอารมณ ผลการปฏบิ ัตงิ านของครู มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทคดั ยอ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธระหวางความฉลาด ทางอารมณของผูบรหิ ารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ โรงเรียนในสังกัด สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จํานวน 123 โรงเรียน โดยใชวิธีการสุม กลมุ ตัวอยางแบบแบงช้ัน ผูใหข อ มูลโรงเรยี นละ 2 คน ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา 1 คน และ ครู 1 คน รวมท้ังสิ้น 246 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณคา 5 ระดับ มีคาความเช่ือม่ันเทากับ 0.89 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก การแจกแจงความถี่ คารอยละ คา เฉลย่ี สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และสหสัมพนั ธแบบเพยี รสนั ผลการวจิ ยั พบวา 1. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยรวมอยูในระดับมาก และเม่ือแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับ มากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอย ดังน้ี ดานตระหนักรูจักอารมณตน ดานสราง แรงจูงใจทดี่ ีแกตนเอง ดานจัดการอารมณของตน และดา นสามารถรับรูอารมณข องผูอื่น 2. ผลการปฏิบตั ิงานของครผู ูสอนในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 1 โดยรวมอยใู นระดับมาก และเม่ือแยกพิจารณาเปนรายดานพบวา มี 1 ดาน อยูในระดับมาก ทสี่ ดุ และ มี 2 ดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังน้ี ดานการจัดการเรียนรู ดา นความสมั พันธกบั ผูป กครองและชุมชน และดานการปฏิบตั ิหนา ทคี่ รู 3. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธทางบวก ในระดบั ปานกลาง (r=0.406) อยางมีนัยสาํ คญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01

THESIS TITLE THE RELATIONSHIP BETWEEN EMOTIONAL INTELLIGENCE OF SCHOOL RESEARCHER ADMINISTRATORS AND TEACHERS' PERFORMANCE IN SCHOOL UNDER CURRICULUM RATCHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 ADVISOR MISS JANYA DAMDEE GRADUATION YEAR MASTER OF EDUCATION PROGRAM IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEYWORDS ASST. PROF. DR. PHORNSAK SUCHARITRAK 2021 EMOTIONAL INTELLIGENCE, THE PERFORMANCE OF TEACHER มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ABSTRACT The purposes of this study were to; 1) explore the emotional intelligence of school administrators, 2) determine the teachers’ performance and 3) investigate the relationship between emotional intelligence and teachers' performance under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 1. The samples were 123 schools under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 1. The informants were one administrator and one teacher from each school, resulting in 246 samples, using the stratified random sampling method. The instrument used for collecting data was a 5 rating scale questionnaire with a reliability of 0.89. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's Correlation. The research findings were as follows: 1. The emotional intelligence of the school administrators under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 1 overall was at a high level. Each aspect was at a high level, from the most to the least: self-awareness, self-motivation, self-regulation, and recognizing emotions in others. 2. The overall teachers' performance under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 1 was at a high level. When considering each aspect, it was found that one aspect was at the highest level and two aspects were at the high level, which listed from the most to the least: learning management, the relationship with parents and community, and teachers' duties. 3. Emotional intelligence between school administrators and teachers' performance under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 1 was moderately related (r=0.406) with a .01 statistical significant level.

ประกาศคุณปู การ วิทยานิพนธเลมนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรศักด์ิ สุจริตรักษ และอาจารยผูสอนทุกทานที่กรุณาใหคําปรึกษาพรอมทั้งคอยใหคําแนะนํา ท้ังแกไข ขอบกพรองตาง ๆ ดวยความเอาใจใสอยางดีย่ิงตลอดมา ผูวิจัยจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยยนต ชุมจิต ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบาน จอมบึง ที่ใหความเมตตาชวยตรวจสอบแกไขขอบกพรองในการอางอิง การเขียนบรรณานุกรม การใช ภาษา รวมทง้ั ขอบกพรองอนื่ ๆ เพอื่ ชว ยใหง านวิจัยฉบับน้ีมีความสมบูรณย งิ่ ขึ้น ขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิท้ัง 3 ทาน ท่ีกรุณาตรวจสอบเคร่ืองมือการวิจัย คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมคิด ดวงจักร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชวน ภารังกูล และอาจารย ดร.สุดจิต หม่ันตะคุ อาจารยประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง จังหวัดราชบุรี รวมทั้งผูอํานวยการ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ผูบริหารโรงเรียน และครูในจงั หวัดราชบุรีสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 และสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ที่กรุณา อาํ นวยความสะดวกใหความรว มมือในการตอบแบบสอบถาม ขอบคุณผูเชี่ยวชาญดานสถิติที่กรุณาใหคําแนะนําในการหาคาสถิติตาง ๆ ขอบคุณเพื่อน ๆ นักศึกษารวมรุนและเพื่อนรวมงานที่ตางชวยเปนกําลังใจใหกันและกันเสมอมา และขอขอบคุณบิดา มารดาชวยเปนกําลังใจและแรงใจสนับสนุนชว ยเหลือตลอดมา ความภาคภูมิใจ ในการคนควาวิทยานิพนธครั้งนี้ ตองใชความเพียรพยายาม อดทน และความ ตง้ั ใจอยางมาก และสามารถทําไดสําเร็จ คณุ คา และประโยชนอันพึงเกิดจากการคนควาวิทยานิพนธเลมนี้ ผวู ิจัยขอมอบเปน เคร่ืองบชู าพระคุณของบดิ ามารดา ครอู าจารย และผมู ีพระคุณทุกทา นดวยความเคารพ จรรยา ดาํ ดี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

(ง) สารบัญ หนา บทคัดยอ ภาษาไทย............................................................................................................. (ก) บทคดั ยอภาษาองั กฤษ………………………………………….…………………………………………………. (ข) ประกาศคณุ ปู การ................................................................................................................ (ค) สารบญั ……………………………….……………………………………………………………..………..……….. (ง) สารบัญตาราง..................................................................................................................... (ฉ) สารบัญภาพประกอบ.......................................................................................................... (ซ) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 1 บทนาํ ……………………………………………………………………………….……………………… 1 ความเปนมาและความสําคญั ของปญหา............................................................. 1 วตั ถุประสงคของการวิจัย.................................................................................... 4 สมมติฐานการวิจัย.............................................................................................. 4 ขอบเขตของการวิจยั ........................................................................................... 4 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ................................................................................................ 5 นิยามปฏบิ ตั กิ าร.................................................................................................. 6 ประโยชนท ่คี าดวา จะไดร บั ................................................................................. 7 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ..................................................................................... 7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวของ............................................................................. 9 เอกสารทเี่ ก่ยี วของกับหลักการ แนวคดิ และทฤษฎ.ี ........................................... 10 ความฉลาดทางอารมณ………..………………………………………………..………..………. 10 การปฏบิ ัติงานของครผู สู อนในสถานศกึ ษา......................................................... 20 ขอ มลู พืน้ ฐานของพน้ื ทที่ ่ีวิจัย.............................................................................. 28 งานวิจัยทีเ่ ก่ียวของ.............................................................................................. 30 งานวจิ ยั ในประเทศ........................................................................................ 30 งานวิจัยตางประเทศ...................................................................................... 33 บทท่ี 3 วธิ ีดาํ เนนิ การวิจยั .................................................................................................. 35 ประชากรและกลมุ ตัวอยาง................................................................................. 35 ประชากร..................................................................................................... 35 กลมุ ตัวอยาง................................................................................................ 35 ตัวแปรทศ่ี กึ ษา.................................................................................................... 36

(จ) สารบัญ (ตอ ) หนา เคร่ืองมือที่ใชในการวิจยั ..................................................................................... 37 การสรา งและพัฒนาเครื่องมือท่ีใชในการวจิ ัย............................................... 38 38 การเกบ็ รวบรวมขอมูล.............................................................................................. 38 การวเิ คราะหขอมูลและสถติ ิที่ใชในการวเิ คราะห...................................................... มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อ มูล…………………………………………………..……………….……………… 41 สญั ลกั ษณท ่ีใชในการวิเคราะหข อ มลู ........................................................................ 41 การวเิ คราะหขอ มูล.............................................................................................. 42 ผลการวิเคราะหขอมูล.............................................................................................. 42 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ…………………………………..………………………. 54 สรุปผลการวิจัย........................................................................................................ 54 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................................. 54 ขอ เสนอแนะ............................................................................................................ 56 ขอเสนอแนะในการนําไปใช. ............................................................................ 56 ขอเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ตอ ไป................................................................... 56 บรรณานุกรม........................................................................................................................ 57 ภาคผนวก............................................................................................................................. 62 ภาคผนวก ก เคร่ืองมือทีใ่ ชใ นการวจิ ัย................................................................................... 63 ภาคผนวก ข ผลการตรวจสอบความตรงของแบบสอบถาม.................................................. 70 ภาคผนวก ค รายชอ่ื ผูเชีย่ วชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย……….............................................. 79 ภาคผนวก ง คาความเชอื่ มัน่ ของแบบสอบถาม..………………………….……….……………….....… 81 ประวัติยอ ผูวจิ ยั

(ฉ) สารบญั ตาราง หนา ตารางที่ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 ขอมลู เขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร จํานวนนักเรยี นและครู แบงตามอาํ เภอสงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1.....................................................……….……. 29 2 จาํ นวนประชากรและกลุม ตวั อยา งท่ีใชในการวจิ ัย....………..………………..……………….……. 36 3 สถานภาพของผตู อบแบบสอบถาม................................................................................... 42 4 คา เฉล่ยี และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณข องผูบ ริหาร สถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 โดยภาพรวม.................................................................................................. 44 5 คาเฉลย่ี และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณของผบู ริหาร สถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี ดานตระหนักรจู ักอารมณตน ..………………………………………………………………………. 45 6 คา เฉลย่ี และสว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความฉลาดทางอารมณข องผูบ รหิ าร สถานศกึ ษาสังกดั สํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี ดา นสรางแรงจงู ใจทดี่ แี กตนเอง………………………………………………………………..……. 46 7 คา เฉลีย่ และสว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความฉลาดทางอารมณของผบู รหิ าร สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี ดานจัดการอารมณของตน…....………………………………………………………………………. 47 8 คา เฉลย่ี และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณของผูบ รหิ าร สถานศึกษาสังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี ดานการมีทกั ษะทางสังคม....…………………………………………………………………………. 48 9 คาเฉลีย่ และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความฉลาดทางอารมณข องผบู รหิ าร สถานศึกษาสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี ดานสามารถรบั รูอารมณของผูอืน่ ………………………………………………………..…………. 49 10 คาเฉลีย่ และสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับผลการปฏิบัตงิ านของครผู ูสอน สังกดั สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 โดยภาพรวม............ 50 11 คาเฉลีย่ และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับผลการปฏิบตั ิงานของครผู ูสอน สังกดั สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ดา นการจัดการเรยี นรู………………………………………..................................................... 50 12 คา เฉลีย่ และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการปฏบิ ตั งิ านของครผู สู อน สงั กดั สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดา นความสัมพันธกับผูป กครองและชุมชน...........…..................................................... 52

(ช) สารบัญตาราง (ตอ) ตารางท่ี หนา 13 คา เฉล่ยี และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการปฏิบตั งิ านของครูผูสอน สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ดา นความสัมพันธกับผูปกครองและชมุ ชน…..………..................................................... 52 14 คา สัมประสิทธส์ิ หสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบรหิ ารสถานศึกษา และผลการปฏบิ ตั งิ านของครผู สู อน………………………………......................................... 53 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

(ซ) สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี หนา 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั ................................................................................................. 7 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 บทท่ี 1 บทนํา ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา ในยุคปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกในดานเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี การเมือง และสิ่งแวดลอมอยางรวดเร็วและตลอดเวลาอยางไมหยุดน่ิง รวมท้ังความกาวหนาดานเทคโนโลยี การสือ่ สารและสารสนเทศ ทาํ ใหก ลายเปนโลกไรพรมแดน สังคมโลกจะมีการล่ืนไหลระหวางวัฒนธรรม มากข้ึน นําไปสูการผสมผสานความคิด คานิยม ตลอดจนวิถีชีวิตความเปนอยูระหวางมวลมนุษยชาติที่ นําโลกเขาสูยุคแหงการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหวางประเทศไทย อันมี ผลกระทบตอทุกชาติ ทกุ ภาษา รวมทงั้ ประเทศไทย ดังน้นั ไมวาจะเปนคนหรือสถานศึกษา ก็ยอมไดรับ ผลกระทบดว ย สถานศึกษาในฐานะท่ีเปนระบบเปด ยอมตองไดรับผลกระทบจากส่ิงแวดลอมภายนอก ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพราะถาส่ิงแวดลอมภายนอกเปล่ียนสถานศึกษาตองปรับตัวให ทันตอการเปลี่ยนแปลง เพ่ือการดํารงอยูขององคการ การจัดการบริหารสถานศึกษาจําเปนตองมีการ ปรับแนวทางในการดําเนินการ เพื่อใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่ต้ังไว (สํานักงาน คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2553, 1) การจัดการศึกษาในยุคแหงการเปล่ียนแปลง จึงมีลักษณะเฉพาะที่ตองจัดใหเหมาะสม โดยสรางใหเปนสังคมแหงการเรียนรูและคุณธรรม ทํางานเปนกลุม เปนทีม และปรับแนวคิดจากเรียน และสอนในหองเรียนสูการเรียนรูตลอดชีวิต สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ใหค วามสําคัญกับการจัดการศึกษา หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามุงเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยใหส ถานศึกษาจัดกระบวนการจัดการศกึ ษาตองสง เสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และ เต็มตามศักยภาพ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ เนนความสําคัญท้ังความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและการบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา และกําหนดใหมี มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัด จะตองจัดใหมี ระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของ การบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเน่ือง เพ่ือรองรับการประกันคุณภาพการจัดการเรียน การสอนของโรงเรยี นเปน ความรวมมือกันของบุคลากรทุกฝาย เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให เกิดประสทิ ธิภาพสูงสุด (สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน, 2553, 2) การจัดการศึกษาใหมีคุณภาพนั้น ผูบริหารสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตองแสดง ความสามารถในการบริหารงานใหป ระสบความสาํ เร็จ ซ่ึงผูบริหารสถานศึกษาจะตองเปนผูมีคุณภาพ มี ความสามารถที่จะเปนผูนําและเปนที่รักเคารพและยําเกรงของผูใตบังคับบัญชาและบุคคลอ่ืนได นอกจากน้ี จะตองมีทักษะทางสังคมที่ดี เชน การแสดงออกทางการติดตอส่ือสารกับผูอื่น มีมนุษย สัมพันธที่ดี การตัดสินใจและการแกปญหาอยางมีเหตุผล ไมใชอารมณในการตัดสินใจและการ แกปญหา สามารถควบคุมอารมณตนเองไดดี มคี วามรับผิดชอบตอหนาที่ท่ีไดรับมอบหมาย และมีความ เขาใจเห็นใจผูอื่นตลอด ทั้งยัง มีความภูมิใจในตนเองและทํางานไดอยางมีความสุข จึงจะชวยให สถานศึกษามคี วามเจริญกา วหนาไดดี (พิมพใจ วิเศษ, 2554, 1) เชนเดียวกับ พรกนก กาติ๊บ (2555, 1)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2 กลาววา ผูบริหารสถานศึกษามีบทบาทหนาท่ีสําคัญในการจัดการศึกษา และในการบริหารการศึกษามี ความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณ หรือ EQ ซ่ึงเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอความสําเร็จในการ บริหารงาน ผูบริหารที่มีความฉลาดทางอารมณสูง จะเปนคนท่ีสามารถรับรูเขาใจและจัดการกับ ความรูสึกของตนเองไดดี รวมท้ังเขาใจความรูสึกของคนอ่ืน จึงมักจะนําพาองคกรใหพบประสบ ความสําเร็จในการทํางานใหบรรลุตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ โดยไดรับความชวยเหลือรวมมือ จากผูใตบ ังคับบัญชาเปนอยางดี มคี วามพึงพอใจในผลงานและสามารถสรางสรรคงานใหม ๆ ออกมาได เสมอ สอดคลองกับ โกลแมน (Goleman, 1998, 45) ไดกลาววา เชาวปญญาและความสามารถทาง เทคนิคหรือทักษะทางเทคนิคมีความสําคัญ แตความฉลาดทางอารมณมีความสําคัญมากกวา ในการ เปน ผูทจ่ี ะประสบความสําเร็จของบุคคล เชาวปญญาจะสงผลใหเกิดความสําเร็จไดเพียง 20 เปอรเซ็นต และอีก 80 เปอรเซ็นต เปนผลมาจากความฉลาดทางอารมณ จึงทําใหผูบริหารต่ืนตัวท่ีจะพัฒนาความ ฉลาดอารมณมากข้ึน โดยมีองคประกอบ 5 ประการ ไดแก 1) ตระหนักรูจักอารมณตน 2) จัดการ อารมณของตน 3) สรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง 4) สามารถรับรูอารมณของผูอื่น และ 5) การมีทักษะ ทางสงั คม การจัดการศึกษาใหประสบความสําเร็จนั้น ไมไดเกิดจากผูบริหารสถานศึกษาแตเพียงผูเดียว ยังมีบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีเก่ียวกับจัดการเรียนการสอน คือ ขาราชการครู ซ่ึงมีบทบาทสําคัญในการ สอนและความรับผิดชอบตอ ศิษย มหี นาทีแ่ ละความรับผิดชอบตอการอบรม ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ใหแกนักเรียน มีหนาท่ีและความรับผิดชอบตอวิชาการท้ังของตนเองและของนักเรียน มีหนาท่ีและ ความรับผิดชอบตอการสืบทอดวัฒนธรรม มีหนาท่ีและความรับผิดชอบในการสรางมนุษยสัมพันธกับ บุคคลตาง ๆ ที่ครูตองเกี่ยวของสัมพันธดวย มีหนาท่ีและความรับผิดชอบตอการประเมินผลตอการ เรียนของศิษย มีหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ โดยการตอ งพยายามหาความรูความจริง เพื่อแกปญหาการ เรยี นการสอนและแกปญหาเกี่ยวกับตัวนักเรียน และครูตองมีหนาที่และความรับผิดชอบตอการบริการ ศิษยและผูปกครอง (ยนต ชุมจิต, 2553, 76-83) ดังน้ัน การบริหารสถานศึกษาใหประสบความสําเร็จ น้ัน จึงตองเกิดจากความรวมมือระหวางกับผูบริหารและครูเปนสําคัญ การทํางานของครูจะมี ประสิทธิภาพเพียงใด และชวยใหสถานศึกษาบรรลุเปาหมายเพียงใดน้ัน สิ่งท่ีสําคัญที่สุดก็คือ ผูบริหาร สถานศึกษาจะตองทําใหครูเกิดกําลังใจและมีความพึงพอใจในการทํางาน ซึ่งโดยธรรมชาตินิสัยของ มนุษย จะเกิดความรูสึกพึงพอใจตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดน้ัน ยอมเกิดจากการไดรับการสนองความตองการให ไดมากทส่ี ุด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เปนหนวยงานท่ีมีหนาท่ีการบริหาร จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน บริหารงานใน 4 ดาน ไดแก การบริหารงานทั่วไป การบริงานวิชา การ บริหารงานบุคคล และการบริหารงบประมาณ ซ่ึงมีพื้นท่ีในความรับผิดชอบ จํานวน 6 อําเภอ มีสถานศึกษา 175 แหง ไดแก อําเภอเมืองราชบุรี จํานวน 49 แหง อําเภอปากทอ จํานวน 47 แหง อําเภอจอมบึง จํานวน 37 แหง อําเภอวัดเพลง จํานวน 5 แหง อําเภอสวนผึ้ง จํานวน 19 แหง และ อําเภอบา นคา จาํ นวน 18 แหง โดยมคี วามมุงม่ันสงเสริมพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัด ใหด ําเนินไปอยางมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสามารถตรวจสอบได มีการนิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาอยางทั่วถึงและตอเน่ือง เพื่อใหสถานศึกษามีการบริหารและการจัด การศึกษา ตามแนวปฏิรูปการศึกษาอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน มีการจัดทําโครงการ เพื่อสราง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 ขวัญและกําลังใจในการปฏิบตั ิงานดวยการยกยองเชิดชูเกียรติ ใหกับขาราชการครูและผูบริหาร สถานศึกษาที่มีผลการปฏิบัติงานดีและเปนแบบอยางท่ีดี และสนับสนุนใหการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ รวมถึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนใหดียิ่งข้ึน แตจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2560 ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 46.30 สูงเปนอันดับ 1 รองลงมา ไดแ ก กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร 38.66 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 36.54 และกลุมสาระ การเรียนรูภาษาอังกฤษ 33.29 ซึ่งสรุปวา คะแนนคาเฉล่ียระดับเขตพื้นที่การศึกษาตํ่ากวา ระดับประเทศทุกกลุมสาระการเรียนรู (สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1, 2560, 46) สวนผลการดําเนินงานตามโครงการ ป พ.ศ. 25561 พบวา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 สามารถดําเนินการตามโครงการไดครบทุกตัวช้ีท่ีกําหนด โดยมีตัวช้ีวัดท่ียัง ไมสามารถดําเนินการไดตามเปาหมาย ไดแก ตัวชี้วัดดานผูเรียน ไดแก ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ซ่ึงอาจ เกิดจากปจจยั หลายอยาง เชน มีนักเรียนตางสัญชาติจํานวนมาก ซ่ึงผูปกครองไมไดใชภาษาไทยในการ สื่อสาร ไมส ามารถใหการชว ยเหลือในการเรยี นของนกั เรยี นได ฐานะเศรษฐกิจของผูปกครอง หรือการท่ี มีโรงเรยี นขนาดเล็กจํานวนมากท่ีมีครูไมครบชั้น ทําใหการจัดการเรียนการสอนไมไดคุณภาพเทาท่ีควร (สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1, 2561, 100-101) จากผลการดําเนินงานดังกลาวขางตน ผูบริหารสถานศึกษาควรมีทักษะดานความฉลาดทาง อารมณ สรางความตระหนกั ในการรบั รอู ารมณต นเอง ควบคุมอารมณตนเอง สรางแรงจูงใจมีความรูสึก รวม และมีทักษะทางสังคม ซ่ึงเปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตมนุษย ทั้งในดานการศึกษา และในหนาท่ี การงาน เพราะความฉลาดทางอารมณ มีสวนจะชวยใหผูบริหารสถานศึกษามีศิลปะในการรูจักใชคน และครองใจคน ไดเรียนรูและพัฒนาตน สามารถโนมนาวผูอื่นใหทําในส่ิงท่ีตนตองการได โดยงานก็ สาํ เร็จเปน ผล คนกเ็ ปนสุข เกดิ ความรักในงาน รักองคก าร การสื่อสารระหวางบุคคลก็เปนไปไดดวยดี มี ความเขาใจกัน ทําใหผูใตบังคับบัญชามีอารมณและความรูสึกคลอยตามไปดวย ก็ยอมสงผลใหผลการ ปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงค ดังนั้น สภาพสังคมในปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ผูบริหารสถานศึกษาจึงควรตองมีความรู ความสามารถ และตองนําทักษะความฉลาดทางดานอารมณ ในการบรหิ ารงานควบคกู ันดว ย ซ่ึงสอดคลอ งกับ จิราพรรณ คะษาวงค (2551, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัย เร่ือง ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารที่สงผลตอประสิทธิผลของการดําเนินงานดานบุคคลของ โรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 ผลการวิจัย พบวา ความสัมพันธระหวาง ความฉลาดทางอารมณของผูบ รหิ ารท่ีสง ผลตอประสิทธผิ ลของการดําเนินงานดานบุคคลของโรงเรียน มี ความสัมพันธเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับ อรุณี นิลสระคู (2551, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการ ปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมยผลการวิจัย พบวา ความฉลาดทาง อารมณของผูบริหารสถานศึกษา โดยรวมมีความสัมพันธเชิงบวกกับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ใน สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จงั หวัดบุรีรมั ย อยา งมนี ัยสําคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .01 ผูวิจัยในสถานะครูผูสอน สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จึงมีความ สนใจศึกษา เรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงาน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 ของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เพื่อที่จะนํา ผลการวิจัยไปเปนขอมูลพื้นฐานประกอบเปนแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุง ดานความฉลาดทาง อารมณของผูบรหิ าร และผลปฏบิ ัติงานของครผู ูสอน ใหมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน วตั ถปุ ระสงคของการวิจัย การวิจัยคร้งั น้มี วี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือ 1. ศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 2. ศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 3. ศึกษาความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงาน ของครูผูส อนในสถานศึกษา สาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 สมมตฐิ านการวิจยั ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของ ครผู ูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธกันใน ทางบวก ในระดับสูง ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ี มุงศึกษาความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผล การปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยมีขอบเขตของการวิจยั ดังนี้ 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 1.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จํานวน 175 แหง จาํ แนกตามขนาดได 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ 6 แหง ขนาดกลาง 67 แหง และขนาดเลก็ 102 แหง 1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยกําหนดขนาดตัวอยางดวยการใชตารางสําเร็จรูป ของเครจซ่ี และมอรแกน (Krejcie & Morgan) (มนตรี อนันตรักษ, และคณะ, 2554, 30) ไดขนาด ตัวอยาง 123 แหง จากน้ันใชการสุมแบบแบงช้ันตามสัดสวน (proportional stratified random sampling) โดยใชขนาดของสถานศึกษาเปนชั้นในการสุม (stratum) ไดกลุมตัวอยางเปนขนาดใหญ 4 แหง ขนาดกลาง 47 แหง และขนาดเล็ก 72 แหง และใชการสุมอยางงาย (simple random sampling) เพ่ือใหไดมาซึ่งสถานศึกษาที่เปนกลุมตัวอยางในการตอบแบบสอบถาม ท้ังนี้ ผูวิจัย กาํ หนดใหผูใหขอมูลโดยเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) สถานศึกษาละ 2 คน คือ ผูบริหาร สถานศึกษา 1 คน และตวั แทนครผู สู อน 1 คน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 2. ตัวแปรทศี่ กึ ษา ตัวแปรท่ีศึกษา สําหรบั การวจิ ัยในคร้งั น้ี คอื 2.1 ตัวแปรตน (Xtot) ไดแก ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ตามแนวคิด ของ โกลแมน (Goleman, 1998, 93-102) ซงึ่ ประกอบดว ย 5 องคประกอบ ดังนี้ 2.1.1 ตระหนกั รจู กั อารมณต น (X1) 2.1.2 จดั การอารมณของตน (X2) 2.1.3 สรางแรงจงู ใจทดี่ แี กตนเอง (X3) 2.1.4 สามารถรบั รอู ารมณข องผูอ่ืน (X4) 2.1.5 การมีทักษะทางสงั คม (X5) 2.2 ตัวแปรตาม (Ytot) ไดแก ผลปฏิบัติงานของครูผูสอน ตามแนวคิดของ มาตรฐานการ ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี ทางการศึกษาของครู (ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556, 2562, 18-20) ซ่งึ ประกอบดวย 3 มาตรฐาน ดงั น้ี 2.2.1 การปฏิบัติหนาท่ีครู (Y1) 2.2.2 การจัดการเรยี นรู (Y2) 2.2.3 ความสมั พนั ธก บั ผปู กครองและชุมชน (Y3) นยิ ามศพั ทเฉพาะ เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน ผูวิจัยจึงใหความหมายของคําศัพทเฉพาะ สําหรับศึกษาการทํา วจิ ัย ในครั้งน้ีไวดงั ตอ ไปน้ี 1. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา หมายถึง ความสามารถของผูบริหาร สถานศึกษาในการรับรูอารมณ ความรูสึกของตนเองและผูอื่นรวมท้ัง สามารถควบคุมอารมณ ความรูสึก แรงกระตุนจากภายในของตนไดอยางเหมาะสมในทุกสถานการณ ตลอดจนสามารถสราง ความสัมพันธท่ีดีกับบุคคลอ่ืน และดําเนินชีวิตไดอยางสรางสรรคเปนปกติ ซ่ึงประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก 1) ตระหนักรูจักอารมณตน 2) จัดการอารมณของตน 3) สรางแรงจูงใจท่ีดีแก ตนเอง 4) สามารถรบั รอู ารมณของผูอนื่ 5) การมที กั ษะทางสงั คม 2. ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน หมายถึง ขอกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ หรือการแสดง พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้ง ผูตองการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงค และเปาหมายการ เรียนรู หรือการจัดการศึกษารวมท้ัง ตองฝกฝนพัฒนาตนเองใหมีทักษะ หรือความชํานาญสูงข้ึนอยาง ตอเนื่อง ซึ่งประกอบมาตรฐานการปฏิบัติงาน 3 มาตรฐาน ไดแก 1) ดานการปฏิบัติหนาท่ีครู 2) ดาน การจัดการเรียนรู และ 3) ความสัมพนั ธกับผปู กครองและชุมชน 3. ผูบริหารสถานศึกษา หมายถึง ผูอํานวยการสถานศึกษา หรือผูรักษาการณในตําแหนง ผอู าํ นวยการสถานศึกษา สังกัดสํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 4. ครูผูสอน หมายถึง ครูที่ปฏิบัติการสอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 5. ขนาดของสถานศึกษา หมายถึง การกําหนดขนาดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แบงเปน 3 ขนาด คอื 5.1 สถานศึกษาขนาดเลก็ มีนักเรยี นตงั้ แต 1-120 คน 5.2 สถานศกึ ษาขนาดกลาง มีนกั เรยี นตั้งแต 121-300 คน 5.3 สถานศกึ ษาขนาดใหญ มนี กั เรยี นต้งั แต 301 คนขนึ้ ไป 6. สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี 1 หมายถึง หนวยงานที่รับผิดชอบในการ จัดการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงมีท่ีต้ังของสถานศึกษาอยูในเขต อําเภอจอมบึง อําเภอบาน คา อาํ เภอปากทอ อําเภอเมอื ง อาํ เภอวัดเพลง และอาํ เภอสวนผง้ึ นยิ ามปฏบิ ัตกิ าร 1. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา หมายถึง ความสามารถของผูบริหาร สถานศึกษาในการรับรูอารมณ ความรูสึกของตนเองและผูอื่น รวมทั้ง สามารถควบคุมอารมณ ความรูสึก แรงกระตุนจากภายในของตนไดอยางเหมาะสมในทุกสถานการณ ตลอดจนสามารถสราง ความสัมพันธท่ีดีกับบุคคลอื่น และดําเนินชีวิตไดอยางสรางสรรคเปนปกติ ซ่ึงสามารถวัดระดับการ ปฏิบัติไดโดยใชแบบสอบถามชนิดมาตราสวน 5 ระดับ ท่ีกําหนดคาคะแนนการปฏิบัติจากนอยท่ีสุดไป จนถึงมากทส่ี ุด โดยมอี งคป ระกอบ ดงั น้ี 1.1 ตระหนักรูจักอารมณตน (know one’s emotion) หรือการกระตุนรูจักตน (self- awareness) หมายถึง สามารถเขาใจความหย่ังรู ความเปลี่ยนแปลงในอารมณ ภาวะอารมณความ ตอ งการของตนในแตละเวลาและสถานการณ 1.2 จัดการอารมณของตน (managing emotion) หมายถึง มีความสามารถท่ีจะควบคุม จดั การกับความรูสึก หรือภาวะอารมณท่ีเกิดข้ึนไดอยางเหมาะสม โดยสรางเสริมจากภาวะที่ตระหนักรู ในอารมณของตน เมื่อเศรา โกรธ ผิดหวัง หรือเสียใจก็ควบคุมตนเองได ไมโมโหราย สามารถนําพา ภาวะอารมณข องตนใหก ลับคนื สสู ภาพปกติไดโดยเร็ว มีการคดิ ไตรตรองกอนตัดสินใจ สามารถคิดอยาง มีเหตุผล ยอมรับและกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ใชคําพูดอยางระวังเหมาะสมกับสถานการณ ตา ง ๆ ยอมรบั ความลมเหลว และหาทางออกไดอยางสมเหตุสมผล 1.3 สรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง (motivating oneself) หมายถึง สามารถกระตุนเตือนตน ใหคิดริเร่มิ อยางมีความคดิ สรา งสรรค ผลกั ดันตนมงุ สเู ปาหมายที่ต้ังไว เพ่ือนํามาซ่ึงความสําเร็จสามารถ อดไดรอไดไมหุนหันใจเร็วดวนได มุงสูเปาหมายอยางมีพลังของความต้ังใจม่ัน มองอะไรที่ไมยึดติดกับ เงิน ผลประโยชนห รือตําแหนง 1.4 สามารถรับรูอารมณของผูอื่น (recognizing emotion in others) หมายถึง มีความสามารถเอาใจเขามาใสใ จเรา รเู ทา ทันในความรูสึก ความตองการ ขอวิตกกังวลของผูอื่นไดอยาง ชาญฉลาด มีไหวพริบ สนใจเขาใจในแงคิดทรรศนะของผูอื่น ตัดสินใจทําส่ิงใดโดยคํานึงถึงความรูสึก ของผอู ืน่ ไมใชความคดิ ของตนเปนหลัก 1.5 การมีทักษะทางสังคม (social skill) หมายถึงมีความสามารถในการสรางและรักษา เครือขายสายสัมพันธสวนตัวและท่ีเก่ียวของกับงาน สามารถเปนมิตรกับบุคคลไดทุกประเภท

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 7 มคี วามสามารถในการพดู โนมนา ว ชักจูงใหผูอ่ืนคลอยตามกับส่ิงท่ีเปนประโยชนตอสวนรวม เสริมสราง ความรว มมือในการงานและความสามัคคใี นหมูคณะ สามารถทาํ ใหผ ูท ี่อยรู อบขา งมคี วามสุข 2. ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน หมายถึง ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ หรือการแสดง พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซ่ึงผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมท้ัง ผูตองการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองปฏิบัติตาม เพ่ือใหเกิดผลตามวัตถุประสงค และเปาหมายการ เรียนรู หรือการจัดการศึกษา รวมท้ัง ตองฝกฝนพัฒนาตนเองใหมีทักษะ หรือความชํานาญสูงขึ้นอยาง ตอเน่ือง ซึ่งสามารถวัดระดับการปฏิบัติไดโดยใชแบบสอบถามชนิดมาตราสวน 5 ระดับ ท่ีกําหนดคา คะแนนการปฏิบัติจากนอยที่สุดไปจนถึงมากท่ีสุด โดยประกอบมาตรฐานการปฏิบัติงาน 3 มาตรฐาน ดงั นี้ 2.1 การปฏบิ ตั ิหนาที่ครู หมายถึง มีความมุงม่นั พัฒนาผูเรียน ดวยจิตวิญญาณความเปนครู ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเปนพลเมืองท่ีเขมแข็ง สงเสริมการ เรยี นรูเ อาใจใส และยอมรับความแตกตางของผูเรียนแตละบุคคล สรางแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปนผูใฝ เรยี นรู และผสู รา งนวตั กรรม พฒั นาตนเองใหม ีความรอบรู ทันสมัย และทนั ตอการเปลยี่ นแปลง 2.2 การจัดการเรียนรู หมายถึง มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู ส่ือ การวัดและประเมินผล การเรียนรู บูรณาการความรูและศาสตรการสอนในการวางแผนและจัดการ เรียนรู ท่ีสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด และมีความเปนนวัตกรรม ดูแล ชวยเหลือ และพัฒนา ผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดอยางเปนระบบ จัดกจิ กรรมและสรา งบรรยากาศการเรียนรูใ หผเู รียนมีความสขุ ในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของ ผูเรียน วจิ ยั สรา งนวัตกรรม และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูของผูเรียน ปฏิบัตงิ านรว มกบั ผูอ ืน่ อยา งสรางสรรค และมีสว นรวมในกจิ กรรมการพฒั นาวชิ าชพี 2.3 ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน หมายถึง มีความรวมมือกับผูปกครองในการ พัฒนาและแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค สรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครอง และชุมชน เพ่ือสนับสนุนการเรียนรูท่ีมีคุณภาพของผูเรียน มีการศึกษาเขาถึงบริบทของชุมชน และ สามารถอยูร ว มกันบนพน้ื ฐาน ความแตกตางทางวัฒนธรรม สงเสริม อนุรักษวัฒนธรรม และภูมิปญญา ทอ งถ่ิน ประโยชนท ่คี าดวาจะไดรบั ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงดานความฉลาดทาง อารมณของผูบรหิ าร และผลปฏิบตั งิ านของครูผูส อน ใหม ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น กรอบแนวคิดในการวจิ ัย การวิจัย เรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการ ปฏบิ ตั ิงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ผูวิจัย ใชกรอบแนวคิดความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ตามแนวคิดของโกลแมน (Goleman, 1998, 93-102) ซึ่งประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก 1) ตระหนักรูจักอารมณตน 2) จัดการอารมณ ของตน 3) สรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง 4) สามารถรับรูอารมณของผูอื่น 5) การมีทักษะทางสังคม และ

8 กรอบแนวคดิ ผลปฏิบตั ิงานของครูผูสอน ตามแนวคิดของมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพทางการศึกษา ของครู (ขอบังคับคุรุสภา วาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556, 2556, 18-20) ซึ่งประกอบดวย 3 มาตรฐาน ไดแก 1) การปฏิบัติหนาที่ครู 2) การจัดการเรียนรู 3) ความสัมพันธกับผูปกครองและ ชุมชน ซ่ึงผูวิจัยไดนําแนวคิดดังกลาวมาปรับประยุกตใชในการวิจัย รายละเอียดปรากฏตาม ภาพประกอบท่ี 1 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตัวแปรตนตวั แปรตาม ความฉลาดทางอารมณของ ผลปฏบิ ตั งิ านของครผู ูส อน ผบู ริหารสถานศึกษา 1. การปฏิบตั ิหนา ทีค่ รู 1. ตระหนกั รูจกั อารมณตน 2. การจดั การเรียนรู 2. จัดการอารมณข องตน 3. ความสมั พนั ธก ับผูปกครองและชุมชน 3. สรางแรงจงู ใจที่ดแี กตนเอง 4. สามารถรับรูอารมณของ ผอู น่ื 5. การมีทักษะทางสังคม ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ การวิจัยคร้ังนี้ ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี จากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งมีประเด็นที่จะ นําเสนอ ดังน้ี เอกสารที่เกี่ยวของกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎี 1. ความฉลาดทางอารมณ 1.1 ความหมายของความฉลาดทางอารมณ 1.2 ความสาํ คัญของความฉลาดทางอารมณ 1.3 ผูบริหารกับความฉลาดทางอารมณ 1.4 องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ 1.4.1 แนวคิดของ กรมสุขภาพจิต 1.4.2 แนวคิดของ จันทนกฤษณา ผลวิวัฒน 1.4.3 แนวคิดของ บาร ออน (Bar-On) 1.4.4 แนวคิดของ ซาโลเวย และ เมเยอร (Salovey & Mayer) 1.4.5 แนวคิดของ คูเปอรและซาวาฟ (Cooper & Sawaf) 1.4.6 แนวคิดของ โบลอน (Bolon) 1.4.7 แนวคิดของ โกลแมน (Goleman) 1.4.7.1 ตระหนักรูจักอารมณตน 1.4.7.2 จัดการอารมณของตน 1.4.7.3 สรางแรงจูงใจที่ดีแกตนเอง 1.4.7.4 สามารถรับรูอารมณของผูอ่ืน 1.4.7.5 การมีทักษะทางสังคม 2. การปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา 2.1 บทบาท หนาที่ของครู 2.2 จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 2.3 การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู 2.3.1 การปฏิบัติหนาท่ีครู 2.3.2 การจัดการเรียนรู 2.3.3 ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน 3. ขอมูลพื้นฐานของพ้ืนท่ีวิจัย ขอมูลสารสนเทศสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 10 งานวิจัยที่เก่ียวของ 1. งานวิจัยในประเทศ 2. งานวิจัยตางประเทศ เอกสารท่ีเกย่ี วของกับหลกั การ แนวคิด และทฤษฎี 1. ความฉลาดทางอารมณ อารมณเปนสวนสําคัญในการดําเนินชีวิตของมนุษย นอกเหนือไปจากระดับสติปญญา เปนแหลงของพลังจิตใจที่สาํ คัญ ทําใหเกิดแรงความหวัง แรงบันดาลใจ เพื่อใหการดําเนินชีวิตอยาง สรางสรรค และมีความสุข การรูจักความฉลาดทางอารมณของตนเอง เพื่อการพัฒนาและการใช ศักยภาพตนเองในการดําเนินชีวิตของครอบครัว การทํางานและการอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมี ความสุขและประสบความสําเร็จ ดังนั้น ความฉลาดทางอารมณนั้น เปรียบเสมือนความสามารถ ของบุคคลในการรับรูและแสดงอารมณออกมาสามารถที่จะแยกแยะ ประสมประสานความคิดกับ อารมณ มีความเขาใจและสามารถแสดงอารมณไดอยางเหมาะสม และสามารถท่ีจะควบคุมอารมณ ตนเองไดทุกสถานการณ (พิมพใจ วิเศษ, 2554, 11) 1.1 ความหมายของความฉลาดทางอารมณ ความฉลาดทางอารมณ นักวิชาการทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ ไดใหความหมายไว ดังเชน กร ศิริโชควัฒนา (2551, 15) ใหความหมายของความฉลาดทางอารมณ กลาววา ความสามารถในการบริหารอารมณใหเปนไปอยางถูกตองและเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ มีความเขาใจอารมณของตนเองและผูอื่น รูจักควบคุมอารมณของตนอยางมีเหตุผล โดยไม จําเปนตองเก็บกดเพื่อรอการระเบิดในภายหลัง รูจักจุดดีจุดดอยของตัวเอง มีทัศนคติที่ดีตอชีวิต มองโลกในแงดี สามารถจัดการความเครียดหรือแกไขปญหาไดอยางรอบคอบและรูเทาทัน หรือ อธิบายอยางงาย ๆ วา EQ ก็คือ ความสามารถในการใชชีวิตรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางสรางสรรค และมีความสุขนั้นเอง วีระวัฒน ปนนิตามัย (2551, 38) กลาววา ความฉลาดทางอารมณ เปนการเรียนรูและ รูจักอารมณ ความรูสึกของตน ใหตระหนัก มีสติ รูเทาทันสาเหตุและความเปลี่ยนแปลงในอารมณ ของตนเองและบริหารจัดการอารมณของตนไปในทางท่ีสรางประโยชนกับทุกฝาย สุภิญญา งามพริ้ง (2556, 12) ไดสรุปความหมายความฉลาดทางอารมณเปน ความสามารถของบุคคลในการตระหนักรูถึงความรูสึก อารมณความคิดของตนเองและผูอื่น มีความสามารถในการควบคุมอารมณตนเอง ใชความสามารถทางอารมณของตนเองชวยใหการ ดาํ เนินเปนไปอยางสรางสรรคและมีความสุข สุรียพร รุงกําจัด (2556, 24-25) ไดสรุปความหมายความฉลาดทางอารมณ หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง รูจักและเห็น มีความรับผิดชอบ ตอสวนรวม ความสามารถในการรูจักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแกปญหาและแสดงออก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 11 ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีกับผูอื่น และสามารถดําเนินชีวิตอยางเปนสุข เขาใจความรูสึกของผูอื่นและกลาที่จะเผชิญกับปญหาอุปสรรค สามารถบริหารจัดการกับอารมณ ความขัดแยงเพื่อความคิดริเร่ิมสรางสรรค ซ่ึงจะสงผลตอความสําเร็จในการใชชีวิตและการทํางาน ตะวัน คงทวัน (2560, 18-19) ไดสรุปความฉลาดทางอารมณ หมายถึง ความสามารถ ของบุคคลที่จะตระหนักถึงความรูสึก ความคิด เขาใจอารมณของตนเองและผูอื่น สามารถควบคุม อารมณและแรงกระตุนภายใน มีความสามารถในการบริหารจัดการกับอารมณของตนเองไดอยาง เหมาะสม ถูกกาลเทศะสามารถใหกําลังใจตนเองในการท่ีจะเผชิญกับอุปสรรคและขอขัดแยงตาง ๆ ไดอยางไมคับของใจรูจักขจัดความเครียด มีทักษะทางสังคมในการสรางสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล อ่ืน ทาํ ใหดําเนินชีวิตไดอยางมีความสุข และประสบความสําเร็จในชีวิต ซาโลเวย และเมเยอร (Salovery & Mayer, 1990, 185) ไดใหความหมาย EQ หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบและควบคุมความรูสึกของตนเองและของผูอื่น และใชความรูสึก เพ่ือใหมีอิทธิพลตอความคิดและการกระทาํ ของตนเอง คูป และ เซเวฟ (Coop & Sawaf, 1993 อางถึงใน ธีราภรณ ธะนะหมอก, 2561 16) ไดใหความหมายวา ความเฉลียวฉลาดทางอารมณเปนความสามารถของบุคคลในการรับรูเขาใจ และรูจักใชพลังทางอารมณของตนเองเปนรากฐานในการสรางสัมพันธภาพ และโนมนาวจิตใจผูอ่ืน โกลแมน (Goleman, 1998, 317) ไดใหความหมายของ EQ หมายถึง ความสามารถใน การตระหนักรูถึงความรูสึกของตนเอง และของผูอื่นเพื่อสรางแรงจูงใจในตัวเอง สามารถบริหาร จัดการอารมณตาง ๆ ของตนเอง และอารมณที่เกิดจากความสัมพันธตาง ๆ ได โดยเชื่อวาเชาว อารมณนั้นแตกตางจากเชาวปญญา แตเสริมเกื้อกูลกัน คนที่เกงแตขาด EQ มักจะทํางานใหกับคน ที่มีระดับเชาวปญญาตาํ่ กวาตน แตมีความเปนเลิศดานทักษะความเกงคน จากแนวคิดความหมายของความฉลาดทางอารมณ ที่นักวิชาการทั้งชาวไทยและชาว ตางประเทศใหไว ผูวิจัยสามารถสรุปความหมายความฉลาดทางอารมณ หมายถึง ความสามารถใน การรับรูอารมณ ความรูสึกของตนเองและผูอื่น รวมทั้งสามารถควบคุมอารมณ ความรูสึก แรง กระตุนจากภายในของตนไดอยางเหมาะสมในทุกสถานการณ ตลอดจนสามารถสรางความสัมพันธ ที่ดีกับบุคคลอ่ืน และดาํ เนินชีวิตไดอยางสรางสรรคเปนปกติ 1.2 ความสาํ คัญของความฉลาดทางอารมณ ความสําคัญของความฉลาดทางอารมณ มีนักวิชาการท้ังชาวไทยและตางประเทศไดกลาว ไว ดังนี้ วีระวัฒน ปนตินามัย (2544, อางถึงใน กวีกาญจน พุฒพิมพ, 2552, 11) กลาววาความ ฉลาดทางอารมณ มีสวนใหมนุษยคิดไดอยางชาญฉลาด และมีความสุขกับความคิดอานมากขึ้น ผูท่ี มีความฉลาดทางอารมณท่ีดีจะเปนผูท่ีรูจักใชความคิดอานเกี่ยวกับอารมณของตน และของผูอื่นให เกิดประโยชนในทางสรางสรรคไดเปนอยางดี ทําใหผูอื่นเปนสุขตนเองก็สบายใจทั้งสองฝาย ความ ฉลาดทางอารมณ ถือเปนการเรียนรูจักอารมณความรูสึกของตนใหตระหนักมีสติ รูเทาทันสาเหตุ และความแปรผันดานอารมณของตน เปนการเรียนรูพูดคุยภายในตน บริหารจัดการอารมณ ภาวะ อารมณ อุปนิสัยใจคอของตนไปในทางที่สรางประโยชนแกทุกฝาย สรางแรงจูงใจที่ดีใหแกตนเอง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 12 ในทางที่สรางสรรค ดังที่สุนทรภูกลาวไววา “ผจญจิตของตนเสียกอนใหผอนคลายแลวคอยวายไป ผจญคนทั้งปวง” ความฉลาดทางอารมณเปนการนําเชาวอารมณของตนออกมาติดตอสัมพันธกับ ผูอื่น (interpersonal relations) ไมวาจะเปนรูปแบบของการสื่อสาร ความเกงของคนเขาอก เขาใจคนเอาใจเขามาใสใจเรา (empathy) และเปนบุคคลท่ีรักษาความไดดุลของเหตุผลกับอารมณ บริหารจัดการความสัมพันธงานในหนาที่ของตนกับผูอื่นไดเปนอยางดี งานก็ไดผล คนก็ไมเสีย ความรูสึก จันทนา บรรณทอง (2553, 33) กลาวสรุปเกี่ยวกับความสําคัญและประโยชนของความ ฉลาดทางอารมณไดวาสามารถชวยใหบุคคลปรับตัวและปรับอารมณของตนเองไดอยางเหมาะสม สามารถแกปญหาความเครียดและแรงกดดันในชีวิต สามารถแกไขปญหาและความขัดแยงได มีบุคลิกภาพที่ดีรักการศึกษาหาความรู มีเปาหมายในชีวิต มีแรงจูงใจ มีสมาธิในการเรียนและการ ทํางาน มีการประสานสัมพันธที่ดีทั้งในชีวิตครอบครัวและในการปฏิบัติงาน มีมนุษยสัมพันธ สามารถส่ือสารและแสดงความรูสึกอยางเหมาะสม ถูกกาลเทศะ มีสัมพันธภาพท่ีดีกับผูอ่ืน สามารถ ครองใจคนได และประสบความสําเร็จในชีวิต สรอยกัญญา โพธิสมภาพวงษ (2557, 17) ความฉลาดทางอารมณมีความสําคัญเปนอยาง ยิ่ง มีประโยชนกับทุกดานที่เกี่ยวของกับผูนําไปใชและมีความจําเปนและสําคัญเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะผูนําและผูบริหาร เพราะถือวาเปนผูที่มีอาํ นาจสามารถชักจูงโนมนาวใหคนเกิดความรูสึก เห็นชอบและพรอมจะปฏิบัติงานใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด Goleman (1998 อางถึงใน ธิดารัตน รัศมี, 2556, 18) กลาววา ความสําคัญของความ ฉลาดทางอารมณมีผลตอประสิทธิผลของผูนํา ผูนําที่ดีจะตองเปนผูที่มีสมรรถนะเกี่ยวกับตนเอง เก่ียวกับการบริหารจัดการตนเองและสมรรถนะทางสังคม เก่ียวกับการบริหารความสัมพันธกับผูอ่ืน ใหเกิดผลดี จากแนวคิดความสําคัญของความฉลาดทางอารมณ ที่นักวิชาการทั้งชาวไทยและชาว ตางประเทศไดกลาวไว ผูวิจัยสามารถสรุปไดวา ความฉลาดทางอารมณทําใหบุคคลสามารถบริหาร จัดการอารมณความรูสึกของตนเอง และชวยใหสามารถปรับตัวตามสถานการณไดอยางเหมาะสม โดยเฉพาะผูนํามีความสําคัญมากในการสรางความสัมพันธที่ดี เพื่อโนมนาวใหบุคลากรเกิด ความรูสึกเห็นชอบและรวมดําเนินงานใหเกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด 1.3 ผูบริหารกับความฉลาดทางอารมณ ความฉลาดทางอารมณกับผูบริหาร เปนสิ่งสําคัญตอความสําเร็จผูบริหาร เปนบุคคลที่ จะตองรับผิดชอบตอประสิทธิผลขององคกร ความสําเร็จขององคกรขึ้นอยูกับคุณภาพของผูบริหาร ที่ผูบริหารบางคนประสบความลมเหลวในการทํางาน เปนเพราะผูบริหารเหลานั้นขาดทักษะท่ี สําคัญเกี่ยวกับมนุษย ซึ่งก็คือ ทักษะความฉลาดทางอารมณ นอกจากนั้น ความเปนผูบริหารหรือ ผูนาํ ท่ีมีความฉลาดทางอารมณ จะเปนผูท่ีมีอารมณผสมเขากับความฉลาดทางปญญา โดยตระหนัก ถึงความรูสึกดี และความตองการของผูอื่น อีกทั้ง ยังทําใหเขาใจและรูจักตนเองควบคุมตนเอง ไดแก ใหเกิดการตัดสินใจที่เปนประโยชนรวมทั้ง เกิดการบริหารจัดการที่ใหเกียรติ ยอมรับ เกื้อหนุนแกกันและกันเพิ่มพูนความคิดสรางสรรค กลาเส่ียง กลาคิด ริเร่ิม ลดการโจมตี การนินทา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 กาวราว และความไมยืดหยุนตอการทํางาน โดยผูนําที่มีความฉลาดทางอารมณที่ดี ก็เหมือนกับมี ธรรมะหมวดพรหมวิหาร 4 ที่เปนตัวแทนของความเห็นอกเห็นใจกัน ประกอบดวย เมตตาปราณี อยากใหผูอ่ืน เปนสุข มีความเมตตา ปราณี อยากใหผูอื่นเปนสุข มีความปรารถนาอยากใหผูอื่นพน ทุกข เม่ือประสบปญหา เมื่อมีเหตุผลควรตองวางเฉย (พรกนก กาติ๊บ, 2555, 18) โกลแมน (Goleman อางถึงใน วีระวัฒน ปนนิตามัย, 2542, 21) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับ ความฉลาดทางอารมณและใหความเห็นในผลงานการวิจัยวา ความฉลาดทางอารมณเปน คุณลักษณะที่จําเปนสําหรับผูบริหาร และถึงแมวาผูบริหารจะไดรับการฝกอบรมมาอยางดีที่สุดแลว เพียงใด มีปญญาเฉียบคมและมีความคิดดี ๆ อยูมากมาย แตถาผูบริหารสถานศึกษาขาด คุณลักษณะของความฉลาดทางอารมณแลว ผูบริหารเหลานั้นก็ไมสามารถจะเปนผูบริหารชั้นเยี่ยม ไดเลย บัณฑิตย ทุมเทียง (2548, 23) ไดสรุปความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร หรือ EQ ความสามารถของผูบริหารที่เขาใจและสามารถควบคุมอารมณของตนเองได อีกทั้งยังมี ความสามารถในการเขาใจอารมณและหยั่งรูอารมณของผูอื่นได สามารถผสมผสานอารมณของ ตนเองและผูอื่นเขาดวยกันเปนอยางดี รวมไปถึงการรูจักสรางและรักษาความสัมพันธกับผูอื่นได ตลอดไป หากผูบริหารเขาใจและสามารถปฏิบัติตามองคประกอบเหลานี้ไดเปนอยางดีแลว ยอม ประสบความสาํ เร็จในการบริหารงานอยางแนนอน คลูเปอร และ ซาวาฟ (Coolper & Sawaf อางถึงใน ดฤษวรรณ แกวกิตติคุณ, 2549, 23) ไดใหความหมายของความฉลาดทางอารมณกับผูนําวาเปนความสามารถในการรับรูและทํา ความเขาใจกับอํานาจของอารมณ เพื่อสามารถนําอํานาจดังกลาวไปใชเปนพื้นฐานของการบริหาร ในการสรางสรรคความคิดและโนมนาวจิตใจคนรอบขาง ดังนั้น ผูบริหารท่ีมีความฉลาดทางอารมณ ที่ดีนั้นมักจะมีความสุขในชีวิตมีสัมพันธภาพที่ราบรื่นกับผูคนรวมงาน และมีโอกาสที่จะประสบ ความสําเร็จในการดาํ รงตําแหนงอาชีพการงานที่สูงขึ้น ซึ่งทั้งนี้ ผูบริหารที่มีความฉลาดทางอารมณ ท่ีดีนั้นจะตองมีคุณลักษณะดังตอไปน้ี 1. รูจักและเขาใจความรูสึกของตนเองและของผูอื่น รูจุดออนจุดดอยของตนเองสามารถ ควบคุมจัดการและแสดงอารมณไดอยางเหมาะสม มีสติที่สามารถรับรูและตระหนักรู ไดวาขณะน้ี กําลังทําอะไร รูสึกอยางไร รวมถึงสามารถรับรูเก่ียวกับสภาพแวดลอมไดอยางเหมาะสม 2. มีพลังใจ มีแรงบันดาลใจ ที่จะกระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพ่ือบรรลุเปาหมายในชีวิต 3. สามารถอดทนอดกลั้นตอสภาพตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอด จนสามารถเผชิญตอ สภาพแวดลอมตาง ๆ ที่กอใหเกิดความเครียดไดอยางเหมาะสม 4. มีความยืดหยุน ไมยึดมั่น ถือม่ัน จะทาํ ใหปรับตัวไมได 5. มีความสามารถที่จะควบคุมตนเอง 6. มีความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน 7. มีสัมพันธภาพที่บงบอกถึงความไววางใจผูอื่น มีความซ่ือสัตยและจริงใจ 8. มีความคิดริเร่ิมมีความคิดสรางสรรค 9. มองโลกในแงดี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 14 จากแนวคิดผูบริหารกับความฉลาดทางอารมณ ผูวิจัยสามารถสรุปไดวา ความฉลาดทาง อารมณสําหรับผูบริหารมีความสําคัญมาก เนื่องจากผูบริหารเปนผูนําในการขับเคลื่อนองคกรให ประสบความสําเร็จ จะตองมีทักษะความเขาใจในตนเอง สามารถควบคุมอารมณตนเองและผูอื่นได เปนอยางดี มีการสรางพลังใจ และแรงบันดาลใจ มีความคิดริเริ่มอยางสรางสรรค สราง ความสัมพันธอันดีในองคกรและสังคม เพ่ือนาํ พาองคกรไปสูเปาหมาย 1.4 องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ มีหนวยงานและนักวิชาการทั้งชาวไทยและ ตางประเทศ ไดกลาวถึงไว ดังน้ี 1.4.1 แนวคิดกรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต (2546, 2-3) ไดพัฒนาแนวคิดเรื่องความฉลาดทางอารมณท่ีประกอบดวย ปจจัย 3 ประการคือ 1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเองรูจักเห็น ใจผูอ่ืนและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม ประกอบดวยความสามารถตอไปนี้ 1.1 ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง 1.1.1 รูอารมณและความตองการของตนเอง 1.1.2 ควบคุมตนเองและอารมได 1.1.3 แสดงออกอยางเหมาะสม 1.2 ความสามารถในการเห็นใจผูอื่น 1.2.1 ใสใจผูอ่ืน 1.2.2 เขาใจและยอมรับผูอื่น 1.2.3 แสดงความเห็นใจอยางเหมาะสม 1.3 ความสามารถในการรับผิดชอบ 1.3.1 รูจักการให รูจักการรับ 1.3.2 รูจักรับผิด รูจักใหอภัย 1.3.3 เห็นแกประโยชนสว นรวม 2. เกง หมายถึง ความสามารถในการรูจักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแกปญหา และแสดงออกไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีสัมพันธภาพดีกับผูอื่น 2.1 ความสามารถในการรูจักและสรางแรงจูงใจใหตนเอง 2.1.1 รูศักยภาพตนเอง 2.1.2 สรางขวัญและกาํ ลังใจใหตนเองได 2.1.3 มีความมุงม่ันที่จะไปใหถึงเปาหมาย 2.2 ความสามารถในการตัดสินใจและแกปญหา 2.2.1 รบั รูและเขาใจปญหา 2.2.2 มีขั้นตอนในการแกปญหาไดอยางเหมาะสม

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 15 2.2.3 มีความยืดหยุน 2.3 ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผูอ่ืน 2.3.1 รูจักการสรางสัมพันธภาพที่ดีกับผูอ่ืน 2.3.2 กลาแสดงออกอยางเหมาะสม 2.3.3 แสดงความเห็นที่ขัดแยงไดอยางสรางสรรค 3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดําเนินชีวิตอยางเปนสุข มีความภาคภูมิใจในตนเอง พอใจในชีวิตและมีความสุขสงบทางใจ 3.1 ภูมิใจในตนเอง 3.1.1 เห็นคุณคาในตนเอง 3.1.2 เชื่อม่ันในตนเอง 3.2 พึงพอใจในชีวิต 3.2.1 มองโลกในแงดี 3.2.2 มีอารมณขัน 3.2.3 พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู 3.3 มีความสงบทางใจ 3.3.1 มีกิจกรรมท่ีเสริมสรางความสุข 3.3.2 รูจักผอนคลาย 3.3.3 มีความสงบทางจิตใจ 1.4.2 แนวคิดของ จันทนกฤษณา ผลวิวัฒน จันทนกฤษณา ผลวิวัฒน (2556, อางถึงใน ธีราภรณ ธะนะหมอก, 2561, 23) ได กลาวถึงองคประกอบพื้นฐานของความฉลาดทางอารมณ ดังน้ี 1. ความตระหนักในตน (self awareness) หมายถึง ความสามารถในการรับรูอารมณ ความรูสึกของตนเอง มีความเช่ือมั่นในตนเอง และตัดสินใจไดตามวัย 2. การควบคุมอารมณ (managing emotion) หมายถึง ความสามารถที่จะควบคุมความ กลัว ความกังวล ความโกรธ ฯลฯ ของตนเองได และแสดงออกอยางเหมาะสมกับสถานการณ 3. การจูงใจตนเอง (motivating oneself) หมายถึง ความมุงหวังและการคิดบวกเพื่อ แกไขปญหา ฟนฝาอุปสรรค ยอมรับความผิดพลาด ซ่ึงจะมีผลระยะยาวตอเด็ก ในการตั้งเปาหมาย และการสรางความสําเร็จในอนาคต 4. การเห็นอกเห็นใจ (empathy) หมายถึง ความสามารถในการสังเกตรับรูความรูสึก ของผูอ่ืนจากน้าํ เสียง สีหนา ทาทาง และตอบสนองแบบเอาใจเขามาใสใจเรา 5. ทักษะทางสังคม (social skills) หมายถึง ความสามารถในการสรางความสัมพันธใน ทางบวกตอผูอื่น แกปญหาความขัดแยง ดวยวิธีประนีประนอม รวมไปถึงความมีนํ้าใจ ชวยเหลือ แบงปน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 16 1.4.3 แนวคดิ ของบาร ออน (Bar-On) บาร ออน (Bar-On, 1992 อางถึงใน พิมพใจ วิเศษ, 2554, 28) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ โดยการแบงออกเปน 5 ดาน ดังนี้ 1. ความสามารถภายในตน ประกอบดวย ความสามารถในการตระหนักเขาใจภาวะ อารมณของตนเอง กลาแสดงความคิดเห็นและความรูสึกของตน และตระหนักรูงาน คือ มีสติ หวงใยผูอื่น ตระหนักรูเทาทันความรูสึกและความคิดผูอื่น 2. ความสามารถในการปรับตัว ประกอบดวย ความสามารถในการตรวจสอบความรูสึก ของตนเขาใจ และตีความสถานการณตาง ๆ ไดถูกตอง ตรงความเปนจริง มีความยืดหยุนเขาใจใน ความคิดและความรูสึกของตนไดดี มีความสามารถในการแกไขปญหา และสถานการณเฉพาะหนา ไดดี 3. การมียุทธวิธีในการจัดการกับความเครียด ประกอบดวย ความสามารถในการจัดการ กับความเครียด และการบริหารความเครียดไดดี สามารถควบคุมอารมณของตนเองไดดีและ แสดงออกไดอยางเหมาะสม 4. การจูงใจตนและสภาวะทางอารมณ ประกอบดวย การมองโลกในแงดี สามารถสราง ความสนุกสนานใหแกตนและผูอื่นไดดี มีความรูสึกและแสดงออกถึงความสุขที่สามารถสังเกตเห็น ได 1.4.4 แนวคิดของซาโลเวย และ เมเยอร (Salovey & Mayer) ซาโลเวย และ เมเยอร (Salovey & Mayer, 1997, อางถึงใน อนุกูล ทรงกลิ่น, 2559, 24-25) ไดปรับปรุงองคประกอบของความฉลาดทางอารมณ ซึ่งจะเนนกระบวนการคิด หลักการ ของความฉลาดทางอารมณจะอยูในองครวมของการใชความสามารถทางดานสติปญญา และ อารมณ การปรับปรุงมี 4 องคประกอบ คือ 1. การรับรู การประเมิน การแสดงออก ซึ่งอารมณประกอบดวย ความสามารถในการ บอกอารมณความรูสึกของตนเองและผูอื่นได แสดงอารมณไดสอดคลองกับความรูสึก จําแนก ความรูสึกตาง ๆ ที่ตรงกันขามได 2. การใชอารมณเกื้อหนุนความคิด ประกอบดวย การจัดลําดับความคิด การมองสิ่งตาง ๆในแงดี มองเห็นแนวทางในการแกปญหา ทาํ ใหเกิดความคิดอยางสรางสรรคและมีเหตุผล 3. การวิเคราะหและใชความรูสึกจากอารมณที่เกิดขึ้นประกอบดวย ความสัมพันธ ระหวางอารมณและการใชถอยคําที่เหมาะสม ตีความหมายของความรูสึกและอารมณที่เกิดขึ้น รับรูและเขาใจความรูสึกท่ีซับซอนและเขาใจของอารมณที่เปล่ียนแปลง 4. การรับรูและควบคุมอารมณ เพื่อสงเสริมความงอกงามทางอารมณและสติปญญา ประกอบดวย การเปดใจกวางยอมรับตอความรูสึกที่ดีและไมดีที่เกิดขึ้นได ปลดปลอยตนเองจาก ภาวะอารมณ พิจารณาและจัดการกับอารมณตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับตนเองและผูอ่ืนได 1.4.5 แนวคิดของคูเปอรและซาวาฟ (Cooper & Sawaf) คูเปอรและซาวาฟ (Cooper & Sawaf, 1997, 125) ไดเสนอรูปแบบของความฉลาดทาง อารมณ ที่เรียกวา EQ Map ซ่ึงประกอบดวยองคประกอบ 4 องคประกอบ ไดแก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 17 1. ความรูรอบทางดานอารมณ (emotional literracy) เปนลักษณะที่ทําใหเกิดการรับรู การควบคุมตัวเองและมีความเช่ือมั่นในตนเอง 2. ความเหมาะเจาะทางอารมณ (emotional fitness) เปนลักษณะของผูมีสุขภาพจิตท่ี ดีและใชศักยภาพของตนไดอยางเต็มที่ 3. ความลึกซึ่งทางอารมณ (emotional depth) เปนการสํารวจแนวทางที่จะปรับชีวิต และการงานใหเขากับศักยภาพและเปาหมายของตัวเอง 4. ความกลมกลืนและความไปกันไดทางอารมณ (emotional alchemy) เปนการใช อารมณเพื่อความคิดริเริ่มสรางสรรคและสามารถเผชิญปญหาและความกดดันประกอบดวย การ แสดงออกดานการหย่ังรูการคิดใครครวญการเล็งเห็นโอกาสและการสรางอนาคต 1.4.6 แนวคิดของโบลอน (Bolon) โบลอน (Bolon, 1997, 31) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับองคประกอบของความฉลาดทาง ทางอารมณโดยแบงออกเปน 5 ดาน 15 คุณลักษณะที่สาํ คัญ ๆ ดังนี้ 1. ความสามารถภายในตนซึ่งเปนความสามารถท่ีมีองคประกอบยอย ดังน้ี 1.1 ความสามารถในการเขาใจภาวะอารมณของตน 1.2 มีความกลาท่ีจะแสดงความคิดเห็นและความรูสึกของตน 1.3 การตระหนักรูงานคือมีสติ 2. ทักษะดานมนุษยสัมพันธ ไดแก 2.1 ความสามารถในการสรางสัมพันธภาพท่ีดีกับผูอ่ืน 2.2 มีนํา้ ใจเอื้ออาทรหวงใยผูอื่น 2.3 ตระหนักรูเทาทัน ในความรูสึกนึกคิดของผูอ่ืน 3. ความสามารถในการปรับตัวประกอบดวย 3.1 ความสามารถในการตรวจสอบความรูสึกของตน 3.2 เขาในสถานการณตาง ๆ และสามารถตีความไดถูกตองตรงตามความเปนจริง 3.3 มีความยืดหยุนในความคิดและความรูสึกของตนเปนอยางดี 4. มีความสามารถในการแกไขปญหาและสถานการณเฉพาะหนาไดเปนอยางดี 4.1 มียุทธวิธีในการจัดการกับความเครียด 4.2 การจัดการกับความเครียดบริหารความเครียด 4.3 ควบคุมอารมณไดอยางดีแสดงออกไดอยางเหมาะสม 5. การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ ไดแก 5.1 การมองโลกในแงดี 5.2 การแสดงออกและมีความรูสึกที่เปนสุขที่สามารถสังเกตเห็นได 5.3 สรางความสนุกสนานใหเกิดแกตนเองและผูอื่น 1.4.7 แนวคิดของโกลแมน (Goleman) โกลแมน (Goleman, 1998, 93-102) ไดเสนอวาในทัศนะของซาโลเวย กลาววา ความ ฉลาดทางอารมณ ประกอบดวย 5 องคประกอบสาํ คัญ ดังน้ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 1.4.7.1 ตระหนักรูจักอารมณตน (know one’s emotion) หรือการกระตุนรูจักตน (self-awareness) สามารถเขาใจความหยั่งรู ความเปลี่ยนแปลงในอารมณ ภาวะอารมณความ ตองการของตนในแตละเวลาและสถานการณ 1.4.7.2 จัดการอารมณของตน (managing emotion) เปนความสามารถที่จะควบคุม จัดการกับความรูสึก หรือภาวะอารมณที่เกิดขึ้นไดอยางเหมาะสม โดยสรางเสริมจากภาวะที่ ตระหนักรูในอารมณของตน เมื่อเศรา โกรธ ผิดหวัง หรือเสียใจก็ควบคุมตนเองได ไมโมโหราย สามารถนําพาภาวะอารมณของตนใหกลับคืนสูสภาพปกติไดโดยเร็ว มีการคิดไตรตรองกอน ตัดสินใจ สามารถคิดอยางมีเหตุผล ยอมรับและกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ใชคําพูดอยาง ระวังเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ ยอมรับความลมเหลว และหาทางออกไดอยางสมเหตุสมผล 1.4.7.3 สรางแรงจูงใจที่ดีแกตนเอง (motivating oneself) สามารถกระตุนเตือนตนให คิดริเริ่มอยางมีความคิดสรางสรรค ผลักดันตนมุงสูเปาหมายที่ตั้งไว เพื่อนํามาซึ่งความสําเร็จ สามารถอดไดรอไดไมหุนหันใจเร็วดวนได มุงสูเปาหมายอยางมีพลังของความตั้งใจมั่น มองอะไรท่ี ไมยึดติดกับเงิน ผลประโยชนหรือตาํ แหนง 1.4.7.4 สามารถรับรูอารมณของผูอ่ืน (recognizing emotion in others) มีความสามารถ เอาใจเขามาใสใจเรา รูเทาทันในความรูสึก ความตองการ ขอวิตกกังวลของผูอื่นไดอยางชาญฉลาด มีไหวพริบ สนใจเขาใจในแงคิดทรรศนะของผูอื่น ตัดสินใจทําสิ่งใดโดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่น ไมใชความคิดของตนเปนหลัก 1.4.7.5 การมีทักษะทางสังคม (social skill) หมายถึงมีความสามารถในการสรางและ รักษาเครือขายสายสัมพันธสวนตัวและท่ีเก่ียวของกับงาน สามารถเปนมิตรกับบุคคลไดทุกประเภท มีความสามารถในการพูดโนมนาว ชักจูงใหผูอื่นคลอยตามกับสิ่งที่เปนประโยชนตอสวนรวม เสริมสรางความรวมมือในการงานและความสามัคคีในหมูคณะ สามารถทําใหผูที่อยูรอบขางมี ความสุข โกลแมน (Goleman) ไดเสนอกรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะของความฉลาดทาง อารมณ (the emotional competence framework) ไว 2 หมวด 5 องคประกอบ 25 ปจจัย ยอย โดยหมวดแรกเปนทักษะบริหารความสัมพันธ ซึ่งประกอบดวย 2 องคประกอบ สวน 3 องคประกอบท่ีเหลือเปนการบริหารตนเอง ดังน้ี ก. สมรรถนะทางสังคม : การสรางและรักษาความสัมพันธ ประกอบดวย 1. การเอาใจเขามาใสใจเรา เปนการตระหนักถึงความรูสึก ความตองการและขอ หวงใยของผูอื่นปจจัยยอย ไดแก 1.1 การเขาใจผูอื่น รูสึกความรูสึก มุมมอง สนใจในขอวิตกกังวลของเขา 1.2 การมีจิตใจมุงบริการ คาดคะเน รับรู และตอบสนองความรู ความสามารถได ถูกทาง 1.3 การพัฒนาผูอื่น ทราบความตองการเพื่อสงเสริมความรูความสามารถไดถูก ทาง 1.4 การสรางโอกาสใหความหลากหลาย เล็งเห็นความเปนไปไดจากความ แตกตางโดยไมแบงแยก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 19 1.5 ความตระหนักรูถึงทัศนะความคิดของกลุมความสามารถอานสถานการณ ปจจุบันและความสัมพันธของกลุมได ความคลองแคลวในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึง ประสงคจากความรวมมือของผูอ่ืน 2. ทักษะทางสังคม หมายถึง ความคลองแคลวในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึง ประสงคโดยความรวมมือของผูอื่น ปจจัยยอย ไดแก 2.1 การโนนนาว แสดงกลวิธีในการโนมนาวตาง ๆ อยางไดผล 2.2 การส่ือสาร สงสารท่ีชัดเจนและนาเชื่อถือ 2.3 ความเปนผูนํา โนนนาวและผลักดันกลุมไดดี 2.4 การกระตุนใหเกิดการเปล่ียนแปลง ริเริ่มและบริหารการเปล่ียนแปลงไดดี 2.5 การบริหารความขัดแยง เจรจา และแกไข หาทางยุติความไมเขาใจ 2.6 การสรางสายสัมพันธ เสริมสรางความรวมมือรวมใจกันเพ่ือการปฏิบัติ 2.7 การรวมมือ รวมใจกันทํางานกับผูอ่ืน เพ่ือมุงสูเปาหมาย 2.8 สมรรถนะของทีม สรางพลังรวมของกลุมในการมุงสูเปาหมาย ข. สมรรถนะสวนบุคคล : บริหารจัดการตนเองไดอยางไร 3. การตระหนักรูตนเอง เปนการตระหนักรูความรูสึก ความโนมเอียงของตน หยั่งรู ความเปนไปไดของตนและความพรอมตาง ๆ ปจจัยยอย ไดแก 3.1 รูเทาทันในอารมณตน สาเหตุที่ทําใหเกิดความรูสึกน้ัน ๆ และผลท่ีจะตามมา 3.2 ประเมินตนไดตามจริง รูจุดเดนของตน 3.3 ม่ันใจตนเองมั่นใจในความสามารถ คุณคาของตนความสามารถ 4. การควบคุมตนเอง เปนความสามารถในการจัดการกับความรูสึกภายในตน ปจจัย ยอย ไดแก 4.1 ควบคุมตน สามารถจัดการกับสภาวะอารมณหรือความฉุนเฉียวได 4.2 ความเปนท่ีไววางใจ รักษาความเปนผูท่ีซ่ือสัตยและคุณงามความดีได 4.3 ความเปนผูท่ีใชสติปญญา แสดงความรับผิดชอบ 4.4 ความสามารถที่จะปรับตัวได ยืดหยุนในการจัดการกับความเปล่ียนแปลงได 4.5 การสรางสิ่งใหม เปนสุขและเปดใจกวางกับแนวคิด แนวทางหรือขอมูลใหม 5. การสรางแรงจูงใจ เปนแนวโนมของอารมณที่เกื้อหนุน การมุงสูเปาหมาย ปจจัย ยอย ไดแก 5.1 แรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิ พยายามที่จะปรับปรุงใหไดมาตรฐาน 5.2 ความจงรักภักดี ยึดม่ันกับเปาหมายของกลุม 5.3 ความคิดริเร่ิม พรอมที่จะปฏิบัติตามโอกาสอํานวย 5.4 การมองโอกาสในแงดี แมมีอุปสรรค ปญหาก็ไมยนยอ มุงสูเปาหมาย ในป 2002 โกลแมนและคณะ (Goleman et al, 2002 อางถึงใน สุเทพ พงศศรีวัฒน, 2548, 133) เขียนหนังสือชื่อ “The New Leaders: Transforming the Art of Leadership into Science of Results” และไดกลาวถึงความสําคัญของความฉลาดทางอารมณที่มีตอความมี ประสิทธิผลของผูนํา ซึ่งในอดีตเคยเสนอไว 5 ดาน มีจํานวนทั้งสิ้น 25 สมรรถนะ แตจากผลการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 20 วิเคราะหขอมูลลาสุด โกลแมนไดปรับปรุงความฉลาดทางอารมณเหลือเพียง 4 ดาน ลดจํานวน สมรรถนะที่ผูนําพึงมีเหลือเพียง 18 สมรรถนะ โดยแบงเปน 2 สรรถนะ ไดแก 1. สมรรถนะที่เกี่ยวกับตนเอง (personal competence) เปนสมรรถนะที่ผูนําใช เพื่อ บริหารจัดการกับตนเอง ซึ่งประกอบดวย 2 ดาน รวมท้ังสิ้น 9 สมรรถนะ ไดแก 1.1 ดานความสามารถตระหนักรูอารมณตนเอง (self-awareness) มีลักษณะสําคัญ อยู3 ประการ ไดแก สมรรถนะในการตระหนักรูตนเอง (emotional self-awareness) สมรรถนะ ในการประเมินตนเองไดถูกตอง (acurate self-assessment) สมรรถนะดานความมั่นใจ (self- confidence) 1.2 ดานความสามารถบริหารจัดการตนเอง (self-management) ประกอบดวย สมรรถนะท่ีสําคัญอยู 6 ประการ ไดแก สมรรถนะในการควบคุมอารมณตนเอง (emotional self- control) สมรรถนะดานความโปรงใส (transparency) สมรรถนะดานความสามารถปรับตัว (adaptability) สมรรถนะดานมุงผลสัมฤทธิ์ (achievement) สมรรถนะดานริเริ่ม (initiative) และสมรรถนะการมองโลกในแงดี (optimism) 2. สมรรถนะที่เกี่ยวกับสังคม (social competence) เปนสมรรถนะที่ผูนําใช เพื่อการ บริหารความสัมพันธกับผูอ่ืนใหเกิดผลดี ซึ่งประกอบดวย 2 ดาน รวมท้ังสิ้น 9 สมรรถนะ ดังน้ี คือ 2.1 ดานความตระหนักรูทางสังคม (social awareness) มี 3 สมรรถนะยอย ไดแก สมรรถนะในการเขาใจผูอื่น (empathy) สมรรถนะความตระหนักรูดานองคกร (organization awarence) และสมรรถนะดานการบริการ (service) 2.2 ดานความสามารถจัดการความสัมพันธ (relationship management) ประกอบดวย สมรรถนะในการสรางแรงดลใจ (inspiration) สมรรถนะดานอํานาจอิทธิพล (influence) สมรรถนะในการพัฒนาผูอื่น (developing others) สมรรถนะการเปนตัวเรงการ เปล่ียนแปลง (change catalyst) สมรรถนะในการบริหารความขัดแยง (conflict management) จากแนวคิดองคประกอบของความฉลาดทางอารมณ ดังที่หนวยงานและนักวิชาการทั้ง ชาวไทยและตางประเทศไดกลาวขางตน ผูวิจัยสามารถสรุปไดวา ความฉลาดทางอารมณ ประกอบดวยการตระหนักรูจักอารมณตน การจัดการอารมณของตน การจูงใจตนและสภาวะทาง อารมณ การมียุทธวิธีในการจัดการกับความเครียด สามารถรับรูอารมณของผูอื่นได มีทักษะทาง สังคม และสามารถดาํ รงชีวิตไดอยางดี เกง และมีสุข 2. แนวคิดการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา 2.1 บทบาท หนาที่ของครู บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของครู เปนกิจที่ครูตองทําใหเสร็จสิ้นสมบูรณ ซึ่ง การกระทําของครูอาจจะเปนไปโดยอาศัยหลักคุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย หรือดวยสํานึก ครู อาจารยจะตองปฏิบัติหนาที่และมีความรับผิดชอบตอการสอน ถายทอดศิลปวิทยาการทุกสิ่งทุก อยางใหแกศิษย เปนกัลยาณมิตรของศิษย จะตองคอยอบรมสั่งสอนใหศิษยตั้งอยูในคุณธรรมความ ดีตาง ๆ (บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของครู, 2559) ซึ่งนักวิชาการไดกลาวถึงบทบาท หนาท่ีของครู ดังเชน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 21 ธีรศักดิ์ อัครบวร (2545, 18-27) ไดกลาววา ครูในฐานะที่เปนวิชาชีพครูและเปนปูชนีย บุคคลของสังคมนั้น จึงมีบทบาทและความสําคัญเปนอยางสูง ครูมีบทบาทกับทุกสวนของ สังคม เปนทั้งผูรวมสรางสรรคสังคม เปนผูแกปญหาและเยียวยาสังคม โดยจําแนกบทบาทและ ความสําคัญของครูได ดังนี้ 1. บทบาทและความสําคัญของครูในอดีต คําวา “ในอดีต” เริ่มตนตั้งแตมนุษย เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากชาวปามาเปนชุมชนกสิกรรม ซึ่งมีความเปนอารยธรรมหรือความ ศิวิไลซ (civilization) มนุษยจึงอยูอาศัยกันเปนหมู เปนกลุม เปนเผา จึงเกิดการแยงชิงที่ดินท่ี ความอุดมสมบูรณ เน่ืองจากมีการเปลี่ยนแปลงชีวิต จึงเกิดระบบกษัตริยขึ้นเพื่อปกครอง คุมครอง และดูแลการเกษตรของคนแตละเผา กษัตริยจึงตั้งเปนราชสํานักของกษัตริย และพรอมทั้งมี ผูรู ผูเช่ียวชาญดานวิทยาการและพิธีการตาง ๆ มาชวยเหลือกษัตริย บุคคลเหลานี้เรียกวา ราชครู หรือปุโรหิต ครูสังคมตะวันตกในศตวรรษที่ 18 ที่เปนครูผูชาย (schoolmasters) ในประวัติศาสตร อเมริกันบันทึกไววา ครูถูกมองในเรื่องคุณธรรมของสวนบุคคล เปนเกณฑในการที่จะยอมรับใหเปน ครู ผูสอนตองทํางานโรงเรียนทุกอยาง เชน ทาํ ความสะอาดหองเรียน ดูแลบริเวณโรงเรียน ตักถาน หิน ตีระฆังสัญญาณ ชวยเผยแพรศาสนา และอื่น ๆ เปนตน สําหรับครูแหงสังคมไทยในอดีต เปนบุคคลผูมีความรอบรูในดานวิชาชีพ จนมีความ เกงกลาในสาขาวิชาตาง ๆ และมีความสามารถในการถายทอดความรูใหแกบุตรหลานหรือ สานุศิษยผูมาฝากตัวไว ครูซึ่งไดรับการยกยอง นับถือจากสังคมมาก สําหรับบทบาทหนาที่หนาที่ สําคัญของสังคมไทยในอดีต เปนผูสั่งสอนวิชาการ อบรมจริยา สอนคุณธรรม หลักการประพฤติ ปฏิบัติในวิชาชีพ พรอมท้ังแนวทางการครองเรือนของศิษยแตละคนอีกดวย ครูจึงอยูในฐานะพิเศษ ทางสังคมเปนอยางย่ิงในสมัยน้ัน 2. บทบาทและความสําคัญของครูในปจจุบัน คําวา “ปจจุบัน” เริ่มนับตั้งแต คริสตศตวรรษที่ 19 เปนการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคอุตสาหกรรม จึงทําใหเกิดการสรางศาสตรใหม ข้ึนมา ดังนั้น ทาํ ใหครูจึงเปนวิชาชีพเชนเดียวกับวิชาชีพชั้นสูงอื่น ๆ การศึกษาจึงตองปรับตามการ เปลี่ยนแปลงของสังคม เนื่องดวยมีความตองการกําลังคนเขาสูระบบเศรษฐกิจที่เขายุค อุตสาหกรรม บทบาทและความสําคัญของครูในปจจุบัน มีดังตอไปน้ี 2.1 บทบาทและความสําคัญของการสรางเยาวชน เน่ืองจากสวนใหญ พอ แมของเด็ก และเยาวชนตองทํางานนอกบาน และเวลาเปนเรื่องสาํ คัญของการทํางานในยุคปจจุบัน ดังนั้น เด็ก และเยาวชนตองเขาสูระบบโรงเรียน ทั้งประเภทประจําและเดินเรียน ครูจึงสวมบทบาทสําคัญตอ การพัฒนาถายทอดวิชาความรู คุณธรรม จริยธรรม พรอมทั้งชวยชี้แนะใหสามารถใชชีวิตอยูใน สังคมไดอยางปกติสุข ในรูปแบบทางการแนะแนวและทางกิจกรรมอื่น ๆ ในโรงเรียน ดังนั้น ประเทศไทยซึ่งเปนสมาชิกขององคการสหประชาชาติ ไดจัดทําปริญญาสากลวาดวยสิทธิเด็ก ถือวา เปนพันธกรณีที่รัฐบาลตองรับผิดชอบ จึงเปนการคุมครองครูและเด็ก ดังนั้น ครูจะตองมีบทบาท ดังน้ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 22 2.1.1 ครูจะตองประพฤติตนใหเปนแบบอยางท่ีดี และเปนที่พ่ึงของเด็ก 2.1.2 ครูควรเปนทั้งนักสังคมสงเคราะห นักจิตวิทยา เมื่อเด็กเกิดปญหาจะได สามารถชวยเหลือและแกไขได 2.1.3 ครูจะตองเปนผูประสานระหวางครอบครัว ชุมชน กับโรงเรียน เพื่อท่ี แกไขปญหาที่เกิดข้ึนกับเด็กได 2.1.4 ครูตองเสียสละอุทิศเวลาทั้งแรงกาย แรงใจ และสติปญญาเพื่อชวยเหลือ เด็ก 2.1.5 ครูตองทราบและไมเพิกเฉยตอสิทธิเด็ก และใหการคุมครองสิทธิเด็กอยาง เปนรูปธรรม 2.2 บทบาทและความสําคัญของครูในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ในทุกประเทศมี ทรัพยากรตาง ๆ อยูเปนจํานวนมาก แตทรัพยากรที่สําคัญที่สุด และมีคาที่สุดตอประเทศของ ตนเองและทําใหประเทศนั้น ๆ เจริญกาวหนาไปตามลําดับนั้น คือ ทรัพยากรมนุษย (human resource) ในการพัฒนาตองใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการพัฒนา และปจจัยที่สําคัญระหวาง การศึกษากับพัฒนาทรัพยากรมนุษยคือ ครู (teachers) ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเปนผูพัฒนา ทรัพยากรมนุษยในทุกระดับ โดยจะขอกลาวในแตละระดับ ดังนี้ 2.2.1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยระดับกึ่งฝมือ มนุษยที่ไดรับการพัฒนาในระดับ นี้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค คือ 2.2.1.1 เปน ส ม า ชิก ที่ดีข อ งม นุษย ช าติ หม า ยถึง เ ปนบุค คล ที่มี ความสามารถในการสั่งสอนใหอานออกเขียนได คิดคํานวณได เขาใจสภาพแวดลอม ติดตาม ความกาวหนาทางดานวิชาการ รูจักแกปญหาท้ังตนเองและสังคม รูจักวางแผนในการดําเนินชีวิตที่ เหมาะสมอยูในสังคมโดยปกติสุข 2.2.1.2 เปนสมาชิกที่ดีของวงการอาชีพ หมายถึง รักการทํางานประกอบ อาชีพโดยสุจริต มีความรู ความเขาใจในกระบวนการจัดการกับงานท่ีทํา และทํางานรวมกับผูอื่นได อยางมีความสุข 2.2.1.3 เปนสมาชิกที่ดีของสังคม หมายถึง มีความสามารถในการกระทํา ตนเองใหเปนประโยชนแกสังคมในทุกระดับ ตั้งแตครอบครัว สังคมเพื่อน สังคมทองถิ่น ภูมิภาค ประเทศชาติ และในฐานะเปนประชากรโลก พรอมท้ังรักษามรดกทางสังคมในทุกระดับ 2.2.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยระดับชางเทคนิค เปนการพัฒนาบุคคลใหมีฝมือ แรงงานในระดับกลาง ซึ่งมีความสําคัญมากตอระบบเศรษฐกิจที่เขาสูยุคอุตสาหกรรมและ อุตสาหกรรมช้ันสูง และเปนระดับท่ีตองใชแรงงานเปนจํานวนมาก เพื่อทาํ ใหเกิดการขับเคลื่อนทาง เศรษฐกิจใหเจริญกาวหนา ดังนั้น ครูจึงเปนบุคคลที่มีบทบาทสําคัญในการสั่งสอน อบรม พัฒนา คนรุนใหมใหมีความรู ความสามารถระดับชางเทคนิค และในขณะเดียวกันตองพัฒนาบุคคลใน ระดับก่ึงฝมือใหมีฐานะชางมาเปนระดับชางเทคนิคเชนเดียวกัน 2.2.3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยระดับวิชาชีพ เปนการใชเวลาในการศึกษาเลา เรียนมากกวาสี่ป ซึ่งแสดงใหเห็นไดวาผูที่ศึกษาอยูในระบบสถานศึกษา และสําเร็จการศึกษาใน ระดับวิชาชีพครูตองมีบทบาทสําคัญในการถายทอดความรูใหกับศิษยไดมีความรู ความสามารถใน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 23 ดานวิชาการระดับสูง พรอมทั้งมีการอบรมบมนิสัยใหถึงพรอมในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน การดําเนินชีวิตอยางมีคุณคาตอสังคมเปนอยางดียิ่ง สําหรับวิชาชีพในปจจุบันที่ศึกษาเลาเรียน มากกวาท่ีสี่ป ไดแก แพทย ทันตแพทย เภสัชกร วิศวกร และครู เปนตน 2.3 บทบาทและความสําคัญของครูในการรักษาชาติ มีคํากลาววา “การรักษาชาติ คือ การรักษาวัฒนธรรม” ความเปนชาติ คือ การมีวัฒนธรรมเปนของตนเองอยางโดดเดนที่ แตกตางไปจากชาติอื่น ๆ หากวัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ สูญสลายเทากับความเปนชาติก็สลายไป พรอม ๆ กับวัฒนธรรม ยกตัวอยางเชน ในอดีตชนชาติของมองโลกกับชนชาติแมนจู โดนชนชาติจีน ไดกลืนชนเผาทั้งสองจนวัฒนธรรมหมดสิ้น ในปจจุบันนี้ ดินแดนทั้งสองจึงเปนสวนหนึ่งของจีนไป แลว หรือชาวเอเธนสกลืนชาวสปาตารเปนตน ดังนั้น บทบาทของครูจึงมีความสําคัญตอการรักษา วัฒนธรรม เชน สงเสริม สนับสนุน ใหมีกิจกรรมดานวัฒนธรรมใหกับผูเรียนไดปฏิบัติ พรอมทั้งจัด ใหมีความรูดานวัฒนธรรมที่เรียกวามีการปลูกฝงวัฒนธรรมใหกับเด็กและเยาวชนของชาติใหรักษา ไวสืบไป 2.4 บทบาทและความสําคัญของครูในการเยียวยาสังคม ครูสามารถชวยเหลือสังคม ใหสังคมน้ีนาอยู นาอาศัย มีเสนหตอผูพบเห็นโดยทั่วไป ซึ่งครูสามารถชวยเหลือสังคมไดในรูปแบบ ตาง ๆ กัน เชน 2.4.1 ชวยสอนเด็กพิเศษใหใชชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข 2.4.2 ชวยสอนใหผูหลงผิดกลับเนื้อกลับตัวเปนคนดีของสังคมตอไป หรือท่ี เรียกวา เปนการขัดเกลาทางสังคม (socialization) 2.4.3 ชวยใหกําลังใจและชี้แนะใหกับผูดอยโอกาสในสังคม ไดมีกําลังใจในการ ตอสูชีวิตตอไป ยนต ชุมจิต (2553, 76-83) ไดกลาวถึงบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของครู ตาม คําวา TEACHERS เอาไวดังตอไปน้ี 1. T (teaching) การสอน หมายความวา ครูมีหนาที่และความรับผิดชอบตอการสอน ศิษย เพ่ือใหศิษยมีความรูความสามารถในวิชาการทั้งหลายทั้งปวง ซึ่งถือวาเปนงานหลักของผูเปน ครูสอนทุกคน 2. E (ethics) จริยธรรม หมายความวา ครูตองมีหนาที่และความรับผิดชอบตอการอบรม ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักเรียน ซึ่งถือวาเปนหนาที่หลักอีกประการหน่ึงของความเปนครู 3. A (academic) วิชาการ หมายความวา ครูตองมีหนาที่และความรับผิดชอบตอ วิชาการทั้งของตนเองและของนักเรียน ซึ่งความจริงแลวงานของครูตองเกี่ยวของกับวิชาการอยู ตลอดเวลา เพราะวิชาชีพครูตองใชความรูเปนเครื่องมือในการประกอบวิชาชีพ 4. C (cultural heritage) การสืบทอดวัฒนธรรม หมายความวา ครูตองมีหนาที่และ ความรับผิดชอบตอการสืบทอดวัฒนธรรม การสอนศิลปะวิทยาการตาง ๆ ใหกับลูกศิษยนั้น ยอม ถือวาเปนการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหน่ึง 5. H (human relationship) การมีมนุษยสัมพันธ หมายความวา ครูตองมีหนาที่และ ความรับผิดชอบในการสรางมนุษยสัมพันธกับบุคคลตาง ๆ ที่ครูตองเกี่ยวของสัมพันธดวย เพราะ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 การมีมนุษยสัมพันธท่ีดี จะกอใหเกิดประโยชนตอตนเองและหมูคณะ โดยเฉพาะอยางยิ่งประโยชน ตอโรงเรียน 6. E (evaluation) การประเมินผล หมายความวา ครูตองมีหนาที่และความรับผิดชอบ ตอการประเมินผลตอการเรียนของศิษย งานของครูในดานนี้ ถือวามีความสําคัญมากอีกประการ หนึ่ง ทั้งนี้ เพราะการประเมินผลการเรียนการสอน เปนการวัดความเจริญกาวหนาของศิษยในดาน ตาง ๆ 7. R (research) การวิจัย หมายความวา ครูตองมีหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ โดยการ ตองพยายามหาความรูความจริง เพื่อแกปญหาการเรียนการสอนและแกปญหาเกี่ยวกับตัวนักเรียน 8. S (service) การบริการ หมายความวา ครูตองมีหนาที่และความรับผิดชอบตอการ บริการศิษยและผูปกครอง แตบางครั้ง ก็มีความจําเปนที่จะตองใหบริการแกประชาชนในทองถิ่น ดวย แตโดยธรรมชาติแลว งานบริการหลักของครู คือ บริการใหความรู เพื่อสรางความเจริญงอก งามใหแกนักเรียน สําหรับครูนั้น นอกจากใหบริการนักเรียนแลว บางครั้งครูยังตองใหบริการดาน คําปรึกษาหารือในดานสุขภาพอนามัยแกชุมชน รวมทั้งชวยแกปญหาใหแกชุมชนรอบ ๆ โรงเรียน อีกดวย วิทย วิศทเวทย (2555, 200) ไดกลาววา ครูเปนคนที่ฐานะสูงในสังคมไทยและมีการพูด ถึงครูวา “ครูยอมเปนผูที่ทรงคุณวุฒิวิชา สามารถที่จะใหแกศิษยไดบริบูรณ ทั้งตองเปนทั้งผูที่จะ เพาะสันดานและกิริยาอัธยาศัยใหศิษยเปนคนดี ดวยการเปนครูยอมเปนตําแหนงสูง จึงไดเนน บทบาทของครูวาครูตองทําตนเปนตัวอยางที่ดีใหเด็ก ทั้งในดานความรู ความประพฤติและอนามัย ตองรักเด็กเหมือนลูกของตน” จากแนวคิดบทบาท หนาที่ของครู ผูวิจัยสามารถสรุปไดวา ครูมีหนาที่บทบาทสําคัญใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหเปนคนเกง คนดี มีคุณภาพ และตองทําตัวเปนแบบอยางที่ดีใหแก ศิษย พรอมท้ังปฏิบัติตนใหเปนประโยชนแกสังคมในทุกระดับ 2.2 จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 “จรรยาบรรณของวิชาชีพ” หมายความวา มาตรฐานการปฏิบัติตนที่กําหนดขึ้นเปนแบบ แผน ในการประพฤติตน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและสงเสริม เกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาใหเปนที่เชื่อถือศรัทธาแก ผูรับบริการและสังคม อันจะนํามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพ (ขอบังคับคุรุสภา วาดวย จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556, 2556, 73-74) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ และแบบ แผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ดังตอไปนี้ หมวด 1 จรรยาบรรณตอตนเอง 1. ตองมีวินัยในตนเองพัฒนาตนเองดานวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการ พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจสังคม และการเมืองอยูเสมอ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 25 หมวด 2 จรรยาบรรณตอวิชาชีพ 2. ตองรัก ศรัทธา ซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบตอวิชาชีพ และเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิชาชีพ หมวด 3 จรรยาบรรณตอผูรับบริการ 1. ตองรักเมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สงเสริม ใหกําลังใจแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่โดยเสมอหนา 2. ตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดี ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ 3. ตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความเจริญทางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณ และสังคมของศิษย และผูรับบริการ 4. ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ และนิสัย ที่ถูกตองดีงามแกศิษย และ ผูรับบริการ ตามบทบาทหนาท่ีอยางเต็มความสามารถ ดวยความบริสุทธิ์ใจ 5. ตองใหบริการดวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเรียกรับ หรือยอมรับ ผลประโยชนจากการใชตําแหนงหนาท่ีโดยมิชอบ หมวด 4 จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชีพ 1. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอยางสรางสรรค โดยยึดม่ันในระบบคุณธรรม สรางความสามัคคีในหมูคณะ หมวด 5 จรรยาบรรณตอสังคม 1. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการอนุรักษ และ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษาผลประโยชนของ สวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2.3 การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา เปนเครื่องมือสําคัญของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กําหนดใหเปนวิชาชีพควบคุม ทางการศึกษา ตั้งแตวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการ ศึกษาอื่น (ตามที่ประกาศกําหนดในกฎกระทรวง) จะตองปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลดีตอผูรับบริการ อัน ถือเปนเปาหมายหลักของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผูประกอบวิชาชีพจะตองศึกษาให เกิดความรู ความเขาใจท่ีถูกตองใหสามารถนาํ ไปใชในการประกอบวิชาชีพใหสมกับการเปนวิชาชีพ ช้ันสูง และไดรับการยอมรับ (สาํ นักมาตรฐานวิชาชีพ, 2555) “วิชาชีพ” หมายความวา วิชาชีพทางการศึกษาที่ทําหนาที่หลัก ทางดานการเรียนการ สอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริหาร สถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพ้ืนฐาน และอุดมศึกษาท่ีตํ่ากวาปริญญาท้ังของรัฐและเอกชน และการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนการสนับสนุน การศึกษาใหบริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และ การบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 26 “ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา”หมายความวา ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหาร การศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพตาม พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 “ครู” หมายความวา บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางดานการเรียนการสอนและ การสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และ อุดมศึกษาที่ตํ่ากวาปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน (ขอบังคับคุรุสภาวาดวยจรรยาบรรณของ วิชาชีพ พ.ศ. 2556, 2556) โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในสวน ของวิชาชีพครู เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงและทิศทางการศึกษาของชาติ อาศัย อํานาจตามความ ในมาตรา 9 (1) และ (11) (ฉ) และมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติ สภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม ครั้งท่ี 13/2561 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2561 คุรุสภาโดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงออกขอบังคับคุรุสภา วาดวย มาตรฐานวิชาชีพไว ดังตอไปนี้ (ขอบังคับคุรุ สภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562, หนา 18-20) ขอ 1 ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562” ขอ 2 ขอบังคับน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ” “มาตรฐานการปฏิบัติงาน” และ “มาตรฐานการปฏิบัติตน” ในขอ 4 แหงขอบังคับคุรุสภา วาดวย มาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับความรู และประสบการณในการจัดการเรียนรู หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งผูตองการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองมีเพียงพอที่สามารถนําไปใชในการประกอบ วิชาชีพได ” “มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ หรือการแสดง พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งผูตองการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงค และเปาหมายการ เรียนรู หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งตองฝกฝนพัฒนาตนเองใหมีทักษะ หรือความชํานาญสูงขึ้น อยางตอเน่ือง” “มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายความวา จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กําหนดขึ้นเปนแบบ แผน ในการประพฤติปฏิบัติตน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งผูตองการประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา ตองยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและสงเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะ ของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ใหเปนท่ีเชื่อถือศรัทธาแกผูรับบริการและสังคม อันจะนํามาซึ่ง เกียรติ และศักด์ิศรีแหงวิชาชีพ” ขอ 4 ใหยกเลิกความในขอ 6 แหงขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และใหใชความตอไปน้ีแทน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 27 “ขอ 6 ผูประกอบวิชาชีพครู ตองมีคุณวุฒิไมตาํ่ กวาปริญญาตรีทางการศึกษา หรือ เทียบเทา หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ ดังตอไปน้ี (ก) มาตรฐานความรู ตองมีความรอบรูและเขาใจในเรื่อง ดังตอไปน้ี (1) การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง (2) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาใหคําปรึกษา ในการ วิเคราะหและพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ (3) เน้ือหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตรการสอน และเทคโนโลยีดิจิทัล ในการ จัดการเรียนรู (4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู และการวิจัยเพื่อแกปญหาและพัฒนา ผูเรียน (5) การใชภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อการศึกษา (6) การออกแบบและการดาํ เนินการเก่ียวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา (ข) มาตรฐานประสบการณวิชาชีพ ผานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตาม หลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป และผานเกณฑการประเมินปฏิบัติ การ สอน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด ดังตอไปน้ี (1) การฝกปฏิบัติวิชาชีพระหวางเรียน (2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ขอ 5 ใหยกเลิกความในขอ 10 แหงขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และใหใชความตอไปน้ีแทน “ขอ 10 รายละเอียดของมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพใหเปนไป ตามท่ี คณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด ” ขอ 6 ใหยกเลิกความในขอ 11 แหงขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และใหใชความตอไปน้ีแทน “ขอ 11 ผูประกอบวิชาชีพครู ตองมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังน้ี 2.3.1 การปฏิบัติหนาที่ครู (1) มุงม่ันพัฒนาผูเรียน ดวยจิตวิญญาณความเปนครู (2) ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเปน พลเมืองท่ีเขมแข็ง (3) สงเสริมการเรียนรู เอาใจใส และยอมรับความแตกตางของผูเรียนแตละ บุคคล (4) สรางแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปนผูใฝเรียนรู และผูสรางนวัตกรรม (5) พัฒนาตนเองใหมีความรอบรู ทันสมัย และทันตอการเปลี่ยนแปลง

28 2.3.2 การจัดการเรียนรู (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู สื่อ การวัดและประเมินผล การเรียนรู (2) บูรณาการความรูและศาสตรการสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู ท่ี สามารถพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด และมีความเปนนวัตกรรม (3) ดูแล ชวยเหลือ และพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดอยางเปนระบบ (4) จัดกิจกรรมและสรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนมีความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผูเรียน (5) วิจัย สรางนวัตกรรม และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิดประโยชน ตอ การเรียนรูของผูเรียน (6) ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค และมีสวนรวมในกิจกรรมการ พัฒนาวิชาชีพ 2.3.3 ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน (1) รวมมือกับผูปกครองในการพัฒนาและแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค (2) สรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการ เรียนรูท่ีมีคุณภาพของผูเรียน (3) ศึกษา เขาถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยูรวมกันบนพื้นฐาน ความ แตกตางทางวัฒนธรรม (4) สงเสริม อนุรักษวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น จากแนวคิดผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู สรุปไดวา มี มาตรฐานการปฏิบัติงาน 3 มาตรฐาน ไดแก 1) ดานการปฏิบัติหนาที่ครู 2) ดานการจัดการเรียนรู และ 3) ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3. ขอมูลพ้ืนฐานของพ้ืนที่วิจัย ขอมูลสารสนเทศสถานศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตั้งอยูทางภาคกลาง ดานทิศ ตะวันตกของประเทศไทย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4,030.03 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ ดังน้ี ทิศเหนือ ติดตอกับอําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ทิศใต อําเภอดานมะขามเต้ีย และอําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี ติดตอกับอําเภอเขายอย อาํ เภอหนองหญาปลอง จังหวัดเพชรบุรี

29 ทิศตะวันออก ติดตอกับอําเภอดาํ เนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก อําเภอบางคนที และอาํ เภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ติดตอกับตําบลบางคายู อาํ เภอเมตตา จังหวัดทะวาย ประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) สําหรับอาคารของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ต้ังอยูเลขที่ 7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ถนนไกรเพชร ตําบลหนาเมือง อาํ เภอเมือง จังหวัด ราชบุรี มีพื้นที่ในความรับผิดชอบ 6 อําเภอ มีสถานศึกษา 175 แหง ไดแก อําเภอเมืองราชบุรี จํานวน 49 แหง อําเภอปากทอ จํานวน 47 แหง อําเภอจอมบึง จํานวน 37 แหง อําเภอวัดเพลง จํานวน 5 แหง อาํ เภอสวนผึ้ง จาํ นวน 19 แหง และอําเภอบานคา จาํ นวน 18 แหง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 1 ขอมูลเขตพื้นที่บริการ จํานวนนักเรยี นและครู แบงตามอาํ เภอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 อาํ เภอ จาํ นวน กอน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา จาํ นวนครู เมืองราชบุรี โรงเรียน ประถมศึกษา (คน) (คน) (คน) 1,531 1,389 654 จอมบึง 49 (คน) 4,663 660 366 สวนผ้ึง 37 1,161 4,248 672 299 ปากทอ 19 1,551 3,569 250 322 วัดเพลง 47 1,250 515 17 41 บานคา 5 1,277 1,764 284 150 รวม 18 199 16,290 3,272 1,842 175 627 6,065 ที่มา : สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 (2562, 11) สถานศึกษามีผูอํานวยการสถานศึกษา เปนผูบังคับบัญชาราชการ และรับผิดชอบการ บริหารงานของสถานศึกษาที่มีโครงสรางการบริหารงานตามกฎหมาย มีขอบขายภารกิจที่กําหนด ซ่ึงการแบงสวนราชการภายในสถานศึกษาเปนไปตามกฎกระทรวงและระเบียบที่คณะกรรมการเขต พื้นที่การศึกษากําหนดซึ่งจะแบงสวนราชการเปนกลุม ตลอดจนกําหนดอํานาจหนาที่ของแตละ สวนราชการ ซึ่งจะตองครอบคลุมขอบขายและภารกิจของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน บุคคล และการบริหารท่ัวไป (สาํ นักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 5)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 30 งานวิจัยที่เก่ียวของ 1. งานวิจัยในประเทศ ชัยสิทธ์ิ สุวจสุวรรณ (2544, 70-71) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธระหวางความฉลาด อารมณของผูบริหารโรงเรียนกับขวัญในการปฏิบัติงานของครูผูสอนในโรงเรียน สังกัดสํานักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัยพบวา 1) ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร โรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดจันทบุรี โดยรวมพบวา อยูในระดับปานกลาง 2) ระดับขวัญในการปฏิบัติงานของครูผูสอนในโรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด จันทบุรี โดยรวมอยูในระดับมาก 3) ความสัมพันธระหวางความฉลาดอารมณของผูบริหารโรงเรียน กับขวัญในการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดจันทบุรี พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติ (p < .05) จิราพรรณ คะษาวงค (2551, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารท่ีสงผลตอประสิทธิผลของการดําเนินงานดานบุคคลของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 2 ผลการวิจัย พบวา 1) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก 2) ประสิทธิผล ของการดําเนินงานดานบุคคลของโรงเรียนโดยภาพรวม อยูในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ ระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารที่สงผลตอประสิทธิผลของการดําเนินงานดานบุคคล ของโรงเรียน มีความสัมพันธเชิงบวกอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อรุณี นิลสระคู (2551, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทาง อารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมยผลการวิจัยพบวา 1) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน จังหวัดบุรีรัมย โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดานพบวาอยูในระดับมากทุก ดาน ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานเกง รองลงมาคือดานสุขและดานดี ตามลําดับ 2) ผลการ ปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมย โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายดานพบวาอยูในระดับมากทุกดาน ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานคุณลักษณะในการ ปฏิบัติงาน รองลงมา คือ ดานผลงาน 3) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา โดยรวม มีความสัมพันธเชิงบวกกับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมย อยูในระดับปานกลางอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติที่ระดับ .01 กวีกาญจน พุฒพิมพ (2552, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธระหวางความ ฉลาดทางอารมณกับพฤติกรรมผูนําของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาสุรินทรเขต 1 ผลการวิจัย พบวา 1) ความฉลาดทางอารมณผูบริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร เขต 1 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่มีการปฏิบัติมากที่สุด คือ ดานดี รองลงมา คือ ดานเกง และ ดานที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ ดานสุข ผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมผูนําของผูบริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่ มีการปฏิบัติมากที่สุด คือ ดานผูนําแบบเชี่ยวชาญ รองลงมา คือ ดานผูนําโดยความเสนหา และ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 31 ดานที่มีการปฏิบัตินอยที่สุด คือ ดานผูนําแบบองคการ 2) ความสัมพันธระหวางตัวพยากรณทั้ง 3 ตัว ไดแก ความฉลาดทางอารมณดานดี ดานเกง และดานสุข มีความสัมพันธกับตัวแปรเกณฑ คือ ระดับพฤติกรรมผูนําของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทางบวก มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ความฉลาดทางอารมณ ดานดี ดานเกง และดานสุข มี ความสัมพันธกับตัวแปรเกณฑ คือ ดานผูนําแบบเชี่ยวชาญ และดานผูนําแบบไมเปนพิธีการ สวน ดานผูนําโดยเสนหา และดานผูนําแบบองคการ ไมมีความสัมพันธทางบวกกับตัวแปรเกณฑ คือ พฤติกรรมผูนาํ ของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ดานผูนําแบบองคการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 3) ผลการคนหาตัวพยากรณที่ดีในการพยากรณพฤติกรรมผูนําของผูบริหาร สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสุรินทร เขต 1 พบวา ตัวแปรพยากรณที่ ดีทั้ง 3 ตัว คือ ความฉลาดทางอารมณดานเกง ดานดี และดานสุข สามารถพยากรณพฤติกรรมผูนํา ของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยตัวแปรพยากรณที่ดี 2 ตัว คือ ความฉลาดทางอารมณดานเกง และดานสุข สามารถพยากรณพฤติกรรมผูนําของ ผูบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดานผูนําแบบไมเปนพิธีการ ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ .01 ฐิติพร เขมกรรม (2552, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความ ฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี ผลการวิจัย พบวา 1) ปจจัยความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี ผูบริหารโรงเรียนมีการรับรู โดยภาพรวมและรายดานทุก ดานอยูในระดับมาก 2) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี โดยภาพรวมและรายดานทุกดานอยูในระดับมาก 3) ความสัมพันธกับ ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุดรธานี พบวา ปจจัยความฉลาดทางอารมณที่มีความสัมพันธทางบวกกับความฉลาดทางอารมณ ของผูบริหาร โรงเรียนระดับปานกลาง ไดแก ดานภาวะผูนํา ดานความพึงพอใจในงาน ดาน วัฒนธรรมองคการของโรงเรียน และดานบรรยากาศขององคการในโรงเรียน และปจจัยดานสภาพ ครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกในระดับตาํ่ กับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรียนอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ศศิธร ศิริพัฒนโกศล (2553, 64) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 2 พบวา 1) ความฉลาดทางอารมณ ของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 2 สวนใหญรอยละ 56.31 มีความฉลาดทางอารมณประกอบดวย ดานดี ดานเกง และดานสุข โดยรวมอยูในระดับปกติ 2) การเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาสระแกว เขต 2 จําแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายดาน แตกตางกันอยางไมมี นัยสําคัญทางสถิติ 3) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาสระแกว เขต 2 จําแนกตามประสบการณในการบริหาร โดยรวมและรายดาน แตกตาง กันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ยกเวนดานดี ในเรื่องการเห็นใจผูอื่นและการรับผิดชอบ และดาน เกงในเรื่องการรูจักและมีแรงจูงใจในตนเองแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสระแกว เขต 2

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 32 จาํ แนกตามสถานภาพสมรส โดยรวมแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติยกเวนดานดี เรื่องการ เห็นใจผูอื่น ดานสุขเร่ืองการมีความสงบสุข แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อิสริยาภรณ ชัยกุหลาย (2553, บทคัดยอ) ไดศึกษาความฉลาดอารมณของผูบริหาร สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 เขต 2 และเขต 3 ผลการวิจัย พบวา 1) ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เลย เขต 1 เขต 2 และเขต 3 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การสราง แรงจูงใจใหกับตนเอง รองลงมา คือ การมีทักษะทางสังคม การตระหนักรูอารมณตนเอง การเขาใจ อารมณของผูอื่น และการควบคุมอารมณของตนเองตามลําดับ 2) ความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 เขต 2 และเขต 3 เม่ือจําแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการทํางานและขนาดโรงเรียน พบวา ผูบริหารที่มี อายุตํ่ากวา 50 และตั้งแต 50 ป ขึ้นไป และที่มีขนาดโรงเรียนขนาดเล็กกับโรงเรียนขนาดใหญมี ความฉลาดทางอารมณไมแตกตางกัน สวนผูบริหารที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีกับสูงปริญญา ตรี และประสบการณการทํางานนอยกวา 15 ป กับตั้งแต 15 ป ขึ้นไปความฉลาดทางอารมณ แตกตางกัน ท่ีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ตะวัน คงทวัน (2560, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัย เรื่อง ความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในอาํ เภอเกาะสมุย สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 ผลการวิจัยพบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในอําเภอเกาะสมุย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 ในภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ย จากสูงไปตํ่าสุด ไดแก ดานการเขาใจผูอื่น ดานการตระหนักรูตนเอง ดานการมีทักษะทางสังคม ดานการควบคุมอารมณของตนเอง และดานการจูงใจตนเองตามลําดับ ผลการเปรียบเทียบความ ฉ ล า ด ท า ง อ า ร ม ณ ข อ ง ผู บ ร ิห า ร ส ถ า น ศ ึก ษ า ต า ม ค ว า ม ค ิด เ ห ็น ข อ ง ค ร ูใ น อํ า เ ภ อ เ ก า ะ ส ม ุย สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 ที่มีเพศ ประสบการณสอนวุฒิ การศึกษา และจําแนกตามขนาดโรงเรียน พบวาไมแตกตางกัน ธีราภรณ ธะนะหมอก (2561, บทคัดยอ) การศึกษาความสัมพันธระหวางความฉลาด ทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ตามทัศนะของครู ผลการวิจัย พบวา 1) ระดับ ความทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ตามทัศนะของครู โดยภาพรวม และรายดาน อยูในระดับมาก 2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ตามทัศนะของครู โดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับมาก 3) ความสัมพันธ ระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูใน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ตามทัศนะของครู พบวา มี ความสัมพันธทางบวก ในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อุไรวรรณ ชูมี (2561, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาความฉลาดทางอารมณ ของผูบริหารสถานศึกษาตามการรับรูของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 33 สุราษฎรธานี เขต 1 ผลการวิจัยพบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาตามการ รับรูของครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 โดยรวม และรายดานอยูในระดับมาก เรียงลําดับ ดังนี้ ความสามารถในการจูงใจตนเอง การควบคุมอารมณ ของตนเอง การมีทักษะทางสังคม การตระหนักรูตนเอง และการเขาใจผูอื่น ผลการเปรียบเทียบ ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาตามการรับรูของครู จําแนกตามประสบการณการ สอน วุฒิการศึกษาและขนาดสถานศึกษาที่ปฏิบัติงาน พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 แตเมื่อจําแนกตามเพศไมแตกตางกัน จากผลการวิจัยผูบริหารสถานศึกษาควรให ความสําคัญกับความฉลาดทางอารมณ และควรหาทางพัฒนาความฉลาดทางอารมณของตนเอง เพื่อเปนเคร่ืองมือสาํ คัญในบริหารจัดการสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพ 2. งานวิจัยตางประเทศ ทอมป และซีลินา (Tombs & Selina, 2004 อางถึงใน กัลยาภรณ อุดคํามี, 2555, 63) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การใชความฉลาดทางอารมณในการประเมินผลการปฏิบัติงานในแตละอาชีพ ผลการวิจัย พบวา การใชความฉลาดทางอารมณแกปญหาการทํางานของบุคลากรในหนวยงานจะ สามารถคาดการณลวงหนาเพ่ือนํามาปรับปรุงพัฒนาหนวยงานใหกาวหนายิ่งขึ้น คิง (King, 1999 อางถึงใน ศศิธร ศิริพัฒนโกศล, 2553, 34-35) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธของความฉลาดอารมณของผูนาํ โรงเรียน ผลการวิจัยพบวา ผูบริหารรับรูอารมณไดสูง กวาผูที่กําลังเรียนเพื่อเปนผูบริหาร ประสบการณเปนผูนํามีความสัมพันธทางบวกกับความฉลาด ทางอารมณ และผูที่มีอายุตั้งแต 40 ปลงมา จะจัดการกับอารมณไดยากกวาผูที่มีอายุมากกวา 40 ปขึ้นไป สโตน, ปารคเกอร, และ วดู (Stone, Parker, & Wood, 2005 อางถึงใน สุภิญญา งามพร้ิง, 2556, 39-40) ไดศึกษาภาวะผูนําของผูบริหารโรงเรียนในรัฐออนตาริโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา มี เปาหมายในการศึกษาเพื่อคนหาความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณกับภาวะผูนําใน โรงเรียน มุงศึกษาถึงความสามารถของอารมณและความสามารถทางสังคมของผูบริหารโรงเรียนท่ี นําไปสูความสาํ เร็จตามความตองการและตามตาํ แหนงหนาที่ โดยใชแบบวัดความฉลาดทางอารมณ ของบาร ออน อี คิว ไอ (Bar-On-EQ-I) ป ค.ศ. 1979 โดยวัดทักษะภายในตัวบุคคล ทักษะระหวาง บุคคล ทักษะการปรับตัว การจัดการความเครียด และอารมณโดยทั่วไป สวนการวัดภาวะผูนํานั้น ใชมิติของผูนําที่มุงเนนเรื่องงานและมิติของผูนําที่มุงเนนเรื่องความสัมพันธ พบวา ความฉลาดทาง อารมณและภาวะผูนําของผูบริหารโรงเรียน มีความสัมพันธกัน และยังพบอีกวา ความฉลามทาง อารมณของผูบริหารโรงเรียนสามารถทาํ นายความสาํ เร็จของการบริหารโรงเรียนได และการวิจัยได เสนอแนะวาควรนาํ ทักษะทางดานความฉลาดทางอารมณเขาไปอยูในโปรแกรมพัฒนาผูบริหาร วา จะเปนทักษะระหวางบุคคล ความตระหนักในตนเอง การประเมินตนเอง ความเห็นอกเห็นใจผูอื่น การแกปญหาการควบคุมแรงกระตุนภายใน จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ สามารถกลาวไดวา ความฉลาดอารมณของผูบริหารมีความสัมพันธกับการบริหารงานเปนอยางมาก เนื่องจากผูบริหาร เปนผูนําในการขับเคลื่อนองคกรใหประสบความสําเร็จ จะตองมีทักษะความเขาใจในตนเอง

34 สามารถควบคุมอารมณตนเองและผูอื่นไดเปนอยางดี ตองสรางพลังใจ และแรงบันดาลใจ มีความคิดริเริ่มอยางสรางสรรค สรางความสัมพันธอันดีในองคกรและสังคม เพื่อนําพาองคกรไปสู เปาหมาย ซึ่งจากการศึกษาดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความสัมพันธความฉลาดทาง อารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยศึกษาแนวคิดความฉลาดอารมณของ โกลแมน (Goleman, 1998, 93-102) ซึ่งประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก 1) ตระหนักรูจักอารมณตน 2) จัดการอารมณของตน 3) สรางแรงจูงใจที่ดีแกตนเอง 4) สามารถรับรูอารมณของผูอื่น และ 5) การมีทักษะทางสังคม และศึกษาผลปฏิบัติงานของผูสอน ตามแนวคิดของมาตรฐานการ ปฏิบัติงานวิชาชีพทางการศึกษาของครู ซึ่งประกอบดวย 3 มาตรฐาน ไดแก 1) การปฏิบัติหนาที่ครู 2) การจัดการเรียนรู 3) ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงบทที่ 3 วิธีดาํ เนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 2) ศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 และ 3) ศึกษาความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ซ่ึงผูวิจัยไดดําเนินการตามข้ันตอน ดังน้ี 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ตัวแปรท่ีศึกษา 3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง ดังนี้ 1. ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จํานวน 175 แหง จําแนกตามขนาดได 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ 6 แหง ขนาดกลาง 67 แหง และขนาดเล็ก 102 แหง 2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย ผูวิจัยกําหนดขนาดตัวอยางดวยการใชตารางสําเร็จรูปของเครจซี่ และมอรแกน (Krejcie & Morgan) (มนตรี อนนั ตรักษ, และคณะ, 2554, 30) ไดขนาดตัวอยาง 123 แหง จากน้ันใชการสุมแบบแบงช้ันตามสัดสวน (proportional stratified random sampling) โดยใชขนาด ของสถานศึกษาเปนชั้นในการสุม (stratum) ไดกลุมตัวอยางเปนขนาดใหญ 4 แหง ขนาดกลาง 47 แหง และขนาดเลก็ 72 แหง และใชก ารสุมอยางงา ย (simple random sampling) เพื่อใหไดมาซ่ึงสถานศึกษา ท่ีเปนกลุมตัวอยางในการตอบแบบสอบถาม ท้ังน้ี ผูวิจัยกําหนดใหผูใหขอมูลโดยเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) สถานศกึ ษาละ 2 คน คือ ผูบ ริหารสถานศึกษา 1 คน และตัวแทนครผู ูส อน 1 คน

36 ตารางที่ 2 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางท่ีใชในการวจิ ัย ขนาด ประชากร กลุมตัวอยาง ผูบริหาร ผูใหขอมูล รวม สถานศึกษา สถานศึกษา สถานศึกษา สถานศึกษา ตัวแทน 144 ครูผูสอน 94 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 8 ขนาดเล็ก 102 72 72 72 246 ขนาดกลาง 67 47 47 47 ขนาดใหญ 6 4 44 175 123 123 123 รวม รวมทั้งสิ้น 246 ตัวแปรท่ีศึกษา ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ประกอบดวย ตัวแปรตน และตัวแปรตาม ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี 1. ตัวแปรตน (Xtot) ไดแก ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ตามแนวคิดของ โกลแมน (Goleman, 1998, 93-102) ซ่ึงประกอบดวย 5 องคประกอบ ดังนี้ 1.1 ตระหนักรูจักอารมณตน (X1) 1.2 จัดการอารมณของตน (X2) 1.3 สรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง (X3) 1.4 สามารถรับรูอารมณของผูอ่ืน (X4) 1.5 การมีทักษะทางสังคม (X5) 2. ตัวแปรตาม (Ytot) ไดแก ผลปฏิบัติงานของครูผูสอน ตามแนวคิดของมาตรฐานการ ปฏิบัติงานวิชาชีพทางการศึกษาของครู (ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562, 18-20) ซึ่งประกอบดวย 3 มาตรฐาน ดังน้ี 2.1 การปฏิบัติหนาท่ีครู (Y1) 2.2 การจัดการเรียนรู (Y2) 2.3 ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน (Y3)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 37 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. ลักษณะของเครื่องมือ การวิจัยครั้งน้ี ใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือสาํ หรับเก็บขอมูล จํานวน 1 ฉบับ แบงออกเปน 3 ตอน มีรายละเอียดดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงปจจุบัน และขนาดสถานศึกษา ลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ (check- list) ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ตามแนวคิด ของโกลแมน (Goleman) ซึ่งประกอบดวย 5 องคประกอบ ดังนี้ 1. ตระหนักรูจักอารมณตน 2. จัดการอารมณของตน 3. สรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง 4. สามารถรับรูอารมณของผูอื่น 5. การมีทักษะทางสังคม ซึ่งลักษณะของคําถามเปนแบบมาตรประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิ เคิรท (Likert Five Rating Scale อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2550, 69-70) ลักษณะของ แบบสอบถาม เรียงลําดับการปฏิบัติจากมากที่สุดไปถึงนอยที่สุด โดยกาํ หนดนาํ้ หนักคะแนนดังน้ี 5 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร อยูในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร อยูในระดับมาก 3 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร อยูในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร อยูในระดับนอย 1 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร อยูในระดับนอยที่สุด ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน ตามแนวคิดของมาตรฐานการ ปฏิบัติงานวิชาชีพทางการศึกษาของครู ซ่ึงประกอบดวย 3 มาตรฐาน ดังน้ี 1. การปฏิบัติหนาที่ครู 2. การจัดการเรียนรู 3. ความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน ซึ่งลักษณะของคําถามเปนแบบมาตรประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิ เคิรท (Likert Five Rating Scale อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2550, 69-70) ลักษณะของแบบสอบถาม เรียงลาํ ดับการปฏิบัติจากมากที่สุดไปถึงนอยท่ีสุด โดยกาํ หนดนาํ้ หนักคะแนนดังน้ี 5 หมายถึง ระดับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน อยูในระดับมากท่ีสุด 4 หมายถึง ระดับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน อยูในระดับมาก 3 หมายถึง ระดับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน อยูในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ระดับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน อยูในระดับนอย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 38 1 หมายถึง ระดับผลปฏิบัติงานของครูผูสอน อยูในระดับนอยท่ีสุด 2. การสรางและพัฒนาเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการสรางเครื่องมือสําหรับการวิจัย โดยมีข้ันตอนการดาํ เนินงานดังน้ี 1. ศึกษาวรรณกรรม หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของจากหนังสือ ตํารา เอกสาร และ งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร และผลปฏิบัติงานของครูผูสอน 2. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาประมวล เพื่อมากําหนดเปนโครงสรางเครื่องมือ โดยขอ คาํ แนะนําจากอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 3. สรางแบบสอบถาม โดยใหครอบคลุมเนื้อหาเสนออาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบ เพื่อให ขอเสนอแนะนํามาปรับปรุง 4. นําแบบสอบถามเสนอผูเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา (content validity) เพื่อปรับปรุงแกไขขอบกพรอง เพื่อความสมบูรณและถูกตองของเนื้อหา โดยใหเทคนิค IOC (index of item objective congruence) แลวนํามาปรับปรุงแกไขอีกครั้ง โดยคัดเลือกเฉพาะขอที่มี คา 0.5 ข้ึนไป 5. นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองใช (try out) กับสถานศึกษาในสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 15 แหง ผูให ขอมูลประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา 1 คน และตัวแทนครูผูสอน 1 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหการปฏิบัติเปนไปอยางถูกตองและเปนระบบ ผูวิจัยดําเนิน ตามข้ันตอนดังตอไปน้ี 1. ผูวิจัยทําหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง เพื่อทํา หนังสือขอความอนุเคราะหไปยังผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 เพ่ือขอความรวมมือจากสถานศึกษาท่ีเปนกลุมตัวอยาง ชวยอนุเคราะหตอบแบบสอบถามในการวิจัยครั้ง น้ี 2. ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บขอมูลและติดตามรวบรวมแบบสอบถามคืน จากสถานศึกษาตาง ๆ ดวยตนเอง การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยวิเคราะหขอมูล โดยดําเนินการตามข้ันตอนดังน้ี 1. การวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยครั้งน้ี มีหนวยการวิเคราะห (unit of analysis) คือสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 ผูใหขอมูลประกอบดวย ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 39 1 คน และตัวแทนครูผูสอน 1 คน รวมทั้งสิ้น 246 คน โดยผูวิจัยนําแบบสอบถามที่ไดรับกลับคืนมาจัด กระทําขอมูลโดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณของขอมูลที่ไดรับคืนมา 2. จัดระบบขอมูล ตรวจรวบรวมคะแนนแบบสอบถามที่สมบูรณ 3. นําขอมูลไปคํานวณหาคาสถิติ โดยใชโปรแกรมสาํ เร็จรูป 2. สถิติท่ีใชในการวิจัย เพ่ือใหการวิเคราะหขอมูลตรงตามขอมูลวัตถุประสงคการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ใชสถิติในการ วิเคราะหขอมูลดังน้ี 1. วิเคราะหขอมูลเก่ียวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งถามรายละเอียดเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาํ แหนงปจจุบัน และขนาดสถานศึกษา ใชคาความถี่ (frequency) และคารอยละ (percentage) 2. การวิเคราะหระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ใชคาเฉลี่ย ( Χ ) และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในภาพรวมและจําแนกเปนรายดาน แลวนําคาเฉลี่ยเปรียบเทียบกับ เกณฑตามแนวคิดของเบสท (Best, 1986, 182 อางถึงใน ประดับ บุญธรรม, 2551, 73) ดังน้ี 4.50 - 5.00 หมายถงึ ระดับความฉลาดทางอารมณ อยใู นระดบั มากท่ีสดุ 3.50 - 4.49 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณ อยใู นระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถึง ระดบั ความฉลาดทางอารมณ อยใู นระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ระดับความฉลาดทางอารมณ อยูใ นระดบั นอย 1.00 - 1.49 หมายถึง ระดบั ความฉลาดทางอารมณ อยูในระดบั นอ ยที่สดุ 3. การวิเคราะหระดับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ใชคาเฉลี่ย ( Χ ) และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ในภาพรวมและจําแนกเปนรายดาน แลวนําคาเฉลี่ยเปรียบเทียบกับเกณฑตามแนวคิด ของเบสท (Best, 1986, 182 อางถึงใน ประดับ บุญธรรม, 2551, 73) ดังน้ี 4.50 - 5.00 หมายถงึ ระดบั ผลการปฏิบตั ิงานของครูผูส อน อยใู นระดับมากที่สุด 3.50 - 4.49 หมายถงึ ระดับผลการปฏิบตั ิงานของครผู ูสอน อยูใ นระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถึง ระดบั ผลการปฏบิ ตั งิ านของครูผูสอน อยใู นระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถงึ ระดับผลการปฏิบัติงานของครผู สู อน อยูในระดบั นอย 1.00 - 1.49 หมายถึง ระดบั ผลการปฏิบตั ิงานของครผู สู อน อยูในระดบั นอยท่สี ุด 4. การวิเคราะหความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการ ปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยการ วิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธจะมีคาระหวาง 1. คา rเปนลบแสดงวา XและYมคี วามสัมพันธใ นทศิ ทางตรงขา มคอื ถา Xเพมิ่ Yจะลดแตถ าX ลด Y จะเพิ่ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook