Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ.ดร.ชลธิรา กาวไธสง

อ.ดร.ชลธิรา กาวไธสง

Published by วิทย บริการ, 2022-07-26 06:07:03

Description: อ.ดร.ชลธิรา กาวไธสง

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยาลัยราชภัฏหมู่ ้บานจอมบึง ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผสู้ ูงอายใุ นอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ชลธิรา กาวไธสง งานวจิ ยั นี้ไดผ้ า่ นการพจิ ารณาจากมหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ และได้รบั ทุนอดุ หนุนการวจิ ัยจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. 2565 ลิขสิทธ์ิเป็นของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายใุ นอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ชลธริ า กาวไธสง งานวจิ ยั นี้ไดผ้ า่ นการพิจารณาจากมหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ และได้รบั ทุนอุดหนนุ การวิจยั จากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบึง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. 2565 ลิขสิทธ์ิเป็นของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง

ก ช่อื เรอื่ ง ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผสู้ ูงอายุในอำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี ผวู้ ิจัย นางสาวชลธริ า กาวไธสง สาขาวิชา สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2564 บทคัดยอ่ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (Cross- sectional analytical research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาคุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเพ่ือศึกษา ความสัมพันธร์ ะหว่างคณุ ลักษณะสว่ นบุคคล คณุ ภาพชีวติ กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุ ใน อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาทั้งหมด 564 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ใช้สถิติ Multiple logistic regression นำเสนอค่า Adjusted OR พร้อมช่วงเช่ือม่ัน 95% ในการวิเคราะห์หาปัจจัยท่ีมี ความสัมพนั ธ์กบั ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีระดับคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง (67.70%) ระดับพฤติกรรมสุขภาพดีมาก (52.30%) ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพพอใช้ (35.30%) ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ได้แก่ รายได้ต่อเดือน; น้อยกว่า 5,000 บาท (OR=2.17; 95%CI: 1.44-3.27; p-value = 0.000) และ ระดบั คณุ ภาพชวี ติ ไม่ดี (OR=5.62; 95%CI: 3.69-8.57; p-value = 0.000)

ข Research Title Health Literacy among the elderly in Mueang District, Ratchaburi province. Researcher Miss Chontira Kawthaisong Program Public Health Academic Year 2021 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ABSTRACT This Cross-sectional analytical research aimed to study a quality of life, health behaviors, health literacy and to study factors associated with health literacy among the elderly in Mueang District, Ratchaburi province. Multistage random sampling was applied to select 564 participants age 60 years or older. The data were collected by a questionnaires and descriptive statistics were used to assessing participants characteristics. Multiple logistic regression statistics were used to present the Adjusted OR with a 95% confidence interval in determining factors related to health literacy. The results showed that most subjects reported moderate level of quality of life(67.70%), very good level of health behaviors(52.30%), fair level of health literacy(35.30%) and factors related to health literacy were Low income people(less than 5,000 baht per month) (OR=2.17; 95%CI: 1.44-3.27; p-value = 0.000) and poor level of quality of life (OR=5.62; 95%CI: 3.69-8.57; p-value = 0.000).

ค กติ ติกรรมประกาศ รายงานวจิ ยั ฉบับนี้ เสรจ็ สมบรู ณเ์ ปน็ อย่างดไี ดด้ ้วยความชว่ ยเหลือ และการให้คำปรกึ ษาจาก ผู้มีอปุ การคุณหลายท่าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ ท่ไี ด้สนบั สนุนทุนวิจัย ในครง้ั นี้ ตลอดจนผู้อำนวยการและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท้ัง 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาแร้ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะพลับพลา และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคุ้งนำ้ วน ที่ได้กรณุ าสละเวลาและให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมลู วิจยั อยา่ งดียง่ิ จนทำให้งานวจิ ยั ฉบับน้ีสำเร็จลงไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ ผู้วิจยั จงึ ขอกราบขอบพระคุณไว้เป็น อยา่ งสงู สุดท้ายน้ี ผลอันทจ่ี ะเป็นประโยชน์และความดงี ามทง้ั ปวงทเี่ กดิ ขึ้นจากรายงานวจิ ยั ฉบับนี้ ขอ มอบแด่บดิ า มารดา ท่เี คารพย่ิง รวมถงึ สมาชกิ ในครอบครวั และญาติพนี่ ้องทุกทา่ นท่ีให้การช่วยเหลือ และเป็นกำลังใจด้วยดีเสมอมา จนทำให้งานวิจัยฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยดี และหากมีข้อบกพร่อง ประการใด ผ้วู จิ ัยขอน้อมรบั ไว้ด้วยความขอบคุณยง่ิ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ชลธริ า กาวไธสง 17 มกราคม 2565

ง สารบญั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง หน้า บทคัดย่อภาษาไทย.......................................................................................................................ก บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ..................................................................................................................ข กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ค สารบัญ.......................................................................................................................................ง-จ สารบัญตาราง................................................................................................................................ฉ สารบญั ภาพประกอบ....................................................................................................................ช บทท่ี 1 บทนำ.........................................................................................................................................1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา....................................................................................1 วัตถุประสงคก์ ารวิจัย.................................................................................................................5 สมมุติฐานการวจิ ัย.....................................................................................................................5 ขอบเขตการวจิ ัย………………………………………………………………………………………………………….5 นิยามศพั ท์ทีใ่ ช้ในการวิจยั .........................................................................................................6 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั ........................................................................................................7 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง……………………………………………………………………………………8 แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกบั ผู้สงู อายุ...........................................................................................8 ความสำคัญของความรอบรดู้ ้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรผู้สงู อายุ.........13 คณุ ภาพชีวิต (Quality of life)....................................................................………………………18 แนวคิดเกย่ี วกับพฤติกรรมสขุ ภาพ………………………………………………………………………………..22 ปจั จัยที่มีผลกับความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ..................................................................................24 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง…………………………………………………………………………………..26 กรอบแนวคิดในการวิจยั .........................................................................................................29 3 วิธีดำเนนิ การวิจยั ...................................................................................................................31 รูปแบบการวิจัย………………………………………………………………………………………………………….31 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง………………………………………………………………………………………….31 เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ……………………………………………………………………………………………..36

จ สารบญั (ต่อ) หน้า บทท่ี การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ยั …………………………………………………………………………….39 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ………………………………………………………………………………………………..40 การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถติ ิท่ใี ช.้ ............................................................................................41 การพิทักษ์สิทธิของกลุม่ ตวั อย่าง.............................................................................................42 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล...........................................................................................................43 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเพอ่ื ตอบวัตถุประสงค์..........................................................................44 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เพ่ือตอบสมมตุ ิฐาน..............................................................................61 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ......................................................................................63 สรปุ ผลการวิจยั ......................................................................................................................63 อภปิ รายผล.............................................................................................................................67 ขอ้ เสนอแนะ...........................................................................................................................68 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................70 ภาคผนวก..................................................................................................................................80 ภาคผนวก ก เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจัย....................................................................................81 ภาคผนวก ข ประวตั ผิ ู้วจิ ัย......................................................................................................92 ภาคผนวก ค หนงั สือรบั รองจริยธรรมการวจิ ยั ในคน..............................................................94 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ฉ สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามคณุ ลกั ษณะประชากร..................................44 2 จำนวนและร้อยละของกลุม่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามระดบั คณุ ภาพชวี ติ .......................................46 3 จำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามปจั จัยด้านคุณภาพชวี ติ ................................47 4 จำนวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามระดบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพ...............................50 5 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามปจั จยั ด้านพฤติกรรมสขุ ภาพการบริโภค อาหาร การออกกำลังกาย การสบู บหุ รี่ ดม่ื สุรา.......................................................................51 6 จำนวนและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามปัจจยั ดา้ นพฤติกรรมสุขภาพการจัดการ ความเครยี ด การใชย้ าอย่างสมเหตุผล และการป้องกนั โรคติดเชอ้ื โควิด-19...........................53 7 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามระดับความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ......................54 8 จำนวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามปจั จัยดา้ นความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ...............56 9 ความชุกของระดับความรอบรูด้ ้านสุขภาพของผ้สู งู อายใุ นอำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี............57 10 ปัจจยั ท่ีมีความสัมพนั ธก์ บั ความรอบรดู้ ้านสุขภาพของผูส้ งู อายุในอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี (วเิ คราะห์ทีละคู)่ ………………………………………………………………………………….58 11 ปจั จัยท่มี ีความสมั พันธก์ ับความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุในอำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี…………………………………………………………………………………………………………..60 12 แสดงการทดสอบความเหมาะสมของแบบจำลองดว้ ยสถิติ Hosmer and Lemeshow..........................................................................................................................61 13 ปจั จัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธก์ บั ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพของผ้สู งู อายุในอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี...........................................................................................................61 14 ปัจจยั ด้านคุณภาพชีวิตมีความสัมพนั ธ์กบั ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผู้สงู อายใุ นอำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี........................................................................................................................62 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ช สารบญั ภาพประกอบ หน้า ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย..........................................................................................................29 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ปัจจุบันทั่วโลกมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละปี ส่งผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทางประชากรของโลก ใหก้ า้ วเข้าสู่สังคมผูส้ งู อายุ (Aged society) ซง่ึ หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เกินร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรรวม และจะปรับตัวเป็น สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยที่อยู่อาศัยจริงในพื้นที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกันใน อัตราเท่ากบั หรือมากกวา่ ร้อยละ 20 ข้นึ ไป(United Nations, 1956) จากการวิเคราะห์แนวโนม้ และ สถานการณ์ประชากรโลก จะมีผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรท่ีมีสัดส่วนมากกวา่ ประชากรทุกกลุ่มอายุ โดยจะเพมิ่ จากร้อยละ 9 ในปี พ.ศ. 2537 เปน็ รอ้ ยละ 15.5 ในปี พ.ศ. 2560(สำนกั งานสถิติแหง่ ชาติ, 2560) และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 21 ของประชากรโลก ภายในปี พ.ศ. 2693(UN, 2014) ในขณะท่ปี ระเทศไทยมีจำนวนประชากรผู้สงู อายุใน ปี พ.ศ. 2560 ประมาณ 10.2 ลา้ นคน หรือร้อย ละ 15.45 ปี พ.ศ. 2561 ประมาณ 10.7 ล้านคน หรือร้อยละ 16.06 และจะเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ 28 ภายในปี พ.ศ. 2574(กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์, 2560) ภายหลังประเทศไทยได้ เขา้ สกู่ ารเป็นสังคมผูส้ ูงอายุ (สังคมที่มปี ระชากรอายุ 60 ปขี น้ึ ไป มากกวา่ ร้อยละ 10) มาแลว้ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 โดยมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.64 มากเป็นอันดับสองรองจากประเทศสิงคโปร์ในกลุ่ม อาเซยี น(มูลนธิ ิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2555) ทำให้โครงสรา้ งประชากรเปล่ียนแปลงไป จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ทำให้ประชากรที่เข้าสู่วัยสูงอายุนั้นมีการเปลี่ยนแปลง ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และอารมณ์ รวมถงึ การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสถานภาพและบทบาททางสังคม ผู้สูงอายุโดยส่วนใหญ่ต้องการความช่วยเหลือ หรือมีภาวะพึ่งพิงคนรุ่นถัดไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความคาดหวงั ในการพ่ึงพาบุคคลในครอบครัวเริ่มมีขอ้ จำกัดยิ่งขึ้น เม่ือพบวา่ ผู้สงู อายุรอ้ ยละ 8.7 ต้อง อยู่คนเดยี ว ตามลำพัง ไม่มีลูกหลานหรอื ญาติใกล้ชดิ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2557) ขณะที่กลุ่มคน รุ่นถัดไปคือกลุ่มประชากรวัยแรงงานและวัยเด็ก ซึ่งจะต้องแบกรับภาระในการอยู่ร่วมกันในสังคม รวมทั้งดแู ลบุคคลในครอบครวั ที่เปน็ ผู้สูงอายุ ในขณะที่ประชากรวยั แรงงานจะมีสัดส่วนต่อผูส้ ูงอายุ ลดลง คอื จากสัดสว่ นวยั แรงงาน 6 คนตอ่ ผ้สู ูงอายุ 1 คน จะลดลงเปน็ 3 ต่อ 1 ในปี พ.ศ. 2563 และ จะลดลงเหลอื 2 ต่อ 1 ภายในปี พ.ศ.2583(World Health Organization, 2007) ดงั นนั้ ผู้สูงอายุจะ กลายเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่สุดในสังคม ซึ่งส่วนใหญ่มีปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พึ่งพิง ระบบบริการทางการแพทย์และจำเป็นต้องอ่านใบสั่งยาของแพทย์ มีข้อจำกัดในการฟัง และอ่าน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2 คำแนะนำหรือข้อมูลสุขภาพ ผู้สูงอายุไม่เพียงต้องมีการตัดสินใจและจัดการเรื่องภาวะโรคที่มคี วาม ซับซ้อนเท่านั้น แต่จะต้องเผชิญความเสี่ยงในเรื่องความเฉื่อยทางปัญญา อันสืบเนื่องมาจากความ เสื่อมถอยของระบบร่างกาย(Sudore RL, et al., 2006) ถือเป็นความท้าทายในการดำเนินกจิ กรรม เก่ยี วกบั การดูแลผ้สู ูงอายขุ องผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง การดำเนินกิจกรรมเก่ยี วกบั การดแู ลผู้สงู อายโุ ดยหน่วยบริการสขุ ภาพในระดับต่างๆ และหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง เป็นกลไกสำคัญในการสง่ เสรมิ พฒั นาศักยภาพ และคุม้ ครองคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) นอกจากนี้การจัดกจิ กรรมดังกล่าว อาจจะไม่เหมาะสมกับผู้สูงอายุแต่ละราย ทั้งนี้เนื่องจากไม่ได้มีการจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามระดับ ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ อกี ท้ังยงั ไม่ทราบปจั จัยทม่ี ีความสมั พนั ธก์ ับระดบั ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ อัน จะส่งผลให้ผลลัพธ์การดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุขาดความสมบูรณ์ การจำแนกกลุ่ม ผสู้ ูงอายดุ งั กลา่ ว สามารถทำไดโ้ ดยการใชเ้ คร่ืองมอื วัดระดบั ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy: HL) เป็นสมรรถนะของบุคคลในการ เข้าถึง เข้าใจ ประเมินใช้ข้อมูลและสื่อสารด้านสุขภาพตามความต้องการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและ คงไว้ซึ่งภาวะสขุ ภาพที่ดีตลอดชวี ิต ความรอบรู้ด้านสุขภาพแบ่งเปน็ 3 ระดับ ได้แก่ ความรอบร้ดู ้าน สขุ ภาพขั้นพน้ื ฐาน ความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพขั้นปฏสิ ัมพนั ธ์ และความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพขัน้ วิจารณญาณ (Nutbeam D, 2009) การมรี ะดับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพข้ันพ้ืนฐานตำ่ จะมีผลตอ่ ภาวะสุขภาพอันจะ เพิ่มอตั ราการเข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลบ่อยขน้ึ รวมถงึ มีอตั ราการเสียชวี ิตสงู ขนึ้ (Sharif I. and Blank AE., 2010) ในทางตรงข้ามถ้าหากมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานสูงหรือเพียงพอ จะทำให้มีภาวะสุขภาพที่ดี ลดอัตราการป่วย และลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ(Cho YI, Lee S-YD, Arozullah AM, and Crittenden KS., 2008, Lee S-YD, Arozullah AM, Cho YI, Crittenden K and Vicencio D., 2009, Nutbeam D, 2000) ซึ่งองค์การอนามัยโลก รวมถึงประเทศไทยได้ให้ ความสำคัญกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน เพราะถ้าประชาชนมีระดับความรอบรู้ด้าน สุขภาพต่ำ กจ็ ะสง่ ผลตอ่ ภาวะสุขภาพ คณุ ภาพชีวิต และพฤตกิ รรมสขุ ภาพโดยรวม และจะมคี ่าใช้จา่ ย ในการดูแลสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีข้อจำกัดด้านความสามารถในการ เรยี นรู้และทกั ษะด้านต่างๆ ลดลงตามไปด้วย และเป็นกลุม่ วยั ท่ีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับ ต่ำมากกว่ากลุ่มวัยอื่น(Ishikawa H, Takeuchi T and Yano E., 2008, Suka M et al., 2015, ขวัญเมือง แก้วดำเกิงและนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, 2554, Kobayashi LC, Wardle J and von Wagner C., 2015, Kaewdamkeong K TN., 2011) ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเสื่อมถอยของร่างกาย โดยพบว่า ร้อยละ 70 มีโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด และ โรคเบาหวาน เป็นต้น(Sangduan Ginggeaw NP., 2015, Anderson G and Horvath J., 2004, Marengoni A, Winblad B, Karp A and Fratiglioni L., 2008) จึงทำใหผ้ สู้ ูงอายุต้องไดร้ ับการดูแล

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 ระยะยาว และต้องเข้ารับบริการในระบบสุขภาพ ซึ่งผู้สูงอายุจะได้รับขอ้ มูลเกี่ยวกับสุขภาพจำนวน มาก บางครั้งอาจจะได้ข้อมูลเป็นคำศัพท์ที่เข้าใจยาก และข้อมูลมีแหล่งที่มาหลากหลาย เช่น จาก บุคลากรทางการแพทย์ เพื่อนบ้านหรือสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งยังได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ สุขภาพจากสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ แผ่นผับ หนังสือ และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น(Ishikawa H, Takeuchi T and Yano E., 2008, อภิญญา อินทรรัตน์, 2557) ทำให้ผู้สูงอายุจะต้องตัดสินใจ เลอื กใชข้ อ้ มูลและพิจารณาความน่าเช่ือถือของข้อมลู สุขภาพ เพอ่ื ดแู ลสขุ ภาพของตนเองให้เหมาะสม ซึ่งเป็นบทบาทที่ทา้ ทายของผู้สูงอายุในการมีส่วนร่วมตัดสินใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง อยา่ งไรกต็ ามหากพิจารณาจากผลลัพธ์ของการดูแลสุขภาพของผู้สงู อายทุ ี่ผ่านมา ยงั คงพบว่า ผู้สูงอายุที่มีอายุเพิ่มมากขึ้น ไม่สามารถควบคุมโรคได้ เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และเบาหวาน และยังคงมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เช่น การใช้สารเสพติด สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องด่มื แอลกอฮอล์(อุทัยทิพย์ รักจรรยาบรรณและคณะ, 2552) และการปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ นอกจากนี้ความไม่ปลอดภัยและสภาพสิ่งแวดล้อมที่พักอาศัยหรือในชุมชนที่ไม่เหมาะสม มีผลต่อ พฤตกิ รรมทางดา้ นสุขภาพทำให้ผู้สงู อายุมีผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ไม่เหมาะสมรวมทัง้ คุณภาพชีวิตที่ไม่ดี อนั เน่ืองมาจากการมีความรอบรู้ด้านสขุ ภาพอย่ใู นระดบั ตำ่ จากผลการศกึ ษาทผ่ี ่านมาแสดงให้เหน็ วา่ หากผู้สูงอายุมีคณุ ภาพชวี ิตอยใู่ นระดับต่ำ ย่อมส่งผลให้มีความรอบรู้ด้านสุขสุขภาพที่ต่ำตามไปด้วย(Von Wagner C, Knight K, Steptoe A and Wardle J., 2007) ซง่ึ หมายความว่า ผูส้ งู อายุน้ันไมส่ ามารถจัดการตนเองในเร่อื งสขุ ภาพไดอ้ ย่าง ถูกต้อง ไม่สามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม รวมถึงไมส่ ามารถทำความเข้าใจ และใชก้ ารตัดสนิ ใจเลือกรับข้อมูลทม่ี ีประสิทธิภาพได้(WHO, 2009) นอกจากนห้ี ลายผลการศึกษาได้ กล่าวถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอายุที่เพิ่มขึ้น ความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะ และสมรรถภาพทางร่างกายที่ลดลง เช่น ความสามารถในการ มองเห็น ความสามารถในการได้ยิน ความสามารถในการพูด ความสามารถในการอ่าน และ ความสามารถในการเขียน ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่ำ(Sharif I. and Blank AE., 2010) อกี ทัง้ ผูส้ ูงอายทุ ่ีมรี ะดับการศึกษาสูงจะมีความรอบรู้ดา้ นสุขภาพสูงอยู่ในระดับสูง กว่าผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่า(Brijnath B, Protheroe J, Mahtani KR and Antoniades J., 2016) ขณะเดียวกันรายได้ยังคงเป็นข้อจำกัดของการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีรายได้ต่ำหรือมีรายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย ไม่เหลือเก็บ เป็นหนี้ และไม่ สามารถช่วยเหลือตนเองในการดำเนินชีวิตประจำวนั ได้แก่ การเดนิ การแต่งกาย การอาบนำ้ การใช้ ห้องสขุ า การเคลื่อนยา้ ยตนเอง และการรับประทานอาหาร(Brijnath B, Protheroe J, Mahtani KR and Antoniades J., 2016) อาจเนื่องจากความสามารถของผู้สูงอายุในการเข้าถึง เข้าใจ และใช้ ข้อมูลข่าวสารเพื่อส่งเสริมและดำรงรักษาสุขภาพของตน(Mohseni M, Khanjani N, Iranpour A,

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 Tabe R and Borhaninejad VR., 2015) นอกจากนี้ความเครียด ภาวะซึมเศร้า(Levin-Zamir D, Leung AYM, Dodson S and Rowlands G., 2017) และความสามารถในการเข้าถึงสื่อสุขภาพ (Gazmararian JA et al., 1999, Manganello JA., 2008) มีผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผู้สูงอายุเช่นเดียวกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถสะท้อนหรืออธิบายการเปลี่ยนแปลงความรอบรู้ด้าน สุขภาพโดยตรง(Nutbeam D, 2000) จังหวัดราชบุรีมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรอย่างชัดเจน จากการ สำรวจประชากรปี พ.ศ. 2560 พบมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 871,714 คน เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 148,011 คนหรือร้อยละ 16.98 ของประชากร ปี พ.ศ. 2561 พบมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 873,518 คน เปน็ ผูส้ งู อายุ จำนวน 153,776 คนหรือร้อยละ 17.60 ของประชากร ปี พ.ศ. 2562 พบมีจำนวน ประชากรทั้งสิ้น 873,101 คน เป็นผู้สูงอายุจำนวน 160,323 คน หรือร้อยละ 18.36 ปี พ.ศ. 2563 พบประชากรท้งั ส้นิ 869,313 คน เป็นผสู้ งู อายุ จำนวน 166,926 คน หรือรอ้ ยละ 19.20 ส่งผลทำให้ เกิดเปล่ยี นแปลงจากโครงสรา้ งผู้สูงอายุทีเ่ ปน็ สังคมผู้สูงอายุ และจะเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ แบบ (Completed Aged Society) ภายในปี พ.ศ.2574(กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง มนุษย์, 2560) ในขณะที่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ในปี พ.ศ. 2560 พบมีจำนวนประชากรทั้งสน้ิ 122,747 คน เป็นผู้สงู อายุ จำนวน 20,361 คน หรอื ร้อยละ 16.59 ของประชากร ปี พ.ศ. 2561 พบ มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 123,335 คน เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 21,227 คน หรือร้อยละ 17.21 ของ ประชากร ปี พ.ศ. 2562 พบมีจำนวนประชากรทั้งส้นิ 201,022 คน เปน็ ผสู้ งู อายุ จำนวน 38,395 คน หรือร้อยละ 19.10 ของประชากร ปี พ.ศ. 2563 พบมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 202,805 คน เป็น ผสู้ งู อายุ จำนวน 40,149 คน หรอื รอ้ ยละ 19.80 ของประชากรน่นั หมายความวา่ อำเภอเมอื ง จงั หวัด ราชบุรี ได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เกินร้อยละ 10 ของจำนวนประชากร รวม) ซ่ึงมีสัดส่วนผู้สูงอายเุ พ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยงั พบว่าผู้สูงอายุมีแนวโน้มอยู่ตามลำพงั มากขน้ึ เนอ่ื งดว้ ยลกั ษณะการดำเนินชวี ิตในปัจจุบนั จากการที่บุตรหลานต้องออกไปทำงานนอกบ้าน นอกจากนี้ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง มีสัดส่วนค่อนข้างสูง ส่งผลให้มีภาวะพึ่งพิงระบบบริการ สุขภาพรวมถงึ ผู้ดแู ล (care giver) มากขึ้น ส่วนหนึ่งอาจเปน็ ผลจากการที่ผูส้ ูงอายุมีความรอบรู้ด้าน สุขภาพอยู่ในระดับต่ำหรือไม่เพียงพอ อันเนื่องมาจากข้อจำกัดในการเข้าถึง เข้าใจ และประเมินใช้ ข้อมูลสุขภาพเพื่อส่งเสริมสุขภาพของตนเอง มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี รวมทั้งมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ เหมาะสม ด้วยเหตผุ ลนผ้ี ู้วจิ ยั จงึ สนใจศึกษาความรอบรดู้ ้านสุขภาพ พฤติกรรมสขุ ภาพดา้ นการ บริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การจัดการความเครียด การใช้ยาอย่างสม เหตุผล และการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 ตลอดจนคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ทผี่ า่ นมา ยังไมม่ ีการศกึ ษาในพน้ื ทีด่ ังกล่าว ทำ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 ให้ไม่ทราบระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และคุณภาพชีวิต การวิจัยครั้งนี้จึงเปน็ การวิจยั นำรอ่ งเพื่อทีจ่ ะไดท้ ราบขอ้ มูลดังกลา่ ว อีกทั้งยังเป็นประโยชนต์ อ่ หน่วยงานในระดับพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล องคก์ ารบริหารส่วนตำบล สำนกั งานสาธารณสุข กรมพฒั นาสังคม และสวัสดกิ ารผสู้ ูงอายุ ในการกำหนดยุทธศาสตร์เกีย่ วกับการดูแลผู้สงู อายุ รวมทงั้ พฒั นาระดับความ รอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และคณุ ภาพชีวิตของผ้สู ูงอายุ ผา่ นการกำหนดกิจกรรมหรือชุด กจิ กรรม (Intervention) เพ่ือให้เกดิ ผลลพั ธ์ทางสขุ ภาพท่ดี อี ยา่ งเป็นระบบ ผ้สู งู อายสุ ามารถดำรงชวี ิต ในสังคมไดอ้ ยา่ งเป็นสขุ 2. คำถามวจิ ยั ของการวจิ ัย 2.1 ปัจจัยส่วนบุคคลอะไรบ้าง ที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายใุ น อำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี 2.2 ปจั จัยดา้ นคุณภาพชีวิตมีความสมั พันธ์กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอ เมือง จังหวดั ราชบุรี หรือไม่ อยา่ งไร 3. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 3.1 เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายใุ น อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 3.2 เพ่ือศกึ ษาปัจจัยที่มีความสมั พันธก์ ับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี 4. สมมติฐานของการวจิ ยั 4.1 ปัจจัยส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี 4.2 ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอ เมือง จงั หวัดราชบรุ ี 5. ขอบเขตของการวิจัย ศกึ ษาปจั จยั ทมี่ ีความสัมพนั ธก์ ับความรอบรดู้ า้ นสุขภาพของผสู้ ูงอายใุ นอำเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี ขอบเขตดา้ นประชากร ผู้สงู อายุทมี่ ีสญั ชาตไิ ทยอายุตงั้ แต่ 60 ปี ข้ึนไป ท่ีอาศยั อยใู่ น อำเภอเมือง จงั หวัด

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 ราชบรุ ี และยนิ ยอมเขา้ ร่วมศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอยา่ ง จำนวน 564 คน สมุ่ จากหมู่บา้ นใน 3 ตำบล ของอำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี ตวั แปรทศี่ ึกษา ตัวแปรตน้ 1. ปัจจยั ลกั ษณะส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา อาชีพ รายได้ สิทธกิ์ ารรกั ษาพยาบาล และโรคประจำตัว 2. ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตท้งั 4 ด้าน 2.1 ด้านสุขภาพกาย 2.2 ดา้ นจติ ใจ 2.3 ดา้ นสมั พันธภาพทางสงั คม 2.4 ด้านสิง่ แวดลอ้ ม ตวั แปรตาม ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี 6. นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6.1 ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ หมายถึง ความสามารถที่ผู้สูงอายุใช้ทักษะทาง ความคดิ เชาว์ปญั ญา และทักษะปฏสิ ัมพันธท์ างสงั คมในการเข้าถึง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูล ขา่ วสารทางสุขภาพ และบริการสขุ ภาพท่ีได้รับทัง้ จากบคุ ลากรสาธารณสุข สือ่ ตา่ งๆ ซ่งึ ทำใหผ้ ู้สูงอายุ สามารถตัดสนิ ใจเลือกวิถีทางในการดแู ลสุขภาพตนเองในการปอ้ งกนั โรคและคงไวซ้ ึ่งความมีสขุ ภาพดี 6.2 ผสู้ งู อายุ หมายถึง ผู้ทมี่ อี ายุตง้ั แต่ 60 ปขี นึ้ ไป 6.3 คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจหรือการมีความสุขในชีวิตของ ผู้สงู อายุ ในด้านสุขภาพกาย จติ ใจ สัมพันธภาพทางสงั คม และดา้ นสิง่ แวดล้อม ภายใต้บริบทสภาวะ แวดลอ้ มและสังคมท่ีเหมาะสมและเอือ้ ตอ่ การดำรงชีวิต 6.4 พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ หมายถงึ การปฏิบัตติ วั ของผู้สงู อายุจนเป็นลักษณะนิสัย ในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ซ่งึ ประกอบไปดว้ ยพฤติกรรม 7 ด้าน คือ 6.4.1 พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร 6.4.2 พฤติกรรมการออกกำลงั กาย 6.4.3 พฤติกรรมการสบู บุหรี่

7 6.4.4 พฤติกรรมการด่ืมสุรา 6.4.5 พฤติกรรมการจดั การความเครยี ด 6.4.6 พฤตกิ รรมการใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล 6.4.7 พฤติกรรมการป้องกันโรคติดเช้อื โควดิ -19 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ัย 7.1 หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องใชข้ ้อมลู เพื่อเปน็ แนวทางในการจดั กจิ กรรมเพ่ือส่งเสรมิ ความรอบรู้ ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี 7.2 เปน็ ขอ้ มูลพน้ื ฐานในการศกึ ษาวจิ ยั รูปแบบเพ่ือเพมิ่ ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ สง่ เสริม คุณภาพชวี ติ ทีด่ ี รวมถึงสง่ เสริมพฤติกรรมสุขภาพทีถ่ กู ตอ้ งของผ้สู ูงอายุ ในอำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี 7.3 หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น สถานบริการสุขภาพตา่ งๆ รวมทง้ั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ สามารถนำข้อมูลไปเป็นพนื้ ฐานการกำหนดนโยบายเพอ่ื การดูแลผู้สงู อายใุ นเขตพน้ื ท่บี ริการไดอ้ ย่าง ครอบคลมุ

8 บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การวจิ ัยครั้งนมี้ ีวัตถุประสงค์เพอื่ ศึกษาคุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ระดับความรอบรูด้ ้าน สุขภาพ และเพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหว่างคุณลกั ษณะส่วนบุคคล คุณภาพชวี ติ กบั ระดบั ความรอบ รู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ผู้วิจัยทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ คุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อพัฒนากรอบ แนวคดิ ในการวจิ ัย ดังนี้ 1. แนวคิดและทฤษเี ก่ียวกับผสู้ ูงอายุ 2. ความสำคญั ของความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุ 3. คุณภาพชวี ติ (Quality of life) 4. แนวคิดเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมสุขภาพ 5. ปัจจัยที่มผี ลกับความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ 6. เอกสารและงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง 7. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 1. แนวคดิ และทฤษฎเี กีย่ วกบั ผ้สู งู อายุ 1.1 การกา้ วเขา้ สู่สังคมผ้สู ูงอายุ ปจั จุบันทัว่ โลกมจี ำนวนผู้สูงอายุเพิม่ มากข้ึนอย่างรวดเร็วในแต่ละปี สง่ ผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรของโลก ให้ก้าวเขา้ สูส่ งั คมผู้สูงอายุ (aged society) ซงึ่ หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เกินร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรรวม และจะปรับตัวเป็น สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยที่อยู่อาศัยจริงในพื้นที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกันใน อัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 20 ขึ้นไป(UN, 1956) จากการวิเคราะห์แนวโน้มและสถานการณ์ ประชากรโลก จะมีผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีสัดส่วนมากกว่าประชากรทุกกลุ่มอายุโดยจะเพ่ิม จากร้อยละ 9 ในปี พ.ศ. 2537 เป็นร้อยละ 15.5 ในปี พ.ศ. 2560(สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2560) และมีแนวโน้มเพมิ่ ขนึ้ เปน็ รอ้ ยละ 21 ของประชากรโลก ภายในปี พ.ศ. 2693(UN, 2014) จากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560 พบว่า มีผู้สูงอายุ ประมาณ 10 ล้านคน หรือร้อยละ 15.45 จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 28 ภายในปี พ.ศ. 2574(กระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์, 2560) ภายหลังประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ (สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10) มาแล้วนับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 โดยมี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9 ผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.64 มากเป็นอันดับสองรองจากประเทศสิงคโปร์ในกลุ่มอาเซียน(มูลนิธิ สถาบนั วิจยั และพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2555) ทำให้โครงสร้างประชากรเปล่ียนแปลงไป ผลจากการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในประเทศไทย กลุ่มผู้สูงอายุจะมี ขนาดใหญ่ขึ้นและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับกลุ่มวัยต่างๆ ในสังคมด้วยสมรรถนะที่ลดลงจะทำให้เกิดภาวะ พึง่ พิงในภาพรวมสูงขน้ึ และจะเกดิ ผลกระทบเชิงลบ อยา่ งไรกต็ ามหากพิจารณาจากผลลัพธ์ของการ ดูแลรักษาสุขภาพของผู้สูงอายทุ ี่ผ่านมา ยังคงพบว่าผู้สูงอายุท่ีมีอายุเพิ่มมากข้ึน ไม่สามารถควบคุม โรคได้ เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และเบาหวาน และยังคงมีพฤติกรรมเสี่ยงทาง สุขภาพ เช่น สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมี ความสัมพนั ธก์ บั การมีความรอบร้ดู ้านสุขภาพในระดับต่ำ หากขาดการเตรยี มการวางแผนเพ่ือจัดการ สภาพแวดล้อมและระบบบรกิ ารสาธารณะ ส่ิงท่ีมคี วามสำคญั ต่อการเตรยี มความพร้อมสำหรับสังคม ผู้สูงอายุ ประการหนึ่งก็คือ การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพจึงเป็นวิถีทางหนึง่ ในการเพิม่ พลัง ให้กับประชาชนในการตดั สนิ ใจเลือกและปฏบิ ัตติ นในการดูแลสขุ ภาพและชีวิตความเปน็ อยู่ ดังน้ัน หากประชากรกลุม่ ผู้สูงอายุ สามารถแสวงหาและเพิ่มพูนความรู้ท่ีถูกต้อง และนำ ความรู้นั้นมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดพลังภายในกลุ่ม สามารถต้านทานหรือ จัดการควบคุมอิทธิพลจากสิ่งเร้าต่างๆ อันเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในบริบทที่ตนเองอาศัยอยู่ได้ ผ้สู ูงอายกุ ็จะมีภูมิต้านทานดา้ นสุขภาพท่ีสร้างขึน้ มาจากความรอบรูใ้ นการใช้ขอ้ มูลข่าวสารความรู้ให้ เกดิ ประโยชนต์ อ่ สุขภาพของตนเอง และพึง่ พาระบบบรกิ ารสุขภาพน้อยลง จากเหตุการณ์ที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดย สมบูรณ์เนื่องจากมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น และจากการพิจารณาที่ผ่านมาพบว่า ผู้สูงอายุที่มีอายุเพิ่มมากขึ้นไม่สามารถควบคุมโรคได้และมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพเนื่องจากมี ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพทีต่ ำ่ จึงทำให้ตอ้ งมกี ารเสริมสรา้ งดา้ นความรอบร้ดู ้านสุขภาพในผ้สู ูงอายุ เพื่อ เพมิ่ พูนความรู้และภูมิต้านทานดา้ นสขุ ภาพทถ่ี กู ตอ้ งและพ่ึงพาระบบบรกิ ารสขุ ภาพลดลง โดยจังหวัด ราชบรุ ีเปน็ จงั หวดั ท่ไี ด้เขา้ สู่สังคมผู้สูงอายแุ ละมกี ารขยายตวั ด้านเศรษฐกิจทำให้เกดิ เปลยี่ นแปลงด้าน เทคโนโลยแี ละส่งผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชวี ติ 1.2 ความหมายของผ้สู งู อายุ สำหรับความหมายของผู้สูงอายุนัน้ มีหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขหลายประการเพื่อนำไปสู่ การใหน้ ิยามของผู้สงู อายุ โดยได้มผี ู้ให้นยิ ามของผ้สู ูงอายุไว้ดังนี้ องค์การอนามัยโลก(WHO, 2010) ได้ให้นิยามของผูส้ ูงอายุว่าเป็นผู้ที่อยู่ในช่วงบน้ั ปลายของชีวติ มคี วามเส่ือมทางด้านรา่ งกาย จิตใจ และสังคม บุคลกิ ของบคุ คลที่แสดงออกจะปรากฏ สภาพความเส่ือมของรา่ งกาย หากพจิ ารณาเกณฑ์อายคุ อื ผทู้ ม่ี อี ายุมากกว่าหรอื เทา่ กบั 60 ปี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 10 นอกจากน้อี งคก์ ารสหประชาชาติ(UN, 1956) ได้แบง่ ระดบั การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 1.2.1 ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (aging society) หมายถึง สังคม ในประเทศนั้นมีจำนวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ หรือ ประชากรอายตุ ง้ั แต่ 65 ปเี กินกว่าร้อยละ 7 ของประชากรทัง้ ประเทศ แสดงวา่ ประเทศนัน้ กำลังเข้าสู่ สังคมผสู้ ูงอายุ 1.2.2 ระดับสังคมผสู้ งู อายุโดยสมบูรณ์ (aged society) หมายถึง สงั คมใน ประเทศนั้นมีจำนวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ หรือมี ประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปีเกินกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่ สงั คมผ้สู ูงอายุโดยสมบรู ณ์ 1.2.3 ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (super-aged society) หมายถึง สงั คมหรือประเทศท่ีมปี ระชากรอายุ 65 ปีขน้ึ ไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทงั้ ประเทศ แสดง ว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ โดยแนวโน้มความก้าวหน้าของโครงสร้างประชากร ผสู้ งู อายุท่ีจะเปลย่ี นไปสู่สังคมผสู้ ูงอายแุ ละมีความหมายทสี่ ำคัญตอ่ สขุ ภาพผูส้ ูงอายุ จากนิยามข้างต้นสรุปได้ว่า ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป เป็น ช่วงวัยที่นำไปสูส่ ภาวะเสื่อมและถดถอยของการทำงานในระบบต่างๆ ของร่างกายที่มีประสิทธิภาพ ลดต่ำลง 1.3 ทฤษฎีเก่ยี วกบั ผ้สู งู อายุ การดำเนินการศึกษาในประเด็นที่เก่ียวข้องกับความรอบรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ จำเป็น อย่างย่ิงที่จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ทฤษฎีที่ใชอ้ ธิบายถงึ การเปล่ียนแปลงในผู้สูงอายุ โดยผู้วิจัยได้ ทำการสรุปทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องได้ดงั นี้ 1.3.1 ทฤษฎีทางชีววิทยา (Biological Theory) อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลง โครงสรา้ งของร่างกายมนุษย์เม่อื เขา้ วัยชรา ประกอบดว้ ย 1) ทฤษฎีด้านพันธุกรรม (Genetic Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การ เปลี่ยนแปลงของสภาพรา่ งกายที่เกิดขึ้นในวัยชรามีความคล้ายคลึงกันและมีการสืบทอดจากรุ่นหนง่ึ ไปสู่อกี รนุ่ เช่น สีผมทีเ่ ปล่ียนแปลงไป ผวิ หนงั เหย่ี วยน่ ตัวงอ หลังค่อม เปน็ ตน้ 2) ทฤษฎีการสะสมความผิดพลาด (Error Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความ ชราเกิดจากการทำงานของรา่ งกายผดิ พลาดในระดับเซลลแ์ ละดีเอน็ เอ เม่ืออายุมากข้ึนความผดิ พลาด กจ็ ะมากข้ึนตามไปด้วยจนทำให้ไมส่ ามารถทำหนา้ ทไี่ ดแ้ ละเสื่อมสลายไปในที่สุด 3) ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory) การชราภาพเป็น ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ข้ึนเมือ่ อวยั วะมีการใชง้ านมากย่อมเกดิ การเส่อื มสภาพไปตามกาลเวลา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 11 4) ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน (Immunological Theory) เม่ือเข้าสู่วัยชราการสร้าง ภูมคิ มุ้ กันของร่างกายจะลดลง เนอื่ งจากความสญู เสียสภาพของอวัยวะทีม่ ีหน้าที่สร้างภูมิคุ้มกัน เช่น ไขกระดูก ต่อมไทมัส ม้าม และตับเกิดการเสื่อมสภาพและการตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมด้อยลง รา่ งกายอ่อนแอและเปน็ ผลใหเ้ กดิ การเจบ็ ปว่ ย(สมจิตร หนนุ เจริญ, 2539) 1.3.2 ทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) เชื่อว่า การเปลี่ยนแปลง บุคลิกภาพและการแสดงออกของผู้สูงอายุถึงความคิด แรงจูงใจ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ เปลย่ี นแปลงของอวยั วะในร่างกาย สงิ่ เร้าและสภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนไป ประกอบด้วย 1) ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theory) เชื่อว่าการแสดงออกถึง อารมณ์ความรู้สึกของตัวผู้สูงอายุขึ้นอยู่กับภูมิหลังและการพัฒนาจิตใจของบุคคลนั้น ถ้าพัฒนามา ด้วยความมั่นคง อบอุ่น ถ้อยทีถ้อยอาศัย เห็นใจผู้อื่น ทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้ก็มักจะเปน็ ผู้สูงอายุที่มี ความสุขอยู่รวมกับบตุ รหลานได้อย่างเป็นสุข แต่ในทางกลับกันหากชีวิตที่ผ่านมาไม่สามารถทำงาน ร่วมกบั ใครได้ จติ ใจคบั แคบ ไมร่ ูจ้ ักช่วยเหลอื และเห็นใจผอู้ ื่น กจ็ ะประสบปัญหาในบ้ันปลายของชีวิต (Erikson EH, 1963) 2) ทฤษฎีของอิริคสัน (Erikson's Epigenetic Theory or Psychosocial Developmental Stage) เป็นทฤษฎีที่มีบทบาทในพัฒนาการบุคลิกภาพ ถือว่าพัฒนาการของคน ไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่จะมีต่อไปจนกระทั่งถึงวาระสุดท้ายของชีวิต คือ วัยชรา ในตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ บคุ ลิกภาพของคนจะมีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา สำหรบั สิ่งที่จะช่วยในการพัฒนาบคุ ลิกภาพในช่วง วยั ผูส้ งู อายุนี้ตอ้ งอาศยั บุคคลในครอบครวั และชุมชนเป็นสว่ นสำคัญ(Erikson EH, 1963) 1.3.3 ทฤษฎีทางสังคมวทิ ยา (Sociological Theory) มุมมองของทฤษฎีทางสงั คม วทิ ยาจะเกยี่ วขอ้ งกบั สมั พนั ธภาพและการปรบั ตวั ของผสู้ งู อายุในสังคม ซง่ึ เป็นการวเิ คราะหส์ าเหตุที่มี ผลใหส้ ถานะทางสงั คมในผู้สูงอายเุ ปล่ียนแปลงไปและพยายามท่ีจะชว่ ยให้ผู้สูงอายมุ ีการดำรงชีวิตอยู่ ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข มีแนวคดิ ทีน่ า่ สนใจ ได้แก่ 1) ทฤษฎีก ิจก ร ร ม ( Activity Theory) ตามแน ว คิดขอ ง Robert Havighurst(Havens BJ, 1968) ได้อธิบายถงึ ความสมั พนั ธ์ที่แสดงให้เห็นถึงสถานภาพทางสังคมของ ผ้สู งู อายุทมี่ ีผลเชิงบวก ระหว่างการทำกิจกรรมกบั ความพึงพอใจในการดำรงชวี ิตของผ้สู ูงอายุ ทฤษฎี น้เี ชื่อว่า ผสู้ งู อายุต้องการที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่นื คำว่า “กิจกรรม” ตามแนวคดิ นี้ หมายถึง กิจกรรม ต่างๆ นอกเหนือจากการปฏิบัตติ ่อตนเอง ตอ่ บุคคลรอบขา้ ง สงั คม หรอื ชุมชน กจิ กรรมดงั กล่าวจะทำ ให้ผู้สูงอายุรู้สึกวา่ ตนเองยังมคี ุณค่า และเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม ทฤษฎีนี้ได้สรุปว่า การที่ผู้สูงอายุมี การทำกจิ กรรมร่วมกับผอู้ นื่ ในสงั คมยอ่ มสง่ ผลเชงิ บวกกบั ความสุข ความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ ดังนั้นการที่ผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นเป็นสิ่งที่จำเป็น การจัดกิจกรรมให้เหมาะสมต้อง คำนึงถึงบริบทของการเปลี่ยนแปลงและสภาพสังคมปัจจุบัน (Modernization Perspective) และ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 12 การเชื่อมโยงบุคคลที่มีช่วงวัยที่แตกต่างกัน (Intergeneration Linkage) ซึ่งให้ความสำคัญไปที่การ เปลี่ยนแปลงและประสบการณ์ชีวิต อาจมีความแตกต่างระหว่างคนในวัยเดียวกันแต่คนละยุคสมัย บทบาทหน้าทีต่ ามโครงสรา้ งของแต่ละช่วงวยั 2) ทฤษฎีแยกตัว (Disengagement Theory) ของ Elaine Cummings and William Henry มปี ระเด็นสำคัญคือ การลดบทบาทระหวา่ งกันของสงั คมและผสู้ งู อายุจะเป็นไป อย่างชา้ ๆ ตามสภาพของร่างกายทไ่ี มส่ ามารถหลกี พน้ หรอื ตอ่ ต้านได้ ความสามารถทางกายทล่ี ดต่ำลง สถานะสุขภาพไม่ดี จึงถอยห่างจากสังคม พอใจกับการออกห่างจากสังคมเพื่อนฝูง ส่งผลต่อบทบาท หนา้ ทข่ี องตนให้แก่คนรนุ่ ถัดไป มผี ลกับภาวะจิตใจในระยะแรกแต่จะค่อยๆ ยอมรับได้ในท่ีสุด เมื่อมี อายุเพิ่มมากขึ้นบุคคลจะพยายามปรับตัวให้เข้ากับสังคม เพื่อหล่อเลี้ยงความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจและอารมณจ์ ากบทบาทที่ลดลง(Cumming E, William E. Henry and W. E., 1961) จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าทฤษฎีท่เี กีย่ วกับผู้สงู อายุค่อนขา้ งมีความหมายหลากหลาย ผู้วิจัยจะได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎี ทั้งแนวคิดทางชีววิทยา จิตวิทยา และสังคมวิทยา เพื่อให้เกิดความ ครอบคลุม และสามารถอธิบายสถานการณ์และปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ ับการมีคุณภาพที่ดี ของผสู้ งู อายุไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 1.4 การเปลี่ยนแปลงของผ้สู งู อายุ วัยสูงอายุเป็นบุคคลท่มี ีอายุ 60 ปีข้นึ ไป จะมีสภาพร่างกายที่เส่ือมถอยลงเกอื บทุกระบบ ของร่างกาย ผู้สูงอายุจะมีพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายที่ลดลง การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของ ผู้สงู อายุจะมีมากพอๆกับเดก็ เพียงแตอ่ ยู่ในทิศทางตรงข้ามกนั ความเส่อื มถอยท่ีชัดเจนมีดังนี้ ระบบ อวัยวะของร่างกายลดสมรรถนะลง ภาวะหลอดเลือดขาดความยดื หยุ่น ความฉับไวของความคิดลดลง สภาพจิตใจอ่อนแอง่าย สังคมคับแคบลง ส่งผลให้เกิดภาวะโรคเรือ้ รังต่างๆ เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โรคอันเกิดจากระบบการเผาผลาญ พลังงาน โรคทางระบบประสาท ซ่งึ ทำใหผ้ ู้สงู อายมุ ภี าวะทอ่ี ่อนแอและเจบ็ ป่วยมากย่งิ ขน้ึ เมอ่ื บุคคลก้าวเขา้ สวู่ ัยสงู อายุ สภาพร่างกายของบุคคลจะมีความแก่ชรา ท้ังนี้ขึ้นอยู่ กับการเปลีย่ นแปลงสภาพทั้งทางด้านชีวภาพ จิตใจ พยาธิภาพ และสมรรถภาพการทำหน้าทางกาย ดังน้ี 1.4.1 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพ เช่น ผิวหนังบางลง ระบบประสาทและระบบ สมั ผัสเซลล์สมองและเซลล์ประสาท ระบบกลา้ มเนือ้ และกระดกู ความยดื หยุน่ ลดลง ฟันของผูส้ ูงอายุ ไมแ่ ขง็ แรง ทำให้การเค้ยี วอาหารไม่สะดวกตอ้ งรับประทานอาหารอ่อนและยอ่ ยง่าย ในเพศชายต่อม ลกู หมากจะโตขนึ้ ทำใหป้ ัสสาวะลำบากและผลิตเชื้ออสุจไิ ด้น้อยลง สว่ นในเพศหญงิ รังไขจ่ ะฝ่อเล็กลง ปีกมดลูกเหี่ยว มดลูกมีขนาดเลก็ ลง และต่อมใต้สมองจะมกี ารเปลีย่ นแปลงรูปร่าง และทำงานลดลง ผูส้ งู อายุจะเกดิ อาการอ่อนเพลียเบือ่ อาหารและนำ้ หนักลดลง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 1.4.2 การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ จะมคี วามสมั พันธ์กับการเปล่ียนแปลงทางร่างกายและทางสังคม เน่ืองจากความเสอื่ มของอวัยวะของ รา่ งกาย การสญู เสยี บคุ คลใกล้ชิด การแยกไปของสมาชกิ ในครอบครวั และการหยดุ จากงาน 1.4.3 ความเสื่อมถอยด้านการทำหน้าท่ีทางกาย การเปล่ียนแปลงทางการทำหน้าที่ ทางกาย ไม่ว่าจะเป็นการทำงานบ้าน การทำงานในบทบาทหน้าที่งานประจำ การออกกำลังกาย เน่ืองจากร่างกายผู้สงู อายุเรมิ่ จะมีข้อจำกัดทางร่างกายทำให้ความคลอ่ งตัวในการคดิ การกระทำ การ ส่อื สาร สัมพนั ธภาพทางสังคมลดลง 1.4.4 การเปลีย่ นแปลงทางพยาธสิ ภาพ การเปลี่ยนแปลงเชิงปัจจัยนำที่จะส่งผลให้ เกิดโรค รวมถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ของผู้สูงอายุ เช่น การรับประทานอาหาร สูบบุหรี่ ดื่ม แอลกอฮอล์ 1.4.5 การเปลย่ี นแปลงทางความสำเร็วของชวี ิต การแสดงออกถึงการมีสุขภาพดี มี ความสขุ และรวมถึงความพงึ พอใจในบนั้ ปลายชีวติ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ เป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและ จิตใจรวมทั้งการทำงานของระบบร่างกายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่างๆ มีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านชีวภาพท่ีเก่ียวขอ้ งกับระบบประสาทและระบบกล้ามเนอ้ื ท่ีทำให้การทำงานของ ผู้สูงอายุลดลง การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ เป็นการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และสัมพันธ์กับร่างกาย และสังคม ส่วนการเปล่ียนแปลงดา้ นสมรรถภาพการทำหน้าทีท่ างกายเป็นข้อจำกัดทางกายเนื่องจาก ผู้สงู อายุมีสมรรถภาพลดลง การเปลีย่ นแปลงดา้ นพยาธภิ าพ เปน็ ปจั จยั หรอื พฤตกิ รรมทที่ ำให้เกิดโรค ในผู้สูงอายุ และการเปลี่ยนแปลงทางความสำเร็จของชีวิต จะเกี่ยวข้องกับการมีความสุขและความ พอใจในชวี ิต โดยการเปล่ียนแปลงดังกลา่ วจะแตกตา่ งกันในแต่ละบุคคล 2. ความสำคญั ของความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรผสู้ งู อายุ ความ แตกฉานด้านสขุ ภาพ Health literacy หมายถึง ทักษะด้านต่างๆ ทางการรับรู้ และทางสังคม ซึ่งเป็นตัวกำหนด แรงจูงใจและความสามารถของ ปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจ และใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมและบำรงุ รกั ษาสขุ ภาพของตนเองใหด้ ีอยู่เสมอ(Nutbeam D, 2009) ความหมายดังกล่าวเป็นผลของพฒั นาการนับตัง้ แตแ่ นวคิดนี้ ปรากฏครัง้ แรกในการสัมมนา ทางวิชาการด้านสุขศึกษา เม่อื ปี ค.ศ. 1974(Mancuso JM, 2009) ตอ่ มามกี ารกำหนดนยิ ามขึน้ อย่าง หลากหลาย กระท่ังมกี ารให้ คำนิยามโดยองค์การอนามัยโลก ในปี ค.ศ. 1998 การประยกุ ตใ์ ช้แนวคิด เรื่อง Health literacy ในประเทศไทย พบว่าการใช้คำเรียก Health literacy ในวงวิชาการของไทย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 14 มีหลายคำ ได้แก่ ความแตกฉานด้านสุขภาพ ความฉลาดทางสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การ รเู้ ทา่ ทนั เป็นต้น ซึง่ อาจเกิดข้นึ เพราะ การเลือกใชค้ ำนยิ าม การตีความ และกำหนดขอบเขตบนฐาน ของประสบการณ์และการปฏิบัติงานในแต่ละสาขาวิชาชีพ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกใช้คำว่า “ความรอบรู้ด้านสุขภาพ” ตามที่กระทรวงสาธารณสุขใช้ในปัจจุบัน แนวความคิดเรื่องความรอบรู้ ด้านสุขภาพมีความชัดเจนมากขึ้น เมื่อมีการจำแนกระดับของความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็น 3 ระดับ (Nutbeam D, 2000, Nutbeam D, 2008) คือ 1) ระดบั พื้นฐาน หรอื Functional Health literacy ได้แก่ ทกั ษะ การฟงั พดู อา่ น และเขียน ซึง่ เป็นทกั ษะที่จำเปน็ ต่อการสรา้ งความเข้าใจและการใชช้ วี ิตประจำวนั ผูส้ งู อายจุ ำเปน็ ตอ้ ง ใช้ทักษะพื้นฐาน เหล่านี้ในการอ่านฉลากยา (Medical label) อ่านใบยินยอม (Consent form) วิธี รบั ประทานยา กำหนดนัดหมาย เป็นตน้ 2) ระดับการปฏิสัมพันธ์ หรือ Interactive Health literacy ได้แก่ ทักษะในการ สอื่ สาร การเลือกใช้ขอ้ มลู การจำแนกแยกแยะข้อมูลขา่ วสาร การใช้ขอ้ มูลขา่ วสารในการปรับเปล่ียน พฤตกิ รรมสขุ ภาพ เป็นต้น 3) ระดบั วจิ ารณญาณ หรอื Critical Health literacy ได้แก่ ทักษะทางปัญญาและ สงั คมท่สี ามารถใชข้ ้อมูลข่าวสารในการวิเคราะห์เชงิ เปรียบเทียบ จดั การสถานการณใ์ นการดำรงชีวิต ประจำวนั ของตนเองได้ และมสี ่วนร่วมผลกั ดนั สังคมและการเมืองเพ่ือส่งเสริมการมีสุขภาพดี ต่อมามี แนวคิดในการเพ่ิมระดับในขนั้ media literacy(Manganello JA, 2007) หรือการร้เู ทา่ ทนั ส่ือ โดยให้ ความหมายว่า คอื สภาวะทเี่ กิดจากความสามารถของบคุ คลในการวิเคราะหค์ วามหมายของเน้ือความ ประเมนิ คณุ ค่าและเจตนาท่ีส่อื นำเสนอผ่านเทคนิควิธกี ารต่างๆ(UNESCO, 2013) ทำให้ต้องเน้นการ พฒั นาและสร้างการเรียนรู้ส่ือต่างๆ โดยเฉพาะส่ือสาธารณะท่ี มีอทิ ธพิ ลสูงมากตอ่ การดำเนินชวี ิตของ คนทุกชนชั้น การจำแนกระดับความสามารถด้านนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ(UNESCO, 2013) การ รู้เท่าทันข้อมูลข่าวสาร (information literacy) และการรู้เท่าทันสื่อ (media literacy)( Berkman ND, Davis TC and McCormack L, 2010) นับเปน็ การขยายแนวคดิ ให้เปน็ รูปธรรมมากยง่ิ ขึ้นในแง่ ของการสร้างตัวชี้วัด และกำหนดวิธีการประเมินเพื่อให้สะท้อนถึงระดับของการพัฒนาในด้านการ รู้เท่าทนั สอ่ื อันจะนำไปสูก่ ารคดิ หาวิธีการเพิ่มพนู ความ สามารถดา้ นนี้ให้เกดิ ผลดีต่อสขุ ภาพ จากสถานการณผ์ ู้สงู อายใุ นปัจจบุ นั พบวา่ ผ้สู ูงอายมุ ีแนวโนม้ เพมิ่ มากขึน้ แต่การรับรู้ทางด้าน สุขภาพตำ่ ลง ประสบปัญหาการขาดความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยความรอบรู้ด้านสุขภาพประกอบไป

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 15 ด้วย 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลสขุ ภาพและบรกิ ารสุขภาพ (access) ความรู้ ความเข้าใจ (cognitive) ทักษะการสื่อสาร (communicative skill) ทักษะการตัดสินใจ (decision skill) การ จัดการตนเอง (self-management) และการรู้เท่าทันสื่อ (media literacy) องค์ประกอบและ คณุ ลักษณะสำคญั ของความรอบร้ดู า้ นสุขภาพ(กระทรวงสาธารณสขุ , 2561) 1. การเขา้ ถึงขอ้ มูลสขุ ภาพและบริการสุขภาพ คอื การเลือกแหล่งขอ้ มูลด้านสุขภาพ และบริการสุขภาพ รู้วิธีการค้นหาและการใช้อุปกรณ์ในการค้นหา ค้นหาข้อมูลสุขภาพและบริการ สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหลง่ ได้ เพื่อยืนยันความเข้าใจของตนเอง และ ได้ขอ้ มูลท่ีน่าเชอ่ื ถอื สำหรบั นำไปใช้ในการดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง 2. ความรู้ความเข้าใจ มีความรู้และจำในเนื้อหาสาระสำคัญด้านสุขภาพ สามารถ อธิบายถึงความเข้าใจในประเด็นเนือ้ หาสาระด้านสุขภาพในการที่จะนำไปปฏิบัติ สามารถวิเคราะห์ เปรยี บเทียบเนื้อหา/แนวทางการปฏบิ ตั ดิ ้านสุขภาพไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล 3. ทักษะการสื่อสาร สามารถสื่อสารข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพด้วยวิธีการพูด อ่าน เขยี นให้บคุ คลอน่ื เขา้ ใจ สามารถโน้มน้าวให้บุคคลอน่ื ยอมรับข้อมลู ด้านสุขภาพ 4. ทักษะการจัดการตนเอง สามารถกำหนดเป้าหมายและวางแผนการปฏิบัติ สามารถปฏบิ ัตติ ามแผนท่ีกำหนดได้และมกี ารทบทวนปรับเปล่ยี นวธิ ีการปฏิบัติตนเพือ่ ให้มีพฤติกรรม สขุ ภาพทีถ่ กู ตอ้ ง 5. ทักษะการตัดสินใจ กำหนดทางเลือกและปฏิเสธ/หลีกเลี่ยงหรือเลือกวิธีการ ปฏิบัติเพื่อให้มีสุขภาพดี ใช้เหตุผลหรือวิเคราะห์ผลดีผลเสียเพื่อการปฏิเสธ หลีกเลี่ยง เลือกวิธีการ ปฏบิ ัติ สามารถแสดงทางเลอื กท่เี กดิ ผลกระทบนอ้ ยตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ 6. การรู้เท่าทันสื่อ สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของข้อมูล สุขภาพที่สื่อนำเสนอ เปรียบเทียบวิธีการเลือกรับสื่อเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง และผู้อน่ื มีการประเมินข้อความทส่ี ือ่ นำเสนอ เพื่อช้ีแนะแนวทางให้กบั ชุมชนหรือสังคมได้ สำหรับแนวทางจำแนกการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพตามแนวคิดของ Nutbeam ดงั รายละเอยี ดดงั ตอไปนี้

16 คณุ ลักษณะสำคัญท่ี ระดับความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ จำเป็นต้องพฒั นาเพื่อ เพิม่ ความรอบรทู้ าง ระดับปฏิบัติ ระดบั ปฏิสมั พันธ์ ระดบั วิจารณญาณ (Functional Health (Functional Health (Interactive Health สขุ ภาพ Literacy) Literacy) Literacy) 1. การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงมีความสามารถในการมีการเข้าถงึ ขอ้ มูลสุขภาพมีการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สุขภาพ สขุ ภาพและบริการ เลอื กแหล่งขอ้ มลู สุขภาพ และบริการสุขภาพ และบริการสขุ ภาพระดบั สขุ ภาพ (Access) รวู้ ิธกี ารในการคน้ หาและ ระดับพ้นื ฐานและมี ปฏิสมั พนั ธแ์ ละมี การใช้อปุ กรณ์สบื คน้ ความสามารถในการ ความสามารถในการ อาทิคอมพวิ เตอร์ ระบบ ค้นหาขอ้ มูลสขุ ภาพท่ี ตรวจสอบขอ้ มลู จาก หอ้ งสมุด ถกู ต้องและทันสมยั เพ่ือ หลายแหล่งจนข้อมูลมี การปรับเปล่ียน ความนา่ เชอื่ ถือสำหรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพ การนำมาใช้ 2. ความรู้ ความเขา้ ใจ การรแู้ ละการจำประเด็น มคี วามรู้ความเขา้ ใจ มคี วามรู้ความเข้าใจ (Cognitive) เนือ้ หาสำคัญในการ ระดับพ้ืนฐานและ ระดบั ปฏสิ มั พนั ธ์และ ปฏิบัติตัวเพ่ือให้มสี ขุ ภาพ สามารถอธิบายถึงความ สามารถวเิ คราะหห์ รือ ดี เขา้ ใจในการจะนำไป เปรียบเทียบอยา่ งมี เหตุผลเกยี่ วกับแนว ปฏิบตั ิตวั ไดอ้ ย่างถูกต้อง ทางการมีพฤตกิ รรมที่ ถูกตอ้ ง 3. ทักษะการสื่อสาร มีความสามารถในการ มกี ารทกั ษะการส่ือสาร มีทกั ษะการสอื่ สารระดบั (Communication ส่อื สารโดยการพูด อา่ น ระดับพน้ื ฐานและ ปฏิสมั พันธ์และสามารถ skill) เขยี นข้อมลู เกี่ยวกับการ สามารถสอ่ื สารใหบ้ คุ คล โนม้ น้าวให้ผอู้ ่นื ยอมรับ ปฏิบตั ิ อ่ืนเขา้ ใจเกี่ยวกับวิธีการ แนวทางการมพี ฤตกิ รรม ปฏบิ ัติตัว ทถ่ี ูกต้อง 4. ทักษะการตดั สินใจ มีความสามารถในการ มที ักษะการตัดสนิ ใจ มีทกั ษะการตดั สินใจ (Decision Skill) กำหนดทางเลอื กและ ระดับพนื้ ฐานและมี ระดบั ปฏสิ ัมพนั ธแ์ ละ ปฏเิ สธ/หลกี เล่ยี ง/เลอื ก ความสามารถในการใช้ สามารถแสดงทางเลือกท่ี เหตุผลหรือวิเคราะห์ผลดี เกิดผลกระทบนอ้ ยตอ่

17 คุณลกั ษณะสำคัญท่ี ระดับความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ จำเป็นตอ้ งพฒั นาเพือ่ เพ่ิมความรอบรทู้ าง ระดับปฏบิ ตั ิ ระดบั ปฏิสมั พันธ์ ระดับวิจารณญาณ (Functional Health (Functional Health (Interactive Health สุขภาพ Literacy) Literacy) Literacy) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงวธิ ีการการปฏบิ ัติเพอ่ื ให้มี ผลเสียเพอ่ื การปฏิเสธ/ตนเองและผู้อนื่ หรอื แสดงขอ้ มลู ท่ีหกั ล้าง สขุ ภาพดี หลกี เลยี่ ง/เลือกวธิ กี าร ความเขา้ ใจผดิ ได้อยา่ ง เหมาะสม การปฏบิ ัตซิ ่งึ เปน็ ทางเลอื กทีเ่ หมาะสม เพอ่ื ใหม้ สี ุขภาพดี 5. การจัดการตนเอง มคี วามสมารถในการ มีการจัดการตนเอง มีการจัดการตนเองระดับ (Self-management) กำหนดเป้าหมายและ ระดบั พนื้ ฐานและ ปฏสิ มั พนั ธ์และมี วางแผนในการปฏิบัตติ น สามารถทำตามแผนที่ ความสามารถในการ เพ่ือให้มพี ฤติกรรม กำหนดโดยมเี ป้าหมาย ทบทวนวิธกี ารปฏิบัตติ น สขุ ภาพท่ถี กู ต้อง เพ่ือใหม้ ีพฤติกรรม ตามเปา้ หมายเพอ่ื นำมา สขุ ภาพท่ีถูกต้อง ปรับเปลี่ยนวิธีปฏบิ ตั ิตน ให้มี 6. การรู้เท่าทันสอ่ื มคี วามสามารถในการ มีการรู้เทา่ ทนั สื่อ มกี ารรู้เทา่ ทนั ส่อื ระดบั (Media Literacy) ตรวจสอบความถกู ต้อง ระดับพน้ื ฐานและ ปฏิสัมพนั ธ์และมี ความน่าเช่ือถอื ของขอ้ มลู สามารถเปรยี บเทยี บ ความสามารถในการ ท่ีส่ือนำเสนอเพ่ือนำมาใช้ วธิ ีการเลือกรบั ส่ือเพอ่ื ประเมนิ ขอ้ ความส่ือเพือ่ ในการดูแลสุขภาพตนเอง หลกี เลี่ยงความเสย่ี งท่ี ชี้แนะแนวทางให้กับ ชุมชนหรอื สงั คม อาจเกดิ ขน้ึ กบั สขุ ภาพ ของตนเองและผู้อื่น ความแตกต่างของระดับ Health literacy นั้นมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ทางสุขภาพ (health outcomes)(Parker R, 2000) ได้แก่ สถานะสุขภาพ การควบคุมระดับน้ำตาล พฤติกรรม สุขภาพที่สำคัญ (อาทิ การสูบบุหรี่ การใช้ยาเสพติด การปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์) ซึ่งมี สาเหตุจากการขาดความรู้และทกั ษะในการปอ้ งกันหรือดูแลสุขภาพของตนเอง สง่ ผลตอ่ การตัดสินใจ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 ใช้ข้อมูลข่าวสารความรู้และการเลือกบริการด้านสุขภาพที่ถูกต้อง(Pignone M, DeWalt DA, Sheridan S, Berkman N and Lohr KN, 2005) ผู้สูงอายุอยู่ในสถานะกลุ่มเสี่ยงที่อาจยอมรับหรือ หลงเช่ือบุคคลทีไ่ ว้วางใจหรอื แหล่งขอ้ มูลท่ีใกล้ชิดได้งา่ ย ทำใหข้ าดความสามารถในการกล่ันกรองอัน นำไปสู่การตัดสินใจที่ผิดพลาด หากประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทย ซึ่งในเวลาไม่นานนี้จะ กลายเป็นคนกลุ่มใหญข่ ้นึ มีระดบั Health literacy ต่ำลงในเวลาอนั รวดเร็ว ย่อมจะสง่ ผลต่อสภาวะ สุขภาพในภาพรวม กล่าวคือ ผู้สูงอายุจะขาดความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวน ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะเพิม่ ขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลในภาพรวมเพิ่มสูงขึ้น การ พึ่งพาบริการทางการแพทยม์ ากขนึ้ จะทำให้โรงพยาบาลและหน่วยบริการสุขภาพรบั ภาระหนกั ในงาน รักษาพยาบาล และอาจเกิดข้อจำกัดในการให้ความเท่าเทียมเพื่อเข้าถึงบริการขึ้นได้ ดังนั้นการให้ ความสำคัญต่อการสร้างเสริม Health literacy จึงหมายถึงการส่งเสริมให้ประชากรผู้สูงอายุมี ความสามารถในการดแู ลสขุ ภาพของตนเองไดน้ น่ั เอง(ขวัญเมือง แก้วดำเกิงและนฤมล ตรเี พชรศรอี ไุ ร, 2554) 3. คุณภาพชีวิต (Quality of life) 3.1 ความหมายของคณุ ภาพชวี ิต มีผู้ให้คำจำกัดความของคุณภาพชีวิตไว้หลายคำ (quality of life) เช่น ความรู้สึก ของคนเมื่อมีความเป็นอยู่ที่ดี (a person’s sense of well-being) ความพึงพอใจ (satisfaction) และความสขุ (Happiness) ซึง่ ความร้สู ึกเป็นสขุ ของบคุ คล ความพึงพอใจไมพ่ ึงพอใจกบั ชีวติ หรือการ มีความสุขไม่สุขกับชีวิต ความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตนี้เปรียบเสมือนพารามิเตอร์ของการวัด คุณภาพชีวิตของบุคคลด้วย(Dalkey NC and Rourke DL, 1973) ทั้งนี้คำจัดกัดความมีความหมาย คล้ายคลึงกัน(Ferrans CE and Powers MJ, 1985, Yuan LL, Yuen B and Low C, 1999) โดย ระบวุ า่ คณุ ภาพชวี ิตน้นั ไมไ่ ดม้ ีความหมายตายตัวหรอื สามารถระบไุ ด้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ขึน้ อยู่กับความ ตอ้ งการขน้ั พืน้ ฐานของตวั บุคคล ชุมชนและสังคมท่ีแตกต่างกันออกไป(Cummins J and Sayers D, 1997) 3.2 องคป์ ระกอบของคุณภาพชีวติ World Health Organization Quality of Life(1 9 9 4 ) ( Group W, 1994) ไ ด้ จำแนกองคป์ ระกอบของคุณภาพชวี ิตเป็น 6 กล่มุ ดังนี้ 1. ด้านสุขภาพกาย การรู้ถึงสภาพร่างกายของตน ซึ่งส่งผลกับ ชวี ติ ประจำวัน เช่น การรถู้ ึงความไม่สขุ สบายกาย สภาพความสมบูรณร์ ่างกาย และสามารถจดั การกับ ความเจ็บปวดทางกายได้ การนอนหลบั พักผอ่ น และรถู้ งึ ความสามารถในการประกอบอาชพี รวมถึง การรบั รู้ด้านเพศสมั พนั ธ์

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 19 2. ด้านจิตใจ การรู้ถึงสถานะจิตใจของตนเอง เช่น การรู้ถึงความคิดและ ความรู้สึกทางบวกที่บุคคลมีต่อตนเอง การรู้ถึงความภาคภูมิใจ ความมั่นใจ การตัดสินใจ ความคิด ความจำในการเรยี นรูข้ องตน รู้ถึงการจดั การกับความเครียด กงั วล และหดหเู่ ศร้าหมองได้ 3. ด้านระดับความเป็นอสิ ระที่ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น การรู้ถึงความสามารถใน การเคลื่อนไหว ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวนั และความสามารถในประกอบอาชีพการ งาน 4. ดา้ นความสัมพนั ธท์ างสังคม การรู้ถงึ การไดร้ ับความช่วยเหลอื จากบุคคล อื่นในสังคม การรับรู้ความสัมพันธ์ระหว่างกับบุคคลอื่น รู้ว่าตนเองสามารถหยิบยื่นการให้ ความ ชว่ ยเหลือผู้อืน่ ไดต้ ามความเหมาะสมรวมถึงการรบั ร้อู ารมณท์ างเพศ 5. ด้านสิ่งแวดล้อม การรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีวิต เช่น ความปลอดภัย ความเป็นอสิ ระ ความมั่นคงในชีวติ ทั้งสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ดิน นำ้ อากาศ ทปี่ ราศจากมลพิษ มีการคมนาคมทีส่ ะดวก มสี ถานบรกิ ารสุขภาพ รวมถึงการรับรู้ถึง กจิ กรรมในเวลาวา่ งและการมีกิจกรรมนันทนาการ 6. ดา้ นความเชือ่ ของบุคคล การรู้ถึงความเชอ่ื มั่น การรับรู้ด้านจิตวิญญาณ ศาสนา การให้ความหมายของชีวิตและความเชื่ออนื่ ๆ ทีม่ สี ว่ นผลกั ดันให้พยายามเอาชนะอุปสรรค ท่ี ผ่านเขา้ มา WHO ยังได้จำแนกองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตออกเป็น 4 มิติ (The WHO group, 1995)( Group W, 1995) ดังนี้ 1. ด้านสขุ ภาพร่างกาย เปน็ การรบั รเู้ ก่ียวกบั ความเปน็ ไปและความผิดปกติ ของรา่ งกาย เช่น ความเจบ็ ป่วย การเคลือ่ นไหวออกแรง การพักผอ่ นนอนหลับ ความสามารถในการ ดำรงชวี ิต การทำกิจกรรมตา่ งๆ และความสามารถในการประกอบอาชพี 2. ด้านจิตใจ เป็นการรู้ถึงความคิดและความรู้สึกทางบวกที่บุคคลมีต่อ ตนเอง การรถู้ ึงความภาคภูมิใจ ความม่ันใจ การตดั สนิ ใจ ความคิด ความจำในการเรียนรขู้ องตน รู้ถึง การจัดการกับความเครียด กงั วล และหดห่เู ศร้าหมองได้ 3. ด้านความสมั พนั ธท์ างสังคม การรถู้ ึงการได้รับความชว่ ยเหลือจากบุคคล อ่นื ในสังคม การรบั รู้ความสัมพนั ธ์กับบคุ คลอน่ื รวู้ า่ ตนเองสามารถหยิบยืน่ การใหค้ วามช่วยเหลือผู้อ่ืน ไดต้ ามความเหมาะสม 4. ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีวิต เช่น ความปลอดภัย ความเป็นอิสระ ความมั่นคงในชีวิต ทั้งสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ดนิ น้ำ อากาศ ทีป่ ราศจากมลพิษ มกี ารคมนาคมท่ีสะดวก มีสถานบริการสุขภาพ รวมถึงการรับรู้ถึง กิจกรรมในเวลาว่างและการมีกิจกรรมนันทนาการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 20 3.3 การประเมินคณุ ภาพชีวิต จากการทบทวนวรรณกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินระดับคุณภาพชีวิตของ บุคคลที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลนั้นมีความหลากหลายปรับเปลี่ยนไปในแต่ละมุมมองและ จดุ ประสงค์ทตี่ อ้ งการจะทำการประเมนิ ซ่งึ สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทคอื แบบประเมนิ คณุ ภาพ ชีวติ แบบเจาะจงและประเมนิ คุณภาพชีวติ แบบทั่วไป สำหรบั การประเมนิ เพือ่ อธิบายระดับคุณภาพชวี ิตของบคุ คลโดยรวม จะใช้ แบบประเมนิ คุณภาพชีวิตทั่วไป เนื่องจากข้อคำถามท่ีใชจ้ ะมคี วามเป็นกลางไม่เฉพาะเจาะจงหรอื ลง ลึกในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ผลจากการวัดสามารถนำมาเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับ คุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคลได้ทุกกรณีไม่ว่าสถานสุขภาพของผู้ที่ถูกวัดจะเป็นอย่างไร มีความ เจ็บป่วยหรือระดับความรุนแรงของโรคใดก็ตาม ข้อด้อยของแบบประเมินจะขาดความไวและ ความจำเพาะของโรคหรือสาเหตุหรือปัจจยั ที่เป็นที่มาของการเจ็บปว่ ยท่แี ตกต่างกนั แบบประเมินใน กลุ่มนี้สามารถจำแนกเป็น 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1. เครื่องมือประเมินคุณภาพชีวิตแบบหลายมิติ ลักษณะของเครื่องจะ ประกอบไปด้วยขอ้ คำถามทีค่ รอบคลุมในหลายมิติ แยกประเมินแต่ละด้าน แล้วนำผลการประเมินท่ี ไดม้ าอธบิ ายเป็นรายด้านหรือสรุปเปน็ ภาพรวม ซงึ่ แบบประเมินที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ แบบประเมิน Short Form 36 หรือ SF-36 Health Survey พัฒนาโดย Medical Outcome Study(MOS)( Garratt A. et al., 2002) ข้อคำถามครอบคลุมประเด็นสุขภาพและขีดความสามารถทั้งทางร่างกาย และจติ ใจของผถู้ กู ประเมิน จำนวน 36 ขอ้ แบบประเมนิ Sickness Impact Profile (SIP) โดย John Hopkins University เปน็ แบบประเมนิ คณุ ภาพชวี ิตในมิติทางร่างกายและทางจิตใจของผถู้ ูกประเมิน ในขณะนั้น แต่เนื่องจากขอ้ คำถามมจี ำนวนมากถงึ 136 ข้อ จึงเกิดข้อจำกัดในการประเมนิ จึงมีการ ปรับปรุงและลดปริมาณข้อคำถามลงเหลือ 68 ข้อและได้เพิ่มมิติพฤติกรรมสังคมเข้าไปในแบบ ประเมิน(Nanda U. et al., 2003) แบบประเมินคุณภาพชีวิต Nottingham Health Profile(NHP) พัฒนาโดยภาควิชาอนามัยชุมชนของมหาวิทยาลัยนอตติงแฮม(Hunt SM. Et al., 1980) ข้อคำถาม จะครอบคลมุ 2 ประเดน็ คอื คณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มติ ิทางกายและปัญหาในการดำรงชวี ิต แบบประเมิน คุณภาพชีวิต WHOQOL-BREF พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก มีประเด็นครอบคลุมใน 4 มิติ ได้แก่ มิตดิ ้านจิตใจ มติ ิทางด้านร่างกาย มิติด้านสังคมและมิติทางสิ่งแวดลอ้ ม โดยมขี อ้ คำถามท้ังส้ิน 26 ข้อ 2. เครื่องมือประเมินคุณภาพชีวิตแบบอรรถประโยชน์ ซึ่งการประเมิน อรรถประโยชน์เป็นการวัดระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในเชิงเศรษฐศาสตร์ โดยการประเมินสถาน สุขภาพของบุคคลออกมาเป็นค่าตัวเลขและคำนวณผลลัพธ์ออกมาเป็นปีสุขภาวะ (Disability adjusted life years: DALYs) เป็นเครื่องชี้วัดทางสุขภาพแบบองค์รวม วัดการสูญเสียสุขภาพและ ชอ่ งว่างของการมสี ุขภาพดี (Health gap) มหี น่วยนับเปน็ ปีสขุ ภาวะ ในการประเมินคุณภาพชีวิตแบบ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 21 อรรถประโยชน์มีการวัด 2 วิธี คือ การวัดอรรถประโยชน์ทางตรง (Direct Measured Utility Methods) เคร่อื งมือท่นี ยิ มใช้ ได้แก่ แบบประเมนิ Visual Analogue Scale (VAS) ซง่ึ เป็นแบบวัดที่ ให้ผู้ถูกวัดทำการประเมินสถานสุขภาพของตนเอง แบบ Standard Gamble (SG) ประเด็นคำถาม เป็นการวดั อรรถประโยชน์จากวิธีการรักษาพยาบาลในกลุ่มโรคความเส่ียงสูงและการยอมรบั ทีจ่ ะทำ การรักษาเมื่อเจ็บป่วยแบบ Time Trade-Off (TTO) เป็นการวัดโดยให้ผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบ อรรถประโยชน์ระหว่างการมีสุขภาพดีในเวลาอนั ส้นั หรอื การดำรงชวี ิตอยยู่ าวนานพร้อมการเจ็บป่วย สำหรับการวัดอรรถประโยชน์ทางอ้อม (Indirect Measured Utility Methods) วิธีนี้จะเป็นการวดั สถานสุขภาพของบุคคลในหลายมิติ จากนั้นจะนำมาคำนวณหาอรรถประโยชน์โดยใช้คา่ สมการที่ได้ จากการทำนายของสมการถดถอย เครื่องมือที่นิยมใช้ได้แก่ Euro-QOL (EQ-5D) ประกอบด้วย ข้อ คำถามใน 5 มติ ิ ได้แก่ การเคลอ่ื นไหว การดแู ลตนเอง การประกอบกิจวตั รประจำวัน ความเจ็บปวด และความไม่สุขสบาย และความวิตกกังวลและซึมเศร้า (พรรณทิพา ศักดิ์ทอง, 2554)(พรรณทิพา ศกั ด์ิทอง, 2554) Quality of Well-Being (QWB) มอี งค์ประกอบทัง้ ส้นิ 4 มติ ิ ได้แก่ การเคล่ือนไหว (Mobility) กจิ กรรมด้านร่างกาย (Physical activity) กจิ กรรมทางด้านสังคม (Social activity) และ มิติทางอารมณ์ (Symptom-problem complex)( Kaplan RM and Anderson JP, 1988) มักจะ นำมาใชป้ ระเมินคุณภาพชีวติ ในกลุ่มผู้ปว่ ยในกลุ่มโรคมะเร็ง โรคเอดส์ การศึกษาครง้ั นี้ ผู้วิจัยต้องการประเมินคณุ ภาพชวี ิตประชาชนกล่มุ ผู้สูงอายุ ที่สะท้อนให้เห็นถึงระดับคุณภาพชีวิตครอบคลุมมิติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และจากการศึกษาถึงข้อดีข้อด้อยของเครื่องมือสำหรับการประเมินคุณภาพชีวติ พบว่า WHOQOL- BREF มีความครอบคลุมการวัดระดับคุณภาพชีวติ และตรงตามวัตถปุ ระสงคใ์ นการศึกษาครั้งนี้จึงทำ การเลือกใช้แบบประเมนิ WHOQOL-BREF ซงึ่ มีรายละเอยี ด ดังน้ี แบบประเมินนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก มีการกำหนด ความหมายและขอบเขตของการประเมินคุณภาพชีวิตไว้ 6 มิติ ได้แก่ มิติด้านร่างกาย (Physical Domain) มิติด้านจิตวิญญาณ/ศาสนา/ความเชื่อส่วนบุคคล (Spirituality/Religion/Personal Beliefs) มิติด้านจิตใจ (Psychological Domain) ความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relationship) มิตดิ ้านความเปน็ อิสระ (Level of Independence) และด้านสิง่ แวดล้อม (Environment) ผ่านการ ประเมนิ จากผ้เู ชยี่ วชาญและทดลองใชค้ รัง้ แรกใน 15 ประเทศทวั่ โลก โดยประเทศไทยได้นำมาทดลอง ใช้พร้อมกัน ข้อคำถามมีจำนวนทั้งหมด 100 ข้อ เรียกว่า WHOQOL-100(WHO, 1995) และต่อมา ได้มีการปรับปรุงให้มีขนาดสั้นลงเหลือเพียง 26 คำถาม ใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม(The Whoqol G, 1998) ในแต่ละข้อมีตัวเลือกให้ตอบ 5 ตัวเลือก ตามลำดับ ใช้เวลาในการตอบ 15-20 นาที WHOQOL BREF นี้ มีการแปลเป็นฉบับภาษาไทย มีค่า ความเชอื่ มั่นของแบบประเมนิ ฉบบั นีเ้ ทา่ กับ 0.84 และคา่ ความตรง 0.65(สวุ ฒั น์ มหัตนริ ันดรก์ ุล และ

22 คณะ, 2540) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง4. แนวคดิ เกี่ยวกับพฤติกรรมสขุ ภาพ 4.1 ความหมายของพฤติกรรมสขุ ภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (Health behavior) หมายถึง การกระทำ การปฏิบัติ การ แสดงออก และทา่ ทีทจ่ี ะกระทำซ่ึงก่อให้เกดิ ผลดีหรือผลเสยี ต่อสุขภาพของตนเอง พฤติกรรมสุขภาพ นั้นสามารถจำแนกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ การกระทำหรือการปฏิบตั ิของบุคคลที่มีผลดหี รือผลเสียต่อ สขุ ภาพและการงดเวน้ ไมก่ ระทำ หรือการไมป่ ฏบิ ัตขิ องบุคคลท่ีมีผลดีหรอื ผลเสียต่อสุขภาพ(อังศินันท์ อินทรกำแหง, 2552) ประภาเพ็ญ สุวรรณ และสวิง สุวรรณ(อุไรรัชน์ บุญแท้, 2554) กล่าวไว้ว่า พฤตกิ รรมสขุ ภาพ (Health behavior) หมายถึง กจิ กรรมต่าง ๆ ของรา่ งกายที่แสดงออกมาเป็นการ เปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ทัง้ ภายในและภายนอก (Covert and overt behavior) ทค่ี าดหวังใหบ้ คุ คลนั้น มสี ขุ ภาพอนามยั ท่ดี ี ไมเ่ ป็นโรคและปอ้ งกนั ไม่ให้เกดิ โรคหรืออยใู่ นสภาวะทีไ่ ม่ทำให้เกดิ โรคไดง้ ่าย ซ่ึง พฤตกิ รรมสุขภาพนัน้ จะเปน็ กิจกรรมท่ีสังเกตเห็นได้หรือไม่สามารถสงั เกตเหน็ ได้แต่สามารถวินิจฉัยได้ ว่าพฤติกรรมสุขภาพนั้นๆ มีหรือไม่มี โดยใช้วิธีการหรือเครื่องมือทางด้านจิตวิทยา ปัจจัยเหล่านี้มี อิทธิพลตอ่ พฤติกรรมการปฏิบตั ขิ องบคุ คล พฤติกรรมสุขภาพ (Health behavior) เป็นแนวคิดที่มีความหมายเดียวกันกับ แนวคิดพฤติกรรมทั่วไป แต่จะเน้นเฉพาะในเรื่องในการปฏิบัติและกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกบั สขุ ภาพเปน็ หลัก เปน็ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก การแสดงออกของบุคคลเกีย่ วกับการป้องกันโรค และการฟืน้ ฟูสภาพ เป็นกจิ กรรมหรอื การปฏบิ ตั ิใดๆ ของบคุ คลทสี่ ามารถวดั ได้ ระบุได้และทดสอบได้ นอกจากนั้น พฤติกรรมสุขภาพยังเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถเรียนรู้และปลูกฝังเป็นนิสัยได้ ฉะนั้น พฤติกรรมสขุ ภาพ จงึ เป็นกิจกรรมทีบ่ คุ คลแสดงออกเพื่อภาวะสขุ ภาพอนามัยท่ีดีของตนเอง หายจาก โรคและป้องกันมใิ หเ้ กิดโรคหรอื ไมใ่ ห้เกิดภาวะที่เปน็ โรคร้าย(วัชพลประสทิ ธิ์ ก้อนแกว้ , 2557) จากแนวคดิ ดังกล่าวสรุปได้ว่า พฤติกรรมสุขภาพ (Health behavior) หมายถงึ การ ปฏบิ ัติตัวของบุคคลซง่ึ การปฏบิ ัติตัวนน้ั สง่ ผลกบั สุขภาพของบุคคลนั้น ซง่ึ การปฏบิ ตั ติ วั จะส่งผลดีหรือ ผลเสียต่อสขุ ภาพขึ้นอยู่กบั ว่าการปฏิบัติตัวนัน้ เหมาะสมหรอื ไม่ 4.2 แนวคิดเกีย่ วกับพฤตกิ รรมสภุ าพของผสู้ งู อายุ พฤตกิ รรมสุขภาพของผ้สู ูงอายุ(อรชร โวทวี, 2548) หมายถงึ การสง่ เสริมการกระทำ กิจกรรมตา่ งๆ ของผู้สูงอายุ ให้มีการปฏบิ ัติจนกลายเปน็ สว่ นหนึ่งของชีวิตประจำวันเพื่อให้มีสุขภาพ แข็งแรงปอ้ งกันการเกิดโรค สามารถดำเนินชีวติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ สิรินทร ฉันศิริกาญจนา (2539 อ้างถึงใน ธราธร ดวงแก้ว และหิรัญญา เดชอุดม, 2550, หน้า 27)(ธราธร ดวงแก้ว และหิรัญญา เดชอุดม, 2550) ได้เสนอหลัก 11 อ. ซึ่งเป็นสิ่งที่จะ ชว่ ยให้ผสู้ ูงอายมุ สี ขุ ภาพทแี่ ขง็ แรง เป็นการส่งเสรมิ สุขภาพของผู้สูงอายไุ ว้ดังน้ี 1. อาหาร ในวัยผู้สูงอายคุ วามตอ้ งการพลังงานจะลดลง ขณะทคี่ วามตอ้ งการ สารอาหารตา่ งๆ ยงั ใกล้เคยี งกบั วัยผใู้ หญ่ ดงั นั้น ผสู้ ูงอายคุ วรลดอาหารประเภทไขมัน (นำ้ มนั จากสตั ว์

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 23 และพืช ไข่แดง เนย) และคาร์โบไฮเดรต (ข้าว แป้ง และน้ำตาล) ควรได้รับอาหารโปรตีน หรือกลุ่ม เนือ้ สตั วป์ ระมาณ 50-60 กรัมตอ่ วัน หรอื ประมาณม้ือละ 2 ช้อนโต๊ะ ควรเป็นเนอื้ สตั วท์ ย่ี ่อยงา่ ย พวก ปลาจะดีทสี่ ดุ และควรกินผักมากๆ เลอื กกินผลไมท้ ไี่ ม่หวานจดั เลือกกินอาหารท่ี ‘ไม่หวาน ไมม่ นั ไม่ เค็ม’ เพิ่มอาหารที่มีแคลเซียมมากขึ้น เพื่อเสริมให้กระดูกเสื่อมช้าลง เพิ่มใยอาหารธรรมชาติเพื่อ ระบบขบั ถา่ ยเปน็ ปกติ และต้องดม่ื นำ้ เพื่อช่วยในเรื่องระบบไหลเวยี นของเลือด ท้องไม่ผกู 2. อากาศ ผู้สูงอายุควรอยู่ในสถานที่ๆ มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ เหมาะสม อากาศบริสุทธิ์ เพราะจะช่วยให้ปอดนำออกซิเจนไปใชใ้ นการฟอกเลือดให้บริสุทธิไ์ ดด้ ีขน้ึ แลว้ เลอื ดกจ็ ะนำออกซิเจนไปสง่ ต่อกับอวยั วะตา่ งๆ ในร่างกายเพ่อื ใช้เปน็ พลงั งานตอ่ ไป 3. ออกกำลังกาย ผู้สูงอายุควรออกกำลังกายประมาณสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง เพื่อให้ รา่ งกายมคี วามคลอ่ งตัวแขง็ แรง ซงึ่ จะทำให้การทรงตัวและการเคลื่อนไหวดีข้ึน ไมห่ กล้มงา่ ย 4. แสงอาทติ ย์ การได้รับแสงแดดอ่อนๆ ในตอนเช้าอย่างน้อยวนั ละ 30 นาที จะ ทำให้ได้รับวิตามินดี ที่ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส สามารถชะลอการเกิดโรคกระดูก พรนุ ได้ นอกจากน้นั วติ ามนิ ดยี งั ชว่ ยป้องกันโรคซึมเศรา้ มะเร็งต่อมลกู หมาก มะเร็งเตา้ นม เบาหวาน ฯลฯ อีกด้วย 5. อารมณ์ ผู้สูงวัยมักจะมีอารมณ์เปลีย่ นแปลงง่าย หงุดหงิดโมโหง่าย และขี้ น้อยใจ ทำใหข้ าดสติในการพิจารณาไตรต่ รองเหตุผล เกิดความขัดแยง้ ง่าย ผูส้ งู อายจุ ึงต้องหาวิธีช่วย ควบคุมอารมณ์ ซึ่งมีหลายวิธี เช่น การออกกำลังกาย การทำสมาธิ การศึกษาธรรมะ เพื่อทำให้เกิด สารเอ็นดอร์ฟิน สารแหง่ ความสุข ทำใหผ้ อ่ นคลายมสี ติมากข้ึน 6. อบอนุ่ ผสู้ งู อายทุ ี่ฝึกสมาธิภาวนา จะทำให้อารมณด์ ี ยิม้ แยม้ ไม่หงุดหงิด ใจเบาสบาย รักตนเองมากขึ้น ใส่ใจความรู้สึกคนรอบข้างมากขึ้น ทำให้เป็นที่รักของลูกหลาน ลูกหลานจะแวะมาเย่ียมเยียนบ่อยๆ 7. อนามยั คือการดูแลตนเอง โดยเฉพาะการพยายาม ลด ละ เลิก สิ่งที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ รวมทั้งสังเกตการทำงานของอวยั วะ ต่างๆ ในรา่ งกาย เช่น การขบั ถา่ ย เป็นตน้ และควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพเปน็ ประจำทกุ ปี ตั้งแต่อายุ ประมาณ 65 ปีเปน็ ตน้ ไป 8. อดิเรก ปัญหาอย่างหนึ่งของผู้สูงอายุคือความเหงา เพราะไม่คุ้นเคยกับ การอยู่คนเดียว เคยชินกับการอยู่ในสังคมที่มีผู้คนมากๆ มานาน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาความเหงาถ้ามี งานอดิเรกทำกจ็ ะช่วยคลายเหงาได้มาก เช่น เข้าเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ เพราะชมรมแต่ละท่กี ็มี กจิ กรรมหลากหลายให้เลือกทำ เชน่ ลลี าศ ดนตรีไทย ถา่ ยภาพ ท่องเทยี่ ว ฝึกอาชีพ ฯลฯ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 9. อจุ จาระ ปสั สาวะ ปญั หาการขบั ถา่ ยเปน็ อีกเร่ืองหน่ึงของวัยสูงอายุท่ีควรให้ความใส่ ใจ เพราะบางรายอาจมีปัญหาถ่ายยาก ถ่ายลำบาก อีกส่วนหนึ่งอาจมีปัญหาเรื่องกลั้นการขับถ่าย ไมไ่ ด้ ซึ่งแตล่ ะปัญหาจะตอ้ งให้การดูแลแก้ไขไปตามสาเหตุและป้องกนั ด้วยการออกกำลังกาย กินผัก ผลไม้ และดม่ื นำ้ ใหเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการของร่างกาย 10. อบุ ตั เิ หตุ อุบัติเหตุในผู้สูงวัยมักเกิดจากความเสื่อมของร่างกาย เช่น มองเห็นไม่ค่อยชัด หูไม่ได้ยินเสียง การทรงตัวไม่ดี หรือระบบประสาทเสื่อมทำให้หกล้มได้ง่าย จึง จำเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เป็นระเบียบ มีแสงสว่างเพียงพอ พื้นไม่ลื่นเกินไป และมี เครอื่ งชว่ ยพยุงเมอื่ ตอ้ งการ 11. อนาคต การวางแผนอนาคตของชีวิตหลังเกษียณเป็นเรื่องสำคัญ เช่น มี การออมทรพั ยก์ ับหน่วยงานทีเ่ ช่ือถือได้ ฝึกเรียนรเู้ ร่อื งความตายอันจะช่วยปรับทัศนคติในการใช้ชีวิต อย่างไม่ประมาท ฝึกฝนจิตให้การสร้างบรรยากาศของความสงบและการเรียนรู้ที่จะปล่อยวางจาก ภาระที่คั่งค้างในใจ พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ เป็นพฤติกรรมที่นอกจากจะเป็นการปฏิบัติที่มี จุดมงุ่ หมายเพ่อื ส่งเสรมิ สุขภาพใหแ้ ขง็ แรง ป้องกันรา่ งกายให้ปลอดภัยจากโรคภยั ไข้เจบ็ ต่างๆ แล้ว ยงั เป็นการปฏบิ ัติเพ่ือลดภาวการณ์เจ็บป่วย หรือปัญหาที่ผู้สูงอายุกำลงั เผชิญอยู่เพื่อส่งเสริมใหร้ า่ งกาย กลับมาอยูใ่ นสภาวะที่สมดุลโดยเรว็ มรี ่างกายท่แี ขง็ แรง(วัชพลประสทิ ธ์ิ กอ้ นแก้ว, 2557) จากแนวคิดดังกล่าวสรุปได้ว่า พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ หมายถึง การปฏิบัติตัวของผู้สูงอายุจนเป็นลักษณะนิสัยในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งประกอบไปด้วย พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ พฤติกรรมการดื่ม สรุ า พฤติกรรมการจัดการความเครียด พฤตกิ รรมการใช้ยา และพฤติกรรมการปอ้ งกันโรค 5. ปจั จัยทม่ี ีผลกบั ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า มีปัจจัยหลายด้านที่มีความสัมพันธ์ กับความรอบรู้ด้านสุขภาพตามกรอบแนวคิด Health literacy and adolescents: A framework and agenda for future research ของ Manganello JA. (2008) งานวิจัยนี้ได้เลือกปัจจัยที่มี ความสำคัญและบางปัจจัยสามารถพัฒนาได้ในผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังเป็นปัจจัยที่สอดคล้องกับการ พฒั นาศักยภาพดา้ นสุขภาพของบุคคล (คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ, 2559) ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยคาดว่าปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาจะสามารถ ทำนายความรอบรู้ด้านสขุ ภาพได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เพศ เปน็ ลักษณะทแี่ สดงถงึ ความแตกต่างทางด้านสรรี วิทยา และการกำหนดบทบาททาง สงั คม ค่านิยม บุคลกิ ภาพ และการดแู ลตนเองระหว่างเพศหญงิ และเพศชาย (Udry, 1994) ส่งผลให้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 25 ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของเพศชายและหญงิ แตกต่างกัน จากการศึกษาของ Cho, Lee, Arozullah, and Crittenden (2008) ศึกษาความสัมพนั ธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพกับการบริการทางสุขภาพ พบว่า เพศมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของ Hosokawa et al. (2016) เกี่ยวกับความแตกตา่ งทางเพศกับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ ในเลือกการรับประทานอาหารสุขภาพของคนวัยทำงานในญี่ปุ่น พบว่า เพศชายมีอิทธิพลต่อความ รอบรู้ด้านสุขภาพด้านการเลือกรับประทานอาหารสุขภาพ ดังนั้น เพศจึงผลต่อความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพของบุคคล 2. อายุ เป็นปจั จัยพืน้ ฐานทบ่ี ่งบอกพฒั นาการทางด้านร่างกายและจิตใจของมนษุ ย์ และบ่งชี้ วุฒิภาวะหรือความสามารถในการจัดการกับภาวะจิตใจและการรับรู้ อายุมีอิทธิพลในการกำหนด ความสามารถในการดูแลตนเองของบุคคล ทั้งการสืบค้นข้อมลู วิเคราะห์ แยกแยะ และตัดสินใจ ซึ่ง จะเพม่ิ ขนึ้ ตามอายุจนสูงสุดในวัยผู้ใหญ่ และอาจลดลงเม่อื เข้าสู่วัยสูงอายุ ซ่ึงส่งผลต่อความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพดว้ ย (ขวัญเมือง แก้วดำเกิง และนฤมล ตรีเพชรศรีอไุ ร, 2554) ดังจะเห็นไดจ้ ากการศกึ ษาของ Sun et al. (2013) ที่ศึกษาเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยติดเชื้อ ทางเดินหายใจ พบว่า ปัจจัยอายมุ คี วามสัมพันธ์กับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ นอกจากน้ียงั มีการศึกษาของ Berens et al. (2016) ที่ศึกษาเกีย่ วกับความแตกตา่ งของกลุ่มอายุกับ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พบว่า ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของบุคคลเพิ่มขึ้นตามช่วงอายุแต่จะ ลดลงเมื่อก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอายุส่งผลทำให้ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของ บคุ คลเปลย่ี นแปลงได้ 3. การศกึ ษา เป็นปจั จัยท่ีบ่งบอกถึงระดับและความสามารถในการรบั รู้ การเข้าถึงขอ้ มูลและ การจัด การกับปัญหาต่างๆ นับตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาถึงการศึกษาสูงสุดที่ได้รับ (คุรุสภา, 2546) ดังนั้น การศึกษาที่สูงย่อมส่งผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพที่สูงตามไปด้วย จากการศึกษาปัจจัยที่มี อิทธิพลระหว่างความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ Ayse et al. (2017) พบว่า บุคคล ท่ไี ด้รับการศกึ ษาระดับมหาวทิ ยาลัย มอี ิทธพิ ลกับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ ซึ่ง สอดคล้องกับการศึกษาของ Yongbing et al. (2015) ที่ศึกษาอิทธิพลของการศึกษาต่อความรอบรู้ ด้านสุขภาพในประชากรวัยสูงอายุประเทศจีน พบว่า การศึกษามีอิทธิพลต่อระดับความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ 4. อาชีพ ประเภทหรือชนิดของงานที่บุคคลนั้นทำอยู่ เป็นรูปแบบการดำรงชีพ เป็นหน้าท่ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 26 ความรบั ผิดชอบในสังคม ซ่งึ บางอาชพี สง่ ผลต่อสขุ ภาพ จากการศึกษาของ Yongbing et al. (2015) ศึกษาปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพของวัยผู้ใหญใ่ นเมอื งปักกิง่ ประเทศจนี พบว่า บุคคลท่ีมี อาชพี เปน็ ผู้จดั การมีความรอบรู้ด้านสุขภาพดกี ว่าอาชีพอน่ื ๆ อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติ ซ่ึงสอดคล้อง กับการศึกษาของ เบญจมาศ สุรมิตรไมตรี (2556) ที่พบว่า บุคคลที่ประกอบอาชีพที่ต่างกัน จะมี ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพท่ตี า่ งกันอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ 5. รายได้ ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการประกอบอาชีพหรือค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ได้รับเป็น ประจำทุกๆ เดือน ผู้มีรายได้กับไม่มีรายได้จะทำให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพต่างกัน จากการศึกษา ของ Yongbing et al. (2015) พบว่า รายได้มอี ทิ ธิพลตอ่ ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพอยา่ งมีนัยสำคัญทาง สถิติ ซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษาของ Sun et al. (2013) ทศ่ี ึกษาความรอบรู้ดา้ นสุขภาพกับพฤตกิ รรม สขุ ภาพของผู้ปว่ ยตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจ พบว่า รายได้มคี วามสัมพันธก์ ับความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพอย่าง มีนัยสำคญั ทางสถติ ิ 6. เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง วรรณศิริ นิลเนตร(2557) ศึกษาเรื่อง ความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในชมรม ผู้สูงอายใุ นเขตกรุงเทพหานคร ผลการศกึ ษาพบว่า ความฉลาดทางสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ อยู่ในระดบั พื้นฐาน และระดบั ปฏิสัมพันธ์ สว่ นปัจจัยทีม่ คี วามสมั พันธก์ ับระดบั ความฉลาดทางสุขภาพ ประกอบด้วย 9 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้าน อายุ เพศ ระดับการศึกษา ความสามารถในการมองเห็น ความสามารถในการเขียน ผู้ดูแล สิทธิในการรักษาพยาบาล ความถี่การเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม และการเดนิ ทางมาชมรม แสงเดอื น กงิ่ แกว้ และนุสรา ประเสรฐิ ศรี(2558) ศึกษาเรอ่ื ง ความสมั พันธ์ระหว่าง ความฉลาดทางสุขภาพและพฤตกิ รรมของผู้สงู อายุทเ่ี ป็นโรคเรื้อรงั หลายโรค ผลการศึกษาพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีความฉลาดทางสุขภาพในระดับปานกลาง เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ปจั จัยสว่ นบุคคลไดแ้ ก่สถานภาพสมรส มีความสมั พนั ธ์กบั ความฉลาดทางสขุ ภาพอย่างมีนยั สำคัญทาง สถิติและพบว่าพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมมีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางสุขภาพอย่างมีนัยสำคญั กจิ ปพน ศรีธานี(2560) ศึกษาเรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพกับ คุณภาพชวี ิตของผู้สงู อายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ผลการศึกษาพบว่า ความฉลาดทาง สุขภาพโดยรวมของผู้สูงอายุอยู่ในระดับต่ำ ความฉลาดทางสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ ปานกลางกับคณุ ภาพชีวติ ของผสู้ งู อายุอยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ ศิรินันท์ สุขศรี(2561) ศึกษาเรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการดูแลตนเองที่มี ความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ผลการวิจัยพบวา่ ผูส้ งู อายุมรี ะดับคุณภาพอยูใ่ นระดบั ปานกลางและระดับดี มคี วามรอบร้ดู ้านสุขภาพ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและด้านทักษะการตัดสินใจเพื่อสุขภาพอยู่ในระดับสูง ส่วน ด้านการมีทักษะการสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 27 สุขภาพด้านการรู้เท่าทันสื่อ ด้านทักษะการจัดการตนเองเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความ รอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางในสว่ นของปัจจัยการดูแลผู้สูงอายูสว่ นใหญ่มีการดูแลตนเอง ด้านการใช้ยาการควบคุมอาหารและการออกกำลงั กายอยู่ในระดับสูง แตก่ ารดูแลตนเองด้านสุขภาพ อย่ใู นระดบั ปานกลาง ส่วนปัจจยั ทม่ี ีความสัมพนั ธ์เชงิ บวกกับคุณภาพชีวิตที่ดขี องผู้สูงอายุได้แก่ การ ไม่มโี รคประจำตวั การไม่มีหนส้ี นิ อังควรา วงษาสันต์ และนพรัตน์ บุญเพียรผล(2560) การศึกษาเรือ่ ง ปัจจัยที่ส่งผล ให้เกิดความเครียดของผู้สูงอายใุ นเขตบางพลัด จังหวัดกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัย ดา้ นสขุ ภาพทางรา่ งกาย และปจั จยั ดา้ นสุขภาพทางจิตใจมีผลต่อการเกิดความเครียดอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมและชุมชนด้านสถานภาพทางการเงินและด้าน สุดท้ายคอื ด้านความสมั พันธใ์ นครอบครวั มีผลต่อการเกิดความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ปิยภรณ์ เลาหบุตร (2557) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่ที่ 7 ตำบลพลตู าหลวง อำเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี ผลการศึกษาพบวา่ ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอยู่ ในระดับคอ่ นข้างดี เมอื่ จำแนกตามด้านพบว่า ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านรา่ งกายอยู่ในอันดับดีส่วนปัจจัย ส่วนบุคคลได้แก่ อายุ ระดับการศกึ ษามีความสัมพนั ธก์ บั คณุ ภาพชีวิต กัลยา มั่นล้วน วิภาดา กาญจนสิทธ์ิ และนิภา สุทธิพันธ์ (2562) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบา้ นหนองโพรง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สถานภาพที่ แตกต่างกันส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพด้านการปฏิบัติตนในภาวะเจ็บป่วยและพฤติกรรมสุขภาพ โดยรวมแตกต่างกัน การศึกษาทแ่ี ตกต่างกันมีพฤติกรรมสุขภาพดา้ นการออกกำลงั กายและพฤติกรรม สุขภาพดา้ นการปฏิบัติตนในภาวะเจบ็ ป่วยแตกตา่ งกนั และรายไดท้ ่ีแตกต่างกัน มีพฤติกรรมสุขภาพ ดา้ นการจดั การความเครยี ดแตกต่างกนั นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์ และศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์ (2559) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สงอายุที่อาศัยในชุมชน ตำบลท่าทอง อำเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ส่วน ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ ระดับการศึกษา แรงสนับสนุนทางสังคม การเป็นสมาชิก ชมรม และการมีโรคประจำตัว วชั พลประสิทธ์ิ กอ้ นแก้ว (2557) ศกึ ษาเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพของผสู้ ูงอายุที่อาศัย ในเขตเทศบาลตาบลคลองตำหรุ อำเภอเมืองชลบุรี ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ผ้สู งู อายทุ ่มี อี ายุ สถานภาพสมรส รายได้ ความพอเพยี งของรายได้ และภาวการณ์มโี รคประจำตัวแตกต่างกันมพี ฤติกรรมสขุ ภาพโดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั สว่ นผู้สูงอายุที่มี เพศ ระดับการศึกษา แหล่งที่มาของรายได้ส่วนใหญ่แตกต่างกัน มพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพโดยรวมแตกต่าง กัน วาสนา สิทธิกัน (2560) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรม ส่งเสรมิ สุขภาพโดยรวมดา้ นอาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์อยใู่ นระดบั ดี ปัจจยั ที่มีผลต่อพฤติกรรม สง่ เสรมิ สขุ ภาพ ได้แก่ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ ผทู้ ีม่ รี ะดับความรปู้ านกลาง (Adjusted OR 1.94,

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 28 95% CI 1.06 - 3.55) และผมู้ คี วามรรู้ ะดับดี ผ้มู ีเครือข่ายทางสงั คมระดับปานกลาง และผูม้ เี ครือข่าย ทางสังคมในระดับสงู พงศธร ศิลาเงิน (2560) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแล สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ในจังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับปานกลาง ด้านปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของผู้สูงอายุ ได้แก่ สถานภาพสมรส การเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม ผสู้ ูงอายุ การมีและการใช้คูม่ ือการส่งเสรมิ และดูแลสุขภาพผู้สงู อายุ การไดร้ ับแรงสนับสนับสนุนจาก บุคคลภายในครอบครัว และการรับรขู้ อ้ มลู ข่าวสารดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุ นริศรา แก้วบรรจักร ประไพจิตร ชุมแวงวาปี และกฤชกันทร สุวรรณพันธ์ุ (2563) ศึกษาเรื่อง ปัจจยั ความรอบรู้ทางสขุ ภาพท่มี ีความสัมพันธก์ บั พฤติกรรมสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุท่ีเป็นโรค ความดันโลหิตสูง ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มี ความสัมพันธก์ บั พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ ปัจจัยเพศ ปัจจัยความรอบรู้ทางสุขภาพด้าน ทักษะความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคประจำตัว และปัจจัยความรอบรู้ทางสุขภาพด้านการจัดการ เงอ่ื นไขทางสขุ ภาพ Bas Geboers, et al.(2016) ศึกษาเรื่อง Health Literacy Is Associated With Health Behaviors and Social Factors Among Older Adults: Results from the LifeLines Cohort Study. ผลการศกึ ษาพบวา่ ระดบั ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพต่ำมีความสัมพนั ธ์กบั การออกกำลัง กายที่ไม่เพียงพอ การบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ การไม่รับประทานอาหารเช้าและโรคอ้วน Ying Yang, et al. (2020) ศึกษาเรื่อง Socioeconomic status, social capital, health risk behaviors, and health-related quality of life among Chinese older adults. ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุชาวจีนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ การไม่ออกกำลังกาย และ พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีไม่ดีต่อสุขภาพ ส่วนปัจจัยท่ีมคี วามสัมพนั ธก์ ับคุณภาพชีวิตท่ีเกี่ยวข้อง กับสุขภาพคือ ทุนทางสังคมและสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ Mehrsadat Mahdizadeh and Mahnaz Solhi, (2018) ศกึ ษาเรือ่ ง Relationship between self-care behaviors and health literacy among elderly women in Iran. ผ ล การศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรอบรูด้ ้านสุขภาพในระดับต่ำ และความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถทำนายพฤติกรรมสขุ ภาพได้ Zofia A. et al. (2015) ศึกษาเรื่อง Health literacy and health among the elderly: status and challenges in the context of the Polish population aging process ผลการศึกษาพบว่า ประชากรวัยผู้สูงอายุที่อายุ 65 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงด้านสุขภาพเนื่องมาจากมี ระดบั ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพตำ่ Yong-Bing Liu et al,. (2015) ศ ึ ก ษ า เ ร ื ่ อ ง Relationship between Health Literacy, Health-Related Behaviors and Health Status: A Survey of Elderly Chinese. ผล การศึกษาพบวา่ ผูส้ งู อายสุ ่วนใหญม่ ีความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพในระดับตำ่ และความรอบรูด้ ้านสุขภาพมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ Zhifei He. Et al., (2016) ศกึ ษาเร่ือง Factors Influencing Health Knowledge

29 and Behaviors among the Elderly in Rural China. ผลการศึกษาพบว่า อายุสถานะทาง เศรษฐกิจ ระดับการศึกษา ระยะห่างระหว่างบ้านและสถานพยาบาล รายได้ส่วนบุคคล มีผลต่อ คะแนนความรู้ด้านสุขภาพและพฤตกิ รรมสุขภาพ 7. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ผูว้ จิ ัยไดท้ บทวนวรรณกรรมเกีย่ วกับปัจจยั สว่ นบคุ คล เชน่ อายุ เพศ ระดบั การศกึ ษา อาชีพ รายได้ เขตที่อยู่อาศัย ประวัติการเจบ็ ป่วยด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงของญาติสายตรง การ สูบบุหรี่ การดื่มสุรา BMI และปัจจัยด้านความแตกฉานด้านสุขภาพท่ีประกอบไปดว้ ย การรับรู้ การ เข้าถึงข้อมูลและบริการ ทักษะในการสื่อสาร การจัดการตนเอง ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ และทักษะการตัดสินใจ จากตำรา เอกสารทางวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้นำมาเป็นกรอบ แนวคิดในการวิจัย โดยตัวแปรต้น คือ ปัจจัยส่วนบุคคล, ปัจจัยด้านความแตกฉานด้านสุขภาพที่ ประกอบไปด้วย การรับรู้ การเข้าถึงข้อมูลและบริการ ทักษะในการสื่อสาร การจัดการตนเอง ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ และทกั ษะการตัดสนิ ใจ และตวั แปรตามคือพฤตกิ รรมการตรวจคัด กรองโรคมะเร็งลำไสใ้ หญแ่ ละไสต้ รงของประชาชนทว่ั ไปในจังหวดั ราชบรุ ี มีรายละเอยี ด ดังนี้ ตวั แปรตน้ 1. ปจั จัยสว่ นบคุ คล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศกึ ษา อาชพี รายได้ สทิ ธ์ิการรกั ษาพยาบาล และโรคประจำตวั 2. ปัจจยั ด้านคณุ ภาพชวี ติ ทั้ง 4 ด้าน 2.1 ด้านสุขภาพกาย 2.2 ดา้ นจติ ใจ 2.3 ดา้ นสมั พนั ธภาพทางสังคม 2.4 ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ตัวแปรตาม ความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพของผู้สูงอายุในอำเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

30 ลกั ษณะสว่ นบุคคลมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ ของผสู้ งู อายุ ▪ เพศ ▪ อายุ ▪ สถานภาพสมรส ▪ ระดับการศึกษา ▪ อาชีพ ▪ รายได้ ▪ สิทธ์ิการรกั ษาพยาบาล ▪ โรคประจำตัว คุณภาพชวี ติ ▪ ดา้ นสขุ ภาพกาย ▪ ด้านจิตใจ ▪ ด้านสมั พนั ธภาพทางสงั คม ▪ ด้านสง่ิ แวดล้อม ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ทม่ี า : ภาพโดยผ้วู ิจัย (2564)

31 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวิจยั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง การวิจัยครั้งนี้มีวิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เคร่อื งมอื ในการวิจัย วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ซ่งึ แตล่ ะวิธีดำเนินการวิจัยมี ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. รปู แบบการวจิ ยั การศึกษาเชงิ วิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (A cross-sectional analytical study) ซ่ึงในการ วิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาคุณภาพชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของ ผสู้ ูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี 2. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง 2.1 ประชากร ประชากรท่ใี ชใ้ นการวิจัยคร้งั นี้ คือ ประชาชนทีม่ อี ายุ 60 ปขี ้นึ ไป ท่ีอาศัยในอำเภอ เมอื ง จังหวัดราชบรุ ี จำนวน 40,149 คน (กระทรวงพัฒนาสังคมและความมน่ั คงมนุษย์, 2563) โดยมี เกณฑก์ ารคัดเขา้ (Inclusion criteria) และคดั ออก (Exclusion criteria) ดังนี้ เกณฑใ์ นการคัดเขา้ (Inclusion Criteria) 1) ผู้ทีม่ ีอายุ 60 ปขี ึ้นไป ทีอ่ าศัยอยู่ในอำเภอเมอื ง จังหวดั ราชบุรี 2) มสี ตสิ ัมปชัญญะ และไมเ่ ปน็ อุปสรรคตอ่ การสัมภาษณ์ 3) สามารถอา่ น เขียน และสอื่ สารได้ 4) ยินยอมให้ข้อมูล เกณฑใ์ นการคดั ออก (Exclusion Criteria) 1) ผู้ท่ีปว่ ยเปน็ โรคทางจติ เวชที่ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ 2) ผทู้ ไี่ มส่ ามารถส่อื สารได้ 2.2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง ขนาดตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง (Sample) คำนวณโดยใช้สูตรคำนวณตัวอย่างสำหรับ กรณี

32 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ แบบ Multivariate ใช้สถิติ Multiple logistic regression(Hsieh FY, Bloch DA, and Larsen MD, 1998) ������1 = ������(1−������)(������1−������+������1−������)2 [������(1−������)(������0−������1)2 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงจากการศึกษาของ ศิรินนั ท์ สขุ ศรี (2561) พบวา่ สัดสว่ นคณุ ภาพชวี ิตของผูส้ งู อายดุ ังน้ี P0 = สัดสว่ นของผู้สูงอายุที่มรี ะดบั คุณภาพชีวติ ที่ดีและมีความรอบรดู้ ้าน สุขภาพตำ่ เท่ากบั 0.38 P1 = สัดส่วนผสู้ ูงอายุท่มี ีระดับคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีและมคี วามรอบรู้ด้าน สุขภาพสูง เทา่ กบั 0.50 B = สัดส่วนของผสู้ ูงอายทุ ม่ี ีระดับความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพสงู เท่ากับ 0.44 P = สดั สว่ นของตวั แปรทศี่ ึกษา คำนวณจาก (1-B)P0 + BP1= (1- 0.44)×0.38 +(0.44×0.50) = 0.43 Z1 –α คือ ค่ามาตรฐานจากตารางการแจกแจงปกตมิ าตรฐานเมื่อกำหนด α = 0.05 มีค่าเทา่ กับ 1.96 Z1 – β คอื คา่ มาตรฐานจากตารางการแจกแจงปกตมิ าตรฐานเมอ่ื กำหนดค่า β = 0.20 มีคา่ เทา่ กบั 0.84 แทนคา่ ลงในสตู รได้ ������1 = 0.43(1−0.43)(1.96+0.84)2 [0.44(1−0.44)(0.38−0.50)2 n1 = 541 เนื่องจากการศึกษาครง้ั นี้วิเคราะหห์ าปจั จยั ทม่ี ีความสมั พันธ์กับระดับความ รอบรู้ด้านสขุ ภาพ มีตวั แปรอสิ ระทีจ่ ะนำเขา้ model หลายตวั เพ่อื การควบคมุ ผลของปจั จัยร่วมอื่นๆ ท่อี าจส่งผลระหว่างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปัจจัยที่ผู้วิจยั สนใจดังท่ไี ด้กล่าวมา กลา่ วคือ ค่าพารามิเตอร์ ที่จะนำเข้าประมาณค่าในโมเดล (regression model) ทั้งหมด เพื่อป้องกันการไดค้ ่าประมาณการท่ี เกนิ ความเป็นจรงิ (over fitting) ไดท้ ำการปรับขนาดตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์ Multiple logistic regression (Hsieh, et al, 1998) ดงั นี้

33 ������ = ������1 1−������12,2,3……������ ������������ = ขนาดตวั อย่างทป่ี รบั ด้วย ������ ������1 = ขนาดตัวอย่างขั้นต้นที่ได้จากการคำนวณด้วยสูตรการ วิเคราะห์ถดถอยอยา่ งงา่ ย (Simple logistic regression) ������12,2,3……������ = ค่ากำลังสองของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (multiple correlation coefficients หรือค่าสหสัมพันธ์เชิงพหุ ระหว่างตัวแปรอิสระที่สนใจกับตวั แปรอิสระอ่นื ดงั ตาราง ������ ������������(ขนาดตวั อยา่ งทป่ี รับแลว้ ) 0.10 546.46 0.20 563.54 0.30 594.50 0.40 644.04 0.50 761.33 0.60 845.31 0.70 1,060.78 0.80 1,502.77 0.90 2,847.36 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ผู้วจิ ยั เลือก ������ เทา่ กับ 0.20 ดงั น้ันในการศึกษาครัง้ น้ีจงึ ได้ขนาดตวั อย่างท่ีปรับแล้ว เท่ากบั 564 คน 2.3 การสมุ่ ตัวอยา่ ง เพอ่ื ให้ไดก้ ลุ่มตัวอย่างทเี่ ปน็ ตวั แทนที่ดีของประชากร จงึ ดำเนนิ การสุ่มตัวอย่างโดย อาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability sampling) ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) มขี ัน้ ตอนดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 สุ่มตำบลมา 3 ตำบล จากทั้งหมด 22 ตำบล ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ได้แก่ ตำบลคุ้งกระถิน ตำบลคุ้งน้ำวน ตำบลคูบัว ตำบลดอนตะโก ตำบลดอนแร่ ตำบลท่าราบ ตำบลน้ำพุ ตำบลบางป่า ตำบลบ้านไร่ ตำบลพิกุลทอง ตำบลสามเรือน ตำบลหนอง

34 กลางนา ตำบลหน้าเมือง ตำบลหลุมดิน ตำบลหินกอง ตำบลห้วยไผ่ ตำบลอ่างทอง ตำบลเกาะ พลับพลา ตำบลเขาแร้ง ตำบลเจดีย์หัก ตำบลโคกหม้อ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยวิธีแบบไมม่ ีการแทนที่/ใส่คืน ( sampling without replacement ) ได้ 3 ตำบล ดังตาราง ลำดับ ตำบล จำนวนผู้สงู อายุ (คน) 1 เขาแรง้ 691 2 เกาะพลับพลา 1,820 3 ค้งุ นำ้ วน 852 รวม 3,363 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ขัน้ ตอนที่ 2 ส่มุ หมู่บ้านมาตำบลละ 3 หม่บู ้าน ซง่ึ ตำบลเขาแรง้ มที ง้ั หมด 7 หมู่บ้าน ตำบลเกาะพลับพลามีทั้งหมด 15 หมู่บ้าน และตำบลคุ้งนำ้ วนมีทั้งหมด 7 หมู่บ้าน โดยการ สุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยวิธีแบบไม่มีการแทนที่/ใส่คืน ( sampling without replacement ) ได้ 9 หมู่บ้าน ดังตาราง ลำดับ ตำบล หมู่ จำนวนผู้สงู อายุ 1 เขาแรง้ (คน) 2 เกาะพลบั พลา 1 69 3 คงุ้ น้ำวน 3 76 รวม 6 95 4 182 6 43 12 85 4 119 5 75 7 167 911 ขั้นตอนที่ 3 สุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple random sampling) เลือกกลุ่ม ตัวอย่างโดยการคำนวณสัดส่วนกลุ่มตัวอย่าง (Probability Proportional to Size : PPS) จำแนก

35 ตามหมบู่ ้าน เพื่อใหเ้ ปน็ ตัวแทนของแต่ละตำบล ท่มี ีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ์คัดเข้า/คัดออก ตามขนาดท่ี คำนวณไว้ 564 คน เพ่ือใช้เป็นกลุ่มตวั อยา่ งในการวิจัยครั้งนี้ สามารถจำแนกจำนวนตวั อย่างในแต่ละ หมบู่ า้ นได้ ดงั สูตรต่อไปน้ี ขนาดกล่มุ ตัวอย่างในแตล่ ะหมบู่ ้าน = ������×(������1,2…) ������ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง จากสูตร A = ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 564 คน B = จำนวนประชากรทง้ั หมด 911 คน X = ประชากร (ผู้สูงอายุ) X1 , X2 = ประชากร (ผู้สงู อายุ) หมทู่ ี่ 1, หม่ทู ี่ 2 ผลการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างในแต่ละหมูบ่ า้ น แสดงในตาราง ตำบล หมบู่ า้ น ประชากร กล่มุ ตวั อย่าง เขาแร้ง (ผู้สงู อายุ) (ผสู้ งู อายุ) 1 69 (X1) เกาะพลบั พลา 3 76 (X2) 43 6 95 (X3) 47 คุ้งนำ้ วน 4 182 (X4) 59 6 43 (X5) 113 12 85 (X6) 27 4 119 (X7) 52 5 75 (X8) 74 7 167 (X9) 46 รวม 911(B) 103 564(A) จากผลลัพธ์กลุ่มตัวอย่างที่ได้ของแต่ละหมู่ นำมาจัดการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (sample random sampling) โดยวิธกี ารจับฉลาก สาเหตทุ เี่ ลือกการส่มุ ตัวอย่างแบบการจับฉลากน้ี คือ เปน็ การสมุ่ ตัวอย่างแบบใหโ้ อกาสเท่ากัน สามารถลดปญั หาความลำเอียงของข้อมูลไดม้ าก โดยมี ขั้นตอนคอื 1) เขยี นฉลากรายชอ่ื ผู้สงู อายุทงั้ หมดตามจำนวนผู้สูงอายุในหมู่บ้านน้นั ๆ โดยผู้วิจัย ขอรายช่อื ผู้สงู อายุ และทอี่ ยจู่ ากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 36 2) จากนั้นนำฉลากทั้งหมดมาทำการจับฉลากให้ได้ตามจำนวนกลุ่มตัวอย่างท่ี กำหนดไว้ 3) ดำเนินการแจกแบบสอบถามตามรายชื่อที่จับฉลากได้ โดยประสานงานกับ รพ. สต. และ อสม. เพอื่ ไปตามท่อี ยขู่ องผสู้ ูงอายุ 3. เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย เคร่อื งมอื ในการวิจยั คร้ังน้ีเปน็ แบบสอบถาม (Questionnaire) ทผี่ วู้ จิ ัยประยุกต์มาจากแบบ ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนวัยทำงานในหมูบ่ ้านปรบั เปลีย่ พฤติกรรมสุขภาพ(กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2564) และเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การ อนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL – BREF – THAI) (กรมสุขภาพจิต, 2564) แบ่งบอก เป็น 4 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามเลือกตอบและ เติมข้อความ จำนวน 8 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ สทิ ธ์กิ ารรักษาพยาบาล และโรคประจำตวั ส่วนที่ 2 คุณภาพชีวิต เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL–BREF–THAI ประกอบดว้ ยข้อคำถาม 2 ชนดิ คอื แบบภาวะวิสัย (Perceived objective) และอัตวิสัย (self-report subjective) จะประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบของคณุ ภาพชีวิต 4 ด้าน ดังนี้ 1. ดา้ นรา่ งกาย (physical domain) 2. ด้านจติ ใจ (psychological domain) 3. ด้านความสัมพันธท์ างสงั คม (social relationships) 4. ด้านส่งิ แวดลอ้ ม (environment) จำนวน 26 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณคา่ (rating scale) การให้คะแนนแบบวัดคณุ ภาพชวี ติ WHOQOL – 26 ข้อคำถามที่มีความหมายทางบวก 23 ข้อ และ ขอ้ คำถามที่มีความหมายทางลบ 3 ขอ้ คือขอ้ 2, 6, 13 ข้อความทางลบใหค้ ะแนนดังต่อไปนี้ ไม่เลย 5 คะแนน เล็กนอ้ ย 4 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน มาก 2 คะแนน

37 มากท่ีสดุ 1 คะแนน ขอ้ ความทางบวกใหค้ ะแนนดังตอ่ ไปนี้ ไมเ่ ลย 1 คะแนน เล็กน้อย 2 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน มาก 4 คะแนน มากทสี่ ดุ 5 คะแนน การแปลผลแบง่ ระดบั คะแนนคุณภาพชีวิต แยกออกเปน็ องคป์ ระกอบตา่ งๆ ไดด้ ังนี้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง องค์ประกอบ การมีคุณภาพชวี ิตที่ คณุ ภาพชวี ิตกลางๆ คุณภาพชวี ิตที่ดี ไมด่ ี 1. ดา้ นสุขภาพกาย 7 - 16 17 - 26 27 - 35 2. ด้านจิตใจ 6 - 14 15 - 22 23 - 30 3. ด้านสมั พนั ธภาพทาง สงั คม 3 - 7 8 - 11 12 - 15 4. ดา้ นสง่ิ แวดล้อม 8 - 18 19 - 29 30 - 40 คุณภาพชีวติ โดยรวม 26 - 60 61 - 95 96 - 130 สว่ นท่ี 3 พฤตกิ รรมสขุ ภาพ 7 ประเด็นหลัก ตอนที่ 3.1 พฤติกรรมสุขภาพ 4 ประเดน็ ได้แก่ ด้านพฤติกรรมการบริโภค อาหาร การออกกำลังกาย การสูบบหุ ร่ี และการดมื่ สุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 10 ขอ้ ลกั ษณะคำตอบเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) วัดความถี่ของการปฏบิ ตั ติ อ่ สัปดาห์ 5 ระดบั ได้แก่ 6 – 7 วัน 5 คะแนน 4 – 5 วนั 4 คะแนน 3 วัน 3 คะแนน 1 – 2 วัน 2 คะแนน แทบไมไ่ ด้ปฏิบตั ิ 1 คะแนน ตอนท่ี 3.2 พฤตกิ รรมสุขภาพ 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ด้านพฤตกิ รรมการจัดการ

38 ความเครยี ด การใชย้ าอย่างสมเหตุผล และการป้องกันการตดิ เช้ือโควิด-19 จำนวน 9 ขอ้ ลกั ษณะ คำตอบเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) วดั ความถ่ีของการปฏิบตั ิ 4 ระดับ ไดแ้ ก่ ทุกคร้งั หมายถงึ ท่านปฏิบตั ติ รงกับขอ้ ความนั้นทุกครัง้ รอ้ ยละ 100 4 คะแนน บ่อยครง้ั หมายถงึ ท่านปฏบิ ัติตรงกับขอ้ ความนัน้ มากกว่าร้อยละ 70 3 คะแนน นอ้ ยครัง้ หมายถงึ ท่านปฏบิ ตั ติ รงกับขอ้ ความน้ันน้อยกวา่ ร้อยละ 70 2 คะแนน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ไมป่ ฏบิ ัติ หมายถงึ ท่านไม่เคยปฏบิ ัติตรงกับข้อความน้นั เลย 1 คะแนน โดยมเี กณฑ์การให้คะแนนพฤตกิ รรมสขุ ภาพท้งั 7 ประเด็น รวมจำนวน 19 ขอ้ คะแนนรวมเต็ม 86 คะแนน ดงั น้ี คะแนนรวมท่ีได้ ระดับ แปลผล ถ้าได้ < 52 คะแนน หรือ < 60% ไม่ดี มพี ฤติกรรมการปฏิบตั ิตนในการดแู ล ของคะแนนเต็ม สขุ ภาพตนเองไมถ่ กู ตอ้ ง ถา้ ได้ 52 - 60 คะแนนหรอื ≥ 60 – < พอใช้ มพี ฤตกิ รรมการปฏิบัตติ นในการดูแล 70 % ของคะแนนเตม็ สุขภาพตนเองถูกต้องเลก็ นอ้ ย ถา้ ได้ 60 - 69 คะแนนหรือ ≥ 70 – < ดี มีพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนในการดแู ล 80 % ของคะแนนเตม็ สขุ ภาพตนเองถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถ้าได้ 69 - 86 คะแนนหรอื ≥ 80 % ดมี าก มพี ฤติกรรมการปฏิบตั ิตนในการดูแล ของคะแนนเต็ม สุขภาพตนเองถูกตอ้ งสม่ำเสมอ ส่วนที่ 4 ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ จำนวน 10 ข้อ ลักษณะคำตอบเปน็ มาตราสว่ น ประมาณคา่ (rating scale) วดั ความถีข่ องการกระทำ 5 ระดบั ได้แก่ มากทสี่ ดุ 5 คะแนน มาก 4 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน นอ้ ย 2 คะแนน น้อยท่สี ดุ 1 คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพ รวมจำนวน 10 ข้อ คะแนนรวมเต็ม 50 คะแนน ดงั น้ี

39 คะแนนรวมท่ไี ด้ ระดบั แปลผล ถ้าได้ < 30 คะแนน หรอื < 60% ไมด่ ี เป็นผมู้ รี ะดับความรอบร้ดู า้ นสุขภาพไม่ ของคะแนนเต็ม เพียงพอต่อการปฏบิ ัติเพอ่ื การมีสุขภาพ ทดี่ ี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงถา้ ได้ 30 - 35 คะแนนหรือ ≥ 60 – < พอใช้เปน็ ผู้มีระดับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ 70 % ของคะแนนเต็ม เล็กน้อยและอาจจะมกี ารปฏบิ ัติเพอ่ื การมีสุขภาพที่ดีไดถ้ กู ตอ้ งบา้ ง ถา้ ได้ 35 - 40 คะแนนหรอื ≥ 70 – < ดี เปน็ ผมู้ ีระดบั ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 80 % ของคะแนนเตม็ เพียงพอและมกี ารปฏิบัตเิ พือ่ การมี สุขภาพทดี่ ีได้ถกู ตอ้ ง ถ้าได้ 40 - 50 คะแนนหรือ ≥ 80 % ดีมาก เปน็ ผมู้ รี ะดบั ความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ ของคะแนนเต็ม มากเพยี งพอและมีการปฏบิ ตั เิ พ่อื การมี สขุ ภาพท่ีดีไดถ้ ูกต้องและย่ังยืนจน เช่ยี วชาญ โดยผูว้ จิ ยั ได้จดั ระดับความรอบร้ดู า้ นสุขภาพของผู้สูงอายเุ ป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับ ดี คือ ระดับความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพดี และ ดมี าก ระดับ ไม่ดี คือ ระดับความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ พอใช้ และ ไมด่ ี เพ่ือนำไปทำการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ ต่อไป 4. การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื วิจัย 4.1 ความตรงเชิงเนื้อหา (content validity) ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามดว้ ยการหาค่าดัชนคี วามสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คำถามกับ วตั ถปุ ระสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) โดยผเู้ ชีย่ วชาญจำนวน 3 ท่าน โดย การพจิ ารณาขอ้ คำถาม ดังน้ี +1 = แน่ใจว่าคำถามมคี วามเหมาะสม วดั ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ 0 = ไม่แนใ่ จวา่ คำถามมีความเหมาะสม วัดไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ -1 = แน่ใจวา่ คำถามไมม่ ีความเหมาะสม วดั ไดไ้ ม่ตรงตามวตั ถุประสงค์ นำผลคะแนนทีไ่ ดจ้ ากผู้เชย่ี วชาญมาคำนวณหาคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง มี สตู รในการหาค่า ดงั น้ี

40 ������������������ = ∑ ������ ������ เม่ือ IOC คอื ค่าดชั นคี วามสอดคล้องระหว่างขอ้ คำถามกบั วตั ถุประสงค์ ∑ ������ คือ ผลรวมของคะแนนการพจิ ารณาของผเู้ ช่ยี วชาญ N คือ จำนวนผู้เชีย่ วชาญ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง โดยเกณฑ์การพิจารณาระดับค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามที่ได้จากการ คำนวณจากสตู รท่ผี ่านเกณฑค์ ุณภาพคือ 0.50 ข้นึ ไป(บุญใจ ศรสี ถติ ยน์ รากรู , 2555) ซงึ่ แบบสอบถาม ทผ่ี ูว้ ิจัยใช้มีคา่ IOC เท่ากบั 1.00 ซง่ึ มีความตรงตามเน้ือหาและสามารถนำไปใชเ้ กบ็ ข้อมลู ได้ 4.2 ตรวจสอบความเช่ือม่ัน (Reliability testing) ผู้วิจัยนำแบบสอบถามไปทดสอบคุณภาพ ด้วยการนำไปทดลองใช้ (Try out) กับ ผู้สงู อายุในเขตโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลคูบวั อำเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี ทมี่ ีบริบทคล้ายคลึง กับกลุ่มตัวอย่างมากที่สุดจำนวน 30 คน แต่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างและไม่ใช่พืน้ ท่ีเก็บข้อมูลจริง แล้วนำ แบบสอบถามทไ่ี ดจ้ ากการทดลองใช้ มาทำการทดสอบโดยวธิ คี รอนบาซแอลฟา (Cronbach's Alpha coefficient) เพื่อวัดคุณภาพความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามว่าแต่ละข้อคำถาม สอดคล้องกันหรือไม่เป็นการวัดการสอดคล้องภายใน (Internal consistency) หรือเรียกว่า การหา คา่ Cronbach's alpha เป็นการหาค่า \"สมั ประสิทธ์ิของความเช่ือม่ัน \" (Coefficient of reliability) โดยกำหนดเกณฑ์ยอมรบั คา่ สมั ประสทิ ธิ์ของความเชื่อม่ัน อยู่ที่ 0.7 ขึ้นไป สำหรับแบบสอบถาม เรอ่ื ง “ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดราชบุรี” ได้ค่า สัมประสิทธ์ิแอลฟาท่ี 0.83 แบบสอบถามด้านคุณภาพชีวิตได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาที่ 0.76 แบบสอบถามด้านพฤติกรรมสุขภาพได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาท่ี 0.70 และแบบสอบถามด้านความ รอบรูด้ า้ นสุขภาพได้ค่าสัมประสทิ ธแิ์ อลฟาที่ 0.92 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผู้วจิ ยั ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมลู ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการ ดังน้ี 5.1 ขออนุมัติจริยธรรมในการดำเนินการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม จากคณะกรรมการ จรยิ ธรรมการวิจัยในคน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี 5.2 ทำหนังสอื ช้ีแจงวตั ถุประสงค์ในการศกึ ษาเพือ่ ขออนุญาตเก็บขอ้ มูลผา่ นวิทยาลยั มวยไทย ศกึ ษาและการแพทย์แผนไทย ถึงนายแพทย์สาธารณสขุ จังหวดั ราชบุรี 5.3 ดำเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามในกลุม่ ตัวอยา่ งตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 โดยมกี ารขออนญุ าตและได้รับการยินยอมจากกลุม่ ตัวอย่าง 5.4 เก็บรวบรวมแบบสอบถามและทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามก่อนท่ี จะนำข้อมลู ทไ่ี ด้มาวิเคราะห์ตามวิธที างสถิตติ อ่ ไป 6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผู้วิจัยวางแผนการวเิ คราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ดังนี้ 6.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใชส้ ถติ ิเชงิ พรรณนาและสถิตอิ นมุ าน ดังนี้ 1) สถติ เิ ชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ใชอ้ ธบิ ายคุณลักษณะสว่ นบคุ คลและ ข้อมูลทั่วไป นำเสนอโดยตารางการแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) กรณีเป็น ตัวแปรแจงนับ (Categorical variable) และค่าเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic mean) ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน (Standard deviation) ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าต่ำสุด (Minimum) และค่าสูงสุด (Maximum) กรณีเปน็ ตวั แปรต่อเน่ือง (Continuous variable) 2) สถติ เิ ชงิ อนมุ าน (Inferential statistics) ดงั น้ี การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต กับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ซึ่งมีระดับการวัดของตัวแปรตาม คือ ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอ เมือง จังหวัดราชบุรี เป็น Dichotomous outcome ความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่ดีมีค่าเป็น 1 ความ รอบรู้ด้านสุขภาพดีมีค่าเป็นเป็น 0 ใช้สถิติ Multiple logistic regression เพราะการวิเคราะห์โลจิ สติกมีเป้าหมายเพื่อธิบายความสัมพันธ์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ปรากฏ และเมื่อทราบ ความสัมพันธ์แล้วยังสามารถระบุจำนวนเท่าของปัจจัยนัน้ ว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดเหตุการณ์ก่ี เท่าตัว โดยนำเสนอด้วยค่า Adjusted OR พร้อมช่วงเชื่อมั่น 95% ในการวิเคราะห์หาปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี มีขั้นตอนการ วเิ คราะห์ดงั น้ี (ดเิ รก ล้มิ มธรุ สกุล, 2554) (1) การวิเคราะห์ความสัมพันธอ์ ยา่ งหยาบ (Crude analysis) โดยวเิ คราะห์ ทีละคู่ (Bivariate) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หาความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปรตามและตวั แปรอิสระทีละคู่ โดยไม่คำนึงถงึ ผลกระทบของตัวแปรอน่ื ๆ ผลทไ่ี ด้คอื Crude odds ratio และ p-value พจิ ารณาค่า p-value < 0.25 เพื่อทำการคัดเลือกตัวแปรอิสระเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์คราวละหลายตัวแปร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook