มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 42 (2) วิเคราะห์ตัวแปรอิสระกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ใน อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี โดยการวิเคราะห์หลายตัวแปร นำตัวแปรที่ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอน วิเคราะห์อย่างหยาบ (Crude analysis) เข้าสู่โมเดล Multivariate และใช้สถติ ิวเิ คราะหถ์ ดถอยพหุโล จสิ ติก (Multiple logistic regression) ในการวิเคราะห์ (3) การวิเคราะห์หาโมเดลที่ดีที่สุด (The best model) ใช้วิธีการตัดตัว แปร ออกทลี ะตวั แปร (Backward elimination) โดยขจัดตวั แปรทมี่ ีค่า p-value >0.05 ออกทลี ะตวั แปร จนกว่าจะไม่สามารถตัดตัวแปรใดๆ ออกจากโมเดลได้เนื่องจากไม่มีตัวแปรใดมีค่า p-value >0.05 ถือเป็นโมเดลสุดท้ายที่จะอธิบายถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผสู้ ูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี (4) การประเมนิ ความเหมาะสมของโมเดล (Goodness of fit) การประเมิน ว่าเป็นโมเดลที่มีความเหมาะสมที่จะทำนายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ด้วย Hosmer-Lemeshow Test พิจารณาค่า p-value มากกว่า 0.05 จึงจะถอื วา่ เปน็ โมเดลทเ่ี หมาะสมในการประมาณค่า 7. การพิทกั ษส์ ิทธิของกลุม่ ตวั อย่าง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้พิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอยา่ งโดยนำโครงการวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในคน สำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี หลังจากการได้รับอนุญาตให้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล (รหัส จริยธรรมการวิจัย COA No. 016/2564) ผู้วิจัยได้พบกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด อธิบาย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขนั้ ตอนในการวิจัย และการเกบ็ รวบรวมข้อมูลแกก่ ลุ่มตัวอย่าง การให้ความ รว่ มมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเป็นไปตามความสมคั รใจของกลมุ่ ตัวอย่าง เมื่อกลมุ่ ตัวอย่างสมัครใจ เข้าร่วมการวิจัย ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างลงนามยินยอมเข้าร่วมการวจิ ัย ในการตอบแบบสอบถามกลุ่ม ตัวอย่างไม่มีการใส่ชื่อและนามสกุลจริงแต่ใช้รหัสแทนกลุ่มตัวอย่างมีอิสระในการให้ข้อมูล กลุ่ม ตัวอย่างมสี ทิ ธ์ิทจ่ี ะถอนตัวหรือยกเลิกจากการวิจัยโดยไมม่ ีผลกระทบใดๆ ตอ่ กล่มุ ตัวอย่าง และข้อมูล หลังตอบแบบสอบถามเรียบร้อยแล้วจะถูกเก็บในซองกระดาษอย่างมิดชิด ข้อมูลทุกอย่างเป็น ความลับ โดยผู้วิจัยจะนำเสนอหรืออภิปรายข้อมูลรายงานการวิจัยในภาพรวม หลังจากสิ้นสุด การศกึ ษาข้อมลู ทงั้ หมดจะถกู ทำลายหลังจากการตพี ิมพ์เผยแพร่เรยี บร้อยแล้ว
43 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (Cross- sectional analytical research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ระดับความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพ และเพื่อศึกษาความสมั พนั ธ์ระหว่างคุณลกั ษณะส่วนบุคคล คณุ ภาพชีวติ กับระดบั ความรอบ รู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้สูงอายุ ในอำเภอ เมือง จังหวัดราชบุรี จำนวน 564 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-state random sampling) โดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนสิงหาคม 2564 ถงึ เดอื นมกราคม 2565 ผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม สำเร็จรูปและนำเสนอผลการวิจัยตามลำดบั ดังน้ี 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เพอ่ื ตอบวตั ถปุ ระสงค์ 4.1.1 ปจั จัยสว่ นบุคคล 4.1.2 ปัจจัยดา้ นคุณภาพชีวิต 4.1.3 ปจั จัยดา้ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 4.1.3.1 พฤติกรรมสุขภาพการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบ บุหร่ี ดืม่ สุรา 4.1.3.2 พฤติกรรมสุขภาพการจัดการความเครียด การใช้ยาอย่างสม เหตุผล และการปอ้ งกนั โรคตดิ เชื้อโควดิ -19 4.1.4 ปจั จยั ด้านความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ 4.1.5 ความชุกของระดับความรอบร้ดู า้ นสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จังหวัด ราชบุรี 4.1.6 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับความรอบรู้ด้าน สุขภาพ 4.1.7 การประเมินความเหมาะสมของโมเดล 4.2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่อื ตอบสมมุติฐาน 4.2.1 ปัจจัยส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุใน อำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี
44 4.2.2 ปัจจัยด้านคุณภาพชีวติ มีความสมั พันธ์กบั ความรอบรดู้ ้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี 4.1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพอ่ื ตอบวตั ถุประสงค์ 4.1.1 ปัจจยั ส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.40 อายุเฉลี่ย 70.54±7.77 ปี อายุ สูงสุด 95 ปี ส่วนใหญ่สถานภาพสมรส ร้อยละ 54.80 การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 75.70 ใช้แรง เช่น ทำไร่ ทำนา ทำสวน รับจ้างทัว่ ไป ร้อยละ 40.60 รองลงมาคืออยูบ่ ้านไม่ได้มีอาชีพ/เปน็ แม่บ้าน ร้อยละ 38.30 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,091.21±7,024.40 บาท (รายได้ต่ำสุด 600 บาทต่อ เดือน, รายได้สูงสุด 50,000 บาทต่อเดือน) สิทธิ์การรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ใช้สิทธ์ิหลักประกัน สขุ ภาพถว้ นหน้า ร้อยละ 85.30 และกลมุ่ ตัวอยา่ งสว่ นใหญม่ โี รคประจำตัว ร้อยละ 64.20 โดยปัจจัย ส่วนบคุ คลนี้มีรายละเอียดดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 จำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามคณุ ลักษณะประชากร (n=564) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ข้อมลู ลกั ษณะสว่ นบุคคล จำนวน ร้อยละ เพศ 178 31.60 ชาย 386 68.40 หญงิ อายุ(ป)ี 281 49.80 นอ้ ยกว่า 70 ปี 193 34.20 70 – 79 ปี 90 16.00 80 ปีข้ึนไป 47 8.30 ������̅ ± S.D. = 70.54±7.77, Min = 60 , Max = 95 309 54.80 สถานภาพสมรส 194 34.40 8 1.40 โสด 6 1.10 สมรส หม้าย หย่าร้าง แยกกนั อยู่
45 ตารางที่ 1 จำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามคณุ ลกั ษณะประชากร (n=564)(ต่อ) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ข้อมูลลกั ษณะส่วนบุคคล จำนวน รอ้ ยละ ระดับการศกึ ษา 37 6.60 ไมไ่ ด้เรียนหนังสอื 427 75.70 ประถมศกึ ษา 37 6.60 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 33 5.90 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 10 1.80 อนุปริญญา/ปวส. 20 3.50 ปริญญาตรขี ้ึนไป อาชพี 229 40.60 ใช้แรง เช่น ทำไร่ ทำนา ทำสวน รับจ้างทั่วไป เป็น ตน้ 48 8.50 ค้าขาย/ทำธรุ กจิ 8 1.40 รบั ราชการ/พนกั งานรฐั วิสาหกิจ 216 38.30 อยู่บ้านไม่ได้มีอาชีพ/เป็นแมบ่ า้ น 63 11.20 อน่ื ๆ รายได้ 361 64.00 น้อยกวา่ 5,000 บาท 147 26.10 5,000 – 10,000 บาท 56 9.90 มากกว่า 10,000 บาท 76 13.50 ������̅ ± S.D. = 5,091.21±7,024.40, Min = 600 , Max = 7 1.20 50,000 481 85.30 สทิ ธ์กิ ารรักษาพยาบาล 202 35.80 สิทธิสวัสดกิ ารการรกั ษาพยาบาลของขา้ ราชการ 362 64.20 สทิ ธปิ ระกันสงั คม สทิ ธหิ ลักประกนั สขุ ภาพ โรคประจำตวั ไมม่ ี มี
46 4.1.2 ปจั จยั ดา้ นคณุ ภาพชีวิต จากการวเิ คราะห์ปัจจยั ด้านคุณภาพชีวิต พบว่า กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ มรี ะดับคุณภาพชีวิต อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 67.70 รองลงมาคือ ระดับดี ร้อยละ 30.90 และระดับไม่ดี ร้อยละ 1.40 ตามลำดบั รายละเอยี ด ดงั ตารางท่ี 2 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตารางท่ี 2 จำนวนและรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอย่าง จำแนกตามระดับคุณภาพชวี ิต (n=564) ระดับคณุ ภาพชีวิต จำนวน รอ้ ยละ คุณภาพชีวิตไมด่ ี 8 1.40 คณุ ภาพชีวติ ปานกลาง 382 67.70 คณุ ภาพชีวิตดี 174 30.90 ������̅ ± S.D. = 89±12.13, Min = 38 , Max = 122 จากการวิเคราะห์ปัจจยั ด้านคุณภาพชีวติ แยกเป็นรายขอ้ พบวา่ ข้อ 1 ท่านพอใจกับสุขภาพ ของท่านในตอนนี้เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 52.30 ข้อ 2 การเจ็บปวด ตามร่างกาย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง ปวดตามตัว ทำให้ท่านไม่สามารถทำในสิ่งที่ต้องการมากน้อย เพียงใด กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 55.90 ขอ้ 3 ท่านมกี ำลังเพยี งพอที่จะทำส่งิ ตา่ ง ๆ ในแต่ละวันไหม (ทั้งเร่อื งงาน หรอื การดำเนินชีวติ ประจำวัน) กล่มุ ตวั อยา่ งสว่ นใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 47.20 ขอ้ 4 ท่านพอใจกับการนอนหลับของทา่ นมากน้อยเพียงใด กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญต่ อบ ปานกลาง รอ้ ยละ 47.50 ขอ้ 5 ท่านร้สู ึกพอใจมากน้อยแค่ไหนทีส่ ามารถทำอะไรๆ ผ่านไปได้ในแต่ละ วัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 43.10 ข้อ 6 ท่านจำเป็นต้องไปรับการ รักษาพยาบาลมากนอ้ ยเพียงใด เพอื่ ทีจ่ ะทำงานหรอื มีชวี ติ อยู่ไปได้ในแต่ละวนั กล่มุ ตัวอย่างส่วนใหญ่ ตอบปานกลาง ร้อยละ 44.10 ข้อ 7 ทา่ นพอใจกบั ความสามารถในการทำงานได้อยา่ งทเี่ คยทำมามาก น้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 45.00 ข้อ 8 ท่านสามารถไปไหนมาไหน ด้วยตนเองได้ดีเพียงใด กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่ตอบปานกลาง รอ้ ยละ 34.20 ขอ้ 9 ทา่ นรู้สึกพึงพอใจ ในชีวิต (เชน่ มคี วามสุข ความสงบมีความหวัง) มากน้อยเพยี งใด กลุ่มตัวอยา่ งสว่ นใหญต่ อบปานกลาง รอ้ ยละ 45.60 ข้อ 10 ท่านมสี มาธิในการทำงานต่างๆ ดเี พยี งใด กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อย ละ 44.50 ขอ้ 11 ท่านรสู้ กึ พอใจในตนเองมากนอ้ ยแคไ่ หน กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญต่ อบปานกลาง รอ้ ย ละ 42.00 ข้อ 12 ทา่ นยอมรับรปู รา่ งหน้าตาของตวั เองได้ไหม กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญต่ อบมาก รอ้ ยละ 37.90 ข้อ 13 ท่านมีความรู้สึกไม่ดี เช่น รู้สึกเหงา เศร้า หดหู่ สิ้นหวังวิตกกังวล บ่อยแค่ไหน กลุ่ม ตวั อยา่ งส่วนใหญ่ตอบเล็กน้อย ร้อยละ 39.00 ข้อ 14 ท่านรู้สกึ วา่ ชีวิตท่านมีความหมายมากน้อยแค่
47 ไหน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญต่ อบมาก ร้อยละ 37.90 ข้อ 15 ท่านพอใจต่อการผูกมิตรหรือเขา้ กับคน อื่น อย่างที่ผ่านมาแค่ไหน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 46.60 ข้อ 16 ท่านพอใจกับการ ชว่ ยเหลอื ทเ่ี คยได้รบั จากเพ่อื นๆ แคไ่ หน กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 42.90 ขอ้ 17 ท่าน พอใจในชีวิตทางเพศของทา่ นแค่ไหน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไมเ่ ลย ร้อยละ 64.20 ข้อ 18 ท่าน รู้สึกว่าชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยดีไหมในแต่ละวัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญต่ อบมาก ร้อยละ 43.40 ขอ้ 19 ท่านพอใจกบั สภาพบ้านเรอื นทอ่ี ยู่ตอนนม้ี ากนอ้ ยเพียงใด กลมุ่ ตัวอย่างส่วนใหญต่ อบมาก รอ้ ย ละ 48.40 ข้อ 20 ท่านมีเงินพอใช้จ่ายตามความจำเป็นมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ ปานกลาง ร้อยละ 53.50 ข้อ 21 ทา่ นพอใจท่ีจะสามารถไปใช้บรกิ ารสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 47.50 ข้อ 22 ท่านได้รู้เรื่องราวขา่ วสารท่ีจำเป็นใน ชีวิตแต่ละวันมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 50.00 ข้อ 23 ท่านมี โอกาสได้พักผ่อนคลายเครยี ดมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 50.40 ข้อ 24 สภาพแวดล้อมดีตอ่ สุขภาพของท่านมากน้อยเพยี งใด กลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 47.20 ข้อ 25 ท่านพอใจกับการเดินทางไปไหนมาไหนของท่าน (หมายถึงการคมนาคม) มากน้อย เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 37.90 และ ข้อ 26 ท่านคิดว่าท่านมีคุณภาพ ชีวิต (ชีวิตความเป็นอยู่) อยู่ในระดับใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 54.30 รายละเอยี ด ดังตารางที่ 3 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 3 จำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามปจั จัยดา้ นคณุ ภาพชีวติ (n=564) ปจั จยั ด้านคณุ ภาพชวี ิต มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง เลก็ น้อย ไมเ่ ลย n(%) n(%) n(%) n(%) n(%) 26 1. ท่านพอใจกับสุขภาพของท่าน 28 180 295 35 (4.60) 28 ในตอนนเ้ี พยี งใด (5.00) (31.90) (52.30) (6.00) (5.00) 2. การเจ็บปวดตามร่างกาย เช่น ปวด 28 74 515 119 8 (1.40) หัว ปวดท้อง ปวดตามตัว ทำให้ท่านไม่ (5.00) (13.10) (55.90) (21.10) สามารถทำในสิ่งที่ต้องการมากน้อย เพยี งใด 3. ท่านมกี ำลงั เพยี งพอที่จะทำส่งิ ต่าง ๆ 45 162 266 83 ในแต่ละวันไหม (ทั้งเรื่องงาน หรือการ (8.00) (28.70) (47.20) (14.70) ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน)
48 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านคุณภาพชีวิต (n=564) (ต่อ) ปัจจัยด้านคณุ ภาพชวี ิต มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง เล็กน้อย ไม่เลย n(%) n(%) n(%) n(%) n(%) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 40 16 4. ท่านพอใจกับการนอนหลับของท่าน 35 205 268 (7.10) (2.80) 35 6 มากนอ้ ยเพยี งใด (6.20) (36.30) (47.50) (6.20) (1.10) 136 77 5. ท่านรู้สึกพอใจมากน้อยแค่ไหนที่ 61 219 243 (24.10) (13.70) สามารถทำอะไรๆ ผ่านไปไดใ้ นแต่ละวัน (10.80) (38.80) (43.10) 50 16 (8.90) (2.80) 6. ท ่ า น จ ำ เ ป ็ น ต ้ อ ง ไ ป ร ั บ ก า ร 25 77 249 71 36 ร ัก ษาพ ยาบาลมากน ้อยเพียงใด (4.40) (13.70) (44.10) (12.60) (6.40) เพื่อที่จะทำงานหรือมชี ีวติ อยู่ไปได้ในแต่ 24 8 (4.30) (1.40) ละวัน 47 8 7. ท่านพอใจกับความสามารถในการ 36 208 254 (8.30) (1.40) 34 ทำงานได้อย่างที่เคยทำมามากน้อย (6.40) (36.90) (45.00) (6.00) 8 67 (1.40) เพียงใด (11.90) 14 220 (2.50) 8. ท่านสามารถไปไหนมาไหนด้วย 109 155 193 (39.00) 167 (29.60) ตนเองไดด้ เี พยี งใด (19.30) (27.50) (34.20) 9. ท่านรู้สึกพึงพอใจในชีวิต (เช่น มี 56 219 257 ความสุข ความสงบมีความหวัง) มาก (9.90) (38.80) (45.60) นอ้ ยเพยี งใด 10. ท่านมีสมาธิในการทำงานต่างๆ ดี 21 251 237 เพยี งใด (3.70) (44.50) (42.00) 11. ทา่ นรูส้ กึ พอใจในตนเองมากน้อยแค่ 63 222 237 ไหน (11.20) (39.40) (42.00) 12. ท่านยอมรับรูปร่างหน้าตาของ 77 214 192 ตัวเองไดไ้ หม (13.70) (37.90) (34.00) 13. ท่านมีความรู้สกึ ไม่ดี เช่น รู้สึกเหงา 19 22 136 เศร้า หดหู่ สิ้นหวังวิตกกังวล บ่อยแค่ (3.40) (3.90) (24.10) ไหน
49 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านคุณภาพชีวิต (n=564) (ต่อ) ปัจจยั ด้านคณุ ภาพชวี ิต มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง เล็กน้อย ไมเ่ ลย n(%) n(%) n(%) n(%) n(%) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 30 8 14. ท่านรู้สึกว่าชีวิตท่านมีความหมาย 113 214 199 (5.30) (1.40) 46 8 มากนอ้ ยแค่ไหน (20.00) (37.90) (35.30) (8.20) (1.40) 34 26 15. ท่านพอใจตอ่ การผกู มติ รหรอื เขา้ กับ 98 263 149 (6.00) (4.60) 52 362 คนอนื่ อยา่ งทผี่ ่านมาแค่ไหน (17.40) (46.60) (26.40) (9.20) (64.20) 18 12 16. ท่านพอใจกับการช่วยเหลือที่เคย 75 242 187 (3.20) (2.10) 13 4 ไดร้ ับจากเพ่ือนๆ แคไ่ หน (13.30) (42.90) (33.20) (2.30) (0.70) 75 10 17. ท่านพอใจในชีวิตทางเพศของท่าน 15 47 88 (13.30) (1.80) 22 2 แค่ไหน (2.70) (8.30) (15.60) (3.90) (0.40) 27 4 18. ท่านรู้สึกว่าชีวิตมีความมั่นคง 72 245 217 (4.80) (0.70) 46 9 ปลอดภยั ดีไหมในแตล่ ะวนั (12.80) (43.40) (38.50) (8.20) (1.60) 17 6 19. ท่านพอใจกับสภาพบ้านเรือนที่อยู่ 153 273 121 (3.00) (1.10) 60 19 ตอนน้มี ากนอ้ ยเพียงใด (27.10) (48.40) (21.50) (10.60) (3.40) 20. ท่านมีเงินพอใช้จ่ายตามความจำ 27 150 302 เปน็ มากน้อยเพยี งใด (4.80) (26.60) (53.50) 21. ท่านพอใจทีจ่ ะสามารถไปใช้บริการ 52 268 220 สาธารณสขุ ไดต้ ามความจำเป็นเพยี งใด (9.20) (47.50) (39.00) 22. ท่านได้รู้เรื่องราวข่าวสารที่จำเป็น 55 196 282 ในชวี ติ แต่ละวันมากน้อยเพียงใด (9.80) (34.80) (50.00) 23. ทา่ นมโี อกาสได้พักผอ่ นคลายเครียด 56 169 284 มากน้อยเพียงใด (9.90) (30.00) (50.40) 24. สภาพแวดล้อมดีต่อสุขภาพของ 99 226 176 ทา่ นมากน้อยเพยี งใด (17.60) (47.20) (31.20) 25. ทา่ นพอใจกับการเดินทางไปไหนมา 59 212 214 ไหนของท่าน (หมายถึงการคมนาคม) (10.50) (37.60) (37.90) มากนอ้ ยเพยี งใด
50 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของกล่มุ ตัวอย่าง จำแนกตามปจั จยั ด้านคณุ ภาพชวี ิต (n=564) (ต่อ) ปัจจยั ด้านคุณภาพชีวิต มากที่สดุ มาก ปานกลาง เล็กนอ้ ย ไมเ่ ลย n(%) n(%) n(%) n(%) n(%) 4 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง26. ท่านคิดว่าท่านมีคณุ ภาพชวี ิต (ชีวิต 52 188 306 14(0.70) ความเปน็ อย่)ู อย่ใู นระดบั ใด (9.20) (33.30) (54.30) (2.50) 4.1.3 ปจั จัยด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพ จากการวเิ คราะห์ปัจจยั ดา้ นพฤตกิ รรมสุขภาพ พบว่า กลมุ่ ตวั อย่างสว่ นใหญ่ มีระดับ พฤติกรรมสุขภาพดีมาก ร้อยละ 52.30 รองลงมาคือ ระดับดี ร้อยละ 39.00 ระดับพอใช้ ร้อยละ 8.00 และระดับไม่ดี รอ้ ยละ 0.70 ตามลำดบั รายละเอียด ดงั ตารางที่ 4 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของกล่มุ ตวั อยา่ ง จำแนกตามระดบั พฤติกรรมสุขภาพ (n=564) ระดับพฤติกรรมสขุ ภาพ จำนวน ร้อยละ พฤติกรรมสขุ ภาพไมด่ ี 4 0.70 พฤติกรรมสขุ ภาพพอใช้ 45 8.00 พฤติกรรมสขุ ภาพดี 220 39.00 พฤติกรรมสขุ ภาพดมี าก 295 52.30 ������̅ ± S.D. = 68.13±5.60, Min = 42 , Max = 82 4.1.3.1 พฤติกรรมสขุ ภาพการบรโิ ภคอาหาร การออกกำลงั กาย การสบู บุหร่ี ดื่ม สุรา จากการวิเคราะหป์ จั จัยด้านพฤตกิ รรมสุขภาพการบริโภคอาหาร การออก กำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุราแยกเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ 1 ท่านกินผักและผลไม้สด ที่หลากหลาย อยา่ งน้อยวนั ละครงึ่ กโิ ลกรมั กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบ 4–5 วนั /สัปดาห์ ร้อยละ 31.70 ข้อ 2 ท่าน กินอาหารทีม่ ีไขมันสูง เช่น อาหารทอด กะทิ เนื้อติดมัน มีไขมันผสม เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ ตอบ 3 วนั /สัปดาห์ รอ้ ยละ 38.50 ข้อ 3 ท่านกินอาหารหวาน หรือผลไม้ทมี่ ีนำ้ ตาลสงู กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ตอบ 3 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 40.60 ข้อ 4 ท่านกินอาหารรสเค็ม หรือเติมน้ำปลาเพิ่มใน
51 อาหาร กล่มุ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบ 3 วัน/สัปดาห์ รอ้ ยละ 33.50 ข้อ 5 ทา่ นกินอาหารปรุงสุก สะอาด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ 6–7 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 86.20 ข้อ 6 ท่านออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ประมาณ 30 นาที จนร้สู ึกเหน่ือยหรอื มี เหง่ือออก กล่มุ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบ 3 วนั /สัปดาห์ ร้อยละ 30.70 ข้อ 7 ท่านได้เคลื่อนไหวรา่ งกายต่อเนื่องจากการทำกิจวัตรประจำวันประมาณ 30 นาที เช่น เดินไปทำงาน ทำงานบ้าน ทำงานโดยใช้แรง เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ 6–7 วัน/สัปดาห์ รอ้ ยละ 36.20 ข้อ 8 ทา่ นสูบบหุ รห่ี รอื ยาสูบ กลมุ่ ตวั อย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ รอ้ ยละ 88.10 ข้อ 9 ท่านอยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่กำลังสูบบุหรี่หรือยาสูบ กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญต่ อบไมป่ ฏิบัติ ร้อยละ 79.30 และ ข้อ 10 ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 85.30 รายละเอียด ดงั ตารางท่ี 5 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพการ บรโิ ภคอาหาร การออกกำลังกาย การสบู บหุ ร่ี ด่ืมสรุ า (n=564) ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ 6–7 วนั / 4–5 3 วัน/ 1–2 ไม่ สัปดาห์ วนั / สปั ดาห์ วัน/ ปฏิบตั ิ n(%) สัปดาห์ n(%) สปั ดาห์ n(%) n(%) n(%) 139 126 19 1. ท ่ า น ก ิ น ผ ั ก แ ล ะ ผ ล ไ ม ้ ส ด ท่ี 101 179 (24.60) (22.30) (3.40) หลากหลาย อย่างน้อยวันละครึ่ง (17.90) (31.70) 217 197 29 (38.50) (34.90) (5.10) กิโลกรัม 229 196 45 2. ท่านกินอาหารที่มีไขมันสูง เช่น 17 104 (40.60) (34.80) (8.00) 189 122 116 อาหารทอด กะทิ เนื้อติดมัน มีไขมัน (3.00) (18.40) (33.50) (21.60) (20.60) ผสม เปน็ ตน้ 29 8 2 (5.10) (1.40) (0.40) 3. ท่านกินอาหารหวาน หรือผลไม้ที่มี 9 85 นำ้ ตาลสงู (1.60) (15.10) 4. ท่านกินอาหารรสเค็ม หรือเติม 57 80 นำ้ ปลาเพิ่มในอาหาร (10.10) (14.20) 5. ท่านกนิ อาหารปรงุ สุก สะอาด 486 39 (86.20) (6.90)
52 ตารางท่ี 5 จำนวนและร้อยละของกลุม่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามปัจจัยด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพการ บริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบหุ ร่ี ดม่ื สรุ า (n=564)(ต่อ) ปจั จยั ด้านพฤติกรรมสุขภาพ 6–7 วัน/ 4–5 3 วัน/ 1–2 ไม่ สปั ดาห์ วัน/ สัปดาห์ วัน/ ปฏิบตั ิ n(%) สปั ดาห์ n(%) สปั ดาห์ n(%) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง n(%) n(%) 173 119 120 6. ท่านออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง 75 77 (30.70) (21.10) (21.30) ประมาณ 30 นาที จนรสู้ ึกเหน่ือยหรือมี (13.30) (13.70) 132 66 32 (23.40) (11.70) (5.70) เหงอ่ื ออก 15 10 497 7. ท่านได้เคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่อง 204 130 (2.70) (1.80) (88.10) 39 28 447 จากการทำกิจวัตรประจำวันประมาณ (36.20) (23.00) (6.90) (5.00) (79.30) 28 31 481 30 นาที เช่น เดนิ ไปทำงาน ทำงานบ้าน (5.00) (5.50) (85.30) ทำงานโดยใช้แรง เป็นต้น 8. ทา่ นสบู บหุ ร่ีหรอื ยาสูบ 33 9 (5.90) (1.60) 9. ท่านอยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่กำลังสูบบุหร่ี 31 19 หรอื ยาสบู (5.50) (3.40) 10. ท ่ า น ด ื ่ ม ส ุ ร า ห ร ื อเ ค ร ื่ อง ดื่ม 16 8 แอลกอฮอล์ (2.80) (1.40) 4.1.3.2 พฤติกรรมสขุ ภาพการจดั การความเครยี ด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และ การปอ้ งกนั โรคตดิ เชื้อโควิด-19 จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านพฤติกรรมสขุ ภาพการจัดการความเครียด การ ใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการป้องกันโรคติดเชือ้ โควิด-19แยกเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ 11 เมื่อเครียด วิตกกังวล หรือหงุดหงิดแล้วยากที่จะผ่อนคลายลงได้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบน้อยครั้ง ร้อยละ 68.10 ข้อ 12 มีปัญหาการนอน นอนไม่หลับหรือนอนมาก กลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบน้อยคร้ัง ร้อย ละ 60.50 ข้อ 13 ท่านอ่านฉลากยาให้เข้าใจ ก่อนตัดสินใจใช้ยา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบทุกคร้งั รอ้ ยละ 77.00 ข้อ 14 เม่ือปว่ ย ทา่ นกินยาของผู้อนื่ ทมี่ ีอาการคล้ายกนั โดยไม่มีคำส่งั จากแพทย์ กลุ่ม
53 ตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 57.80 ข้อ 15 ท่านหยุดกินยาแก้อักเสบหรือยาฆ่าเชื้อเม่ือ รู้สึกว่าอาการดีขึ้น แม้ว่าจะยังกินยาไม่ครบตามกำหนดก็ตาม กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ รอ้ ยละ 44.70 ข้อ 16 ล้างมอื ดว้ ยสบ่แู ละน้ำสะอาด หรือใชแ้ อลกอฮอลเ์ จลลา้ งมือ หลงั จากจบั สง่ิ ของ สาธารณะ เชน่ ราวบนั ได ท่ีจบั ประตู ป่มุ กดลิฟท์ เปน็ ต้น กล่มุ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ตอบทุกคร้ัง ร้อยละ 78.20 ข้อ 17 สวมใส่หน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย เม่ือออกจากบ้าน กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่ตอบ ทุกครั้ง ร้อยละ 92.40 ข้อ 18 ยืน นั่ง เว้นระยะห่างจากผู้อื่น อย่างน้อย 1 เมตร หรือ 1 ช่วงแขน กลุม่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญต่ อบทุกครัง้ รอ้ ยละ 80.30 และ ข้อ 19 ใชข้ องส่วนตวั เชน่ จาน ชอ้ นส้อม แกว้ นำ้ ผา้ เช็ดตัว ฯลฯ ร่วมกบั ผ้อู ื่น กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 41.70 รายละเอียด ดัง ตารางที่ 6 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพการ จัดการความเครียด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 (n=564) ปจั จยั ด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ทุกครงั้ บอ่ ยครัง้ นอ้ ยครั้ง ไมป่ ฏบิ ัติ n(%) n(%) n(%) n(%) 11. เมื่อเครียด วิตกกังวล หรือหงุดหงิดแล้ว 16 94 384 70 ยากทีจ่ ะผอ่ นคลายลงได้ (2.80) (16.70) (68.10) (12.40) 12. มีปัญหาการนอน นอนไม่หลับหรือนอน 17 141 341 65 มาก (3.00) (25.00) (60.50) (11.50) 13. ท่านอา่ นฉลากยาให้เข้าใจ ก่อนตัดสินใจใช้ 434 82 42 6 ยา (77.00) (14.50) (7.40) (1.10) 14. เมื่อป่วย ท่านกินยาของผู้อื่นที่มีอาการ 70 21 147 326 คลา้ ยกนั โดยไมม่ ีคำสงั่ จากแพทย์ (12.40) (3.70) (26.10) (57.80) 15. ท่านหยดุ กนิ ยาแกอ้ กั เสบหรือยาฆ่าเช้ือเม่ือ 92 44 176 252 รู้สกึ ว่าอาการดีขึ้น แม้ว่าจะยังกินยาไมค่ รบตาม (16.30) (7.80) (31.20) (44.70) กำหนดก็ตาม
54 ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพการ จัดการความเครียด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 (n=564) ปจั จัยด้านพฤติกรรมสุขภาพมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงทกุ ครั้งบ่อยครั้งนอ้ ยครงั้ไม่ปฏบิ ัติ n(%) n(%) n(%) n(%) 16. ล้างมือด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใช้ 441 88 32 3 แอลกอฮอล์เจลล้างมือ หลังจากจับสิ่งของ (78.20) (15.60) (5.70) (0.50) สาธารณะ เช่น ราวบันได ที่จับประตู ปุ่มกด ลิฟท์ เป็นต้น 521 31 10 2 17. สวมใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย (92.40) (5.50) (1.80) (0.40) เม่ือออกจากบ้าน 453 97 12 18. ยืน นง่ั เวน้ ระยะห่างจากผูอ้ ืน่ อยา่ งนอ้ ย 1 (80.30) (17.20) (2.10) 2 เมตร หรอื 1 ช่วงแขน 174 36 119 (0.40) 19. ใช้ของส่วนตัว เช่น จาน ช้อนส้อม แก้วนำ้ (30.90) (6.40) (21.10) 235 ผา้ เช็ดตวั ฯลฯ รว่ มกับผอู้ ืน่ (41.70) 4.1.4 ปจั จัยดา้ นความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ จากการวเิ คราะหป์ ัจจัยดา้ นความรอบรดู้ ้านสุขภาพ พบว่า กลุ่มตวั อย่างสว่ นใหญ่ มี ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพพอใช้ ร้อยละ 35.30 รองลงมาคือ ระดับดี ร้อยละ 28.50 ระดับไม่ดี รอ้ ยละ 23.90 และระดับดมี าก ร้อยละ 12.20 ตามลำดบั รายละเอยี ด ดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ (n=564) ระดบั ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ จำนวน รอ้ ยละ ความรอบรดู้ ้านสุขภาพไม่ดี 135 23.90 ความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพพอใช้ 199 35.30 ความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพดี 161 28.50 ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพดมี าก 69 12.20
ระดบั ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ 55 ������̅ ± S.D. = 33±6.45, Min = 10 , Max = 50 จำนวน รอ้ ยละ จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพแยกเป็นรายข้อ พบวา่ ข้อมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 สามารถสบื คน้ ขอ้ มูลสุขภาพจากแหลง่ ตา่ งๆ ไดต้ รงกบั สภาพปัญหาที่ท่านและคนในครอบครัวของ ทา่ นเป็นอยู่ กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญต่ อบปานกลาง รอ้ ยละ 50.20 ข้อ 2 สามารถไปพบแพทย์ บุคลากร สาธารณสุข หรือผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ตามอาการหรือสงสัยว่ามีอาการป่วยจากโรคที่ท่านกังวล กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญต่ อบมาก รอ้ ยละ 43.80 ขอ้ 3 สามารถเข้าใจวิธีการปฏิบัติตามคำแนะนำในสื่อ สขุ ภาพเกย่ี วกบั การดแู ลสุขภาพและป้องกนั โรคได้ กลุม่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 44.50 ข้อ 4 สามารถอ่านและเข้าใจในผลการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ดัชนีมวลกาย (BMI), ระดับความดัน โลหติ (HT), ระดบั น้ำตาลในเลือด (DM) เปน็ ต้น กลมุ่ ตวั อย่างสว่ นใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 46.60 ข้อ 5 สามารถซักถามข้อมูลทางสุขภาพกับผู้ให้บริการสุขภาพเพื่อนำมาดูแลสุขภาพของท่านให้ดี ยิง่ ข้ึน กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 41.00 ข้อ 6 แลกเปลี่ยนความรู้หรือแนวทางการ ปฏิบัติของตนเองกับผู้ให้บริการด้านสุขภาพหรือผู้อื่นได้ เช่น แนวการปฏิบัติป้องกันโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวาน การติดเชื้อโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 41.10 ข้อ 7 เปรียบเทียบข้อมูลด้านสุขภาพจากหลายแหลง่ กอ่ นตัดสินใจทำตาม กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบปาน กลาง ร้อยละ 45.20 ข้อ 8 พิจารณาข้อดีข้อเสียของข้อมูลสุขภาพที่ได้รับด้วยเหตุผล ก่อนที่จะ นำมาใช้ตาม ถึงแม้จะมคี นทีใ่ ช้แล้วได้ผล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 46.50 ข้อ 9 ควบคุม กำกบั สุขภาพตนเอง เช่น นำ้ หนัก ตรวจสุขภาพประจำปี มองโลกในแงบ่ วก ลดอาหารทำลาย สุขภาพ ออกกำลังกาย เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 43.30 และ ข้อ 10 วางแผน ทำกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของตนเอง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง รอ้ ยละ 44.90 รายละเอียด ดงั ตารางท่ี 8
56 ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ (n=564) ปัจจัยด้านความรอบรดู้ ้านสุขภาพ มาก มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อย ที่สุด n(%) n(%) n(%) ที่สดุ n(%) n(%) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1. สามารถสืบค้นข้อมูลสุขภาพจาก 23 169 283 60 29 แหล่งต่างๆ ได้ตรงกับสภาพปัญหาที่ (4.10) (30.00) (50.20) (10.60) (5.10) ท่านและคนในครอบครัวของท่าน เป็นอยู่ 2. สามารถไปพบแพทย์ บุคลากร 43 247 210 53 11 สาธารณสุข หรอื ผู้ให้บรกิ ารด้านสุขภาพ (7.60) (43.80) (37.20) (9.40) (2.00) ตามอาการหรือสงสัยว่ามีอาการป่วย จากโรคท่ีท่านกงั วล 3. สามารถเข้าใจวิธีการปฏิบัติตาม 31 251 231 42 9 คำแนะนำในส่ือสุขภาพเกี่ยวกบั การดูแล (5.50) (44.50) (41.00) (7.40) (1.60) สุขภาพและป้องกันโรคได้ 4. สามารถอ่านและเข้าใจในผลการ 26 115 263 105 55 ตรวจสขุ ภาพเบือ้ งต้น เชน่ ดัชนมี วลกาย (4.60) (20.40) (46.60) (18.60) (9.80) (BMI), ระดับความดันโลหิต (HT), ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด (DM) เปน็ ตน้ 5. สามารถซักถามข้อมูลทางสุขภาพกับ 43 226 231 58 6 ผู้ให้บริการสุขภาพเพื่อนำมาดูแล (7.60) (40.10) (41.00) (10.30) (1.10) สุขภาพของทา่ นใหด้ ีย่ิงขนึ้ 6. แลกเปลี่ยนความรู้หรือแนวทางการ 47 222 232 51 12 ปฏิบัติของตนเองกับผู้ให้บริการด้าน (8.30) (39.40) (41.10) (9.00) (2.10) สุขภาพหรือผอู้ น่ื ได้ เชน่ แนวการปฏิบัติ ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน การตดิ เชอื้ โควดิ -19 7. เปรียบเทียบข้อมูลด้านสุขภาพจาก 23 196 255 70 20 หลายแหล่งก่อนตดั สินใจทำตาม (4.10) (34.80) (45.20) (12.40) (3.50)
57 ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามปัจจัยด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ (n=564)(ต่อ) ปัจจยั ด้านความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพ มาก มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อย ทสี่ ุด n(%) n(%) n(%) ทส่ี ดุ n(%) n(%) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 8. พิจารณาข้อดีข้อเสียของข้อมูล 37 201 262 55 9 สุขภาพที่ได้รับด้วยเหตุผล ก่อนที่จะ (6.60) (35.60) (46.50) (9.80) (1.60) นำมาใชต้ าม ถงึ แม้จะมีคนทใี่ ชแ้ ลว้ ได้ผล 9. ควบคุม กำกับสุขภาพตนเอง เช่น 46 187 244 60 27 น้ำหนัก ตรวจสุขภาพประจำปี มองโลก (8.20) (33.20) (43.30) (10.60) (4.80) ในแงบ่ วก ลดอาหารทำลายสุขภาพ ออก กำลังกาย เปน็ ต้น 10. วางแผน ทำกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อ 35 193 253 54 29 การมสี ุขภาพท่ดี ขี องตนเอง (6.20) (34.20) (44.90) (9.60) (5.10) 4.1.5 ความชุกของระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี ความชุกของความรอบรู้ดา้ นสุขภาพระดับไม่ดีของผู้สูงอายใุ นอำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี รอ้ ยละ 59.20 (95%CI 55.50 – 63..30) ดงั ตารางที่ 9 ตารางท่ี 9 ความชุกของระดบั ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จังหวดั ราชบุรี (n=564) ระดบั ความรอบรดู้ ้านสุขภาพ จำนวน ร้อยละ 95%CI ระดบั ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพไมด่ ี 334 59.20 55.50 – 63.30 ระดับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพดี 230 40.80 37.70 – 44.50 4.1.6 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจัยสว่ นบคุ คล คณุ ภาพชีวติ กับความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ ในการศกึ ษาเพอ่ื หาปัจจัยทม่ี ีความสัมพนั ธ์กับความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี มีลำดับขั้นตอนดังนี้
58 4.1.6.1 การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์อย่างหยาบ (Crude Analysis) โดยวิธีการ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ได้แก่ ปัจจัยปัจจัยส่วนบุคคล และ คุณภาพชีวิต โดยทำการวิเคราะห์ทีละคู่ โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดจากตัวแปรอื่น ซึ่งจะได้ค่า Crude OR และคา่ p-value มาพิจารณากลัน่ กรองตัวแปรอิสระที่มีความสัมพนั ธ์กับความรอบรู้ด้าน สุขภาพ โดยคัดเลือกตัวแปรอิสระที่มีค่า p-value น้อยกว่า 0.25 เข้าโมเดลการวิเคราะห์หา ความสมั พนั ธ์แบบหลายตวั แปร (Multivariate Analysis) ของความรอบรูด้ ้านสุขภาพ ดงั น้ี ตวั แปรอสิ ระด้านคุณลกั ษณะส่วนบุคคลและคุณภาพชีวติ ท่ีมคี วามสัมพันธ์กับความ รอบรู้ด้านสขุ ภาพ และคดั เลือกเข้าโมเดลเพอ่ื วเิ คราะห์หาความสัมพนั ธ์แบบหลายตัวแปร ไดแ้ ก่ อายุ; 70 – 79 ปี (OR=1.28; 95%CI: 0.88-1.86; p-value = 0.086) 80 ปีขึ้นไป (OR=1.71; 95%CI: 1.04-2.82; p-value = 0.086) ระดับการศึกษา; ประถมศึกษา (OR=2.65; 95%CI: 1.14-6.19; p- value = 0.079) ไม่ได้เรียนหนังสือ (OR=1.23; 95%CI: 0.79-1.90; p-value = 0.079) อาชีพ; คา้ ขาย/ทำธุรกจิ /รับราชการ/พนกั งานรัฐวิสาหกิจ/อ่นื ๆ (OR=0.88; 95%CI: 1.14-6.19; p-value = 0.169) อยูบ่ า้ นไม่ไดม้ ีอาชพี /เป็นแม่บา้ น (OR=1.23; 95%CI: 1.14-6.19; p-value = 0.169) รายได้ ต่อเดือน; น้อยกว่า 5,000 บาท (OR=2.45; 95%CI: 1.72-3.49; p-value = 0.000) โรคประจำตัว; มีโรคประจำตัว (OR=1.54; 95%CI: 1.09-2.18; p-value = 0.015) ระดับคุณภาพชีวิต; ระดับ คุณภาพชวี ิตไม่ดี (OR=5.89; 95%CI: 3.98-8.70; p-value = 0.000) ดังตารางท่ี 10 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 10 ปจั จยั ทีม่ ีความสัมพันธก์ ับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี (วเิ คราะห์ทลี ะค่)ู ปจั จยั จำนวน รอ้ ยละ Crude OR 95%CI P-value 0.940 เพศ 31.40 1 0.086 68.60 1.01 0.71-1.46 ชาย 105 0.73 46.40 1 หญิง 229 35.30 1.28 0.88-1.86 18.30 1.71 1.04-2.82 อายุ(ปี) 44.60 1 นอ้ ยกวา่ 70 ปี 155 70 – 79 ปี 118 80 ปีขึ้นไป 61 สถานภาพสมรส โสด/หม้าย/หย่าร้าง 149 แยกกันอยู่
59 ตารางที่ 10 ปจั จยั ทม่ี ีความสมั พันธก์ บั ความรอบร้ดู ้านสุขภาพของผสู้ งู อายใุ นอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี (วเิ คราะห์ทลี ะค)ู่ (ต่อ) ปจั จัย จำนวน ร้อยละ Crude OR 95%CI P-value 55.40 1.06 0.76-1.49 0.079 สมรส 185 16.20 75.40 1 0.169 ระดับการศึกษามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง8.402.65 1.14-6.19 40.10 1.23 0.79-1.90 มัธยมศึกษาขน้ึ ไป 54 18.90 1 ประถมศกึ ษา 252 41.00 ไม่ได้เรียนหนังสือ 28 27.50 อาชีพ 72.50 13.50 ใช้แรง เช่น ทำไร่ ทำ 134 86.50 นา ทำสวน รับจ้าง 31.70 ทัว่ ไป 68.30 ค้าขาย/ทำธุรกิจ/รับ 63 0.80 1.14-6.19 ราชการ/พนักงาน รัฐวิสาหกจิ /อืน่ ๆ อยู่บ้านไม่ได้มีอาชีพ/ 137 1.23 0.79-1.90 เปน็ แมบ่ ้าน 0.000 1 รายได้ 2.45 1.72-3.49 5,000 บาทขึน้ ไป 92 0.316 1 น้อยกวา่ 5,000 บาท 242 สทิ ธ์กิ ารรกั ษาพยาบาล สิทธิสวัสดิการการ 45 รักษาพยาบาลของ ข ้ า ร า ช ก า ร / ส ิ ท ธิ ประกันสงั คม ส ิ ท ธ ิ ห ล ั ก ป ร ะ กั น 289 1.27 0.79-2.03 สุขภาพ 0.015 1 โรคประจำตัว 1.54 1.09-2.18 ไมม่ ี 106 มี 228
60 ตารางท่ี 10 ปจั จยั ทีม่ คี วามสมั พันธก์ ับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผู้สงู อายใุ นอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี (วิเคราะห์ทีละค่)ู (ตอ่ ) ปจั จัย จำนวน รอ้ ยละ Crude OR 95%CI P-value ระดบั คณุ ภาพชวี ติ 0.000 53 15.90 1 ดี 281 84.10 5.89 3.98-8.70 ไม่ดี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4.1.6.2 การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์หลายตัวแปร (Multivariate) ใช้สถิติ วเิ คราะหถ์ ดถอยพหุโลจสิ ติก (Multiple logistic regression) ดว้ ยเทคนคิ การวิเคราะหแ์ บบขจดั ออก ทีละตัว (Backward elimination) พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ได้แก่ รายไดต้ ่อเดือน; น้อยกว่า 5,000 บาท (OR=2.17; 95%CI: 1.44-3.27; p-value = 0.000) และระดับ คณุ ภาพชวี ติ ; ระดับคณุ ภาพชวี ิตไมด่ ี (OR=5.62; 95%CI: 3.69-8.57; p-value = 0.000) ดังตารางที่ 11 ตารางท่ี 11 ปัจจยั ทีม่ ีความสมั พนั ธ์กับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผ้สู ูงอายใุ นอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี ปจั จยั จำนวน รอ้ ยละ Crude OR Adj. OR 95%CI P-value รายได้ 0.000 27.50 1 1 5,000 บาทขนึ้ ไป 92 72.50 2.45 2.17 1.44-3.27 น้อยกว่า 5,000 242 บาท 15.90 0.000 ระดับคุณภาพชวี ิต 84.10 11 ดี 53 5.89 5.62 3.69-8.57 ไม่ดี 281 4.1.7 การประเมินความเหมาะสมของโมเดล การประเมินว่าเป็นโมเดลทม่ี ีความเหมาะสม (Goodness of fit) ทีจ่ ะทำนายปัจจัย ทมี่ ีความสมั พนั ธก์ บั ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพของผู้สงู อายใุ นอำเภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี ด้วย Hosmer-
61 Lemeshow Test โดยพิจารณาค่า p-value ซึ่งมากกว่า 0.05 ถือว่าเป็นโมเดลที่เหมาะสมในการ ประมาณคา่ ดังตารางที่ 12 ตารางที่ 12 แสดงการทดสอบความเหมาะสมของแบบจำลองด้วยสถิติ Hosmer and Lemeshow มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง Step Chi-square df Sig. 1 13.82 8 0.087 4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพอื่ ตอบสมมุตฐิ าน 4.2.1 ปจั จยั สว่ นบคุ คลมีความสัมพนั ธ์กับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผู้สงู อายใุ นอำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี การวเิ คราะหห์ าความสมั พนั ธห์ ลายตวั แปร (Multivariate) ใชส้ ถติ วิ ิเคราะห์ถดถอย พหุโลจิสติก (Multiple logistic regression) ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบขจัดออกทีละตัว (Backward elimination) พบวา่ ปจั จยั สว่ นบคุ คลท่มี ีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ได้แก่ รายไดต้ ่อเดอื น; น้อยกวา่ 5,000 บาท (OR=2.17; 95%CI: 1.44-3.27; p-value = 0.000) ดงั ตาราง ท่ี 13 ตารางท่ี 13 ปจั จยั ส่วนบุคคลทีม่ ีความสมั พันธ์กบั ความรอบรูด้ ้านสุขภาพของผ้สู ูงอายใุ น อำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี ปัจจยั จำนวน รอ้ ยละ Crude OR Adj. OR 95%CI P-value รายได้ 0.000 27.50 1 1 5,000 บาทขึ้นไป 92 72.50 2.45 2.17 1.44-3.27 น้อยกว่า 5,000 242 บาท 4.2.2 ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุใน อำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี
62 การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์หลายตัวแปร (Multivariate) ใช้สถิติวิเคราะห์ ถดถอยพหุโลจิสติก (Multiple logistic regression) ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบขจัดออกทลี ะตัว (Backward elimination) พบว่า ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ได้แก่ ระดับคุณภาพชีวิต; ระดับคุณภาพชีวิตไม่ดี (OR= 5.62; 95%CI: 3.69-8.57; p-value = 0.000) ดังตารางท่ี 14 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางท่ี 14 ปจั จัยด้านคุณภาพชวี ติ มีความสัมพันธ์กับความรอบร้ดู ้านสุขภาพของผู้สูงอายุใน อำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี ปัจจยั จำนวน ร้อยละ Crude OR Adj. OR 95%CI P-value ระดบั คณุ ภาพชวี ิต 0.000 53 15.90 1 1 ดี 281 84.10 5.89 5.62 3.69-8.57 ไมด่ ี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 63 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (Cross- sectional analytical research) เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ระดับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ และเพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง คุณลักษณะส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี สรุปผลการวิจยั ดงั นี้ 5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย 5.1.1 ปจั จัยส่วนบคุ คล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.40 อายุเฉลี่ย 70.54±7.77 ปี อายุ สูงสุด 95 ปี ส่วนใหญ่สถานภาพสมรส ร้อยละ 54.80 การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 75.70 ใช้แรง เช่น ทำไร่ ทำนา ทำสวน รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 40.60 รองลงมาคืออยู่บา้ นไมไ่ ด้มีอาชีพ/เป็น แม่บ้าน ร้อยละ 38.30 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,091.21±7,024.40 บาท (รายได้ต่ำสุด 600 บาทต่อ เดือน, รายได้สูงสุด 50,000 บาทต่อเดือน) สิทธิ์การรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ใช้สิทธิ์หลักประกัน สขุ ภาพถว้ นหนา้ ร้อยละ 85.30 และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญม่ โี รคประจำตัว ร้อยละ 64.20 5.1.2 ปจั จัยดา้ นคณุ ภาพชวี ติ จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิต พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีระดับ คุณภาพชีวติ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ร้อยละ 67.70 รองลงมาคอื ระดบั ดี รอ้ ยละ 30.90 และระดบั ไม่ดี รอ้ ยละ 1.40 ตามลำดับ จากการวเิ คราะหป์ ัจจยั ดา้ นคุณภาพชีวิตแยกเป็นรายข้อ พบว่า ขอ้ 1 ท่านพอใจกับ สุขภาพของท่านในตอนนี้เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 52.30 ข้อ 2 การ เจ็บปวดตามร่างกาย เช่น ปวดหวั ปวดท้อง ปวดตามตวั ทำใหท้ า่ นไมส่ ามารถทำในส่งิ ที่ต้องการมาก น้อยเพยี งใด กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 55.90 ข้อ 3 ท่านมีกำลังเพียงพอท่ีจะทำ สิ่งต่าง ๆ ในแต่ละวันไหม (ทั้งเรื่องงาน หรือการดำเนินชีวิตประจำวัน) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ ปานกลาง ร้อยละ 47.20 ข้อ 4 ท่านพอใจกับการนอนหลับของท่านมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 47.50 ข้อ 5 ท่านรู้สกึ พอใจมากนอ้ ยแค่ไหนทสี่ ามารถทำอะไรๆ ผ่าน ไปไดใ้ นแตล่ ะวัน กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 43.10 ข้อ 6 ท่านจำเป็นต้องไปรบั การ รักษาพยาบาลมากนอ้ ยเพยี งใด เพื่อที่จะทำงานหรือมชี วี ิตอย่ไู ปได้ในแต่ละวัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ตอบปานกลาง รอ้ ยละ 44.10 ข้อ 7 ท่านพอใจกบั ความสามารถในการทำงานไดอ้ ยา่ งที่เคยทำมามาก
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 น้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 45.00 ข้อ 8 ท่านสามารถไปไหนมาไหน ดว้ ยตนเองได้ดีเพยี งใด กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 34.20 ข้อ 9 ท่านรู้สึกพึงพอใจ ในชวี ิต (เช่น มคี วามสขุ ความสงบมีความหวัง) มากน้อยเพียงใด กลมุ่ ตวั อย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 45.60 ขอ้ 10 ทา่ นมีสมาธิในการทำงานต่างๆ ดเี พยี งใด กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญต่ อบมาก ร้อย ละ 44.50 ขอ้ 11 ทา่ นร้สู ึกพอใจในตนเองมากนอ้ ยแคไ่ หน กลุ่มตัวอยา่ งสว่ นใหญต่ อบปานกลาง ร้อย ละ 42.00 ขอ้ 12 ทา่ นยอมรบั รูปร่างหนา้ ตาของตัวเองได้ไหม กลุ่มตวั อย่างสว่ นใหญต่ อบมาก รอ้ ยละ 37.90 ข้อ 13 ท่านมีความรู้สึกไม่ดี เช่น รู้สึกเหงา เศร้า หดหู่ สิ้นหวังวิตกกังวล บ่อยแค่ไหน กลุ่ม ตวั อยา่ งสว่ นใหญต่ อบเล็กนอ้ ย ร้อยละ 39.00 ขอ้ 14 ทา่ นรูส้ ึกวา่ ชีวิตท่านมีความหมายมากน้อยแค่ ไหน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 37.90 ข้อ 15 ท่านพอใจต่อการผูกมิตรหรือเข้ากบั คน อื่น อย่างที่ผ่านมาแค่ไหน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 46.60 ข้อ 16 ท่านพอใจกับการ ช่วยเหลือท่เี คยได้รับจากเพอ่ื นๆ แคไ่ หน กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญต่ อบมาก รอ้ ยละ 42.90 ข้อ 17 ท่าน พอใจในชีวิตทางเพศของท่านแค่ไหน กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ตอบไม่เลย ร้อยละ 64.20 ข้อ 18 ท่าน รู้สึกว่าชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยดีไหมในแต่ละวัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 43.40 ข้อ 19 ทา่ นพอใจกบั สภาพบา้ นเรอื นทอ่ี ยตู่ อนนม้ี ากน้อยเพยี งใด กลุม่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อย ละ 48.40 ข้อ 20 ท่านมีเงินพอใช้จ่ายตามความจำเป็นมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญต่ อบ ปานกลาง ร้อยละ 53.50 ข้อ 21 ท่านพอใจท่ีจะสามารถไปใชบ้ ริการสาธารณสขุ ได้ตามความจำเปน็ เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 47.50 ข้อ 22 ท่านได้รู้เร่ืองราวข่าวสารทีจ่ ำเปน็ ใน ชีวิตแต่ละวันมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 50.00 ข้อ 23 ท่านมี โอกาสได้พักผ่อนคลายเครียดมากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 50.40 ขอ้ 24 สภาพแวดล้อมดีต่อสุขภาพของท่านมากน้อยเพียงใด กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 47.20 ข้อ 25 ท่านพอใจกับการเดินทางไปไหนมาไหนของท่าน (หมายถึงการคมนาคม) มากน้อย เพียงใด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 37.90 และ ข้อ 26 ท่านคิดว่าท่านมีคุณภาพ ชวี ติ (ชีวิตความเปน็ อย)ู่ อยู่ในระดับใด กลุ่มตวั อย่างสว่ นใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 54.30 5.1.3 ปัจจัยดา้ นพฤติกรรมสขุ ภาพ จากการวิเคราะห์ปจั จัยด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพ พบวา่ กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ มีระดับ พฤติกรรมสุขภาพดีมาก ร้อยละ 52.30 รองลงมาคือ ระดับดี ร้อยละ 39.00 ระดับพอใช้ ร้อยละ 8.00 และระดับไม่ดี รอ้ ยละ 0.70 ตามลำดบั 5.1.3.1 พฤติกรรมสุขภาพการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่ม สรุ า จากการวิเคราะห์ปจั จัยด้านพฤตกิ รรมสุขภาพการบริโภคอาหาร การออก กำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุราแยกเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ 1 ท่านกินผักและผลไม้สด ที่หลากหลาย
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 65 อยา่ งนอ้ ยวันละคร่งึ กิโลกรมั กลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ตอบ 4–5 วัน/สปั ดาห์ รอ้ ยละ 31.70 ข้อ 2 ท่าน กินอาหารทีม่ ไี ขมันสูง เช่น อาหารทอด กะทิ เนื้อติดมัน มีไขมันผสม เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ ตอบ 3 วนั /สปั ดาห์ รอ้ ยละ 38.50 ขอ้ 3 ทา่ นกนิ อาหารหวาน หรอื ผลไม้ที่มีนำ้ ตาลสูง กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ตอบ 3 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 40.60 ข้อ 4 ท่านกินอาหารรสเค็ม หรือเติมน้ำปลาเพิ่มใน อาหาร กล่มุ ตวั อย่างส่วนใหญ่ตอบ 3 วนั /สัปดาห์ ร้อยละ 33.50 ข้อ 5 ทา่ นกินอาหารปรงุ สกุ สะอาด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ 6–7 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 86.20 ข้อ 6 ท่านออกกำลังกายอย่างต่อเน่อื ง ประมาณ 30 นาที จนร้สู กึ เหน่อื ยหรือมี เหงอื่ ออก กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญต่ อบ 3 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 30.70 ข้อ 7 ท่านได้เคลื่อนไหวรา่ งกายต่อเนื่องจากการทำกิจวัตรประจำวันประมาณ 30 นาที เช่น เดินไปทำงาน ทำงานบ้าน ทำงานโดยใช้แรง เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ 6–7 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 36.20 ข้อ 8 ท่านสูบบุหรีห่ รอื ยาสูบ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 88.10 ข้อ 9 ท่านอยู่ใกล้ชิดกับผู้ทีก่ ำลังสูบบุหรี่หรือยาสูบ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏบิ ัติ ร้อยละ 79.30 และ ข้อ 10 ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 85.30 5.1.3.2 พฤติกรรมสุขภาพการจัดการความเครียด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และ การปอ้ งกันโรคตดิ เชือ้ โควิด-19 จากการวิเคราะหป์ ัจจัยด้านพฤตกิ รรมสุขภาพการจดั การความเครียด การ ใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการป้องกันโรคติดเชื้อโควดิ -19แยกเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ 11 เมื่อเครียด วิตกกังวล หรือหงุดหงิดแล้วยากที่จะผ่อนคลายลงได้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบน้อยครั้ง ร้อยละ 68.10 ข้อ 12 มีปัญหาการนอน นอนไมห่ ลบั หรือนอนมาก กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบน้อยครั้ง ร้อย ละ 60.50 ข้อ 13 ท่านอ่านฉลากยาให้เข้าใจ ก่อนตัดสินใจใช้ยา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบทุกคร้งั รอ้ ยละ 77.00 ขอ้ 14 เมือ่ ป่วย ท่านกนิ ยาของผอู้ ื่นท่ีมีอาการคล้ายกนั โดยไมม่ ีคำสงั่ จากแพทย์ กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 57.80 ข้อ 15 ท่านหยุดกินยาแก้อักเสบหรือยาฆ่าเชื้อเม่ือ รู้สึกว่าอาการดีขึ้น แม้ว่าจะยังกินยาไม่ครบตามกำหนดก็ตาม กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบไม่ปฏิบัติ ร้อยละ 44.70 ข้อ 16 ลา้ งมอื ด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใชแ้ อลกอฮอล์เจลลา้ งมือ หลังจากจบั ส่งิ ของ สาธารณะ เชน่ ราวบันได ทีจ่ บั ประตู ปุ่มกดลิฟท์ เปน็ ต้น กลุม่ ตวั อย่างสว่ นใหญ่ตอบทกุ คร้ัง ร้อยละ 78.20 ข้อ 17 สวมใส่หน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย เมื่อออกจากบ้าน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบ ทุกครั้ง ร้อยละ 92.40 ข้อ 18 ยืน นั่ง เว้นระยะห่างจากผู้อื่น อย่างน้อย 1 เมตร หรือ 1 ช่วงแขน กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบทุกครั้ง ร้อยละ 80.30 และ ข้อ 19 ใชข้ องส่วนตวั เชน่ จาน ชอ้ นส้อม แก้ว นำ้ ผ้าเชด็ ตวั ฯลฯ ร่วมกบั ผ้อู ่ืน กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญต่ อบไมป่ ฏิบตั ิ รอ้ ยละ 41.70 5.1.4 ปจั จยั ดา้ นความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ จากการวิเคราะหป์ ัจจัยดา้ นความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ พบว่า กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่ มี
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 66 ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพพอใช้ ร้อยละ 35.30 รองลงมาคือ ระดับดี ร้อยละ 28.50 ระดับไม่ดี ร้อยละ 23.90 และระดับดมี าก ร้อยละ 12.20 ตามลำดบั จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพแยกเป็นรายข้อ พบว่า ข้อ 1 สามารถสืบค้นข้อมูลสุขภาพจากแหล่งต่างๆ ได้ตรงกับสภาพปัญหาที่ท่านและคนในครอบครัวของ ทา่ นเป็นอยู่ กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 50.20 ขอ้ 2 สามารถไปพบแพทย์ บุคลากร สาธารณสุข หรือผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ตามอาการหรือสงสัยว่ามีอาการป่วยจากโรคที่ท่านกังวล กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่ตอบมาก รอ้ ยละ 43.80 ขอ้ 3 สามารถเข้าใจวธิ ีการปฏิบัตติ ามคำแนะนำในสื่อ สขุ ภาพเกยี่ วกับการดูแลสุขภาพและป้องกนั โรคได้ กลมุ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบมาก ร้อยละ 44.50 ข้อ 4 สามารถอ่านและเข้าใจในผลการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ดัชนีมวลกาย (BMI), ระดับความดัน โลหติ (HT), ระดบั น้ำตาลในเลือด (DM) เปน็ ตน้ กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 46.60 ข้อ 5 สามารถซักถามข้อมูลทางสุขภาพกับผู้ให้บริการสุขภาพเพื่อนำมาดูแลสุขภาพของท่านให้ดี ยงิ่ ขึน้ กลุม่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญต่ อบปานกลาง ร้อยละ 41.00 ข้อ 6 แลกเปล่ยี นความรู้หรอื แนวทางการ ปฏิบัติของตนเองกับผู้ให้บริการด้านสุขภาพหรือผู้อื่นได้ เช่น แนวการปฏิบัติป้องกันโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวาน การติดเชื้อโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 41.10 ข้อ 7 เปรียบเทียบข้อมูลด้านสุขภาพจากหลายแหล่งก่อนตัดสินใจทำตาม กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ตอบปาน กลาง ร้อยละ 45.20 ข้อ 8 พิจารณาข้อดีข้อเสียของข้อมูลสุขภาพที่ได้รับด้วยเหตุผล ก่อนที่จะ นำมาใช้ตาม ถึงแม้จะมคี นทีใ่ ช้แลว้ ได้ผล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 46.50 ข้อ 9 ควบคุม กำกบั สขุ ภาพตนเอง เช่น น้ำหนกั ตรวจสุขภาพประจำปี มองโลกในแงบ่ วก ลดอาหารทำลาย สุขภาพ ออกกำลังกาย เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 43.30 และ ข้อ 10 วางแผน ทำกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของตนเอง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบปานกลาง ร้อยละ 44.90 5.1.5 ความชุกของระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัด ราชบุรี ความชุกของความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับไม่ดีของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัด ราชบรุ ี ร้อยละ 59.20 (95%CI 55.50 – 63..30) 5.1.6 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับความ รอบรูด้ ้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จังหวดั ราชบรุ ี พบว่า 5.1.6.1 ปัจจยั สว่ นบุคคลทมี่ ีความสมั พันธก์ บั ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพของผสู้ งู อายุใน อำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี ไดแ้ ก่ รายไดต้ ่อเดอื น; น้อยกว่า 5,000 บาท (OR=2.17; 95%CI: 1.44-
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 67 3.27; p-value = 0.000) 5.1.6.2 ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผสู้ งู อายใุ นอำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี ไดแ้ ก่ ระดบั คณุ ภาพชวี ิต; ระดับคุณภาพชวี ติ ไมด่ ี (OR=5.62; 95%CI: 3.69-8.57; p-value = 0.000) 5.2 อภปิ รายผล การอภิปรายผลการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งอภิปรายประเด็นและข้อค้นพบที่สำคัญ ตาม วัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ ความสัมพันธ์ระหวา่ งปัจจัยสว่ นบุคคล คุณภาพชีวิต กับความรอบรู้ ดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 5.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุใน อำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้าน สุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เป็นที่ทราบกันดีว่าในกลุ่มผู้ที่มีรายได้น้อย การ เข้าถึงสิ่งต่างๆ รวมถึงการบริการสุขภาพ หรือแม้กระทั่งโอกาสในการกระทำสิ่งต่างๆ เช่น โอกาส ทางการศึกษา โอกาสในการประกอบอาชีพ และโอกาสในการดำรงชีวิตอย่างสะดวกสบายและมี ความสขุ ในสังคมปัจจุบันมกั จะด้อยกว่าผู้ที่มีรายไดท้ ่ีสงู กว่า ซง่ึ สอดคล้องกับการศึกษาของ เทพไทย โชติชัย, เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, กิรณา แต้อารักษ์, สายันห์ ปัญญาทรง และ อ้อยทิพย์ บัวจันทร (2563) ทพี่ บว่า รายไดต้ ่อเดือนมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพในการป้องกันโรคความดัน โลหิตสูงของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหติ สูง เนื่องจากผูท้ ี่มรี ายไดม้ ากกว่าจะมีการแสวงหา สิ่งที่มีประโยชน์และเอื้ออำนวยต่อการดูแลสุขภาพตนเองได้มากกว่าคนที่มีรายได้น้อยกว่า ทำให้มี การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือการบริการได้อย่างเหมาะสมมากกว่าผู้ที่มีรายได้น้อย และ การศึกษาของ นิศารตั น์ อตุ ตะมะ และเกษแก้ว เสยี งเพราะ (2562) ทีพ่ บวา่ ความรอบรดู้ ้านสุขภาพ ไม่เพยี งพอ พบความชุกในกลุ่มทมี่ รี ายได้ต่ำ คนทม่ี สี ถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีสงู จะมีโอกาส ดีกว่าในการแสวงหาสิ่งทีม่ ีประโยชน์ต่อการดูแลตนเอง เพราะรายไดเ้ ป็นแหล่งประโยชน์แหล่งหนึง่ ของบุคคลท่มี ีความสัมพนั ธ์กบั การดูแลตนเอง และยังสอดคล้องกบั การศึกษาของ อมรฤทธิ์ ชอุ่มพันธ์ วิภารัตน์ คงแสนคำ และกิตติ เหลาสภุ าพ (2564) ทพ่ี บว่า ปัจจยั ท่ีมคี วามสมั พันธก์ ับระดบั ความรอบ รู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และโรค ประจำตัว อีกทั้งยังสอดคล้องกับการศึกษาของ Bodur, Abdurrahman, Filiz, Emel, Kalkan and Indrani. (2017) ที่พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของความรอบรู้ด้านสุขภาพ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา และรายได้ 5.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอ
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 68 เมือง จังหวดั ราชบุรี คุณภาพชีวิตไม่ดีมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอ เมือง จงั หวดั ราชบุรี กลา่ วคือ บุคคลที่มีระดับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพตำ่ จะสง่ ผลต่อการใชข้ ้อมลู การ เข้ารับบริการสุขภาพ การดูแลโรคภัยไข้เจ็บด้วยตนเอง และการป้องกันโรค รวมทั้งมีแนวโน้มที่จะ ประสบปญั หาสขุ ภาพตั้งแต่อายุนอ้ ย และมักจะมสี ุขภาพแยก่ ว่าหรือป่วยหนักจนตอ้ งเขา้ รับการรักษา ในโรงพยาบาลมากกวา่ (ขวัญเมือง แกว้ ดำเกงิ , 2561) สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ อุทุมพร ศรีเข่ือน แกว้ อธวิ ัฒน์ เจ่ียวิวรรธนก์ ุล และสาวติ รี ทยานศลิ ป์ (2561) ในการศึกษาความสมั พันธ์ระหวา่ งความ รอบรู้ด้านสขุ ภาพกบั คุณภาพชีวติ ของผูส้ งู อายุ พบวา่ ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพมคี วามสมั พันธ์เชิงบวก กับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่าคุณภาพชีวิตและความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน คือถ้าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตสูงก็จะมีความรอบรู้ด้าน สุขภาพสูง หรือถ้าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตท่ีต่ำความรอบรู้ด้านสุขภาพก็จะต่ำไปด้วย เช่นเดียวกับ การศึกษาของ กิจปพน ศรีธานี (2560) ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพกับ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พบว่า ความฉลาดทางสุขภาพมี ความสัมพันธท์ างบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตของผู้สงู อายุอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิ และ การศึกษาของ Zheng et al., (2018) ซึ่งพบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์ในระดับปาน กลางกับคณุ ภาพชีวติ เช่นเดียวกบั การศึกษาของ Aryankhesal et al,. (2019) ได้ศกึ ษาความสมั พันธ์ ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมี นยั สำคัญทางสถติ ิ 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 การนำไปใช้ประโยชน์ จากการศึกษา ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคณุ ลกั ษณะส่วนบุคคล คณุ ภาพชวี ติ กับระดับ ความรอบร้ดู ้านสุขภาพของผูส้ ูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดังน้ี 5.3.1.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสรมิ ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของผสู้ ูงอายุ ในอำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี 5.3.1.2 เป็นข้อมูลพน้ื ฐานในการศึกษาวิจัยรปู แบบเพื่อเพมิ่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี รวมถึงส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี 5.3.1.3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานบริการสุขภาพต่างๆ รวมทั้งองค์กร
69 ปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถนำข้อมูลไปเป็นพ้นื ฐานการกำหนดนโยบายเพื่อการดูแลผู้สูงอายุในเขต พน้ื ทบี่ รกิ ารได้อย่างครอบคลุม 5.3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอ่ ไป 5.3.2.1 ควรวิจัยเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำใน ผสู้ ูงอายุ โดยออกแบบการวิจัยเป็นการวิชยั เชิงคุณภาพ 5.3.2.2 ควรวิจัยเพอื่ พัฒนารปู แบบหรอื แนวทางการสง่ เสรมิ ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ คุณภาพชวี ติ และพฤตกิ รรมสุขภาพในผู้สูงอายุ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
70 บรรณานุกรม มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงกรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ. เครื่องมอื และโปรแกรมประเมิน HL และ HB ปี 2564. สืบคน้ เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2564 จาก 10 มกราคม 2564 จาก http://www.hed.go.th/linkHed/index/314 กรมสขุ ภาพจติ . เครอื่ งชีว้ ัดคณุ ภาพชวี ติ ขององค์การอนามยั โลกชดุ ยอ่ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI). สืบคน้ เมอ่ื 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 จาก 10 มกราคม 2564 จาก https://www.dmh.go.th/test/whoqol/ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่นั คงมนษุ ย.์ สถิติของผู้สงู อายุประเทศไทย77จังหวดั . 2560. กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงมนษุ ย์. จำนวนผู้สูงอายุจังหวัดราชบุรี ปี 2563. สืบคน้ เมอ่ื 4 กมุ ภาพันธ์ 2564 จาก https://www.m-society.go.th/home.php กระทรวงสาธารณสขุ . การเสรมิ สร้างและประเมินความรอบรดู้ า้ นสุขภาพและพฤติกรรม. 2561. กิจปพน ศรธี าน.ี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความฉลาดทางสขุ ภาพกับคุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุใน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสุข11(1)26-36. 2560. กลั ยา มั่นลว้ น วภิ าดา กาญจนสทิ ธ์ิ และนภิ า สทุ ธพิ ันธ์. พฤติกรรมสุขภาพของผสู้ งู อายใุ นเขต โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบ้านหนองโพรง อำเภอเมอื ง จงั หวัดบุรรี มั ย์. การ ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ วิทยาลยั นครราชสีมา คร้ังที่ 6. 2562. ขวญั เมอื ง แกว้ ดำเกิงและนฤมล ตรเี พชรศรอี ไุ ร. ความฉลาดทางสุขภาพ . 2554. ขวญั เมือง แกว้ ดำเกงิ . ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ : เขา้ ถึง เขา้ ใจ และการนำไปใช้ = Health literacy : access, understand and application. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2 กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ , 2561. คณะกรรมาธิการขบั เคล่อื นการปฏิรปู ประเทศ. (2559). นโยบายการปฏิรูปความรอบรู้และการ ส่ือสารสุขภาพแห่งชาติ. กรงุ เทพฯ: สภาผ้แู ทนราษฎรกระทรวงมหาดไทย. คุรสุ ภา. (2546). คมู่ อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: สำนกั วชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. เทพไทย โชติชยั , เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, กิรณา แตอ้ ารักษ์, สายันห์ ปญั ญาทรง และ อ้อยทพิ ย์
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 71 บัวจนั ทร. ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธก์ บั ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพในการปอ้ งกนั โรคความดนั โลหติ สงู ของประชากรกล่มุ เสีย่ งโรคความดันโลหติ สูง ตำบลสำราญ อำเภอ เมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น. วารสารเครือขา่ ยวทิ ยาลัยพยาบาลและการสาธารณสขุ ภาคใต้ ปีที่ 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2563 หน้า 45-56. ธราธร ดวงแก้ว และหิรญั ญา เดชอดุ ม. พฤติกรรมสขุ ภาพผู้สูงอายุ ตำบลโพรงมะเด่อื อำเภอ เมือง จงั หวดั นครปฐม. นครปฐม: คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครปฐม. 2550. นรศิ รา แกว้ บรรจักร ประไพจติ ร ชุมแวงวาปี และกฤชกนั ทร สวุ รรณพนั ธุ์. ปัจจัยความรอบรู้ ทางสขุ ภาพทม่ี ีความสัมพันธก์ บั พฤตกิ รรมสขุ ภาพของผู้สูงอายทุ ี่เปน็ โรคความดนั โลหติ สงู ตำบลโคกสี อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ . วารสารสาธารณสขุ และวิทยาศาสตร์สุขภาพ. ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 3 กันยายน-ธันวาคม. 2563. นิทรา กจิ ธรี ะวุฒวิ งษ์ และศนั สนีย์ เมฆรงุ่ เรอื งวงศ์. ปจั จยั ที่มีอิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพของ ผูส้ งู อายุที่อาศยั ในชุมชน. The Public Health Journal of Burapha University : Vol.11 No.1 January - June 2016. 2559. นศิ ารัตน์ อตุ ตะมะ และเกษแก้ว เสยี งเพราะ. ปัจจัยทำนายความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของ ผสู้ ูงอายุกลมุ่ เสยี่ งโรคความดันโลหติ สูงจังหวดั พะเยา. วารสารสขุ ศึกษา กรกฎาคมม – ธนั วาคม 2562 ปีที่ 42 เลม่ ท่ี2. บญุ ใจ ศรสี ถติ ย์นรากรู . การพฒั นาและตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื วิจยั : คุณสมบตั ิการวัดเชิง จติ วทิ ยา. กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2555. เบญจมาศ สุรมิตรไมตร.ี (2556). ความฉลาดทางสุขภาพ (Health literacy) และสถานการณก์ าร ดำเนินงานสร้างเสรมิ ความฉลาดทางสุขภาพของคนไทยเพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียน [รายงานการศกึ ษาส่วนบคุ คลการฝึกอบรมหลักสูตรนักบรหิ ารการทูตรุ่นที่ 5]. กรุงเทพฯ: สถาบันการตา่ งประเทศเทวะวงศว์ โรปการ กระทรวงการต่างประเทศ. ปิยภรณ์ เลาหบุตร. คณุ ภาพชวี ติ ของผู้สูงอายุในชมุ ชนหมู่ 7 ตำบลพลตู าหลวง อำเภอสัตหบี จงั หวดั ชลบุรี (วิทยานิพนธ)์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. 2557. พงศธร ศิลาเงนิ . ปัจจยั ที่มคี วามสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองของผสู้ ูงอายุ ใน จงั หวัดพะเยา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2560.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 72 พรรณทิพา ศักด์ทิ อง. คุณภาพชีวิตด้านสขุ ภาพ. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2554. มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผสู้ ูงอายไุ ทย วจ. รายงานประจำปีสถานการณ์ผ้สู ูงอายไุ ทย พ.ศ. 2555. วรรณศริ ิ นิลเนตร. ความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายไุ ทยในเขตกรุงเทพมหานคร วทิ ยานิพนธ์ --จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2547. 2547. วาสนา สิทธกิ นั . ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ พฤตกิ รรมสง่ เสริมสขุ ภาพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตาบล บ้านโฮง่ อำเภอบ้านโฮง่ จงั หวดั ลำพูน. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่. 2560 วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแก้ว. พฤติกรรมสุขภาพของผู้สงู อายุท่อี าศัยในเขตเทศบาลตำบลคลองตำ หรุ อำเภอเมอื งชลบุรี. มหาวทิ ยาลัยบูรพา. 2557. ศิรินันท์ สขุ ศรี. ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพและการดูแลตนเองทีม่ ีความสมั พันธก์ ับคณุ ภาพชวี ิต ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมอื งอำนาจเจรญิ จังหวัดอำนาจเจรญิ . วารสารวจิ ัย มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ฉบับบณั ฑิตศึกษา 17(4) น73-84. 2560. สมจิตร หนุนเจริญ. การพยาบาลทางผสู้ งู อายุ เล่ม 1. พิมพค์ รง้ั ที่ 12. กรงุ เทพมหานคร: ว.ี เจ. พริน้ ตง้ิ , 2539. 2539. สุวฒั น์ มหัตนริ นั ดร์กุล และคณะ. เปรียบเทียบตวั ช้ีวดั คุณภาพชีวติ ของ WHO 100 ตวั ชี้วัด. เชยี งใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุง; 2540. 2540. แสงเดือน กิ่งแกว้ และนุสรา ประเสริฐศรี. ความสมั พันธ์ระหวา่ งความฉลาดทางสขุ ภาพและ พฤตกิ รรมสขุ ภาพของผู้สูงอายุทีเ่ ป็นโรคเรือ้ รงั หลายโรค. วารสารพยาบาลกระทรวง สาธารณสขุ 2558. สำนักงานสถิติแห่งชาต.ิ การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. 2557. สำนักงานสถิตแิ หง่ ชาต.ิ สำมะโนประชากรและเคหะ. 2560. อภญิ ญา อินทรรตั น์. ความฉลาดทางสุขภาพของผู้ประกอบวชิ าชีพด้านสขุ ภาพ. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2014; 15(3):174-8. อมรฤทธ์ิ ชอุ่มพนั ธ์ วิภารตั น์ คงแสนคำ และกติ ติ เหลาสภุ าพ. ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพของ ผูส้ ูงอายตุ ำบลขามปอ้ ม อำเภอเขมราฐ จังหวัดอบุ ลราชธาน.ี ประมวลบทความในการ ประชมุ วชิ าการระดับชาติ มอบ. วจิ ยั คร้ังที่ 15 2564.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 73 อรชร โวทวี. ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สงู อายุ ในอำเภอบางแพ จงั หวัดราชบุรี. มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร; นครปฐม. 2548. อทุ ุมพร ศรีเขอ่ื นแกว้ อธิวัฒน์ เจ่ยี ววิ รรธนก์ ุล และสาวติ รี ทยานศิลป์. ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ความสขุ ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพและคณุ ภาพชวี ติ ของผู้สงู อาย:ุ กรณีศึกษาผ้สู งู อายุใน โรงเรยี นผู้สูงอายุตำบลเวยี ง อำเภอฝาง จังหวดั เชียงใหม่. MFU Connexion: Journal of Humanities and Social Sciences, 7(2) page 77 2018. อทุ ยั ทพิ ย์ รักจรรยาบรรณและคณะ. ภาวะทพุ พลภาพและปจั จยั เสย่ี งของภาวะทพุ พลภาพใน ประชากรสูงอายุไทย. รามาธิบดพี ยาบาลสาร. 2552;15(11):111-26. อุไรรัชน์ บุญแท้. การวิจัยและพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพของผู้สงู อายุ โดยยทุ ธศาสตร์ \"การ เรยี นรู้สูพ่ ลงั \". มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี:กรงุ เทพฯ. 2554. องั ควรา วงษาสันต์ และนพรัตน์ บุญเพียรผล. ปจั จยั ทีส่ ่งผลใหเ้ กดิ ความเครยี ดในผสู้ ูงอายใุ น เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร. มหาวทิ ยาลัยศลิ ปกร. กรุงเทพมหานคร. 2560. อังศินนั ท์ อินทรกำแหง. การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสขุ ภาพ 3 self ด้วยหลัก Promise model = Health behavior change. 2552. Anderson G, Horvath J. The growing burden of chronic disease in America. Public health reports. 2004;119(3):263-70. Aryankhesal, Aidin et al. “Determining the relationship between health literacy level and quality of life among the elderly living in nursing homes.” Journal of education and health promotion vol. 8 225. 29 Nov. 2019, doi:10.4103/jehp.jehp_310_19. Ayse, Ç., Kamil, Y., Serdar, O., & Hamdi, N. D. (2017). Assessing health literacy, the factors affecting it and their relation to some health behaviors among adults. Biomedical Research, 28(15), 6803-6807. Bas Geboers, et al., Health Literacy Is Associated With Health Behaviors and Social Factors Among Older Adults: Results from the LifeLines Cohort Study. Journal of Health Communication, 21: 45–53, 2016. Berens, E., Dominique, V., Melanie, M., Klaus, H., & Doris, S. (2016). Health literacy
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 74 among different age groups in Germany: Results of a cross-sectional survey. BMC Public Health. 16(1), 1-8. Berkman ND, Davis TC, McCormack L. Health literacy: what is it? Journal of health communication. 2010;15(S2):9-19. Bodur, Abdurrahman & Filiz, Emel & Kalkan, Indrani. (2017). Original Article Factors Affecting Health Literacy in Adults: A Community Based Study in Konya, Turkey. 10. 1-100. Brijnath B, Protheroe J, Mahtani KR, Antoniades J. Do web-based mental health literacy interventions improve the mental health literacy of adult consumers? Results from a systematic review. Journal of medical Internet research. 2016;18(6). Cho YI, Lee S-YD, Arozullah AM, Crittenden KS. Effects of health literacy on health status and health service utilization amongst the elderly. Social science & medicine. 2008;66(8):1809-16. Cumming E, William E. Henry, w. E.(1961). Growing old: The process of disengagement. New Ycrk: Basic Books. Cummins J, Sayers D. Brave new schools: Challenging cultural illiteracy through global learning networks: Palgrave Macmillan; 1997. Dalkey NC, Rourke DL. The Delphi procedure and rating quality of life factors. The Quality of Life Concept. 1973:209-21. Economic UNDo, Affairs S. The aging of populations and its economic and social implications: New York: United Nations; 1956. Erikson EH. Youth: Change and challenge: Basic books; 1963. Ferrans CE, Powers MJ. Quality of life index: development and psychometric properties. Advances in nursing science. 1985. Garratt A, Schmidt, L., Mackintosh, A., & Fitzpatrick, R. . Quality of life measurement: bibliographic study of patient assessed health outcome
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 75 measures. Bmj, 324(7351), 1417. 2002. Gazmararian JA, Baker DW, Williams MV, Parker RM, Scott TL, Green DC, et al. Health literacy among Medicare enrollees in a managed care organization. Jama. 1999;281(6):545-51. Group W. The development of the World Health Organization quality of life assessment instrument (the WHOQOL). Quality of life assessment: international perspectives: Springer; 1994. p. 41-57. Group W. The World Health Organization quality of life assessment (WHOQOL): position paper from the World Health Organization. Social science & medicine. 1995;41(10):1403-9. Havens BJ. An investigation of activity patterns and adjustment in an aging population. The Gerontologist. 1968;8(3_Part_1):201-6. Hosokawa,C., Ishikawa, H., Okada, M., Kato, M., Okuhara, T., & Kiuchi, T. (2016). Gender role orientation with health literacy and self-effcacy for healthy eating among Japanese workers in early adulthood. Frontier in Nutritio,. 3(17), 1-9. Hsieh FY, Bloch DA, Larsen MD. A simple method of sample size calculation for linear and logistic regression. Statistics in medicine. 1998;17(14):1623-34. Hunt SM, McKenna, S. P., McEwen, J., Backett, E. M., Williams, J., & Papp, E. . A quantitative approach to perceived health status: a validation study. Journal of Epidemiology & Community Health, 34(4), 281-286. 1980. Ishikawa H, Takeuchi T, Yano E. Measuring functional, communicative, and critical health literacy among diabetes patients. Diabetes care. 2008. Kaewdamkeong K TN. Health literacy. Bangkok: New Thammada Press. 2011. Kaplan RM, Anderson JP. A general health policy model: update and applications. Health services research. 1988 Jun;23(2):203-35. PubMed PMID: 3384669. Pubmed Central PMCID: PMC1065501. Epub 1988/06/01. eng.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 76 Kobayashi LC, Wardle J, von Wagner C. Internet use, social engagement and health literacy decline during ageing in a longitudinal cohort of older English adults. Journal of epidemiology and community health. 2015;69(3):278-83. Lee S-YD, Arozullah AM, Cho YI, Crittenden K, Vicencio D. Health literacy, social support, and health status among older adults. Educational gerontology. 2009;35(3):191-201. Levin-Zamir D, Leung AYM, Dodson S, Rowlands G. Health literacy in selected populations: Individuals, families, and communities from the international and cultural perspective. Information Services & Use. 2017;37(2):131-51. Manganello JA. Health literacy and adolescents: a framework and agenda for future research. Health education research. 2007;23(5):840-7. Manganello JA. Teens, dating violence, and media use: A review of the literature and conceptual model for future research. Trauma, Violence, & Abuse. 2008;9(1):3-18. Mancuso JM. Assessment and measurement of health literacy: an integrative review of the literature. Nursing & health sciences. 2009;11(1):77-89. Marengoni A, Winblad B, Karp A, Fratiglioni L. Prevalence of chronic diseases and multimorbidity among the elderly population in Sweden. American journal of public health. 2008;98(7):1198-200. Mehrsadat Mahdizadeh and Mahnaz Solhi. Relationship between self-care behaviors and health literacy among elderly women in Iran, 2015. Electronic Physician; March 2018, Volume: 10, Issue: 3, Pages: 6462-6469. Mohseni M, Khanjani N, Iranpour A, Tabe R, Borhaninejad VR. The Relationship Between Health Literacy and Health Status Among Elderly People in Kerman. Iranian Journal of Ageing. 2015;10(2):146-55.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 77 Nanda U, McLendon, P. M., Andresen, E. M., & Armbrecht, E. The SIP68: an abbreviated sickness impact profile for disability outcomes research. Quality of Life Research, 12(5), 583-595. 2003. Nutbeam D. Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health promotion international. 2000;15(3):259-67. Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Social science & medicine. 2008;67(12):2072-8. Nutbeam D. Defining and measuring health literacy: what can we learn from literacy studies? : Springer; 2009. Parker R. Health literacy: a challenge for American patients and their health care providers. Health Promotion International. 2000;15(4):277-83. Pignone M, DeWalt DA, Sheridan S, Berkman N, Lohr KN. Interventions to improve health outcomes for patients with low literacy. Journal of general internal medicine. 2005;20(2):185. Sangduan Ginggeaw NP. The Relationship between Health Literacy and Health Behaviors among Older Adults who have Multi-morbidity. Nursing Journal of the Ministry of Public Health 2015. Sharif I, Blank AE. Relationship between child health literacy and body mass index in overweight children. Patient education and counseling. 2010;79(1):43-8. Stonska ZA, Borowiec AA, Aranowska AE. Health literacy and health among the elderly: status and challenges in the context of the Polish population aging process. AnthropologicAl review. 2015;78(3):297-307. Sudore RL, Mehta KM, Simonsick EM, Harris TB, Newman AB, Satterfield S, et al. Limited literacy in older people and disparities in health and healthcare access. Journal of the American Geriatrics Society. 2006;54(5):770-6.
มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 78 Suka M, Odajima T, Okamoto M, Sumitani M, Igarashi A, Ishikawa H, et al. Relationship between health literacy, health information access, health behavior, and health status in Japanese people. Patient education and counseling. 2015;98(5):660-8. Sun, X., Shi, Y., Zeng, Q., Wang, Y., Du, W., Wei, N., Xie, R., & Chang, C. (2013). Determinants of health literacy and health behavior regarding infectious respiratory diseases: A pathway model. BMC Public Health, 13, 261-268. The Whoqol G. The World Health Organization quality of life assessment (WHOQOL): Development and general psychometric properties1.. Social Science & Medicine. 1998 1998/06/15/;46(12):1569-85. Udry, J. R. (1994). The nature of gender. Demography, 31(4), 561-573. UNESCO. Media and Information Literacy: Policy and Strategy Guidelines. Unesco París; 2013. United Nations DoEaSA, Population Division. The world population situation in 2014. Von Wagner C, Knight K, Steptoe A, Wardle J. Functional health literacy and health-promoting behaviour in a national sample of British adults. Journal of Epidemiology & Community Health. 2007;61(12):1086-90. WHO. The World Health Organization quality of life assessment (WHOQOL): Position paper from the World Health Organization. Social Science & Medicine. 1995/11/01/;41(10):1403-9. WHO. Global age-friendly cities: A guide: World Health Organization; 2007. WHO. Health Literacy and Health Promotion Definitions, Concepts and Examples in the Eastern Mediterranean Region. Individual Empowerment Conference Working Document. Paper presented at the 7th global conference for health promotion: Promoting health and development, closing the implementation gap; 2009, Oct26–30, Kenya. . 2009.
79 WHO. Fact life on ageing and the life course. 2010. Ying Yang, et al., Socioeconomic status, social capital, health risk behaviors, and health-related quality of life among Chinese older adults. Health and Quality of Life Outcomes 18:291. 2020. Yong-Bing Liu et al,. Relationship between Health Literacy, Health-Related Behaviors and Health Status: A Survey of Elderly Chinese. Int. J. Environ. Res. Public Health 2015, 12, 9714-9725. Yuan LL, Yuen B, Low C. Quality of life in cities–definition, approaches and research. Urban quality of life: Critical issues and options. 1999:1-13. Zheng, M., Jin, H., Shi, N. et al. The relationship between health literacy and quality of life: a systematic review and meta-analysis. Health Qual Life Outcomes 16, 201 (2018). https://doi.org/10.1186/s12955-018-1031-7. Zhifei He. Et al., Factors Influencing Health Knowledge and Behaviors among the Elderly in Rural China. Int. J. Environ. Res. Public Health 2016, 13, 975. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 80 ภาคผนวก
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 81 ภาคผนวก ก เครื่องมอื ในการวจิ ยั
เลขท่ีแบบสอบถาม............... 82 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงแบบสอบถาม เรือ่ ง ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ และคุณภาพชวี ติ ของผสู้ ูงอายุในจังหวดั ราชบุรี คำชแ้ี จง : แบบสอบถามน้ีจดั ทำข้ึนมวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยจะนำข้อมูลที่ได้ไปใช้เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัด กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัด ราชบรุ ี ใหม้ ีความเหมาะสมและประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน้ ขอรับรองว่าจะเก็บรักษาข้อมูลในการตอบแบบสอบถามของท่านไว้เป็นความลับ และ ผลการวจิ ัยจะนำเสนอในลกั ษณะภาพรวม ไม่ระบชุ ่อื /ข้อมลู ส่วนตวั ของทา่ น จึงไมเ่ กิดผลกระทบใดๆ แก่ผู้ตอบแบบสอบถามดังนน้ั จงึ ขอความกรณุ าจากทา่ นในการตอบแบบสอบถาม จักเป็นพระคณุ ย่งิ แบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 4 ส่วน จำนวน 63 ข้อ จำนวน 8 ขอ้ ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 26 ข้อ สว่ นท่ี 2 คณุ ภาพชีวิต จำนวน 19 ข้อ สว่ นที่ 3 พฤตกิ รรมสุขภาพ จำนวน 10 ขอ้ ส่วนท่ี 4 ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ คณะผวู้ จิ ัยขอขอบพระคุณ ท่ีทา่ นได้สละเวลาตอบแบบสอบถามไว้ ณ โอกาสน้ี สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ วทิ ยาลัยมวยไทยศกึ ษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง
83 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชแี้ จง : โปรดทำเคร่ืองหมาย √ ลงใน หรอื เตมิ ข้อความลงในช่องวา่ งท่ตี รงกบั ความเป็นจริงของท่าน ลำดับ ขอ้ มูลทัว่ ไป มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 เพศ 1) ชาย 2) หญิง 2 อายุ ………………ปี 3 สถานภาพสมรส 1) โสด 2) สมรส 3) หม้าย 4) หย่ารา้ ง 5) แยกกันอยู่ 4 ทา่ นจบการศึกษาสงู สุดหรือกำลงั ศึกษาระดับช้นั ใด 1) ไม่ได้เรียนหนงั สือ 4) มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 2) ประถมศกึ ษา 5) อนุปริญญา/ปวส. 3) มัธยมศกึ ษาตอนต้น 6) ปริญญาตรขี ึน้ ไป 5 ลกั ษณะงานหลกั (อาชพี ) ที่ทำในชวี ิตประจำวนั เป็นแบบใด 1) ใชแ้ รง เชน่ ทำไร่ ทำนา ทำสวน รับจา้ งทัว่ ไป เป็นตน้ 2) ค้าขาย/ทำธุรกจิ 3) รับราชการ/พนักงานรัฐวสิ าหกจิ 4) อยู่บา้ นไม่ได้มอี าชีพ/เป็นแม่บ้าน 5) อื่นๆ........................ 6 รายได้.............................บาทต่อเดือน 7 สิทธกิ์ ารรกั ษาพยาบาล 1) สทิ ธสิ วัสดกิ ารการรักษาพยาบาลของข้าราชการ 2) สทิ ธิประกนั สงั คม 3) สิทธหิ ลักประกันสขุ ภาพ 8 ท่านมโี รคประจำตัวหรือไม่ 2) มี ระบุ............................................ 1) ไมม่ ี
84 ส่วนท่ี 2 คณุ ภาพชวี ิต คำชแ้ี จง : โปรดทำเครื่องหมาย √ ลงใน ทีต่ รงกบั ความเป็นจริงของทา่ นในช่วง 2 สปั ดาห์ท่ผี ่านมา ไมเ่ ลย หมายถึง ท่านไม่มคี วามรู้สกึ เช่นนั้นเลย รู้สกึ ไม่พอใจมาก หรอื ร้สู กึ แย่มาก เลก็ นอ้ ย หมายถงึ ท่านมีความรู้สึกเชน่ น้ันนานๆ ครั้งรู้สกึ เช่นน้ันเล็กน้อยรู้สกึ ไม่ พอใจหรอื รสู้ ึกแย่ ปานกลาง หมายถึง ทา่ นมีความรู้สกึ เช่นนัน้ ปานกลาง รสู้ กึ พอใจระดับกลางๆ หรือ ร้สู ึกแยร่ ะดบั กลางๆ มาก หมายถงึ ท่านมีความรู้สกึ เช่นนน้ั บอ่ ยๆ รสู้ กึ พอใจหรอื รู้สึกดี มากท่สี ดุ หมายถึง ท่านมคี วามรู้สกึ เชน่ นนั้ เสมอ รู้สึกเช่นน้ันมากท่ีสุด หรอื รสู้ กึ ว่า สมบูรณ์รู้สึกพอใจมาก รู้สึกดมี าก มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ประเมนิ เหตกุ ารณ์หรอื ความรสู้ กึ ของทา่ นในชว่ ง ระดับความเป็นจรงิ ท่ตี รงกับท่าน 2 สัปดาหท์ ่ผี ่านมา มากที่สุด มาก ปานกลาง เล็กนอ้ ย ไม่เลย 1. ท่านพอใจกับสุขภาพของท่านในตอนนเี้ พียงใด ด้านสุขภาพกาย 2. การเจ็บปวดตามร่างกาย เชน่ ปวดหัว ปวด ทอ้ ง ปวดตามตวั ทำให้ทา่ นไม่สามารถทำในส่งิ ท่ี ต้องการมากน้อยเพียงใด 3. ทา่ นมีกำลงั เพียงพอท่ีจะทำสิ่งตา่ ง ๆ ในแตล่ ะ วันไหม (ทงั้ เรื่องงาน หรอื การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ) 4. ทา่ นพอใจกับการนอนหลบั ของทา่ นมากนอ้ ย เพยี งใด 5. ท่านรูส้ ึกพอใจมากน้อยแคไ่ หนทส่ี ามารถทำ อะไรๆ ผ่านไปไดใ้ นแตล่ ะวัน
85 ประเมนิ เหตกุ ารณห์ รือความรสู้ ึกของทา่ นในช่วง ระดับความเปน็ จริงทต่ี รงกับท่าน 2 สัปดาหท์ ี่ผา่ นมา มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง เลก็ นอ้ ย ไม่เลย 6. ทา่ นจำเป็นต้องไปรับการรกั ษาพยาบาลมาก นอ้ ยเพยี งใด เพ่ือทจ่ี ะทำงานหรือมชี ีวิตอยู่ไปไดใ้ น แตล่ ะวนั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 7. ท่านพอใจกบั ความสามารถในการทำงานได้ อย่างท่ีเคยทำมามากนอ้ ยเพยี งใด 8. ทา่ นสามารถไปไหนมาไหนด้วยตนเองได้ดี เพยี งใด ด้านจติ ใจ 9. ท่านรสู้ กึ พึงพอใจในชวี ติ (เช่น มคี วามสขุ ความสงบมคี วามหวัง) มากนอ้ ยเพยี งใด 10. ทา่ นมสี มาธใิ นการทำงานต่างๆ ดเี พียงใด 11. ทา่ นร้สู กึ พอใจในตนเองมากนอ้ ยแคไ่ หน 12. ทา่ นยอมรบั รปู รา่ งหนา้ ตาของตัวเองไดไ้ หม 13. ท่านมคี วามร้สู ึกไม่ดี เชน่ รู้สกึ เหงา เศรา้ หด หู่ สิ้นหวงั วติ กกังวล บอ่ ยแคไ่ หน 14. ท่านรู้สึกวา่ ชวี ิตท่านมคี วามหมายมากน้อยแค่ ไหน ด้านสัมพนั ธภาพทางสงั คม 15. ท่านพอใจตอ่ การผูกมิตรหรอื เขา้ กับคนอน่ื อย่างท่ีผ่านมาแคไ่ หน 16. ทา่ นพอใจกบั การชว่ ยเหลือทีเ่ คยไดร้ ับจาก เพ่อื นๆ แคไ่ หน 17. ทา่ นพอใจในชวี ิตทางเพศของท่านแค่ไหน
86 ประเมินเหตกุ ารณ์หรอื ความรูส้ ึกของท่านในชว่ ง ระดบั ความเป็นจริงทตี่ รงกบั ท่าน 2 สัปดาหท์ ่ีผา่ นมา มากที่สดุ มาก ปานกลาง เล็กนอ้ ย ไม่เลย (ชวี ติ ทางเพศ หมายถึง เมือ่ เกดิ ความรู้สกึ ทางเพศ ขึ้นแล้ว ทา่ นมีวิธีจัดการทำใหผ้ อ่ นคลายลงได้ รวมถึง การชว่ ยตวั เองหรือการมีเพศสัมพนั ธ)์ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ด้านส่งิ แวดลอ้ ม 18. ท่านรู้สึกวา่ ชวี ติ มคี วามม่นั คงปลอดภัยดไี หม ในแตล่ ะวัน 19. ท่านพอใจกบั สภาพบา้ นเรอื นทอ่ี ย่ตู อนน้ีมาก นอ้ ยเพียงใด 20. ท่านมีเงนิ พอใชจ้ ่ายตามความจำเป็นมากนอ้ ย เพยี งใด 21. ท่านพอใจที่จะสามารถไปใช้บรกิ าร สาธารณสขุ ไดต้ ามความจำเปน็ เพยี งใด 22. ทา่ นได้รเู้ รื่องราวขา่ วสารทจ่ี ำเป็นในชีวิตแต่ ละวนั มากน้อยเพียงใด 23. ท่านมีโอกาสได้พักผอ่ นคลายเครียดมากน้อย เพียงใด 24. สภาพแวดล้อมดีตอ่ สขุ ภาพของทา่ นมากน้อย เพียงใด 25. ท่านพอใจกบั การเดินทางไปไหนมาไหนของ ทา่ น (หมายถงึ การคมนาคม) มากน้อยเพียงใด 26. ท่านคดิ วา่ ทา่ นมีคณุ ภาพชวี ติ (ชีวิตความ เปน็ อย)ู่ อยูใ่ นระดบั ใด
87 ส่วนท่ี 3 พฤติกรรมสุขภาพ สว่ นท่ี 3.1 พฤตกิ รรมสุขภาพการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบหุ รี่ ด่ืม สรุ า คำช้แี จง : โปรดทำเครอื่ งหมาย √ ลงใน ที่ตรงกบั การปฏิบตั ขิ องทา่ นในรอบ 6 เดอื นที่ผ่านมา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ขอ้ ปฏิบัติ ความถใ่ี นการปฏิบัติเฉล่ียตอ่ สปั ดาห์ 6–7 วัน 4–5 วัน 3 วนั 1–2 วนั ไมป่ ฏบิ ตั ิ (5) (4) (3) (2) (1) การบริโภคอาหาร 1. ทา่ นกินผกั และผลไม้สด ท่ีหลากหลาย อยา่ ง น้อยวันละคร่ึงกโิ ลกรมั 2. ท่านกินอาหารท่ีมีไขมันสงู เช่น อาหารทอด กะทิ เน้อื ติดมนั มไี ขมนั ผสม เป็นตน้ 3. ท่านกินอาหารหวาน หรือผลไม้ท่มี ีนำ้ ตาลสูง 4. ทา่ นกินอาหารรสเค็ม หรือเตมิ นำ้ ปลาเพมิ่ ใน อาหาร 5. ท่านกินอาหารปรงุ สกุ สะอาด การออกกำลงั กาย 6. ท่านออกกำลงั กายอย่างต่อเนื่องประมาณ 30 นาที จนรูส้ กึ เหน่ือยหรือมี เหงอื่ ออก 7. ทา่ นได้เคลอ่ื นไหวร่างกายตอ่ เนอ่ื งจากการทำ กิจวตั รประจำวนั ประมาณ 30 นาที เช่น เดินไป ทำงาน ทำงานบ้าน ทำงานโดยใช้แรง เปน็ ต้น การสูบบุหรี่ 8. ท่านสบู บุหรี่หรือยาสบู
88 ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ความถ่ีในการปฏิบตั ิเฉลย่ี ต่อสปั ดาห์ 6–7 วัน 4–5 วนั 3 วนั 1–2 วัน ไม่ปฏิบัติ (5) (4) (3) (2) (1) 9. ท่านอยใู่ กลช้ ิดกับผูท้ กี่ ำลังสบู บุหรห่ี รอื ยาสบู มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การด่มื สุราและเครอื่ งดมื่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ 10. ท่านดมื่ สรุ าหรือเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ ส่วนที่ 3 พฤติกรรมสขุ ภาพ ส่วนท่ี 3.2 พฤตกิ รรมสขุ ภาพการจัดการความเครียด การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล และ การป้องกันโรคติดเช้ือโควดิ -19 คำชแี้ จง : โปรดทำเครื่องหมาย √ ลงใน ของแต่ละข้อความทตี่ รงกับการปฏบิ ัติ ของทา่ นในรอบ 3 เดอื นทผ่ี ่านมา ทุกครงั้ หมายถึง ทา่ นปฏิบตั ิตรงกับข้อความน้นั ทุกครง้ั รอ้ ยละ 100 (7 วนั ) บ่อยครัง้ หมายถงึ ท่านปฏิบัติตรงกบั ข้อความนั้นมากกว่ารอ้ ยละ 70 (5-6 วัน) นอ้ ยครั้ง หมายถึง ทา่ นปฏบิ ัตติ รงกบั ขอ้ ความนน้ั นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 (1-4 วนั ) ไมป่ ฏิบตั ิ หมายถึง ท่านไม่เคยปฏบิ ัติตรงกบั ข้อความนัน้ เลย
89 ข้อปฏิบัติ ทุกครัง้ ความถ่ใี นการปฏิบตั ิ บอ่ ยครงั้ นอ้ ยครัง้ ไมป่ ฏบิ ตั ิ การจัดการความเครยี ด มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 11. เมื่อเครียด วติ กกังวล หรือหงุดหงิดแลว้ ยากท่ี จะผ่อนคลายลงได้ 12. มีปัญหาการนอน นอนไมห่ ลับหรอื นอนมาก การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล 13. ทา่ นอา่ นฉลากยาใหเ้ ข้าใจ ก่อนตัดสินใจใช้ยา 14. เมอ่ื ป่วย ท่านกินยาของผอู้ ่นื ทีม่ ีอาการคลา้ ยกนั โดยไมม่ คี ำส่งั จากแพทย์ 15. ทา่ นหยุดกินยาแก้อกั เสบหรอื ยาฆา่ เชอ้ื เม่ือรูส้ กึ ว่าอาการดีข้ึน แม้วา่ จะยงั กนิ ยาไมค่ รบตามกำหนดก็ ตาม การปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื โควดิ -19 16. ลา้ งมอื ด้วยสบู่และนำ้ สะอาด หรอื ใช้ แอลกอฮอลเ์ จลล้างมือ หลงั จากจับสงิ่ ของสาธารณะ เช่น ราวบันได ที่จับประตู ปุม่ กดลิฟท์ เปน็ ต้น 17. สวมใสห่ น้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั เมื่อ ออกจากบา้ น 18. ยืน นั่ง เว้นระยะหา่ งจากผู้อนื่ อย่างนอ้ ย 1 เมตร หรือ 1 ชว่ งแขน 19. ใช้ของส่วนตวั เช่น จาน ชอ้ นสอ้ ม แก้วน้ำ ผ้าเชด็ ตวั ฯลฯ รว่ มกบั ผอู้ ื่น
90 ส่วนท่ี 4 ความรอบรดู้ ้านสุขภาพ คำชแี้ จง : โปรดทำเคร่ืองหมาย √ ลงใน ทต่ี รงกบั ความเปน็ จริงของท่าน ข้อคำถามประเมินจากการรบั ร้คู วามรู้สึก ความ ระดับความเป็นจรงิ ทีต่ รงกบั ท่าน เชอ่ื มัน่ ความสามารถหรอื ทักษะด้านสุขภาพ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ุด ของตนเอง (5) (4) (3) (2) (1) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1. สามารถสืบค้นขอ้ มูลสขุ ภาพจากแหลง่ ต่างๆ ได้ ตรงกับสภาพปญั หาทท่ี ่านและคนในครอบครัว ของทา่ นเป็นอยู่ 2. สามารถไปพบแพทย์ บุคลากรสาธารณสุข หรือ ผใู้ หบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพ ตามอาการหรอื สงสัยวา่ มี อาการปว่ ยจากโรคท่ที า่ นกังวล 3. สามารถเข้าใจวิธกี ารปฏิบัตติ ามคำแนะนำใน ส่ือสุขภาพเกี่ยวกับการดแู ลสุขภาพและป้องกนั โรคได้ 4. สามารถอ่านและเข้าใจในผลการตรวจสุขภาพ เบือ้ งต้น เชน่ ดัชนมี วลกาย (BMI), ระดับความดัน โลหิต (HT), ระดับนำ้ ตาลในเลือด (DM) เปน็ ตน้ 5. สามารถซักถามข้อมูลทางสขุ ภาพกบั ผู้ ให้บรกิ ารสุขภาพเพอ่ื นำมาดแู ลสุขภาพของทา่ น ให้ดยี งิ่ ขึน้ 6. แลกเปลย่ี นความรหู้ รอื แนวทางการปฏบิ ตั ิของ ตนเองกบั ผู้ให้บรกิ ารด้านสขุ ภาพหรือผู้อ่นื ได้ เช่น แนวการปฏิบตั ิปอ้ งกันโรคความดันโลหติ สงู เบาหวาน การติดเชอ้ื โควิด-19 7. เปรยี บเทียบขอ้ มูลดา้ นสุขภาพจากหลายแหล่ง กอ่ นตัดสินใจทำตาม
91 ขอ้ คำถามประเมินจากการรับร้คู วามรูส้ กึ ความ ระดบั ความเปน็ จรงิ ท่ตี รงกับท่าน เชอื่ มนั่ ความสามารถหรือทักษะด้านสุขภาพ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ดุ ของตนเอง (5) (4) (3) (2) (1) 8. พิจารณาขอ้ ดีขอ้ เสยี ของข้อมูลสุขภาพท่ไี ด้รบั ด้วยเหตผุ ล ก่อนทจ่ี ะนำมาใช้ตาม ถึงแมจ้ ะมีคนท่ี ใช้แลว้ ได้ผล มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9. ควบคุม กำกบั สขุ ภาพตนเอง เชน่ น้ำหนัก ตรวจสขุ ภาพประจำปี มองโลกในแง่บวก ลด อาหารทำลายสุขภาพ ออกกำลงั กาย เปน็ ต้น 10. วางแผน ทำกจิ กรรมทีจ่ ำเปน็ เพอ่ื การมี สุขภาพทด่ี ีของตนเอง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104