Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by Kru Sumitra, 2021-02-23 01:41:38

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 บทนำ 1. ท่มี าและความสำคัญ ในปจจุบันสังคมไทยกาวเขาสูโลกยคุ ดิจิตอลอยางเต็มตัว ทำใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจสงั คมลวน ดำเนินไปอยางรวดเร็ว มีการแขงขันสูง การเขาถึงแหลงขอมูลปริมาณมหาศาลผานโลกออนไลนมากขึ้น สง ผลใหคุณลักษณะเด็กเปล่ียนไป ประกอบกับรฐั บาลไดประกาศนโยบายไทยแลนด 4.0 มีเปาหมาย ใหป ระเทศไทยกาวออกจากกับดกั รายไดป านกลาง และกาวไปสปู ระเทศรายไดสูงโดย ใชน วัตกรรมทาง เศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยทีม่ ีคุณภาพสูงเพือ่ การขับเคล่ือนประเทศ การศึกษาจึงเปน เครื่องมือสำคัญในการยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษยในประเทศ เพื่อเตรียมกำลังคนใหพรอมใน การเปนกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยสูเวทีเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับ นานาชาติการเรียนรูในยุคดิจิทัล (Digital Learning) เปนการเรียนรูที่แตกตางจากการเรียนการสอน ในยุคดง้ั เดมิ มาก เพราะมกี ารนำเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางดา นคอมพวิ เตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สารผานระบบเครือขา ยมาปรบั ใชในการศึกษา ชวยอำนวยความสะดวกใหแกผสู อนและผูเรียน เปนอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง สมารทโฟนและแท็บเล็ต (Smart and Mobile Devices) ซึ่งไดรับ ความนิยมและเร่ิมเขามามีบทบาทสำคญั ตอ การพัฒนาการศึกษา นักการศึกษาสามารถดึงศักยภาพของ เคร่ืองมืออนั ทรงพลังเหลานี้ มาใชป ระโยชนใน การเรยี นการสอนไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพเพม่ิ ทางเลือกใน การเรียนรูของผเู รยี นในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ใหม คี วามรู ความสามารถในการวเิ คราะห สงั เคราะหขอมูลและ ขาวสาร มรี ปู แบบวธิ กี ารเรียนการสอนท่เี นน ความแตกตางระหวางบุคคลมากขน้ึ การแสวงหาความรูและ การสรา งองคความรใู หม ดว ยตวั ผเู รียนเอง กระบวนการเรียนการสอนเปลย่ี นบทบาทของครูจากการเปนผู ถายทอดความรู มาเปนผูออกแบบการศึกษา เพื่อพัฒนาคนที่มีศักยภาพแตกตางกัน การเรียนการสอน ไมจ ำกัดอยเู ฉพาะในหองเรียนและภายในสถาบันการศึกษาอีกตอไป สือ่ เทคโนโลยที างดานการศึกษาในปจ จุบนั ชวยเปล่ียนแปลงรปู แบบการศึกษาไปมาก โดยเฉพาะ การจัดการกบั ความรู เพื่อพัฒนาองคความรูมาใชประโยชน และสามารถสรางรูปแบบ การประยุกตใช งานไดกวางขวาง หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) เปนสื่อการเรียนรูหนึ่งที่จะทำใหนักเรยี นสามารถใช เทคโนโลยีทางการศึกษาในการแสวงหาความรูด วยตนเองได เนือ่ งจากหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส เปน หนังสือที่ จัดทาและแสดงผลในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส เปนแฟมขอมูลคอมพิวเตอรที่สามารถอานผานทางหนา จอคอมพิวเตอรท้ังในระบบออฟไลนแ ละออนไลน คณุ ลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเช่ือมโยง จุดไปยังสวนตางๆ ของหนังสือ เวบ็ ไซตตางๆ ตลอดจนมปี ฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนั้น หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสสามารถแทรกภาพ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว แบบทดสอบ และสามารถสัง่ พมิ พเอกสาร ที่ตองการออกทางเครื่องพมิ พไ ด อีกประการหน่ึงท่ีสำคญั ก็คอื หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสสามารถปรับปรุง

ขอมูลใหทันสมัยไดตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้จะไมมีในหนังสือธรรมดาทั่วไป นอกจากนี้ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส ยังสามารถออกแบบและจัดรูปแบบการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความตองการ รายบุคคล มีการอธิบายเนื้อหาบทเรียนใหเขาใจงายขึ้น พรอมกับเรียนแลวสนุกเพลิดเพลิน ไมเบื่องาย และสามารถเรยี นรไู ดด ว ยตนเอง นักเรยี นมปี ฏสิ ัมพนั ธกับบทเรียน สนองหลักดา นจติ วทิ ยาของมนุษย คือ มกี ารสอดแทรกหลกั การเรยี นและเลนผสมผสานกันไป มกี ารใหทดสอบ ความเขาใจของนักเรยี นผนวกอยู ดวย บทเรียนนาสนใจและนักเรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียน การออกแบบเนื้อหา กิจกรรมและ การเชื่อมโยงเนื้อหา ตลอดทั้งการปฏิสัมพันธ รวมถึงการออกแบบดานกราฟกและเสยี ง ทำใหนักเรียนมี ความสนใจ กระตือรือรน สามารถทำความเขาใจเนื้อหาไดดว ยตนเอง ทำใหผลใหผลสัมฤทธิ์ทาง การ เรยี นของนักเรียนสูงขึ้น วารุณี คงวิมล (2559) กับงานวิจัยของ นูรมา ตาเละ และคณะ (2558) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส วิชาโปรแกรมตารางงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แตพบ ขอสังเกตวาผูเรียนที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี พบวา ผูเรียนใหความสนใจเนือ้ หาในสว นท่ีเปน ภาพเคลอ่ื นไหวมากกวาภาพน่ิง ดงั น้ันใน การออกแบบ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสผูทำวิจยั จะนำเสนอเน้ือหาท่เี ปนภาพเคลอื่ นไหวใหมากกวาภาพนิ่งเพ่ือดึงดูดความ สนใจของผเู รยี นใหเกิดการเรียนรูไดด ีท่สี ดุ จากการสังเกตและการสอบถามนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1)อำเภอแมเมาะ จังหวัดลำปาง พบเห็นสภาพปญหาที่เกิดข้ึนขณะการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอนวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 มีการใชสือ่ การเรียนการสอนประกอบการจัดการ เรียนรูในชั้นเรียนซึ่งสือ่ ที่ใชยงั ไมมีการดึงดูดความนาสนใจของผูเรียนมากนัก ทำใหผูเรียนไมสนใจเรยี น เกิดความเบื่อหนายในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเนื่องจากเนื้อหาความรูมีจำนวนมากแต ระยะเวลาในการเรียนการสอนมีจำกัด ซึ่งผูเรียนแตละคนมีความแตกตางทางการเรียนรู ผูเรียน บางคนสามารถเรียนรูไดอยางรวดเร็ว แตผูเรียนบางคนตองใชระยะเวลาที่นานกวาจะเรียนรู จึงสงผล กระทบถงึ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน วชิ าวทิ ยาการคำนวณ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ผจู ัดทำจงึ ไดม องเห็น ความสำคัญและจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เพื่อเปนแหลงทบทวนองคความรูของตนเองและ เผยแพรใหผูสนใจไดเขามาศึกษา สิ่งตางๆเหลานี้จะเปนเครื่องมือที่เปนประโยชนตอการเรียนรูของตัว ผเู รียนเอง และจะชวยใหผ ูเรยี นสามารถเรียนรูด ว ยตนเองและเรียนรูรว มกบั ผูอ่นื ได ถือเปนการประยกุ ตใช คอมพิวเตอรแ ละสมารทโฟน ในการพัฒนาการศึกษาและเรียนรูจ ากหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสอนไลนไดเปน อยางดี ดวยเหตุผลที่กลา วมาขางตนจะเหน็ ไดวาการเรียนการสอนในปจจุบัน มีความจำเปนอยางมากท่ี จะตองมีการนำเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศดานการศึกษา เขามาใชในการพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนกิ ส ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสามารถเพ่ิมพูนศักยภาพของนักเรียน การเรยี นการสอนที่สามารถทำ ใหผูเรียนไดเรียนรูอยางหลากหลายรูปแบบจากความรูที่ไมจำกัด ผานประสบการณการเรียนรู

การสรางองคความรูใหมดวยตนเอง สามารถควบคุมการเรียนรูดว ยตัวผูเรยี นเองไดทุกทีท่ ุกเวลา เปนขอ ไดเปรียบทางการจดั การศึกษาในยคุ ปจ จบุ ัน ดงั นั้นเพือ่ สงเสรมิ การเรียนการสอนในลักษณะดังกลา ว ผวู จิ ัย จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลของ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหม ีประสิทธิภาพอยูใ นเกณฑม าตรฐาน เหมาะสมกนั การเรยี นรูย คุ ดิจิทัลในศตวรรษท่ี 21 2. คำถามของการวจิ ยั 1. ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑหรอื ไม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หลังเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลนเปน ไปตามเกณฑห รือไม 3. ความพึงพอใจตอการเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของ ขอมลู ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 อยูใ นระดับใด 3. วัตถปุ ระสงควจิ ยั 1. เพ่อื สรา งและหาประสทิ ธภิ าพของหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สออนไลน เร่อื ง การประเมินความนาเชอื่ ถอื ของขอมูล ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ใหมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 หลังเรียนดว ยหนังสือ อิเล็กทรอนกิ สอ อนไลน เทยี บกบั เกณฑร อ ยละ 80 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีผลตอการเรียนรูดวยหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมนิ ความนาเชือ่ ถือของขอ มลู ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 4. สมมติฐานงานวิจยั 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรือ่ ง การประเมนิ ความนาเชอื่ ถอื ของขอมูล สงู กวา เกณฑร อ ยละ 80 3. นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 มีความพึงพอใจตอการเรียนรูโดยใชหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสออนไลน เรอ่ื ง การประเมนิ ความนาเช่อื ถือของขอ มลู อยใู นระดับมาก

5. ขอบเขตการวจิ ัย ประชากรและกลุมตัวอยา ง กลุมประชากร ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนอนุบาลแมเ มาะ (ชุมชน 1) มที ั้งหมด 2 หอ ง จำนวน 29 คน กลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1)หอง ม.3/1 จำนวน 15 คน ไดมาจากการสุม ตัวอยางแบบงายโดยวธิ กี ารจับฉลาก ขอบเขตดานเนื้อหา เนอ้ื หาทใ่ี ชใ นการพัฒนา เรอื่ ง การประเมินความนาเช่ือถอื ของขอ มูล ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปที่ 3 ประกอบดวยเนอื้ หาดงั ตอไปน้ี 1. การประเมนิ ความนา เชื่อถอื และความทนั สมัยของสารสนเทศ 2. เหตผุ ลวิบัติ 3. ผลกระทบจากขาวสารทผี่ ิดพลาดและการรเู ทา ทนั ส่อื ขอบเขตดา นตัวแปร 1. ตัวแปรตน คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรือ่ ง การประเมินความนา เช่ือถือของขอ มูล ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 2. ตัวแปรตาม 2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.2 ความพงึ พอใจ ขอบเขตดา นระยะเวลา ระยะเวลาในการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของ ขอมูลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ดำเนินการทดลองใชเพื่อหาประสิทธิภาพในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2563 โดยใชเ วลาทดลอง 1 ปการศกึ ษา 2563 ใชด ำเนนิ การวจิ ัยในชน้ั เรยี น 1 หนว ยการเรียน ในระยะเวลา 3 สปั ดาห รวม 3 ชัว่ โมง

6. นิยามศัพทเฉพาะในการวจิ ัย เพื่อความเขาใจคำศัพทที่ใชในการวิจัยใหตรงกัน ผูวิจัยจึงนิยามความหมายและขอบเขตของ คำเฉพาะตา งๆ ไวดงั นี้ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกสอ อนไลน หมายถงึ ส่อื ทใี่ หข อ มูลท้ังขอความ ภาพ และการเชือ่ มโยงไปยัง เนื้อหาอื่นในเลมเดียวกัน หรือแมแตไปยังเว็บไซตในอินเทอรเน็ตไดในแตละหนาของเนื้อหา หนังสือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ อนไลนส ามารถดแู ละดูออนไลนอานไดทัง้ บนจอมอนิเตอรแ ละอุปกรณคอมพิวเตอรมือถือ เชน Tablet PC ดวยความสำคัญของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเพื่อเปนสื่อในการแพรกระจายการเรียนรู กระทรวงศึกษาธิการจึงไดจัดใหมีโครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสเพื่อเผยแพรความรูไปยัง ครู นักเรียน และสถาบันการศึกษาอืน่ ๆ ท้งั ในรปู แบบออนไลน PUB HTML5 หมายถึง เครื่องมือสำหรับการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสหรือฟลิปบุค (Flipbook) ในรปู แบบสามมติ ิเชน แมกกาซนี ออนไลน, อีโบรชัวร, อีแคตตาล็อคเปน ตนมีระบบการทำงาน ทุกอยางอยูบนเว็บไซตที่สามารถสรางและเผยแพรขอมูลในรูปแบบอีบุคออนไลนผานระบบเครือขาย อินเทอรเน็ตสามารถสรางไดดวยตัวเองผานทางเว็บไซต www.pubhtml5.com โดยการอัพโหลดไฟล pdf และกำหนดคารายละเอยี ดขอมูลของเอกสารเทา นนั้ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หมายถึง คุณภาพของบทเรียน ซึ่งมีผลตอ กระบวนการเรียนรูและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่เรียนดวย หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง อินเทอรเ นต็ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 โดยใชเ กณฑ E1/E2 เทากบั 80/80 ตัวเลข 80 ตัวแรก หมายถึง คารอยละของคะแนนทน่ี ักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 ได จากการทำแบบฝกทกั ษะตามแผนการจัดการเรยี นรู เร่ือง ขอมลู และสารสนเทศ จำนวน 4 แผน ไดค ะแนนเฉลีย่ ไมนอยกวา รอ ยละ 80 ตัวเลข 80 ตัวหลัง หมายถึง คารอยละของคะแนนที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1ได จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้น ไดคะแนนเฉลี่ยไมนอยกวา รอยละ 80 ความพึงพอใจตอหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หมายถึง ความรูสึกของผูเรียนที่มีตอการ จดั การเรยี นการสอนโดยใช หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสออนไลน เร่ือง ขอ มลู และสารสนเทศ ท่ผี ูวิจยั สรางขึ้นซึ่ง มีลักษณะเปนมาตราสว นประมาณคา 5 ระดับ ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต หมายถึง กระบวนการท่ผี ูเ รยี นสรา งความรูขนึ้ ภายในอยางมีความหมาย โดยการตีความหมาย แตกตางกันตามประสบการณของแตละคนมีอยู เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยาง ตอเนื่อง โครงสรางความรู ปรับแก ไดตลอด ความรู เกิดไดจากการแปลความหมายของความเปนจริงใน โลก

7. ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดรบั 1. ไดบทเรียนหนังสืออิเล็กทรอนกิ สออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของ นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ทมี่ ีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 2. เปนแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนกิ สออนไลน เรื่อง การประเมินความนา เชอ่ื ถอื ของขอ มลู สำหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 ใหส งู ข้ึน 3. เพ่ือเปนแนวทางในการพฒั นาหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ สออนไลนในรายวชิ าอ่ืนๆตอไป

8. กรอบแนวคดิ ของการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ไดร วบรวม แนวคิด ทฤษฎี มาใหเ ปน รอบแนวคดิ ในการวจิ ัยดงั นี้ ปจ จัยทีเ่ ก่ยี วของ กระบวนการศกึ ษา - หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน 1. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช 2560 - เอกสารท่เี กีย่ วของกับหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส 1.1 แผนการจดั การเรียนรู หนวยการเรียนรู - ทฤษฎีการเรยี นรแู ละจติ วทิ ยาทเ่ี กี่ยวเน่ือง เรอื่ ง การประเมนิ ความนา เชื่อถือของขอ มูล กบั การออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส - ทฤษฎกี ารเรยี นรตู ามแนวคอนสตรคั ตวิ สิ ต 1.2 หนังสอื อิเล็กทรอนิกสอ อนไลน หนวยการ - เอกสารท่เี ก่ยี วของกบั การวัดและ เรยี นรู เรอ่ื ง การประเมินความนาเช่ือถือของขอมูล ประเมนิ ผลการเรียนรู 1.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น กลุมตวั อยา ง 1.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3/1 ปการศึกษา 2. นำเครอ่ื งมอื ทีส่ รา งขน้ึ เสนออาจารยท ปี่ รกึ ษา 2563 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน1) และผูเ ชีย่ วชาญเพ่ือประเมินและปรับปรุงแกไ ขตาม จำนวน 15 คน ไดมาจากการสมุ ตัวอยา งแบบ ขอเสนอแนะ งายโดยวธิ กี ารจับฉลาก 3.นำเคร่ืองมือไปทดลองใชก ับนกั เรยี นชั้น มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3/2 จำนวน 3 คน 4.หาประสทิ ธิภาพของหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส ออนไลน 4.1 การทดลองแบบหน่ึงตอหน่งึ จำนวน 3 คน ผลการศกึ ษา หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสออนไลนด ว ย - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน Pub HTML5 เรอื่ ง การประเมนิ ความ - ความพงึ พอใจของนกั เรยี น นาเช่อื ถอื ของขอมลู ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาพท่ี 1 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสื่อการสอนหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนดวย Pub HTML5 เรอื่ ง การประเมินความนา เชือ่ ถือของขอมลู ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

บทท่ี 2 ทฤษฎแี ละงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ ง ในการวิจัยและการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสื่อการสอนหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน ดว ย Pub HTML5 เร่อื ง การประเมินความนาเชือ่ ถือของขอ มูล ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 โรงเรยี น อนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) อำเภอแมเมาะ จังหวัดลำปาง ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ และนำเสนอ ตามหัวขอตอ ไปน้ี 1. เอกสารท่ีเก่ยี วของกบั หลักสตู ร 2. เอกสารท่เี กย่ี วของกับหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสออนไลน 3. เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ งกบั ทฤษฎกี ารเรยี นรแู ละจิตวทิ ยาทเ่ี ก่ยี วเนื่องกับการออกแบบหนงั สือ อิเล็กทรอนิกสอ อนไลน 4. เอกสารท่เี ก่ียวขอ งทฤษฎกี ารเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวสิ ต 5. เอกสารทีเ่ กย่ี วของกับการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 6. งานวิจยั ท่เี กยี่ วของ 1.เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ งกบั หลกั สูตร 1.1 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2560 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ไดกำหนดสาระ การเรยี นรูออกเปน ๔ สาระ ไดแ ก สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรชวี ภาพ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรกายภาพ สาระ ที่ ๓ วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยมี ีสาระเพมิ่ เตมิ ๔ สาระ ไดแ ก สาระชีววิทยา สาระเคมีสาระฟสิกสและสาระโลกดาราศาสตรและอวกาศซึ่งองคประกอบของหลักสูตร ทั้งในดานของ เนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรูนั้น มีความสำคัญอยางยิ่งใน การวางรากฐานการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรของผูเ รยี นในแตละระดับช้นั ใหม ีความตอเนือ่ งเชื่อมโยงกัน ตั้งแต ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ จนถึงช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖

1.2 กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร เรยี นรูอะไรในวทิ ยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรม ุงหวังใหผูเรียนไดเรยี นรูวิทยาศาสตร ที่เนนการ เชื่อมโยง ความรูกับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใช กระบวนการในการสบื เสาะหาความรแู ละแกป ญ หาทีห่ ลากหลาย ใหผ ูเ รยี นมสี ว นรว มในการเรยี นรู ทุกขั้นตอน มกี ารทำกิจกรรม ดว ยการลงมอื ปฏิบตั ิจริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชนั้ โดยกำหนดสาระสำคัญ ● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรูเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตรคณิตศาสตร และศาสตรอื่นๆ เพื่อ แกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช เทคโนโลยอี ยางเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอม ● วิทยาการคำนวณ เรียนรูเกี่ยวกับ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะหแกปญหา เปนขั้นตอนและเปนระบบ ประยุกตใชค วามรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสอ่ื สาร ในการแกป ญ หาที่พบในชีวิตจริงไดอ ยางมีประสิทธิภาพ คณุ ภาพผูเรียน จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ • เขาใจลักษณะและองคประกอบที่สำคัญของเซลลสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของการทำงานของ ระบบตาง ๆ ในรางกายมนษุ ยการดำรงชีวติ ของพืช การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การ เปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอยางโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรม ประโยชน และผลกระทบของส่งิ มชี วี ิตดัดแปรพนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ปฏสิ มั พันธ ขององคป ระกอบ ของระบบนเิ วศและการถายทอดพลงั งานในส่งิ มีชวี ิต • เขาใจองคประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบรสิ ุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีและ สมบัตทิ างกายภาพ และการใชป ระโยชนของวัสดปุ ระเภทพอลเิ มอร เซรามกิ และวัสดุผสม • เขาใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธและผลของแรงลัพธกระทำตอวัตถุ โมเมนตของแรง แรงที่ปรากฏในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธของงาน พลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง กฎการอนรุ กั ษพลงั งาน การถายโอนพลงั งาน สมดลุ ความรอน ความสัมพันธข องปริมาณทางไฟฟา การตอ วงจรไฟฟา ในบา น พลงั งานไฟฟา และหลักการเบ้ืองตนของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส • เขา ใจสมบัติของคล่ืน และลักษณะของคล่นื แบบตาง ๆ แสง การสะทอน การหกั เหของแสงและ ทัศนอุปกรณ • เขาใจการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ ปรากฏของ ดวงอาทิตยการเกิดขางขึ้นขางแรม การขึ้นและตกของดวงจันทรการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชนของ เทคโนโลยีอวกาศและความกา วหนาของโครงการสำรวจอวกาศ

• เขาใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องคประกอบและปจจัยที่มีผลตอลมฟาอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายฟุ าคะนอง พายหุ มนุ เขตรอน การพยากรณอ ากาศ สถานการณ การ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพและการใชประโยชน พลังงาน ทดแทนและการใชป ระโยชนลักษณะโครงสรางภายในโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ทางธรณวี ิทยาบนผิว โลก ลักษณะชั้นหนาตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหลงน้ำผิวดิน แหลงน้ำใตดิน กระบวนการเกิดและ ผลกระทบของภัยธรรมชาตแิ ละธรณีพิบตั ภิ ัย • เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีไดแก ระบบทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีความสัมพันธร ะหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือ คณิตศาสตร วิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบ ตอชีวิต สังคม และส่งิ แวดลอม ประยกุ ตใ ชความรทู ักษะ และทรัพยากรเพ่อื ออกแบบและสรา ง ผลงานสำหรับการ แกปญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใชกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมท้ัง เลือกใชวัสดุอุปกรณและเครื่องมือไดอยางถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้ง คำนึงถึงทรัพยสินทาง ปญ ญา • นำขอมูลปฐมภูมิเขาสูร ะบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน นำเสนอขอมูลและสารสนเทศได ตามวัตถุประสงค ใชทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจรงิ และเขียนโปรแกรมอยาง งายเพื่อชวยในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยางรูเทาทันและรับผิดชอบตอ สังคม • ตั้งคำถามหรือกำหนดปญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทาง วิทยาศาสตรที่มี การกำหนดและควบคมุ ตวั แปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐาน ท่ีสามารถนำไปสูการ สำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใชวัสดุและเครื่องมือ ท่ี เหมาะสม เลือกใชเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมขอมูล ทั้งในเชิง ปรมิ าณและคุณภาพที่ไดผลเทย่ี งตรงและปลอดภยั • วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของขอมูลที่ไดจากการสำรวจตรวจสอบ จาก พยานหลักฐาน โดยใชความรูและหลักการทางวิทยาศาสตรในการแปลความหมายและลงขอสรุป และ สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพอ่ื ใหผอู น่ื เขา ใจไดอ ยา งเหมาะสม • แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย ในสิ่งที่จะเรียนรู มีความคิด สรา งสรรคเ ก่ียวกบั เร่อื งทจี่ ะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใชเครอ่ื งมือและวิธกี าร ท่ีใหไ ดผลถูกตอง เชือ่ ถอื ไดศ กึ ษาคนควาเพ่ิมเติมจากแหลงความรูตาง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รับฟงความคิดเห็น ผูอ ืน่ และยอมรบั การเปลี่ยนแปลงความรูท่ีคน พบ เม่อื มขี อ มลู และประจักษพ ยานใหมเพ่ิมขึ้นหรือโตแยง จากเดมิ

• ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจำวัน ใชความรูและ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกยอ ง และเคารพสทิ ธใิ นผลงานของผูคดิ คน เขา ใจผลกระทบท้งั ดานบวกและ ดานลบของการพัฒนาทาง วิทยาศาสตรตอสิ่งแวดลอมและตอบรบิ ทอื่น ๆ และศึกษาหาความรู เพิ่มเตมิ ทำโครงงาน หรอื สรา งชน้ิ งานตามความสนใจ • แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุล ของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ งกบั หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-Book) 2.1 ความหมายของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) มีนักวิชาการและนักวิจัยหลายคนใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสไว ดังนี้ กิ ดานันท มลทิ อง (2540) ใหความหมายของหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส หมายถึง สิง่ พมิ พทไี่ ดรบั การแปลงลงบน สอ่ื บนั ทกึ ดวยระบบดิจทิ ัล เชน ซดี ีรอม หรือหนงั สือทพี่ มิ พลงบนสื่อบนั ทกึ ดวยระบบดิจิทัลแทนที่จะพิมพ ลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพมิ พธรรมดา เชน นติ ยสารนิทิลุส ทผ่ี ลิตออกมาดวย การบนั ทกึ บทความ ภาพ และเสียงลงซีดีรอม และสงใหส มาชิกตามบา นเชนเดยี วกบั นิตยสารทวั่ ไป ไพฑูรย ศรีฟา (2551) กลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกส หมายถึง หนังสือที่สรางขึ้นดวย โปรแกรมคอมพิวเตอร มลี กั ษณะเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกส โดยปกติมกั จะเปน แฟมขอมูล ท่ี สามารถอานเอกสารผา นทางหนา จอคอมพิวเตอรท้ังในระบบออฟไลนแ ละออนไลน ครรชิต มาลยั วงศ (2540) กลาววา หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส หมายถงึ รูปแบบของ การ จดั เกบ็ และนำเสนอขอ มูลหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ทีเ่ ปน ขอความ ตัวเลข ภาพนง่ิ ภาพเคล่อื นไหวและเสียง ตา ง ๆ ขอ มูลเหลา นมี้ ีวธิ ีการเก็บในลกั ษณะพเิ ศษคอื จากแฟมขอมลู หน่งึ ผูอานสามารถเรียกดูขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของไดท นั ทีโดยขอมูลจะอยูในแฟมเดียวกันหรือไมก็ได ขอมูลที่กลาวมา เปนขอมลู ที่เปนตัวอกั ษร หรอื ตวั เลข เรยี กวา ไฮเปอรเท็กซ และถา หากขอมลู นนั้ รวมถึงเสียงและภาพเคลอื่ นไหวดว ยก็จะเรียกวาสื่อ ประสมหรอื ไฮเปอรมีเดยี (อางถึงใน พิรณุ โปรย สำโรงทอง, 2554) กำธร บญุ เจรญิ (2550) กลาววา หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส หมายถงึ เปน หนงั สือที่บรรจุดวย เนื้อหาที่เปนตัวอักษร ภาพ เสียง กราฟก และสื่อประสมตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส ที่ สามารถอานและดูบนเครื่องคอมพิวเตอร สามารถดาวโหลดไดจากอนิ เทอรเ นต็ เพ่ือเก็บไวอาน สามารถ สงตอไปยังผูอื่นไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส และสามารถเชื่อมโยงไปยังหนังสือเลมอื่นๆ ไดทันทีผาน ระบบออนไลน อาวัชนา สินวณิชยกุล (2552) กลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกสวา หมายถึง หนังสือหรือ เอกสารอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบไฮเปอรเท็กซ และไฮเปอรมีเดียผานจอคอมพิวเตอร หรืออุปกรณ มัลติมีเดียชนิดอื่น ๆ ที่สามารถเชื่อมโยงหรือถายโอนขอมูลได ผูเรียนสามารถอานผานทางอินเทอรเนต็ หรืออุปกรณอ ิเลก็ ทรอนิกสพ กพาอ่นื ๆ ได เชน เครอื่ งคอมพิวเตอร เคร่อื งปาลม หรอื เคร่อื งอาน E-book

เปนอุปกรณที่ใชในการอานรูปแบบสิ่งพิมพดานอิเล็กทรอนิกสและมัลติมีเดียที่เปนแผนจานขอมูลเสียง เชน ซดี รี อม แผน ซดี รี อมสามารถจัดขอ มูลไดจำนวนมากในรูปแบบหนังสอื ทอ่ี ยูในรปู แบบดิจิทัล ตัวอักษร ลักษณะภาพดิจิทัล ภาพแอนเิ มชนั่ วดิ โี อ ภาพเคล่ือนไหวตอเนื่อง คำพดู เสียงดนตรี และเสียงอื่น อยูใน หนังสืออิเล็กทรอนกิ สน้ี มีลักษณะการนำเสนอที่สอดคลองและคลายคลึงกับการอา นหนังสือทั่ว ๆ ไปใน ชวี ติ ประจำวัน โดยผเู รยี นสามารถเรยี นรไู ดตลอดเวลา และทุกสถานท่ีตามทผี่ เู รียนตองการ พิรุณโปรย สำโรงทอง (2554) กลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนหนังสือท่ีบรรจุดวย เนื้อหาที่เปนตัวอักษร ภาพ เสียง กราฟก และสื่อประสมตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกสท่ี สามารถอานและดบู นเครอื่ งคอมพิวเตอร สามารถดาวโหลดไดจากอินเทอรเนต็ เพ่ือเก็บไวอ า น สามารถสง ตอไปยังผูอื่นไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส และสามารถเชื่อมโยงไปยังหนังสือเลมอื่น ๆ ไดทันทีที่ผาน ระบบออนไลน จากความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวา หนังสือ อิเล็กทรอนิกส หมายถึงสิ่งพิมพทีส่ รางขึ้นดวยคอมพวิ เตอร บรรจุเนื้อหาที่เปนตัวอักษร หรืออาจมีภาพ เสียง กราฟฟก วีดิทัศน ภาพเคลื่อนไหวตอเนื่อง และสื่อประสมอื่นๆ หรือเชื่อมโยงไปยังหนังสือเลมอน่ื หรือแหลงขอมูลภายนอกได โดยเปนขอมูลที่อยูในรูปแบบดิจิทัลที่สามารถอานและดูบนเครื่อง คอมพวิ เตอรห รืออุปกรณอิเล็กทรอนกิ สพกพาอน่ื ๆ ทงั้ ในระบบออนไลนแ ละออฟไลน 2.2 ประเภทของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส (E-Book) จนิ ตวีร คลา ยสังข (2555) ไดแ บง หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสเ ปน 4 ประเภทหลกั ไดแ ก 1. หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสแ บบเนนขอความ (Text-Based E-Book) เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส ที่คงรูปแบบของหนังสือแบบดั้งเดิม คือประกอบดวยขอความและภาพ แตไดดัดแปลงใหอยูในรูปแบบ อิเล็กทรอนกิ สเพื่อใหสะดวกตอการเขาถึง และความยืดหยุน ของการใชงานของผูเรียน อีกทั้งยังเปน การ แปลงหนงั สอื จากสภาพส่อื Desktop Publishing ปกติเปน สญั ญาณดจิ ิทัลทำใหเพิ่มศักยภาพการนำเสนอ ไมว า จะเปน การคน่ั หนา หนังสอื การสบื คนและการคดั เลอื ก เปน ตน ชวยใหผเู รียนสามารถยอนกลับเพ่ือ ทบทวนบทเรียนหากไมเขาใจและสามารถเลือกเรียนไดตามเวลาและสถานที่ที่ตนเองสะดวก ชวยใหการ เรียนมีประสิทธิภาพในแงที่ลดเวลาลดคาใชจาย ผูเรียนสามารถเลือกเรียนหัวขอที่สนใจขอใดกอนก็ได และสามารถยอนกลับไปกลบั มาในเอกสารหรอื กลับมาเร่ิมตน ที่จุดเริ่มตน ใหมไ ดอ ยางสะดวกรวดเร็ว 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบมัลติมีเดีย (Multimedia E-Book) หมายถึง เอกสาร อิเล็กทรอนิกสที่ใชคุณสมบัติของสื่อมัลติมีเดียที่ประกอบไปดวยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน เสียง ตลอดจนแอนิเมชัน่ ตา ง ๆ เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู อีกทั้งยังสามารถปรบั เปลี่ยน แกไข เพิ่มเติม ขอ มลู ไดง า ยสะดวกรวดเรว็ ทำใหสามารถปรับปรงุ บทเรยี นใหทันสมัยกบั เหตุการณไดเปน อยางดี

3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบปฏิสัมพันธ (Interactive E-Book) หมายถึง เอกสาร อเิ ล็กทรอนกิ สท ี่เนนคณุ สมบัตปิ ฏสิ ัมพันธระหวางเอกสารและผเู รยี น เพือ่ ชวยใหเ กดิ การเรียนรโู ดยเอกสาร อเิ ลก็ ทรอนิกสเหลา นี้มีวิธเี กบ็ ในลักษณะพเิ ศษ นั่นคอื จากไฟลขอมลู หน่ึง ผูอานสามารถเรยี กดขู อมลู อ่ืน ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งไดท นั ทีหากขอมูลที่กลาวมานี้เปนขอความท่ีเปน ตวั อกั ษรสามารถเรยี กการเช่ือมโยงลักษณะน้ี วา ขอ ความหลายมติ ิ (Hypertext) และหากขอ มลู นั้นรวมถึงการเชอ่ื มโยงกับเสียงและภาพเคล่อื นไหวดวย จะเรียกการเชือ่ มโยงลักษณะนวี้ าสอื่ ประสมหรือสื่อหลายมิติ (Hypermedia) 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบเนนแหลงขอมูล (Resource-Based E-Book) หมายถึง เอกสารอิเล็กทรอนิกสที่เนนคุณสมบัติของการรวบรวมและเชื่อมโยงสูแหลงขอมูลตางๆ ในเครือขาย อนิ เทอรเนต็ เพื่อสง เสรมิ ใหผ ูเรยี นเกิดการเรียนรู ผเู รยี นสามารถคนหาขอมลู ท่เี กย่ี วขอ งกันกับเร่ืองที่กำลัง ศกึ ษาจากแหลง ขอ มูลอื่น ๆ ทเ่ี ช่ือมโยงอยูไดอ ยางไมจำกดั เสรมิ สรางใหผเู รยี นเปน ผูม ีเหตุผลและมีการคิด แกปญ หาอยา งเปน ระบบเพราะการโตต อบกบั เครื่องคอมพิวเตอร ผเู รยี นจะตองดำเนนิ การอยางมีขั้นตอน มีระเบียบและมเี หตุผล ถอื เปนการฝก ลักษณะนิสยั ท่ีดีใหกบั ผูเ รียนไดเ ปนอยา งดี Baker (1992 อางถงึ ในสายพิรุณ ผสุ ดี, 2552) ไดแบง ประเภทของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส ออกเปน 10 ประเภทดังนี้ คือ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือ หรือตำรา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกส ประเภทน้ี เนน การจัดเกบ็ และนำเสนอเนื้อหาท่ีเปนตัวหนงั สอื และภาพประกอบในรูปแบบหนังสือปกติท่ี พบเห็นทวั่ ไป หลกั การของหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสชนิดนี้สามารถกลา วไดว าเปนการแปลงหนงั สือจากสภาพ สิ่งพิมพปกติเปนสัญญาณดิจิตอล เพิ่มศักยภาพการนำเสนอ การปฏิสัมพันธระหวางผูอานกับหนังสือ อิเล็กทรอนิกสดวยศักยภาพเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นพื้นฐาน เชน การเปดหนาหนังสือ การสืบคน การ คัดลอก เปนตน 2.หนังสืออิเลก็ ทรอนิกสแ บบหนังสือเสียงอา น เปนหนังสือมีเสียงคำอานเมื่อเปดหนงั สือ จะมเี สยี งอาน หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสป ระเภทนเี้ หมาะสำหรบั เดก็ เร่ิมหดั อา น หรือสำหรับฝกออกเสียง หรอื ฝกพูด (Talking Books) เปนตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนีเ้ นนคุณลักษณะดานการนำเสนอเนื้อหาท่ี เปนตวั อกั ษร และเสยี งเปนคุณลกั ษณะหลกั นิยมใชก ับกลุมผูอ านท่มี ีระดบั ทักษะทางภาษาโดยเฉพาะดาน การฟงหรือการอานคอนขางต่ำ เหมาะสำหรับการเริ่มเรียนภาษาของเด็กๆหรือผูที่กำลังฝกภาษาที่สอง หรอื ฝกภาษาใหม เปน ตน 3.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพ (Static Picture Books) เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มีคุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนำเสนอขอมูลในรูปแบบภาพน่ิง (Static Picture) หรืออัลบม้ั ภาพเปนหลัก เสรมิ ดวยการนำศกั ยภาพของคอมพวิ เตอรมาใชใ นการนำเสนอ เชน การเลือกภาพที่ตองการ การขยายหรือยอขนาดของภาพหรือตวั อกั ษร การสำเนาหรือถา ยโอนภาพ การเติมแตงภาพ การเลือกเฉพาะสวนภาพ (Cropping) หรือเพิ่มขอมูลการเชื่อมโยงภายใน (Linking Information) เชน เชอ่ื มขอ มลู อธิบายเพม่ิ เตมิ เช่อื มขอมลู เสยี งประกอบ เปนตน

อิเล็กทรอนิกสที่เนนการนำเสนอขอมูลในรูปแบบภาพวีดิทัศน (Video Clips) หรือ ภาพยนตรสั้นๆ (Films Clips) ผนวกขอมูลสนเทศที่เปนตัวหนังสือ (Text Information) ผูอานสามารถ เลอื กชมศึกษาขอ มลู ได สวนใหญน ิยมนำเสนอขอ มลู เหตกุ ารณประวัติศาสตร หรือเหตกุ ารณส ำคญั ๆ เชน ภาพเหตุการณสงครามโลก ภาพการกลาวสุนทรพจนของบุคคลสำคัญๆ ของโลกในโอกาสตาง ๆ ภาพ เหตุการณค วามสำเร็จหรือสญู เสียของโลก เปนตน 5.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสม (Multimedia Books) เปนหนังสือ อิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูลเนื้อหาสาระในลักษณะแบบสื่อผสมระหวางสื่อภาพ (Visual Media) ที่ เปน ภาพน่ิงและภาพเคลอ่ื นไหวกับส่ือประเภทเสียง (Audio Media) ในลกั ษณะตา ง ๆ ผนวกกบั ศกั ยภาพ ของคอมพวิ เตอรอ่ืนเชน เดยี วกันกับหนงั สอื อิเล็กทรอนิกสอ่นื ๆ ท่กี ลาวมาแลว 6.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อหลาก หลาย (Polymedia Books) เ ป  น ห น ั ง ส ื อ อ ิ เ ล ็ ก ท ร อ น ิ ก ส  ท ี ่ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ เ ช  น เ ด ี ย ว ก ั บ ห น ั ง ส ื อ อ ิ เ ล ็ ก ท ร อ น ิ ก ส  แ บ บ สื่ อ ป ร ะ ส ม แตม คี วามหลากหลายในคณุ ลักษณะดา นความเชื่อมโยงระหวา งขอมูลภายในเลม ที่บันทกึ ในลักษณะตาง ๆ เชน ตัวหนงั สือ ภาพนิ่ง ภาพเคล่อื นไหว เสยี ง ดนตรี และอืน่ ๆ เปนตน 7.หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสแ บบหนงั สือสือ่ เชอ่ื มโยง (Hypermedia Books) เปนหนังสือท่ีมี คณุ ลักษณะสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในเลม (Internal Information Linking) ซึง่ ผูอานสามารถ คลิ้กเพื่อเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายในเลม การเชื่อมโยงเชนนี้มีคุณลักษณะ เชนเดยี วกนั กบั บทเรยี นโปรแกรมแบบแตกกิง่ (Branching Programmed Instruction) 8.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ (Intelligent Electronic Books) เปน หนังสือสือ่ ประสม แตม กี ารใชโ ปรแกรมชัน้ สงู ทสี่ ามารถมปี ฏกิ ริ ิยา หรอื ปฏสิ ัมพนั ธกบั ผอู า นเสมือนกับ หนงั สือมสี ตปิ ญ ญา (อัจฉรยิ ะ) ในการไตรต รอง หรอื คาดคะเนในการโตตอบ หรอื มีปฏิกริ ิยากับผูอาน (ดัง ตวั อยา งการทำงานของโปรแกรม Help ที่ Microsoft Word เปน ตน ) 9.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อหนังสือทางไกล (Telemedia Electronic Books) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลัก ๆ คลายกับ Hypermedia Electronic Book แตเนนการเช่ือมโยงกับแหลงขอ มูลภายนอกผา นระบบเครอื ขาย (Online Information Resource) ท้ังท่ี เปนเครอื ขา ยเปดและเครอื ขา ยเฉพาะสมาชกิ ของเครอื ขา ย 10.หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรเสปซ (Cyberspace Books) หนังสือ อิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีลักษณะเหมอื นกบั หนังสืออิเล็กทรอนิกสหลาย ๆ แบบ ที่กลาวมาแลวมาผสม กัน สามารถเชื่อมโยงขอมูลท้ังจากแหลง ภายในและภายนอก สามารถนำเสนอขอมูลในรูปแบบของสื่อที่ หลากหลาย สามารถมปี ฏิสมั พันธก ับผูอา นไดหลากหลายมติ ิ

2.3 โครงสรางของหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-Book) ไพฑูรย สฟี า (2551) ไดก ลา วไววา ลกั ษณะโครงสรา งของหนงั สืออิเล็กทรอนิกสจ ะมีความ คลายคลึงกับหนังสอื ทวั่ ไปทพี่ มิ พดวยกระดาษ หากจะมคี วามแตกตา งกนั ท่เี หน็ ไดชัดเจนคือกระบวนการ ผลติ รปู แบบ และวธิ กี ารอานหนังสอื โครงสรา งท่วั ไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกสป ระกอบดวย 1.หนาปก หมายถึงปกดา นหนา ของหนังสอื ซ่งึ จะอยสู วนแรก เปนตัวบงบอกวา หนงั สอื เลม นชี้ ่อื อะไร ใครเปนผูแตง 2.คำนำ หมายถงึ คำบอกกลา วของผูเขียนเพ่อื สรา งความรู ความเขาใจเก่ยี วกับขอมูลและ เรอ่ื งราวตา ง ๆ ของหนงั สือเลมนน้ั 3.สารบญั หมายถึง ตวั บง บอกหวั เรือ่ งสำคัญทอ่ี ยูภ ายในเลมวาประกอบดว ยอะไรบาง อยู ที่หนา ใดของหนงั สือ สามารถเชอ่ื มโยงไปสูห นา ตา ง ๆ ภายในเลม ได 4.สาระของหนงั สือแตล ะหนา หมายถึง สว นประกอบสำคัญในแตละหนา ท่ีปรากฎภายใน เลม ประกอบดวย 4.1) หนาหนังสือ (Page Number) 4.2) ขอความ (Texts) 4.3) ภาพประกอบ (Graphics) 4.4) เสยี ง (Sounds) 4.5) ภาพเคล่ือนไหว (Video) 4.6) จดุ เช่อื มโยง (Links) 5.อางองิ หมายถงึ แหลงขอ มลู ทีใ่ ชน ำมาอา งองิ อาจเปนเอกสาร ตำรา หรอื เวบ็ ไซต 6.ดัชนี หมายถึง การระบุคำสำคัญหรือคำหลักตาง ๆ ที่อยูภายในเลม โดยเรียงลำดับ ตัวอักษรใหส ะดวกตอ การคนหา พรอ มระบุเลขหนา และจุดเช่อื มโยง 7.ปกหลงั หมายถงึ ปกดานหลังของหนังสือซง่ึ อยูสวนทายเลม 2.4 การประยุกตใชหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สใ นการเรียนรู อาจบดนิ ทร ผอ งพันธุงาม (2555) กลา วถึงวิธีการประยกุ ตใชหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ สในการ เรยี นรไู วดังนี้ 1. ผูใชสามารถอานหนงั สอื ไดใ นทุกท่ี ทกุ เวลาทต่ี อ งการเรียนรู หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส เปนอีกหนึ่งในความสามารถของเครือ่ ง Palm ที่จะสามารถทำให คณุ เกบ็ บันทึกเอกสาร Text File ลงใน Palm ใหอยใู นรปู แบบหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส โดยการอานหนังสือ อิเลก็ ทรอนิกส นั้น จะตองมี Software ท่เี ขามาสนับสนนุ การอาน File ของหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส 2. เปนสอ่ื รปู แบบใหมทผี่ ูส อนสามารถใชประกอบการสอน ผสู อนสามารถนำมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน โดยกำหนดเปน เอกสาร การ สอนในรายวชิ าตา งๆ เพอื่ ใหผ เู รยี นอานสะดวก เนื่องจากผูเรยี นสามารถอานไดพรอมๆ กันหลายคน อาน ไดทุกที่ที่มกี ารเชื่อมโยงอินเตอรเน็ต ถาผูเรียนมีอุปกรณอเิ ล็กทรอนกิ สพกพาอื่นๆ ก็สามารถดาวนโหลด เก็บไวในเครื่องของตนเอง ทำใหไมสิ้นเปลืองกระดาษนอกจากนัน้ ผูสอนยังสามารถตรวจสอบไดว ามีใคร เขา มาอา นแลวบาง จึงเทากับเปนการ ติดตามประเมนิ ผลผเู รยี นอีกทางหนงึ่

2.5 ประโยชนของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สใ นการเรยี นการสอน การนำหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สไ ปใชง านรวมกบั กิจกรรมการเรียนการสอนในช้ันเรยี น หรือ นำไปใชเพ่ือการศึกษาใดๆ รวมทั้งการฝกอบรมนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส จะชวยอำนวยความสะดวกได ดงั นี้ 1. ชวยการทบทวนความรูที่ไดเรียนในชั้นเรียน ผูเรียนสามารถเรียนทวนซ้ำได เมื่อมี โอกาสตามความแตกตา งของผูเ รียน ทม่ี ีทง้ั ความพรอมท่ีจะเรียนรู มคี วามสามารถในการจำและมีความ สนใจท่ีแตกตาง สงผลใหผูเรยี นมผี ลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นการสอนท่แี ตกตา งกนั ดงั นั้น หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส จงึ ชวยใหผ เู รียนสามารถเรยี นซ้ำไดเมอ่ื มโี อกาส มคี วามพรอมตามความแตกตา งของผูเรียน 2. ชวยแกปญหาขาดผูเชี่ยวชาญ ในการเรียนการสอนทั้งในและนอกชั้นเรียนครูผูสอน ตางมีความเชี่ยวชาญในเนื้อหาทจ่ี ะสอนแตกตางกนั ดงั น้นั หากไดนำผูสอนทม่ี คี วามเช่ยี วชาญในเรอื่ งนั้นๆ มาทำการบันทึกการสอนและจัดทำเปนสื่อการสอนลงบนหนังสืออิเล็กทรอนิกส ก็จะชวยแกไขปญหา ผเู ช่ยี วชาญการสอนในเนือ้ หานั้นๆ ไดอยางดี 3. เปนการนำเทคโนโลยกี ารนำเสนอขอ มลู หนา จอภาพคอมพวิ เตอรม าใชใหเ กิดประโยชน การที่เราใหผูเรียนศกึ ษาจากหนังสือ เอกสาร ตำราที่เปนกระดาษนั้นจะพบขอ จำกัดของกระดาษวาไม สามารถแสดงภาพและสีไดครบตามที่ตองการ ไมสามารถสรางภาพประกอบเสียงได ไมสามารถแสดง เนอ้ื หาในแผน เดยี วและเลือ่ นหนา เนือ้ หาในกระดาษได ไมสามารถมปี ฏิสมั พันธร ะหวางหนังสือกับผูเรียน ได แตจอคอมพิวเตอรส ามารถตอบสนองความตองการขา งตนนไ้ี ดทัง้ หมด 4. เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบผสมผสานทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน สื่อหนังสอื อิเล็กทรอนิกสท่ีครูไดสรางขึ้นและกำหนดใหผเู รียนศึกษานั้นหลงั จากท่ไี ดทำกิจกรรมการเรียน การสอนในชั้นเรียนเสร็จสิ้นลงแลว ผูสอนยังสามารถนำผูเรียนออกนอกชั้นเรียนเพื่อไปเรียนกับ สถานการณจริง เชน เรื่องพืชผักสวนครัว ผูเรียนก็สามารถเปดหนังสืออิเล็กทรอนิกสและอาจใช เคร่ืองมืออานบารโ คตที่ตน ไมเ พอ่ื เปด เนอื้ หาจากสว นกลางบนระบบเครอื ขา ยเรียนประกอบไปไดทนั ที 5. หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการเชื่อมโยงเวลา เหตุการณและสถานที่เขาไวดวยกัน โดยที่หนังสือจะมีขอจำกัดในการนำเสนอดังกลาว โดยที่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการเชื่อมโยงเวลา อดตี อนาคต ท่ีมีเหตกุ ารณและสถานท่ีตางๆ ไว โดยครผู สู อนสามารถสราง หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส ท่ีมี linkเชื่อมโยงเนื้อหาในอดีต อาทิ เหตุการณสงครามโลกครั้งที่สองและสามารถเชื่อมโยงเหตุการณใน อนาคตที่มีผูทำนายจากสถิติและสรางเปนสื่อไว เชน พยากรณอากาศ และยังสามารถเชื่อมสถานท่ี เชน การสอนวิชาภมู ิศาสตร ผูส อนสามารถเชอ่ื มสถานทท่ี ่ตี องการสอนโดยไมตอ งออกไปสถานทจ่ี ริง

2.6 ขอ ดีและขอ จำกัดในการนำหนังสืออิเล็กทรอนกิ สม าใชงาน การนำนวตั กรรมมาใชงานดา นการศกึ ษามีขอดแี ละขอเสีย หากเราทำความเขา ใจถึงขอดี เราก็จะสามารถนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส ไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ และหากเราสามารถทราบถึง ขอเสยี กจ็ ะทำใหเราเขาใจถึงขอ จำกัดของหนังสอื อิเล็กทรอนิกส และสามารถออกแบบการใชงานหรือการ เรียนการสอนโดยใช หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส เปน ส่ือไดอยา งมีกลยทุ ธ ขอดี 1. หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส เปนการสรางและนำเสนอขอมูลในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส จงึ ไม ตองใชกระดาษ ไมต อ งตดั ไมท ำลายปาเพือ่ มาทำกระดาษ เปน การอนุรักษธรรมชาติ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการสรางและนำเสนอขอมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส จึง สามารถสรางและนำเสนอไดรวดเร็วเพราะไมตองเขาสูกระบวนการพิมพ และยังสามารถปรับแกไ ขและ กลบั มานำเสนอไดทันที 3. หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส เปนการสรางและนำเสนอในรปู แบบอิเล็กทรอนกิ ส จึงสามารถ ทีจ่ ะคัดลอก เพื่อนำไปใชงานไดท ันที 4. ขนาดของคอมพิวเตอรแ บบพกพาทีเ่ ล็กกะทดั รดั จึงทำใหส ะดวกสามารถนำไปใชไดใน ทุกทท่ี กุ ทางทเ่ี ดนิ ทางไป 5. คอมพิวเตอรแบบพกพาใชพลังงานจากแบตเตอรร่ี จงึ ไมจำเปน ตองเสยี บสายไฟใชงาน แบบเคร่อื งคอมพวิ เตอรตง้ั โตะ สามารถนำไปใชไดใ นทกุ ทีท่ ุกทางทกุ โอกาส 6. คอมพิวเตอรแบบพกพานี้ระบบปฏิบัติการและขนาดที่หลากหลาย เชน Android iOS Windowsและมีขนาดตั้งแต Tablet PC จนถึง Smartphone ผูเรียนจึงสามารถเลือกใชอุปกรณ คอมพวิ เตอรแบบพกพาอยางหลากหลาย ขอ จำกัด 1. หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส เปนการสรางและการนำเสนอดวยรูปแบบอิเล็กทรอนิกส และ ไมต อ งเขาสูกระบวนการพิมพ จงึ สง ผลกระทบใหอ ุตสาหกรรมการพมิ พซ บเซา 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการสรางและนำเสนอดวยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส จึง สง ผลใหเ กิดการคัดลอกผลงานทางวิชาการไดง าย 3. จากขนาดของคอมพิวเตอรแบบพกพาที่เล็กกะทัดรดั หากผูเรียนเปนเยาวชนหรือผูสูง วยั อาจวางลืมหายหรอื อาจถกู ขโมยไดงา ย 4. คอมพิวเตอรแบบพกพาใชพลังงานจากแบตเตอรรี่ จึงมีขอจำกัดเวลาในการใชงาน หากแบตเตอรร ห่ี มดกไ็ มส ามารถศึกษาเน้อื หาจากหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส ได 5.จากคอมพิวเตอรแบบพกพามีระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย เชน Android iOS Windows และมีขนาดตั้งแต Tablet PC จนถึง Smartphone การสราง หนังสืออิเล็กทรอนิกส จำเปนตอ งคำนึงถึงระบบปฏิบัตกิ ารและขนาดของคอมพวิ เตอรแ บบพกพาดว ย

3. ทฤษฎีการเรียนรูและจติ วทิ ยาท่เี กย่ี วเนอื่ งกับการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส 3.1 ทฤษฎกี ารเรยี นรทู เ่ี ก่ียวเนอ่ื งกบั การออกแบบหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส ทฤษฎหี ลกั ๆ ทเี่ กย่ี วกบั การเรยี นรขู องมนุษยและสงผลกระทบตอ แนวคิดในการออกแบบ โครงสรางของหนังสื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีปญญานิยม ทฤษฎีโครงสราง ความรูและทฤษฎคี วามยืดหยนุ ทางปญ ญา (เจษฎา ถาวรนวุ งศ 25533 อางถึงใน ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2541) โดยมแี นวคิดดงั น้ี 3.1.1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎี พฤติกรรมนิยมจะมีโครงสรางของบทเรียนในลักษณะเชิงเสนตรง โดยผูเรียนทุกคนจะไดรับการเสนอ เนื้อหาตามลำดับจากงายไปหายาก ซึ่งเปนลำดับที่ผูสอนไดพิจารณาแลววาเปนลำดับการสอนที่ดี และ ผเู รียนจะสามารถเรียนรูไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพมากทส่ี ุด 3.1.2 ทฤษฎีปญญานิยม ทำใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบในลักษณะสาขาของ คราวเดอร ซึ่งการออกแบบบทเรียนในลักษณะสาขา จะทำใหผูเรียนมีอิสระมากขึ้นในการควบคุมการ เรยี นของตัวเอง โดยเฉพาะอยางย่ิงการมอี สิ ระมากขึ้นในการเลือกลำดับเนือ้ หาของบทเรียนที่เหมาะสมกับ ตนเอง โดยผูเรยี นสามารถจะเลอื กเรยี นไดต ามความสนใจ 3.1.3 ทฤษฎีโครงสรางความรูและความยืดหยุนทางปญญา จะมีความแตกตางกันทาง แนวคิดอยูมาก แตทฤษฎีทั้งสองตางก็สงผลตอการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสในลักษณะ ท่ี ใกลเคียงกัน กลาวคือทฤษฎีทั้งสองตางสนับสนุนแนวคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโครงสรางการนาเสนอ เนื้อหาหนังสืออิเล็กทรอนิกสในลักษณะสื่อหลายมิติจะตอบสนองตอวิธีการเรียนรูของมนุษย ในความ พยายามทจ่ี ะเช่ือมโยงเน้อื หาบทเรียนในลักษณะสอ่ื หลายมติ ิตอบสนองตอการเรียนรขู องมนุษย ในความ พยายามที่จะเชื่อมโยงความรูใหม กับความรูที่มีอยูเดิมไดเปนอยางดี ซึ่งตรงกับแนวคิดของทฤษฎี โครงสรางความรู นอกจากนก้ี ารนาเสนอเน้อื หาบทเรยี นในลักษณะสอ่ื หลายมิติยงั สามารถท่ีจะตอบสนอง ความแตกตา งของโครงสรางขององคความรูที่ไมชดั เจนหรอื มคี วามสลับซบั ซอน ซึ่งเปน แนวคิดของทฤษฎี ความยืดหยุน ทางปญญาไดอ ีกดวยโดยการจัดระเบียบโครงสรางการนาเสนอเนอื้ หาบทเรยี นในลักษณะส่ือ หลายมิติ จะอนุญาตใหผูเรียนทุกคนสามารถที่จะมีอิสระในการควบคุม การเรียนของตนตาม ความสามารถ ความสนใจ ความถนดั และพื้นฐานความรูของตนไดอ ยางเต็มที่ หนังสืออเิ ล็กทรอนิกสแบบ สื่อประสมที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีทั้งสองนี้จะมีโครงสรางของบทเรียนแบบสื่อหลายมิติใน ลักษณะโยงใย (เหมือนใยแมงมุม) การออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสนั้น ผูออกแบบไมจาเปนตองยึด แนวคดิ หรอื ทฤษฎใี ดทฤษฎีหน่งึ แตเพยี งอยางเดียว ในทางตรงกันขามผูออกแบบสามารถพัฒนาผสมผสาน แนวคดิ หรือทฤษฎตี าง ๆ ใหเหมาะสมตามลักษณะเน้ือหาและโครงสรางขององคความรใู นสาขาวิชาตาง ๆ ยกตัวอยางเชน ในการออกแบบสามารถที่จะประยุกต การออกแบบในลักษณะเชิงเสนตรงในสวนของ เน้ือหาความรู ซงึ่ เปนลักษณะขององคความรทู ่ตี องการลำดับการเรยี นรูท่ตี ายตัวหรือองคค วามรูประเภทท่ี

มีโครงสรางตายตัวไมสลับซับซอนในขณะเดียวกันก็สามารถที่จะประยุกตการออกแบบในลักษณะของ สาขาหรือสื่อหลายมิติไดในเนื้อหาความรูซึ่งเปนลักษณะขององคความรูที่ไมตองการลำดับการเรียนรูที่ ตายตวั และมคี วามสมั พนั ธภายในท่สี ลับซับซอ น เปน ตน 3.2 จิตวิทยาท่ีเก่ยี วเนือ่ งกับการออกแบบหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส แนวคิดทางดานจิตวิทยาพุทธิพิสัยเกี่ยวกับการเรียนรูของมนุษย เกี่ยวเนื่องกับการ ออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสน นั้ ไดแกความสนใจและการรบั รอู ยางถกู ตอง การจดจำ ความเขาใจ ความกระตือรือรน ในการเรียน แรงจงู ใจ การควบคุมการเรียน การถายโอนการเรียนรูและการตอบสนอง ความแตกตางระหวา งบุคคล (เจษฎา ถาวรนุวงศ, 2533 อา งถึงใน ถนอมพร เลาหจรัสแสง,2541) 3.2.1 ความสนใจและการรบั รูอยางถกู ตอง หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสท ี่ดีจะตองออกแบบให เกดิ การรับรูท่งี า ยดายและเทย่ี งตรงท่ีสุด การทีจ่ ะทาใหผ ูเรียนเกิดความสนใจกบั ส่ิงเราและรับรูสิ่งเราตาง ๆ ไดแก รายละเอียดและความเหมือนจรงิ ของบทเรียนการใชสื่อประสมและ การใชเทคนิคพิเศษทาง ภาพตา ง ๆ เขามาเสริมบทเรยี นเพือ่ กระตนุ ใหผ ูเรียนเกิดความสนใจไมวาจะเปน การใชเ สียง การใชภ าพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว นอกจากนีผ้ ูส รางยังตองพิจารณาถึงการออกแบบหนา จอ การวางตาแหนงของสือ่ ตาง ๆ บนหนา จอ รวมทั้งการเลือกชนดิ และขนาดของตัวอกั ษรหรอื การเลอื กสีทใี่ ชใ นบทเรยี นอีกดว ย 3.2.2 การจดจำ ผสู รา งบทเรยี นตอ งออกแบบบทเรียนโดยคำนงึ ถึงหลักเกณฑสำคัญท่ีจะ ชวยในการจดจำไดดี 2 ประการคือ หลักในการจดั ระเบียบหรือโครงสรางเนื้อหาและหลักในการทำซำ้ ซ่ึง สามารถแบงการวางระเบียบหรอื การจัดระบบเนือ้ หาออกเปน 3 ลักษณะดวยกันคือลักษณะเชิงเสนตรง ลกั ษณะสาขา และ ลักษณะสอ่ื หลายมติ ิ 3.2.3 การเขาใจ ผสู รา งบทเรียนตองออกแบบบทเรียนโดยคำนงึ ถึงหลักการเกี่ยวกับการ ไดมาซึ่งแนวคิดและการประยุกตใชกฎตาง ๆ ซึ่งหลักการทั้งสองนี้เกี่ยวของโดยตรงกับแนวคิดในการ ออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส ในการทบทวนความรู การใหคานิยามตาง ๆ การแทรกตัวอยางการ ประยุกตกฎและการใหผูเรียนเขียนอธิบายโดยใชขอความของตน โดยมีวัตถุประสงคของการเรียนเปน ตัวกำหนดรูปแบบการนาเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกสและกิจกรรมตาง ๆ ในบทเรียน เชนการเลือก ออกแบบฝกหดั หรอื แบบทดสอบในลักษณะปรนยั หรอื คาถามส้นั ๆ เปน ตน 3.2.4 ความกระตือรือรนในการเรียน ขอไดเปรียบสำคัญของหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี เหนอื สือ่ การสอนอ่ืน ๆ กค็ อื ความสามารถในเชงิ โตต อบกบั ผูเรียนที่จะออกแบบบทเรียนท่ีทาใหเกิดความ กระตือรือรนในการเรียนไดนั้น จะตองออกแบบใหผูใชมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางสม่ำเสมอและ ปฏิสัมพนั ธน ั้นจะตอ งเกี่ยวของกบั เนอ้ื หาและเอ้อื อานวยตอการเรยี นรขู องผูเรียน 3.2.5 แรงจูงใจ ทฤษฎีแรงจูงใจที่สามารถนามาประยุกตใชในการออกแบบหนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ สไดแก ทฤษฎแี รงจงู ใจภายในและแรงจูงใจภายนอกของเลปเปอร ซง่ึ เช่ือวา แรงจูงใจท่ีใชใน บทเรียน ควรที่จะเปนแรงจูงใจภายในหรือแรงจูงใจเกี่ยวกับบทเรียนมากวาแรงจูงใจภายนอก ซึ่งเปน แรงจูงใจที่ไมเกี่ยวเนื่องกับบทเรียนการสอนที่ทาใหเกิดแรงจูงใจภายในนั้นคือการสอนที่ผูเรียนรูสึก

สนุกสนาน เลปเปอรไดเสนอแนวคิดในการออกแบบบทเรียนคอมพวิ เตอรที่ทาใหเกิดแรงจูงใจภายในไว ดังนี้การใชเทคนิคของเกมในบทเรียนการใชเทคนคิ พเิ ศษในการนาเสนอภาพจัดหาบรรยากาศการเรียนรู ท่ผี เู รยี นสามารถมอี ิสระในการเลือกเรียนและหรือสำรวจสิ่งตา ง ๆ รอบตัวใหโ อกาสผูเรียนในการควบคุม การเรียนของตนมีกิจกรรมที่ทาทายผูเรียนทาใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็นแรงจูงใจเปนปจจัย สำคัญมากในการออกแบบหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สผ ูอ อกแบบหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสสามารถท่จี ะประยุกตใช ทฤษฎที ่ไี ดอา งถงึ ในบทนีอ้ ยา งไรกต็ ามควรที่จะมกี ารนาไปใชอยางเหมาะสมและในระดับทีด่ พี อ 3.2.6 การออกแบบควบคุมบทเรียน ซึ่งไดแก การควบคุมลาดับการเรยี น เน้ือหาประเภท ของบทเรียนฯลฯ การควบคุมบทเรียนมีอยู 3 ลักษณะดวยกัน คือการใหโปรแกรมและผูเรียน ใน การออกแบบนั้นควรพิจารณาการผสมผสานระหวางใหผูเรียนและโปรแกรมเปนผูควบคุมบทเรียนจะมี ประสทิ ธผิ ลอยางไรนั้น ก็ขึน้ อยกู บั ความเหมาะสมในการออกแบบการควบคมุ ทงั้ 2 ฝา ย 3.2.7 การถายโอนการเรียนรู โดยปกติแลวการเรียนรูจากหนังสืออิเล็กทรอนิกสนั้นจะ เปน การเรยี นรูในขนั้ แรกกอ นที่จะมีการนาไปประยุกตใชจริง การนาความรูท ่ไี ดจ ากการเรียนและขัดเกลา แลวนั้นไปประยุกตใชในโลกจริงก็คือการถายโอนการเรียนรูนั่นเอง สิ่งที่มีอิทธิพลตอความสามารถของ มนุษยในการถายโอนการเรียนรู ไดแก ความเหมือนจริงของบทเรียน ประเภทปริมาณความหลากหลาย ของปฏสิ มั พันธ การถา ยโอนการเรียนรูจึงถอื เปน ผลการเรียนรทู ี่พงึ ปรารถนาทส่ี ุด 3.2.8 ความแตกตางระบุคคล ผูเรียนแตละคนมีความเร็วชาในการเรียนรูแตกตางไป การออกแบบใหบ ทเรยี นมีความยดื หยุนเพอ่ื ทจ่ี ะตอบสนองความสามารถทางการเรียนของผเู รียนแตละคน ไดเ ปน สิง่ สำคัญ 4. ทฤษฎีการเรียนรตู ามแนวคอนสตรคั ตวิ สิ ต ( Constructivist) ทฤษฎคี อนสตรัคติวิสตเปน ทฤษฎีทวี่ าดวยการสรางความรู มีพฒั นาการมาจากปรัชญาปฏิบัติ นิยม (Pragmatism) ที่นำโดย James และ Dewey ในตนคริสตศตวรรษที่ 20 และ การ เปล่ียนแปลงกระบวนทัศนเก่ียวกับวธิ ีการหาความรูในปรัชญาวิทยาศาสตร (Philosophy of science) ท่ี นำโดย Popper และ Feyerabend ในครึ่งหลังของคริสตศตวรรษท่ี 20 จากการบุกเบิกของนักจิตวิทยา คนส าคัญ ๆ เชน เพียเจต(Piaget) ออซูเบล (Ausubel) และเคลลี่ (Kelly) และพัฒนาตอมาโดยมีนัก การศึกษากลุมคอนสตรัคติวิสต เชน ไดรเวอร (Driver) เบล(Bell) คามี(Kamil) นอดดิงส (Noddings) วอน เกลเซอรสเฟลด(Von Glasersfeld) เฮนเอรสัน (Henderson) และอันเดอรฮิล(Underhill) เปนตน (ไพจติ ร สดวกการ, 2543)

4.1 ทฤษฎีการเรยี นรคู อนสตรัคตวิ สิ ต เงื่อนไขการเรียนรูตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต (Constructivist Theory) สรุปไดดังนี้ (วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข, 2541) 1. การเรยี นรูเ ปน กระบวนการลงมอื กระทำ (Active Process) ทเี่ กดิ ข้ึนในแตละบุคคล 2. ความรูตาง ๆ จะถูกสรางขึ้นดวยตัวของผูเรียนเอง โดยใชขอมูลที่ไดรับมาใหมรวมกับ ขอมูลหรือความรูเดิมที่มีอยูแลว รวมทั้งประสบการณเดิมมาสรางความหมายในการเรียนรูของตนเอง ความรูและความเชื่อที่แตกตางกนั ของแตละคน จะข้ึนอยูกับสิง่ แวดลอ มและขนบทำเนียมประเพณี และ ประสบการณของผูเรียน จะถูกนำมาเปนพื้นฐานในการตัดสินใจและจะมีผลโดยตรงตอการสรางความรู ใหม แนวคดิ ใหม หรือการเรียนรู นนั้ เอง จากความหมายของทฤษฎีคอนสตรัตติวิสตหรอื แนวคิดคอนสตรัคติวิสตของนกั การศึกษาหลาย ทาน สรปุ เปนสาระสำคัญไดด ังนี้ 1. ความรูของบุคคลใด คือ โครงสรางทางปญ ญาของบคุ คลนั้นท่ีสรางขึ้นจากประสบการณ ในการคลี่คลายสถานการณที่เปนปญหาและสามารถนำไปใชเปนฐานในการแกปญหาหรืออธิบาย สถานการณอ ื่น ๆ ได 2. นักเรียนเปน ผูสรางความรูดว ยวิธกี ารที่ตาง ๆ กนั โดยอาศัยประสบการณและโครงสราง ทางปญ ญาทมี่ ีอยเู ดมิ ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเปน จดุ เร่ิมตน 3. ครูมีหนาทจ่ี ัดการใหน กั เรียนไดปรับขยายโครงสรางทางปญ ญาของนักเรยี นเอง ภายใตขอ สมมตฐิ านตอ ไปนี้ 3.1 สถานการณท ่เี ปน ปญ หาและปฎิสัมพนั ธทางสงั คมกอ ใหเกิดความขดั แยงทางปญ ญา 3.2 ความขัดแยง ทางปญญาเปน แรงจงู ใจภายในใหเกิดกจิ กรรมการไตรตรองเพื่อขจัดความ ขัดแยงนั้น Dewey ไดอธิบายเกี่ยวกับลักษณะการไตรตรอง ( Reflection ) เปนการพิจารณาอยาง รอบคอบ กิจกรรมการไตรตรองจะเริ่มตน ดวยสถานการณทีเ่ ปนปญ หา นาสงสัย งงงวย ยุงยาก เรียกวา สถานการณกอนไตรตรอง และจบลงดวยความแจมชัดที่สามารถอธิบาย สถานการณดังกลาว สามารถ แกป ญหาได ตลอดจนไดเรียนรแู ละพึงพอใจกับผลทไ่ี ดรบั 3.3 การไตรตรองบนฐานแหงประสบการณและโครงสรางทางปญญาที่มีอยูเดิมภายใต การมีปฎิสมั พนั ธท างสังคมกระตนุ ใหมกี ารสรางโครงสรางใหมท างปญญา จากแนวคดิ ขางตนนก้ี ระบวนการเรียนการสอนในแนวคอนสตรัคตวิ ิสต จงึ มกั เปน ไปในแบบ ที่ใหนักเรียนสรางความรูจากการชวยแกปญหา (Collaborative Problem Solving) กระบวนการเรยี น การสอน จะเริ่มตนดวยปญหาที่กอใหเกิดความขัดแยงทางปญญา (Cognitive Conflict) นั้นคือ ประสบการณและโครงสรางทางปญญาที่มีอยูเดิมไมสามารถขจัดการแกปญหานั้นไดลงตัวพอดีเหมือน ปญหาที่เคยแกมาแลว ตองมีการคดิ คนเพิ่มเติมทีเ่ รียกวา “การปรับโครงสรางทางปญญา” หรือ “การ สรางโครงสรางใหมทางปญญา” (Cognitive Restructuring) โดยการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดถกปญหา

ขัดคาน จนกระทั้งหาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษมาขจัดความขัดแยงทางปญญาภายในตนเอง และระหวางบคุ คลได (ไพจติ ร สดวกการ, 2543) กลมุ คอนสตรัคติวิสต (Constructivist) เช่ือวา การเรียนรเู ปน กระบวนการท่ีเกิดขึ้นภายใน ของผูเรียน โดยมีผูเรียนเปนผูสราง (Construct) ความรูจากความสัมพนั ธระหวา งสิ่งที่พบเห็นกับความรู ความเขาใจเดิมทีม่ ีมากอ น โดยพยายามน าความเขาใจเกย่ี วกับเหตุการณ และปรากฎการณท่ีตนพบเห็น มาสรา งเปนโครงสรา งทางปญ ญา (Cognitive Structure) หรือที่เรียกวา สกีมา (Shema) ซึง่ เปนหนวยที่ เล็กทีสุดของโครงสรางทางปญญา หรือโครงสรางของความรูในสมองโครงสรางทางปญญานี้จะ ประกอบดวย ความหมายของสิ่งตาง ๆ ที่ใชภาษา หรือเกี่ยวกับเหตุการณ หรือสิ่งที่แตละบุคคลมี ประสบการณ หรือเหตุการณ อาจเปน ความเขา ใจ หรอื ความรูของแตละบคุ คล กลุมคอนสตรัคติวิสต (Constructivism) เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการสรางมากกวา การรับความรูดังนั้นเปาหมายของการสอนจะสนับสนุนการสรางมากกวาความพยายามในการถายทอด ความรู ดังนั้น กลุมคอนสตรัคติวิสตจะมุงเนนการสรางความรูใหมอยางเหมาะสมของแตละบุคคลและ สิ่งแวดลอมมีความส าคัญในการสรางความหมายตามความเปนจริง เปนวิธีการที่น ามาใชในการจัดการ เรียนการสอน มีหลักการที่ส าคัญวา ในการเรียนรูมุงเนนใหผูเรียนลงมือกระทำในการสรางความรู ซึ่ง ปรากฎแนวคิดที่แตกตางกันเกี่ยวกับการสรางความรู หรือการเรียนรู ทั้งนี้เนื่องมาจากแนวคิดท่ีเปน รากฐานส าคัญซึ่งปรากฎจากรายงานของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาคือ Jean Piaget ชาวสวิส และ Lev Vygotaky ชาวรัสเซีย ซึ่งแบงเปน 2 ประเภท คือ CognitiveConstrutivist และ Social Constructivist มรี ายละเอียด ดังนี้ (สมุ าลี ชัยเจรญิ , 2551) 1. Cogitive Constructivist มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎีมาจากความพยายามที่จะ เชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหม ดว ยกระบวนการทีพ่ ิสูจนอ ยางมีเหตุผลเปนความรูที่เกิด จากการไตรตรอง ซงึ่ ถือเปนปรัชญาปฏบิ ตั ินิยม ประกอบกับรากฐานทางจิตวิทยาการเรียนรูท ่ีมีอิทธิพลตอ พน้ื ฐานแนวคิดนี้ นกั จติ วิทยาพัฒนากรชาวสวิส คอื จีน เพียเจตน (Jean Piaget) ทฤษฎีของ Piaget จะแบง ไดเปน 2 สวน คือ Ages และ Stages ซึง่ ทั้งสอง องคประกอบนี้จะท านายวาเด็กจะสามารถหรือไมสามารถเขาใจสิ่งหนึ่งสิ่งใดเมื่อมีอายุแตกตางกันและ ทฤษฎีเกี่ยวกับดานพัฒนาการที่จะอธิบายวา ผูเรียนจะพัฒนาความสามารถทางการรูคิด (Cognitive Abillities) ทฤษฎพี ฒั นาการทจี่ ะเนน จดุ ดังกลาว เพราะวาเปน พน้ื ฐานหลกั ส าหรบั วิธีการทาง Cognitive Constructivism ทางดานการเรียนการสอนนัน้ มี แนวคิดวามนุษยเราตอง “สราง” (Construct) ความรู ดวยตนเองโดยผานทางประสบการณ ซึ่งประสบการณเหลานี้จะกระตุนใหผูเรียนสรางโครงสรางทาง ปญญา หรือเรียกวา สกีมา (Schemas) เมนทอลโมเดล(Mental Model) ในสมองสกีมาเหลานี้สามารถ เปลี่ยนแปลงได (Chang) ขยาย (Enlarge) และซับซอนขึ้นได โดยผานทางกระบวนการดูดซึม (Assimilation) และการปรับเปลีย่ น (Accommodation)

2. Social Constructivism เปนทฤษฎที ่ีมีรากฐานมาจาก Vygotsky ไดเ นนเกยี่ วกบั บริบท การเรียนรูทางสังคม (Social Context Learning) ทฤษฎีพุทธิปญญาของเพียเจตที่ใชกันมาเปนพ้ืนฐาน สำหรับการเรียนรูแบบคนพบ (Discovery Learning) ซึ่งผูสอนมีบทบาทคอนขางจำกัด สวนทฤษฎีของ Vygotsky เปด โอกาสใหค รหู รือผูเรยี นท่อี าวุโสกวาแสดงบทบาทในการเรยี นรูของผูเรียน Cognitive Construtivist และ Social Constructivist อาจมีสวนคลายคลึงกันและ แตกตาง Social Constructivist ของ Vygotsky จะเปด โอกาสที่จะมสี วนรวม และ เกย่ี วของกบั ครูผูสอน มากกวา สำหรับทฤษฎีของ Vygotsky ซึ่งเชื่อวา วัฒนธรรมจะเปนเครื่องมอื ทางปญญาที่เปนสำหรบั การ พัฒนารูปแบบและคณุ ภาพของเครอ่ื งมือดงั กลาว ไดม กี ารกำหนด รูปแบบ และอตั ราการพฒั นามากกวาที่ กำหนดไวใ นทฤษฎขี องเพียเจต โดยเชอื่ วา ผใู หญ หรอื ผทู มี่ ีความอาวโุ สเชน พอ แม และครู จะเปนทอน สำหรับเครื่องมือทางวัฒนธรรมรวมถึงภาษา เครื่องมือทางวัฒนธรรมเหลานี้ ไดแก ประวัติศาสตร วฒั นธรรม บริบททางสังคมและภาษาทกุ วันน้ี รวมถึงการเขาถงึ ขอมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส จากที่กลาวมาทั้งหมดขางตน สรุปไดวา คอนสตรัคติวิสต เปนทฤษฎีที่เกี่ยวกับความรูและ การเรียนรู โดยมรี ากฐานมาจากปรัชญา จิตวิทยาและมานุษยวิทยา ซงึ่ เชือ่ วา ความรเู ปนสิ่งที่บุคคลสราง ขึ้นและบุคคลจะเรียนรูไดโดยการมีปฎิสัมพันธกับบุคคลอื่น และสิ่งแวดลอมตาง ๆ ซึ่งตองอาศัยความรู ประสบการณเ ดมิ และโครงสรางทางปญญา เปนพ้ืนฐานในการเรยี นรู นอกจากนี้ วฒั นาพร ระงับทกุ ข( 2541) กลา ววา องคป ระกอบการเรยี นรูตามแนวคิดคอนสตรัคติ วิสตป ระกอบดว ย 1. ผูเรียนสรางความหมายของสิง่ ที่ไดพบเห็น รับรู โดยใชกระบวนการทางปญญาของตนเอง ที่ เรียนรูและสรางความสัมพันธระหวางประสาทสัมผัสของผูเรียนกับสิ่งแวดลอมโดยจะใชความรู ความ เขา ใจ ท่ีมีอยเู ดมิ ในการคาดคะเนเหตุการณ 2. โครงสรางทางปญญา เกิดจากความพยายามทางความคิดหากการใชความรูเดิมคาดคะเน เหตกุ ารณไดถกู ตอง จะทำใหโครงสรางทางปญ ญามน่ั คงย่ิงขน้ึ แตถา หากคาดคะเนไมถ กู ตอ งจะเกิดภาวะท่ี เรยี กวา ภาวะไมส มดุล(disequilibrium) และเมอ่ื มีความขัดแยงเกิดขน้ึ ผเู รยี นมที างเลือก 3 ทาง คอื 2.1 ไมปรับความคิดในโครงสรา งทางปญญาของตนเอง 2.2 ปรบั ความคิดในโครงสรางทางปญ ญาไปในทางทก่ี ารคาดเดาน้ันใหเ ปนไปตามประสบการณ มากขน้ึ 2.3 ไมสนใจทีจ่ ะทำความเขา ใจ 3. โครงสรา งทางปญ ญาเปนส่ิงที่เปลย่ี นแปลงไดยาก แมว าจะมหี ลกั ฐานจากการสังเกตท่ีขัดแยง กับโครงสรา งน้ัน

จงึ อาจสรุปไดว า ตามแนวคิดคอนสตรคั ตวิ ิสตน นั้ ผูเ รยี นเปนผูเสรมิ สรางความรดู วยตนเอง ผสู อน ไมส ามารถปรับเปลี่ยนโครงสรา งทางปญ ญาของผเู รียนได แตส ามารถชวยผเู รยี นปรบั ขยายโครงสรางทาง ปญ ญาได ดว ยการจดั สถานการณที่ทำใหเกิดภาวะไมสมดุลหรือกอ ใหเกิดความขัดแยง ทางปญญา โดยได จากส่ิงแวดลอ มและการปฏสิ มั พันธก บั ผูอ่นื 5. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ งกับการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู หลักการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา, 2551) การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของ ผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูและใช เปนขอมูลสำหรับ การตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาตองมีกระบวนการจัดการที่เปนระบบ เพื่อใหการ ดำเนนิ การวดั และประเมนิ ผล การเรยี นรูเปน ไปอยา งมคี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพ และใหผ ลการประเมินที่ ตรงตามความรูความสามารถที่แทจริงของผูเรียน ถูกตองตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู รวมทง้ั สามารถรองรบั การประเมนิ ภายในและการประเมินภายนอกตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลักการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูเพื่อเปนแนวทางในการ ตัดสินใจเกี่ยวกบั การวดั และประเมินผลการเรยี นรตู ามหลกั สูตรสถานศึกษา ดงั นี้ 1. สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน โดยเปด โอกาสใหผ ูที่เกี่ยวของมีสวนรวม 2. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู มีจุดมุงหมายเพื่อพฒั นาผูเรียนและ ตัดสิน ผล การเรียน 3. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูตองสอดคลอ งและครอบคลุมมาตรฐาน การ เรียนรู/ ตัวช้ีวัดตามกลมุ สาระการเรยี นรูทก่ี ำหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจดั ใหม กี ารประเมินการอาน คดิ วิเคราะหและเขยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ตลอดจนกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น 4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูเปนสวนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอนตอ ง ดำเนินการดวยเทคนิควิธีการทีห่ ลากหลาย เพื่อใหสามารถวัดและประเมนิ ผลผูเรียนไดอ ยางรอบดานท้งั ดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงทต่ี องการวัด ธรรมชาตวิ ชิ า และ ระดับชั้นของผเู รียน โดยตง้ั อยูบนพืน้ ฐานของความเที่ยงตรง ยุตธิ รรม และเช่อื ถอื ได 5. การประเมินผเู รยี นพิจารณาจากพัฒนาการของผเู รยี น ความประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรม การเรียนรู การรวมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสม ของแตล ะระดบั และรปู แบบการศกึ ษา 6. เปด โอกาสใหผ เู รยี นและผูมีสวนเก่ยี วขอ งตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู

7. ใหมีการเทียบโอนผลการเรยี นระหวางสถานศึกษาและระหวางรูปแบบ การศึกษา ตา ง ๆ 8. ใหส ถานศกึ ษาจดั ทำและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเปนหลักฐานการประเมินผล การเรยี นรู รายงานผลการเรียน แสดงวฒุ ิการศกึ ษา และรบั รองผลการเรยี นของผเู รยี น 6. งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ ง สุกัญญา เเรงกลา และคณะ (2559) ไดทำการวิจัยพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การ ปองกันตนเองจากการตั้งครรภที่ไมพึงประสงค สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภูมิศาสตรภาคกลางมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสใหมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวย หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส 3) ความพึงพอใจของนกั เรียนทม่ี ตี อ การเรียนรูโ ดยการใชหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส (E- Book) กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเปนนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถมั ภภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2557 จาํ นวน 30 คน ซึ่งไดมาโดย วิธีการเลือกสุมแบบกลุม (clustersampling) เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ประกอบดวย 1) หนังสือ อิเล็กทรอนิกสจ าํ นวน 4 ชุด 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นกอนและหลังเรียน สําหรับนักเรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2 เร่อื ง การปองกนั ตนเองจากการตัง้ ครรภท ่ไี มพงึ ประสงคจ าํ นวน 40 ขอ ซ่ึงมีคาความ เชื่อมั่น 0.96 3) สถิติที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแกคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที่ใชในการ ทดสอบสมมตฐิ าน คือ การทดสอบคา ที (t –test dependent) ผลการศกึ ษาพบวา 1. การพัฒนาหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสม ีประสิทธภิ าพ 80.03/81.08 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 80/80 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนที่เรียนดว ยหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) หลังเรียน สูงกวา กอนเรียนอยางมนี ยั สําคัญทางสถติ ิที่ระดับ0.01 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) พบวา ความ คิดเหน็ ของนกั เรียนโดยรวมอยูในระดับมาก วารุณี คงวิมล (2559) ไดทำการวิจัยการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เรื่อง การใช โปรแกรม PHOTOSHOP เพอื่ ผลิตส่อื การสอน สำหรบั ครูระดับประถมศกึ ษา การวจิ ัยคร้ังนีม้ วี ตั ถปุ ระสงค เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-Book)เรื่อง การใชงานโปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อการสอน สำหรับครรู ะดบั ประถมศกึ ษาใหมีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑม าตรฐาน 90/90 และเพ่อื เปรยี บเทียบคะแนน จากการทดสอบกอนและหลังการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เรื่อง การใชงานโปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อการสอนสำหรับครูระดับประถมศึกษา ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น ประชากรที่ใชในการ วิจัยครั้งนี้ ไดแก ครูระดับประถมศึกษา โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา กลุมตัวอยางเปนครูระดับ ประถมศึกษาไดมาจากการเลือกกลมุ ตวั อยา งแบบเจาะจง จำนวน 30 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ นการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถาม ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคและเนื้อหา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ การวิเคราะห

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คารอยละ และการทดสอบคา t (t-test Dependent Sample) ผลการวิจัย พบวา หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เรื่อง การใชงานโปรแกรมPhotoshop เพื่อผลิตส่ือ การสอนสำหรับครูระดบั ประถมศึกษา มีประสิทธิภาพ 91.17/90.00 เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ทต่ี ้ังไว และมีคะแนนหลังเรยี นสูงกวาคะแนนกอ นเรียนอยา งมนี ัยส าคญั ทางสถิติ ที่ระดับ .05 จรัสสม ปานบตุ ร (2557) ไดท ำการวจิ ยั พัฒนาหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส(E-Book) เพื่อพัฒนาทักษะ การอานออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหนองเค็ด การวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงคเพอ่ื 1) เพอ่ื พัฒนาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส เร่ือง การอานออกเสียงภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษา ปที่ 6 ใหมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอานออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหนองเค็ด กอนเรียนกับ หลังเรียนดวยหนังสือ อิเล็กทรอนิกส 3) เพื่อวัดทกั ษะการอานออกเสียงภาษาไทย ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6โรงเรียน บานหนองเค็ด 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีตอการเรยี นดวยหนงั สืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การอานออก เสยี งภาษาไทย ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรยี นบานหนองเค็ด กลุมประชากรที่ใชในการวิจัย คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหนองเค็ด ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1) แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การอานออกเสยี งภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 3) แบบประเมินคุณภาพหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส โดยผเู ชีย่ วชาญ 4) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรือ่ ง การอานออกเสยี งภาษาไทย ของนักเรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 5) แบบวัดทักษะการอานออกเสียงภาษาไทย 6) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอ หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส เรื่อง การอานออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 สถิติที่ใชใ น การวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ยรอยละ และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1) หนังสือ อิเล็กทรอนกิ ส เรอ่ื ง การอา นออกเสียงภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 6 มปี ระสทิ ธภิ าพ 84.88/82.27 ซ่ึง เปนไปตามเกณฑท่ีกำหนดไว 2) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เร่ือง การอานออก เสียงภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรียนบา นหนองเคด็ หลังเรยี นสงู กวา กอ นเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส รอย ละ 23.87 3) ทักษะการอานออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 โรงเรียนบา นหนอง เคด็ หลงั เรยี นดว ยหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส เรื่อง การอา นออกเสียงภาษาไทย มคี ะแนนเฉลย่ี เทา กับ 25.16 อยูในเกณฑระดับดี 4) ความพึงพอใจท่ีมีตอ การเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การอานออกเสียง ภาษาไทย ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โรงเรยี นบานหนองเค็ด อยูในระดับมากทีส่ ุด (m= 4.53, s= 0.44) ชัยยุทธ ชัยปญญา (2556) ไดทำการวิจัยพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกสวิชาคอมพิวเตอรเบื้องตน เร่ืองความรทู ่ัวไปเกีย่ วกบั คอมพิวเตอรสำหรับนกั เรยี นนายสบิ ทหารบกการวิจยั คร้งั นี้มวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื 1) สรางและหาประสิทธิภาพของ ส่ืออิเล็กทรอนิกสวิชาคอมพิวเตอรเบื้องตน เรื่องความรูทั่วไปเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร ตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น วิชาคอมพิวเตอรเบ้ืองตน หลัง

เรียนกับเกณฑรอยละ 80 และ 3) ศึกษาความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีตอการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เบื้องตน โดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส เรื่องความรูทั่วไปเก่ียวกับคอมพิวเตอรกลุมตัวอยาง คือ นักเรียน นาย สิบทหารบก รุนที่ 17 ผลดั 2 ปก ารศกึ ษา 2556 จำนวน 82 คน ซง่ึ ไดจากการเลือกแบบเจาะจง เครอ่ื งมอื ที่ใชในการวิจัยไดแก สื่ออิเล็กทรอนิกสเรื่องความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรแผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ และแบบสอบถามความคิดเห็นแบบ มาตรประมาณคา สถิติทใี่ ช คอื คาความถี่ คารอยละ คาเฉลีย่ สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน คาดัชนีประสิทธิผล ขนาดอิทธิพล การทดสอบคาที และการวเิ คราะหความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยสรุปไดดงั นี้ 1) สื่อ อิเล็กทรอนิกสวิชาคอมพิวเตอรเบื้องตนเรื่องความรูท ั่วไปเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร สำหรับนักเรียนนายสิบ ทหารบก ทีพ่ ฒั นาขน้ึ มปี ระสิทธิภาพ 92.27/84.88 ทำใหน ักเรยี นมีความรูเ พ่ิมข้ึน รอยละ 50.40 และ มี อิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทากับ 0.92 อยูในระดับสูง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอรเบือ้ งตน สำหรับนกั เรียนนายสิบทหารบก หลงั เรยี นโดยใชส ือ่ อิเล็กทรอนิกสเร่ืองความรูทั่วไป เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร รอ ยละ 84.88 สงู กวา เกณฑอยางมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .01 3) นกั เรยี นมีความ คิดเห็นตอการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเบ้ืองตนในดานอยากเรียนวิชาคอมพิวเตอรโดยใชสือ่ อิเล็กทรอนิกส อีก มีความรูสึกภูมิใจที่ไดสัมผัสกับสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบในส่ือ อิเลก็ ทรอนกิ สทำใหม กี ำลังใจทจ่ี ะเรยี น อยใู นระดบั มากทีส่ ุด สริ ิพร บุญเรือง (2556) ไดทำการวจิ ยั พัฒนาหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส เรอ่ื งการอานจับใจความ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนวัดดอนหวาย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) เพื่อพัฒนาหนงั สอื อิเล็กทรอนิกสเรอื่ งการอา นจบั ใจความ ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4 โรงเรียน วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียนจากการเรยี นดว ย หนังสอื อิเล็กทรอนิกสเรื่องการอานจับใจความ ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปทิ่ 4 โรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอหนงั สืออิเล็กทรอนิกสเรื่องการอานจบั ใจความ ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 4 โรงเรียนวดั ดอนหวาย (นครรัฐประสาท) กลุมตัวอยางที่ใชใน การวจิ ัยครงั้ นี้ คอื นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรยี นวดั ดอนหวาย (นครรัฐประสาท) ที่กำลังศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ 1) แบบสัมภาษณ 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส 3) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี น สถติ ทิ ่ีใชว เิ คราะหขอมูล ไดแ ก คาเฉลยี่ สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานดวย t-test (dependent) ผลการวิจัยพบวา 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกสวิชา ภาษาไทย เรื่องการอานจับใจความมีประสิทธภิ าพ 83.18/82.74 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดไว 80/80 2) ผลการเรยี นรูของนกั เรยี นมีผลการเรียนรหู ลงั เรยี นสูงกวากอ นเรยี นอยา งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 3) ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มีตอ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกสเร่ืองการอานจับใจความ อยใู นระดบั มากที่สุด (x= 4.54, S.D = 0.66)

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวจิ ยั ระเบยี บวธิ ีวิจัย การวิจัยเรอ่ื ง การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสื่อการสอนหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สอ อนไลน ดวย Pub HTML5 เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ผูวจิ ัยไดดำเนนิ การ ตามลำดบั ขนั้ ตอน ดงั มีรายละเอยี ดตอ ไปนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. แบบแผนทใ่ี ชในการวจิ ัย 3. เครื่องมอื ทใ่ี ชใ นการวิจยั 4. การสรา งและหาคุณภาพเคร่อื งมือท่ใี ชใ นการวิจยั 5. การรวบรวมขอ มลู ในการวจิ ัย 6. การวิเคราะหขอ มูล 7. สถติ ิท่ใี ชในการวิจยั 1.ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง ประชากรทีใ่ ชในการวิจยั ครัง้ น้เี ปน นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนอนุบาลแมเ มาะ (ชุมชน 1) ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นอนุบาลแมเมาะ (ชมุ ชน 1) มีท้งั หมด 2 หอง จำนวน 29 คน กลมุ ตวั อยา ง ในการวิจัยครงั้ นคี้ อื นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ปท่เี รียนในภาคเรยี นท่ี 2 ป การศกึ ษา 2563 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) หอ ง ม.3/1 จำนวน 15 คน ไดมาจากการสุม ตัวอยา ง แบบงา ยโดยวธิ กี ารจบั ฉลาก 2. แบบแผนทใี่ ชใ นการวิจัย ผูวิจยั ใชแ บบแผนการทดลองแบบ One Shot Case Study (วิสาลักษณ สิทธข์ิ ุนทด,2555) แบบแผนการทดลองแบบ One Shot Case Study ทดลอง ทดสอบหลงั X O2 X แทน การสอนโดยใชน วัตกรรม O2 แทน การทดสอบหลังใชน วัตกรรมโดยแบบทดสอบหลังเรยี น

3. เครื่องมือทใี่ ชในการวจิ ยั 3.1 แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาวิทยาการคำนวณ การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดย ใชส่ือการสอนหนงั สอื อิเล็กทรอนิกสอ อนไลนดว ย Pub HTML5 เร่ือง การประเมินควานาเชอ่ื ถือ ของขอ มูล ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 3.2 หนงั สืออิเล็กทรอนกิ สอ อนไลน เร่อื ง การประเมนิ ควานาเช่ือถือของขอมูล ของนักเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 จำนาน 3 เรือ่ ง ประกอบไปดว ย 1. การประเมนิ ความนา เช่ือถอื และความทันสมัยของสารสนเทศ 2. เหตผุ ลวิบัติ 3. ผลกระทบจากขา วสารทีผ่ ดิ พลาดและการรูเ ทาทันสือ่ 3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล จำนวน 30 ขอ 3.4 แบบประเมินความพงึ พอใจเปน แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จำนวน 15 ขอ 4. การสรางและหาประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือทใี่ ชใ นการวิจัย 4.1 ข้ันตอนการสรางแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใช หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง ขอมูลและ สารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จำนวน จำนวน 3 แผน โดยมีวิธีการสรางและ หาคณุ ภาพ ดังนี้ 1) ศึกษาหลักสูตรและคูมือหลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลแมเ มาะ (ชมุ ชน 1) ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 2) วเิ คราะหเน้อื หา เรอ่ื ง การประเมินควานาเช่อื ถือของขอมูล 3) สรางแผนการจัดการเรียนรู การประเมินควานาเชื่อถือของขอมลู จำนวน 3 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง แผนที่ 1 การประเมินความนาเชื่อถือและความทันสมัยของสารสนเทศ แผนท่ี 2 เหตุผลวบิ ตั ิ และแผนที่ 3 ผลกระทบจากขา วสารทีผ่ ดิ พลาดและการรเู ทาทนั สอ่ื 4) นำแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล ไปให ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา เทคโนโลยี จำนวน 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดย พิจารณาความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู การวัดและประเมินผล แลวนำมาปรับปรุง แกไข ตามขอเสนอแนะ โดยพิจารณาความเหมาะสมสอดคลอง (Rating Scale) ซึ่งผูเชี่ยวชาญ ประกอบดวย 1) ครวู ิสทุ ธิศักด์ิ เครอื สาร ตำแหนง ครู คศ.3 ครโู รงเรยี นอนบุ าลแมเ มาะ (ชมุ ชน 1) 2) ครอู มั พร วรรณแกว ตำแหนง ครู คศ.3 ครูโรงเรียนอนบุ าลแมเมาะ (ชุมชน 1) 3) ครนู พดล วงั ซาย ตำแหนง ครู คศ.2 ครูโรงเรยี นอนุบาลแมเ มาะ (ชุมชน 1)

5) นำแผนการจัดการเรียนรูที่เสนอตอผูเชี่ยวชาญ แลวนำไปปรับปรุงแกไข โดยมี คะแนนระดับความคิดเห็น ดังนี้ 5 หมายถึง ดีเยี่ยม 4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถงึ พอใช และ 1 หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ เกณฑก ารแปลผล ประกอบดวย คาเฉล่ีย ความหมาย 4.51 - 5.00 เห็นดว ยระดบั มากทสี่ ดุ 3.51 - 4.50 เหน็ ดวยระดบั มาก 2.51 - 3.50 เห็นดวยระดับพอใช 1.51 - 2.50 เหน็ ดว ยระดบั นอ ย 0.00 - 1.50 เห็นดวยระดบั นอ ยที่สดุ 6) นำแผนการจดั การเรียนรูท่ีไดรบั การปรบั ปรุงเรยี บรอยแลวไปใชกบั การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนกับผเู รียน ผลการประเมินความเหมาะสมสอดคลองในองคประกอบตางๆ ของแผนการ จัดการเรยี นรู เรอ่ื ง การประเมนิ ควานาเช่ือถือของขอมูล ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ตามความคิดเห็น ของผูเชี่ยวชาญ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคลอง อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.60 (รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 1 ในภาพผนวก ค) 4.2 ขน้ั ตอนการสรางหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส การพฒั นาหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สอ อนไลน เรอ่ื ง การประเมินควานา เชอ่ื ถอื ของขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยผูวิจัยไดหลักการออกแบบนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ADDIE model มาใชในหนงั สืออิเล็กทรอนิกสอ อนไลน ดงั น้ี 1) ขั้นตอนการวิเคราะห (Analysis) ขั้นตอนนี้เปนการวิเคราะหและศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับการสรางหนังสือ อิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ผวู จิ ยั ไดศกึ ษาและวิเคราะหขอมูลดงั นี้ 1. ศึกษาหลกั สูตรและคูม ือหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลแมเมาะ (ชมุ ชน 1) ในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 2. วเิ คราะหเ น้อื หาหนว ยการเรยี นรู เรอื่ ง การประเมินควานา เชื่อถือของขอ มลู 3. ศึกษาและคนควาขอมูลเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนิกสออนไลน 4. ศึกษาวิธีการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนจากเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวของ

5. ศึกษาวิธีการหาคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจากเอกสารและงานวจิ ัยท่ี เก่ียวของ 6. ศกึ ษาวิธีการสรางสตอรี่บอรด 7. ศึกษาวธิ กี ารสรางแบบประเมนิ ผลการเรียนรู 2) ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ในการออกแบบหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส ทำการออกแบบตามโครงสรางทว่ั ไปของ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สออนไลนประกอบดว ย 1. หนา ปก หมายถงึ ปกดานหนาของหนังสอื ซง่ึ จะอยูสวนแรก เปน ตัวบง บอกวา หนงั สอื เลมนีช้ ื่ออะไร ใครเปน ผแู ตง 2. คำนำ หมายถึง คำบอกกลาวของผเู ขยี นเพือ่ สรางความรู ความเขา ใจเกย่ี วกับ ขอมลู และเรื่องราวตา ง ๆ ของหนงั สอื เลม นั้น 3. สารบัญ หมายถึง ตัวบงบอกหัวเรื่องสำคัญที่อยูภายในเลมวาประกอบดวย อะไรบา ง อยทู ่ีหนาใดของหนงั สอื สามารถเชื่อมโยงไปสหู นา ตาง ๆ ภายในเลม ได 4. สาระของหนังสือแตละหนา หมายถึง สวนประกอบสำคัญในแตละหนาท่ี ปรากฎภายในเลม ประกอบดวย 4.1) หนา หนังสือ (Page Number) 4.2) ขอ ความ (Texts) 4.3) ภาพประกอบ (Graphics) 4.4) เสยี ง (Sounds) 4.5) ภาพเคล่ือนไหว (Video) 4.6) จุดเชอ่ื มโยง (Links) 5. อางอิง หมายถึง แหลงขอมูลที่ใชนำมาอางอิง อาจเปนเอกสาร ตำรา หรือ เว็บไซต 6. ปกหลัง หมายถงึ ปกดา นหลงั ของหนังสือซึ่งอยูสว นทา ยเลม 3) ข้นั ตอนการพัฒนา (Develop) 1. ดำเนินการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส ตามที่ไดออกแบบไว เมื่อเสรางเสร็จ แลว นำไปใหผูเชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยพิจารณาความ สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู การวัดและประเมินผล แลวนำมาปรับปรุงแกไข ตาม ขอ เสนอแนะ โดยพิจารณาความเหมาะสมสอดคลอ ง (Rating Scale) 1) ครวู ิสทุ ธศิ ักดิ์ เครือสาร ตำแหนง ครู คศ.3 ครโู รงเรียนอนบุ าลแมเมาะ (ชุมชน 1) 2) ครูอัมพร วรรณแกว ตำแหนง ครู คศ.3 ครโู รงเรียนอนุบาลแมเ มาะ (ชุมชน 1) 3) ครูนพดล วงั ซาย ตำแหนง ครู คศ.2 ครโู รงเรียนอนุบาลแมเ มาะ (ชุมชน 1)

2. นำหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนที่เสนอตอผูเชี่ยวชาญ แลวนำไปปรับปรุง แกไข โดยมีคะแนนระดับความคดิ เหน็ ดังน้ี 5 หมายถงึ ดีเยยี่ ม 4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถงึ ดี 2 หมายถงึ พอใช และ 1 หมายถงึ ควรปรับปรงุ เกณฑการแปลผล ประกอบดว ย คาเฉลย่ี ความหมาย 4.51 - 5.00 เหน็ ดว ยระดบั มากที่สดุ 3.51 - 4.50 เห็นดวยระดบั มาก 2.51 - 3.50 เหน็ ดวยระดบั พอใช 1.51 - 2.50 เหน็ ดวยระดบั นอย 0.00 - 1.50 เห็นดว ยระดับนอยทส่ี ุด ผลการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู เร่ือง การประเมนิ ควานา เชือ่ ถือของขอมลู ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ตามความคิดเหน็ ของผเู ชี่ยวชาญ โดยภาพรวมมคี วามเหมาะสมสอดคลอ ง อยใู นระดบั มาก มคี าเฉลี่ย 4.50 (รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 2 ในภาพผนวก ค) 3. นำหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ไดรับการปรับปรุงเรียบรอยแลวไปใชกับการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนกับผูเรียนไปทดลองใชกับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) โดยทำการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 (แบบหนึ่งตอหนึ่ง) จำนวน 3 คน โดยแบงนักเรียนเปน 3 กลุม คือ กลุมเกง ปานกลาง และกลมุ ออน จากน้นั ทำการทดลอง ดังนี ครั้งที่ 1 การทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One-to-One Testing) เปนการทดลองใช เพื่อปรับปรุงหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม เมาะ (ชุมชน 1)โดยสุมเลือกจากนักเรียนกลุมเกง กลุมปานกลาง และกลุมออน กลุมละ 1 คน (สุมอยา งงายโดยวิธกี ารจบั ฉลาก) เพอื่ ดคู วามเหมาะสมของกิจกรรม ตรวจสอบความชัดเจนของ ภาษา คำส่ัง เวลาทใี่ ช และความเขาใจของนักเรยี น จากนั้นนำมาหาคาประสิทธิภาพ E1/E2 และ ปรับปรุงแกไขซึ่งประสิทธิภาพหนังสือ อิเล็กทรอกนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมนิ ความนาเช่ือถือของขอมูล เทา กบั 81.50/82.23 (ดังรายละเอียดแสดงตามตาราง 4 ในภาคผนวก ค)

4. ข้ันนำไปใช (Implementation) เปนขั้นตอนที่ผูศึกษานำ หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูลจำนวน 3 เรื่อง ไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) จำนวน 15 คน ทั้งนี้ขอมูลที่ไดจากขั้นนำไปใชนี้ คือ ขอมูลประสิทธิภาพของหนังสือ อิเล็กทรอนิกสออนไลน และขอมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเทียบกับ เกณฑรอยละ 80 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3 ทมี่ ีตอหนังสืออเิ ลก็ ทรอกนิกสอ อนไลน และ ในขน้ั นผ้ี ูศ ึกษาดำเนนิ การดังนี้ 1. ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนดวยการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน จำนวน 3 เรื่องตามแผนการจัดการเรียนรู 2. ใหนกั เรียนทำแบบทดสอบทา ยบทในแตละบทเรียน 3. เมื่อดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จแลวใหนกั เรียนทำการสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหลังเรียน ดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรูขอมูลและ สารสนเทศ 4. รวบรวมขอมูลทีไ่ ดจ ากผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเพ่อื ทำการวเิ คราะหข อ มลู ตอ ไป 5. ขัน้ ตอนการประเมนิ ผล (E) เปนการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนหลังจากที่ผูเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลน เรื่อง การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล ที่พัฒนาขึ้นวาบรรลุตามวัตถุประสงค ที่กำหนดไวหรือไม โดยประเมินคะแนนจากชิ้นงานตามกิจกรรมการเรียนรู ที่ไดออกแบบไวใน แผนการจดั การเรยี นรูแตล ะแผน และประเมินผลใหค ะแนนจากการทำกิจกรรมทดสอบหลังเรียน นำคะแนนที่ไดมาทำการวเิ คราะห มาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑรอยละ 80/80 ตามท่กี ำหนด เพ่ือหา คา ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของบทเรียน 4.3 ข้นั ตอนการสรางแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผูว จิ ยั ไดจ ดั ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เปนแบบปรนัยชนดิ เลือก 4 ตัวเลือกโดยมีวิธีการ สรางและคณุ ภาพดงั นี้ 1. ศึกษาเอกสารและตำราที่เกี่ยวของกับการสรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นกั เรียน 2. วเิ คราะหต วั บง ช้แี ละมาตรฐานการเรียนรูเก่ียวกับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3 เพอ่ื นำมาสรางแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ จำนวน 30 ขอ เพ่ือใชใ นการทดสอบ หลังเรยี น

3. นำแบบทดสอบท่ีสรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอ คำถาม กับตัวบงช้ี และปรบั ปรุงแกไ ขตามขอ เสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ และคดั เลือกขอ คำถาม โดยพจิ ารณา ดัชนีความสอดคลอง (IOC) ต้งั แต 0.5 ขนึ้ ไป มาจดั พมิ พเพื่อนำไปใชต อไป 4.4 ขัน้ ตอนการสรางแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี น ผูวิจัยไดจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดแสดงความ คิดเห็นตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ผูวิจัยสรางข้ึน เปน แบบ ประมาณ คา 5 ระดบั (Rating Scale) โดยมีวธิ สี รางและหาคณุ ภาพดังนี้ 1.ศกึ ษาเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ งกับการสรา ง แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี น 2.สรา งแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนตอหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ สอ อนไลน เรื่อง การประเมินควานาเชอื่ ถือของขอมูล จำนวน 15 ขอ ซ่งึ เปน แบบมาตรฐานสวน ประมาณคา 5 ระดบั โดยมีเกณฑการใหคะแนนดงั นี้ 5 คือ มากที่สดุ 4 คอื มาก 3 คอื ปานกลาง 2 คือ นอ ย 1 คอื นอ ยทสี่ ุด มเี กณฑก ารแปลผลคาเฉลย่ี ดงั นี้ ความหมาย คา เฉล่ีย พึงพอใจมากท่ีสดุ 4.51 - 5.00 พึงพอใจมาก 3.51 - 4.50 พึงพอใจปานกลาง 2.51 - 3.50 พึงพอใจนอ ย 1.51 - 2.50 พงึ พอใจนอ ยทส่ี ดุ 0.00 - 1.50 3. นำแบบสอบถามความพึงพอใจทสี่ รา งขึ้นไปใหผูเช่ียวชาญ เปน ผูตรวจสอบความ สอดคลอง ระหวา งขอรายการ กับจดุ ประสงคข องแบบสอบถาม 4. นำแบบผลการประเมินความสอดคลองของผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุง แกไขและ จัดพมิ พ เปนแบบสอบถามความพึงพอใจฉบบั สมบูรณ

5. การเก็บรวบรวมขอมูลในการวจิ ัย 5.1 หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน รายวิชาวิยาการคำนวณ หนวยการเรียนรู การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จำนวน 3 เรื่อง ใชประกอบกับ แผนการจัดการเรียนรู จำนวน 3 แผน ใชเก็บขอมูลระหวางการดำเนินกิจกรรมตั้งแตตนจนจบ กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนดวยหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสอ อนไลน 1) ใหนักเรียนทำแบบทดสอบทายบทเรียนของแตละบทเรียน บทเรียนละ 10 คะแนน รวม 30 คะแนน เพื่อเกบ็ คา E1 2) ใหน ักเรียนแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 30 ขอ 30 คะแนน เพื่อเก็บ คา E2 5.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบทดสอบที่ใหนักเรียนทำใน ขั้นตอนสุดทายหลังจากเรียนดว ยหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมนิ ความนาเชื่อถือของขอมูล มีจำนวน 30 ขอ 30 คะแนน จากนั้นนำผลคะแนนที่ไดจาก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนำมาวิเคราะหและแปลผล ในรูปแบบตารางและการ บรรยายและสรปุ ผล 5.3 แบบประเมินความพงึ พอใจ นำผลความพึงพอใจของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) ที่มีตอหนังสืออืเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินควานาเชื่อถือของขอมูล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะหหาระดับ คณุ ภาพ 6. การวเิ คราะหข อมูล 6.1 วิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการหาความ เที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช IOC ดัชนีความ สอดคลอ งระหวางขอ สอบกับจุดประสงคก ารเรยี นรู 6.2 วิเคราะหหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมิน ความนาเชอ่ื ถือของขอ มลู ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ตามเกณฑ 80/80 โดยใชส ูตร E1/E2 6.3 วิเคราะหหาระดับความพึงพอใจของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีตอการเรียน ดว ยหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สออนไลน เร่อื งการประเมินควานา เชอ่ื ถือของขอ มลู โดยหาคาเฉล่ยี (xˉ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยรวมคะแนนแลววิเคราะหหาคาเฉลี่ย แลวนำไป เปรียบเทยี บกบั เกณฑ ซึง่ แบบสอบถามความพงึ พอใจเปนแบบมาตราสว นประมาณคา (Rating Scale) 6.4 หาคา สถติ ิท่ใี ชใ นการวิจัย ไดแก รอยละ คา เฉล่ียและสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน การหา ประสทิ ธิภาพ และสถติ ิทดสอบสมมติฐาน

7.สถติ ิทีใ่ ชใ นการวจิ ัย 7.1 คา รอยละ คาเฉลย่ี (Mean) และคา สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) คาเฉลยี่ ( X ) คำนวณ จากสตู ร การหารอยละคำนวณจากสูตร (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2553) p = f × 100 N เม่อื P แทน คา รอยละ f แทน ความถีท่ ต่ี อ งการแปลงใหเ ปนคารอยละ N แทน จำนวนความถ่ีทงั้ หมด การหาคา เฉลี่ย ( X ) คำนวณจากสูตร (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2553) X = ∑X N เมือ่ X แทน คะแนนเฉลย่ี ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนในกลุม N แทน จำนวนนกั เรียนในกลุม ตวั อยาง การหาคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) คำนวณจากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2553) S .D. = N ∑ X 2 − (∑ X )2 N (N − 1) เมื่อ S.D. แทน คา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนในกลมุ ∑ X2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล ะตัวยกกำลังสอง N แทน จำนวนนักเรยี นในกลุมตัวอยา ง

7.2 สถิตทิ ่ีใชวิเคราะหห าคุณภาพเคร่ืองมือ 7.2.1 วเิ คราะหหาประสิทธภิ าพของบทเรียน เมอ่ื E1 ใชสูตร E1/E2 (ประสาท เนืองเฉลมิ , 2556) E1 = ∑NXA×100 แทน รอยละของคะแนนเฉลยี่ ของนักเรยี นทุกคนจากการทำแบบฝก ระหวา งเรยี น ∑ X แทน คะแนนรวมระหวา งผลการปฏบิ ตั ิงานระหวางเรียน A แทน คะแนนเตม็ ของการปฏิบัตงิ านระหวา งเรยี น N แทน จำนวนนกั เรียนทัง้ หมด E 2 = ∑X ×100 N B เมอ่ื E2 แทน คะแนนของนักเรียนที่ไดจากการทำแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธหิ์ ลงั การเรียน ∑ X แทน คะแนนรวมของนกั เรยี นจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธห์ิ ลังเรียน N แทน จำนวนนักเรยี นทง้ั หมด 7.3 สถิตทิ ่ีใชใ นการทดสอบสมมติฐาน สูตร t-test (one sample) (ประสาท เนอื งเฉลมิ , 2556) t = X − µ0 df = n − 1 S n เมื่อ t แทน คา สถติ ิทีใ่ ชใ นการเปรยี บเทียบกับคา วกิ ฤติ เพ่ือทราบความมีนัยสำคัญ X แทน คาเฉลี่ยของกลุม ตัวอยา ง S แทน คา สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน n แทน จำนวนสมาชกิ ในกลุมหรือจำนวนขอ มลู µ0 แทน เกณฑ

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข อมลู การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1. เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน เรื่อง การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 หลังเรียนดวยหนังสอื อิเล็กทรอนิกสออนไลน เทียบกับเกณฑรอยละ 80 และ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 3 ที่มีผลตอการเรียนรูดวยหนังสืออิเล็กทรอนกิ สออนไลน เรื่อง การประเมนิ ความนาเช่ือถือ ของขอ มลู ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ซงึ่ ผวู ิจยั ไดน ำเสนอผลงานวิจยั ดังนี้ 1. ประสทิ ธิภาพของหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ สอ อนไลน เร่ือง การประเมินความนาเช่ือถอื ของขอ มลู ของ นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ใหม ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ 80/80 2. ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 หลงั เรียนดวยหนังสอื อิเล็กทรอนิกสออนไลน เทยี บกบั เกณฑร อ ยละ 80 3. ความพงึ พอใจของนักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ท่มี ผี ลตอ การเรียนรดู วยหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส ออนไลน เร่อื ง การประเมนิ ความนา เชือ่ ถือของขอมลู ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 สัญลกั ษณในการวเิ คราะหข อ มลู การวเิ คราะหขอมลู ผศู ึกษาไดก ำหนดความหมายของสัญลกั ษณตางๆ ดงั นี้ ������������ แทน รอยละ ������������̅ แทน คา เฉล่ีย(Mean) S.D. แทน คาสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ������������1 แทน ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ������������2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ ������������ แทน ขนาดของกลุม ตวั อยา ง

1.ผลการสรา งและหาประสิทธภิ าพของหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสอ อนไลน หนวยการเรยี นรู การประเมนิ ความนา เช่ือถอื ของขอ มูล สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 1.1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมิน ความนา เช่อื ถือของขอมลู ของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ตารางที่ 1 แสดงผลการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมิน ความนา เชื่อถอื ของขอมลู ตามเกณฑ 80/80 ตามความคดิ เหน็ ของผเู ช่ยี วชาญจำนวน 3 ทาน รายการประเมนิ n=3 x S.D. แปลความ ดา นเน้ือหา 1 เน้อื หามีความสอดคลอ งกบั วัตถุประสงค 5.00 0.00 มากท่ีสุด 2 การใชภาษาสามารถสอ่ื ความหมายไดจ ดั เจน 4.00 0.00 มาก 3 ขนาดตวั อกั ษรไมเ ล็กไมใ หญเกินไป 4.33 0.58 มาก 4 เนื้อหามคี วามถูกตองตามหลกั ภาษา 4.67 0.58 มาก 5 มกี ารสรุปเนื้อหาในแตละตอนอยา งเหมาะสม 4.33 0.58 มาก คา เฉล่ีย 4.47 0.29 มาก ดานเทคนคิ และการออกแบบ 5.00 0.00 มากท่สี ดุ 1 การออกแบบหนา จอแตละกรอบเปนมาตรฐานเดียวกัน มาก 2 ความเหมาะสมของการผสมผสานสือ่ ประเภทขอความ ภาพนิ่ง 4.67 0.58 ภาพเคลื่อนไหว 4.67 0.58 มาก 5.00 0.00 มาก 3 ขนาดตวั อกั ษรทใ่ี ชอ านงา ย จัดเจน 4.33 0.58 มาก 4 สตี วั อกั ษรและสีพน้ื ท่ีใชมีความเหมาะสม 5.00 0.00 มาก 5 มีการออกแบบเมนูใหใ ชงา ยมีความเหมาะสม 4.77 0.29 มาก 6 ขนาดของภาพนิ่งทใี่ ชมีความเหมาะสม 4.67 0.58 มาก คา เฉลย่ี มาก ดา นการนำเสนองาน 4.33 0.58 4.67 0.58 มาก 1 ความเขา ใจในเนอ้ื เรอื่ งที่นำเสนอ 4.33 0.58 มาก 2 มกี ารใชคำศัพท ไวยากรณ ตวั สะกดและเครือ่ งหมายวรรคตอนได ถูกตอ งครบถว น 3 มีความพรอ มในการนำเสนอผลงานโดยมกี ารเตรยี มส่อื มาอยา งดี 4 ใชเ วลาในการนำเสนองานไดเหมาะสม ตรงเวลา

รายการประเมิน n=3 x S.D. แปลความ ดานการนำเสนองาน 5 มกี ารใช กราฟก เสียง รปู ภาพ ตัวอักษรและสีสนั เราความสนใจผทู ี่ 4.00 0.00 มาก เขาฟง ไดดี 4.40 0.44 คาเฉลยี่ 4.50 0.34 มาก รวมท้งั หมด มาก จากตารางท่ี 1 พบวาผลการหาคุณภาพแบบประเมนิ ความเหมาะสมสอดคลองในองคประกอบตางๆ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล สำหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคลองอยูในระดบั มาก มคี าเฉลี่ยเทากบั 4.50 เม่อื พิจารณาแตล ะดา น พบวาดานที่มีความเหมาะสมสูงสดุ คือดา นเทคนคิ และการ ออกแบบอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.77 รองลงมาคือดานเนื้อหา อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.47 และดานท่มี ีคา เฉลีย่ ต่ำทส่ี ดุ คอื ดานการนำเสนออยูในระดับมาก มีคาเฉลยี่ เทากับ 4.40 1.2 ผลการหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความ นา เชื่อถอื ของขอ มลู สำหรับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ตามเกณฑ 80/80 ผูวจิ ัยไดนำหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส หนวยการเรยี นรู การประเมนิ ความนา เชอื่ ถือของขอมูล ไปทดลอง ใชก บั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ในปก ารศึกษา 2563 ซึ่งไดคาประสิทธิภาพแบบหน่ึงตอ หนง่ึ ตารางที่ 2 ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู ขอมูลและ สารสนเทศ ตามเกณฑ 80/80 แบบหน่งึ ตอหนงึ่ (3 คน) N ระหวางเรยี น หลงั เรยี น คาประสิทธภิ าพ A ∑ x E1 B ∑ y E2 /E1 E2 3 30 74 81.50 30 74 82.23 81.50/82.20 จากตารางท่ี 2 พบวา เมื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลเมเมาะ (ชุมชน 1) ผานกระบวนการเรียนการสอนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความ นาเชื่อถอื ของขอมูล นักเรียนทัง้ 3 คน ทำแบบฝกหัดและชิน้ งานระหวางเรียนไดถกู ตอง รอยละ 81.50 และ ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไดถูกตอง รอยละ 82.20 ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลนม ีประสทิ ธภิ าพ E1/E2 เทากับ 81.50/82.20 ซ่งึ เปนไปตามเกณฑ 80/80

2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเทียบกับเกณฑรอยละ 80 ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือ ของขอมูล หลังจากทผ่ี วู จิ ยั ไดห าประสิทธิภาพของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมิน ความนาเชื่อถือของขอมูล ของชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จากนั้นนำไปใชจริงกับ กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3/1 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 จำนวน 15 คน แลวทำการวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเทียบกับเกณฑ ซึ่งไดนำเสนอผล ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเทียบกับเกณฑรอยละ 80 ของนักเรียนท่ี เรยี นดว ยหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกสอ อนไลน หนว ยการเรียนรู ขอ มลู และสารสนเทศ คะแนนเต็มของ จำนวน คา เฉลี่ย สวนเบ่ยี งเบน เกณฑร อยละท่กี ำหนด t-test แบบทดสอบ นักเรยี น วัดผลสมั ฤทธ์ิ มาตรฐาน ( รอ ยละ 80 ) ทางการเรียน 15 25.6 1.56 24 6.4 30 * มนี ัยสำคญั ทีท่ างสถติ ิระดบั .05 t (.05,37) = 1.6871 จากตารางที่ 5 พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/1 โรงเรียนอนุบาลแมเมาะ (ชุมชน 1) ที่เรียน ดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชือ่ ถือของขอมูล จำนวน 15 คน สรปุ ไดว า นักเรียนที่เรยี นดวยหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สออนไลน หนว ยการเรียนรู การประเมนิ ความนา เช่ือถือของ ขอ มลู มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวาเกณฑอยางมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งแสดงใหเห็นวา หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนนั้นมีประสิทธิภาพและยังสามารถพัฒนากระบวนการเรียนรูของผูเรียน ใหสูงข้ึนได

3.ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนา เชือ่ ถือของขอมูลสำหรับชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3 ตารางที่ 6 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมนิ ความนาเชอื่ ถือของขอมลู สำหรับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ขอ ที่ รายการประเมนิ N = 20 ดานเนือ้ หา x S.D. แปลความ 1 วัตถุประสงคช ดั เจนสอดคลองกับเน้ือหา 4.20 0.87 มาก 2 เนอ้ื หามีความเหมาะสมในการจดั เรียง 4.20 0.84 มาก 3 เน้ือหามีความยากงา ยเหมาะสมกับพน้ื ฐานของผเู รยี น 4.20 0.84 มาก 4 ปรมิ าณของเนื้อหากำลังดี มีความเหมาะสม 4.20 0.90 มาก 5 ผเู รียนสามารถเขาถงึ เนอ้ื หาไดอยา งรวดเรว็ 4.20 0.90 มาก เฉลีย่ 4.20 0.87 มาก ดา นเทคนคิ และการออกแบบ 1 คำชแ้ี นะ คำสัง่ สญั ลกั ษณท ใ่ี ชม คี วามชัดเจน 4.30 0.84 มาก 2 บทเรยี นมสี ื่อวิดโี อทำใหผูเรยี นเขา ใจงา ยมากขน้ึ 4.10 0.90 มาก 3 รปู แบบขนาดตวั อกั ษรท่ีใชมีความเหมาะสม อานงาย 4.05 0.90 มาก 4 สีตัวอักษรกบั พนื้ หลงั ทใ่ี ชมคี วามเหมาะสม 4.20 0.90 มาก 5 บทเรยี นมปี ฏิสัมพันธกับผเู รียน 4.10 0.90 มาก เฉล่ีย 4.15 0.88 มาก ดา นการใชป ระโยชน 1 การใชหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกสออนไลน มคี วามสะดวกไม 4.10 0.90 มาก ยงุ ยาก 2 มีการเปดโอกาสใหผเู รยี นไดควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง 4.40 0.80 มาก 3 การเรียนดวยหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สออนไลนท ำใหเ ขาใจ 4.30 0.80 มาก เนอื้ หาในบทเรียนไดง า ยขึ้น 4 สนุกเพลดิ เพลนิ มคี วามพงึ พอใจกับการใชหนงั สือ 4.30 0.80 มาก อิเล็กทรอนิกสออนไลน 5 ผเู รยี นสามารถเรียนซำ้ ทบทวนเน้ือหาได 4.30 0.80 มาก เฉลยี่ 4.28 0.82 มาก เฉล่ยี รวม 4.21 0.86 มาก

จากตารางที่ 6 แสดงใหเห็นวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลน หนว ยการเรียนรู การประเมนิ ความนา เชอ่ื ถอื ของขอ มูล มีความพงึ พอใจในภาพรวมอยูในระดับมาก มคี า เฉลยี่ เทา กบั 4.21 เม่อื พจิ ารณาแตล ะดา น พบวาดา นทม่ี ีความพงึ พอใจสูงสดุ คือดานการใชป ระโยชนอยูใน ระดบั มาก มคี าเฉลีย่ เทา กบั 4.30 รองลงมาคือดา นเนื้อหาอยูในระดบั มาก มคี า เฉล่ียเทากบั 4.20 และดานท่ีมี คา เฉลี่ยต่ำทส่ี ดุ คือดานเทคนิคและการออกแบบอยใู นระดับมาก มคี า เฉลีย่ เทา กับ 4.15

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือ ของขอ มูล ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 มวี ัตถปุ ระสงค 1. เพ่ือสรา งและหาประสิทธิภาพของหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ อนไลน เรอื่ ง การประเมนิ ความนา เชือ่ ถือของขอ มลู ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ใหมี ประสิทธภิ าพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาป ที่ 3 หลังเรียนดวยหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สออนไลน เทียบกับเกณฑรอยละ 80 และ 3. เพื่อศึกษาความพึง พอใจของนักเรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ทมี่ ีผลตอ การเรยี นรูดว ยหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสออนไลน เร่ือง การ ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมเปาหมายเปนนักเรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3/1 ปก ารศึกษา 2563 โรงเรียนอนบุ าลแมเมาะ (ชุมชน1) จำนวน 15 คน ผูวิจัยใชแบบแผนการทดลองแบบ One Shot Case Study มีการเปรียบเทียบคะแนนจากการ ประเมินผลใบงานความรูของนักเรียน เนื้อหาที่ใชในการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน ประกอบดว ยเน้ือหาในหนว ยการเรยี นรู เรอื่ ง การประเมินความนา เช่อื ถอื ของขอมลู มีเนือ้ หายอย ๆ ไดแ ก การประเมินความนาเชื่อถือและความทันสมัยของสารสนเทศ เหตุผลวิบัติและผลกระทบจากขาวสารที่ ผิดพลาดและการรูเทาทนั สื่อเพ่อื ใชในการตัดสินใจและการประยกุ ตใชซอฟตแวรเพอ่ื เกบ็ ขอมูล เคร่ืองมือ ที่ใชไดแก คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาวิทยาการคำนวณ หนวยการเรียนรู การประเมินความ นาเชื่อถือของขอมูล มีคาความสอดคลองเหมาะสมเทากับ 4.60 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู เรื่องการประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ไปทดลองใชเพื่อหา ประสทิ ธิภาพกบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 โรงเรยี นอนบุ าลแมเมาะ(ชุมชน 1) ปก ารศกึ ษา 2563 รวม ทั้งสิ้น 3 คน โดยทดลอง 1 ครั้ง ซึ่งไดคาประสิทธิภาพแบบหนึง่ ตอหน่ึง เทากับ 81.50/82.20 ซึ่งเปนไป ตามเกณฑมาตรฐานที่กำหนด 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ โดยเลือกขอที่มดี ัชนคี วามสอดคลอ งต้งั แต 0.67 ข้นึ ไป 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของ นักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นตอหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชอื่ ถือของขอ มูล ท่ผี ูวจิ ัยสรา งขึ้นเปนแบบ ประมาณ คา 5 ระดบั (Rating Scale) มี คา ความเหมาะสมสอดคลอ งเทากบั 4.21 ในการเก็บขอมูลผูวิจยั ไดผูวิจัยช้ีแจงทำความเขาใจและอธิบาย ส่ิงท่กี ำลังจะดำเนินกิจกรรมใหนักเรยี นทราบ 5.2 ผูวิจัยดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู ที่ไดสรางขึ้น จำนวน 3 แผน แผนละ 1 ช่วั โมง รวม 3 ชว่ั โมง

5.3 วัดและประเมินผลโดยใหคะแนนจากชิ้นงานตามกิจกรรมการเรียนรู ที่ไดออกแบบไวใน แผนการจัดการเรียนรูแตละแผน และประเมินผลใหคะแนนจากการทำกิจกรรมทดสอบหลังเรียน ที่ผูวิจัยสรางขึ้น และใหนักเรียนประเมินความพึงตอใจตอการจัดการเรียนการสอนโดยใชหนังสือ อิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 3 จากแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติพื้นฐานที่ใชในการวิจัย ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใชในการวิเคราะหหาคุณภาพของเครื่องมือ ไดแก การหาคา ประสิทธิภาพของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส โดยใชสูตร E1/E2 และสถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐาน ไดแก t-test (One Simple t-test) ซึ่งผูศึกษาไดนำเสนอสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ตามลำดบั ดังน้ี สรุปผลการวจิ ัย ผลการพัฒนาการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู ขอมูลและสารสนเทศ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 สรุปผลไดดังนี้ 1.หนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู ขอมูลและสารสนเทศ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 มีคณุ ภาพเทากบั 4.50 และ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สอ อนไลน มปี ระสิทธภิ าพแบบหนงึ่ ตอหนง่ึ เทา กับ 81.50/82.20 ซึง่ เปนไปตามเกณฑมาตรฐานที่กำหนด 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู เรือ่ ง การประเมินความนาเชอ่ื ถือของขอ มูล ในภาพรวม มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวาเกณฑท่ี กำหนดไว อยา งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ มีระดับ .05 3.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มีความพึงพอใจตอการเรียนดวยหนงั สืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรเู รอ่ื ง ขอ มลู และสารสนเทศ ในภาพรวมอยใู นระดับมาก มคี า เฉลี่ยเทากบั 4.21

อภิปรายผลการศกึ ษา จากการศึกษาและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมิน ความนาเช่อื ถือของขอมูล ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 3 แลว นำไปใชกับกลมุ เปาหมายในการทำวิจัย ผวู ิจัยไดอภิปรายผลการศกึ ษาไวด งั น้ี 1.การสรา งและหาประสิทธิภาพของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสอ อนไลน หนว ยการเรียนรู ขอมูลและ สารสนเทศ ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 โรงเรียนอนบุ าลแมเมาะ (ชุมชน1) มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ผลการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือของ ขอมูล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จากความคิดเห็นของ ผเู ชีย่ วชาญ พบวา หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสออนไลน มคี ณุ ภาพอยใู นระดับมาก มคี าเฉลี่ยเทา กับ 4.50 ท้ังนี้ เปน เพราะหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สอ อนไลน มีสว นประกอบทคี่ รบถว นสมบรู ณ ตามองคป ระกอบของหนังสือ อิเล็กทรอนิกสการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส ของ กิดานันท มลิทอง (2548) องคประกอบของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส โดยทั่วไปหนังสืออิเล็กทรอนิกส จะมีองคประกอบหลักที่คลายคลึงกัน ประกอบไปดวย ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ สวนประกอบในการจัดทำ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส จะตองมีการวางแผน โดยคำนึงถึง สวนประกอบดังตอไปนี้ 1) บทนำเรื่อง (Title) เปนสวนแรกของบทเรียน ชวยกระตุน เราความสนใจให ผเู รยี นอยากตดิ ตามเน้อื หาในสวนตอ ไป 2) คำชี้แจงบทเรยี น (Instruction)เปนสว นแนะนำ อธิบายความ คาดหวังของบทเรียน 3) รายการเมนูหลัก (Main Menu) เปนสวนแสดงหวั เรื่องยอ ยของบทเรียนที่จะให ผูเรียนศึกษา 4) แบบทดสอบกอนเรียน (Pre Test) เปนสวนประเมินความรูขั้นตนของผูเรียน เพื่อดูวา ผูเรียนมีความรูพื้นฐานในระดับใด 5) เนื้อหาบทเรียน (Information) เปนสวนสำคัญที่สุดของบทเรียน โดยนำเสนอเน้ือหาสวนทีจ่ ะนำเสนอ 6) แบบทดสอบทา ยบทเรียน (Post Test) เปนสว นท่จี ะนำเสนอเพ่ือ ทำการตรวจสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู รยี น และ 7) บทสรปุ และการนำไปใชง าน (Summary – Application) เปนสวนที่ใชสรุปประเด็นสำคัญตางๆ ที่จำเปน และยกตัวอยางในการนำไปใชงาน ผู ศึกษาขอสรปุ จากขอความขางตนองคประกอบของหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส โดยท่วั ไปหนังสืออิเล็กทรอนิกส จะมีองคประกอบหลักที่คลายคลึงกัน ประกอบไปดว ย ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการ เชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ สวนประกอบในการจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส การจัดทำหนังสือ อิเลก็ ทรอนิกสออนไลนจ ะตอ งมีการวางแผน ผลการหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน จากการทดลองใชกับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 โรงเรยี นอนบุ าลแมเมาะ (ชมุ ชน1) ภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2563 ประสิทธิภาพแบบ หนึ่งตอหนึ่ง เทากับ 81.50/82.20 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กำหนด 80/80 ทั้งนี้เปนเพราะหนังสือ อิเล็กทรอนิกสออนไลน ประเมินประสิทธิภาพการสรางอยางเปนขั้นตอน ตั้งแตการศึกษาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาป 2560 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร การศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งการสรางแบบสอบถามวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การออกแบบดำเนินการอยางเปนระบบ โดย

ผานการตรวจสอบของผูเชี่ยวชาญทุกขั้นตอน และไดทำการปรับปรุงตามขอเสนอแนะ จึงไดหนังสือ อิเล็กทรอนิกสออนไลน ชวยพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูของผูเรียนใหสามารถเรียนรูดวยตัวองได อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของสุกัญญา เเรงกลา และคณะ (2559) ไดทำการวิจัย พฒั นาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกสเรื่อง การปองกันตนเองจากการตัง้ ครรภท่ไี มพงึ ประสงค สําหรับนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ผลการศึกษาพบวา การพฒั นาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ สมปี ระสิทธภิ าพ 80.03/81.08 ซึ่ง เปนไปตามเกณฑ 80/80 2. การวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเทียบเกณฑ รอยละ 80 ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมนิ ความนาเชื่อถอื ของขอมูล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยบทเรียนหนังสือ อิเล็กทรอนกิ สอ อนไลน หนว ยการเรียนรู การประเมินความนาเช่ือถอื ของขอ มูล มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หลังเรยี นเทียบเกณฑสูงกวาเกณฑร อยละ 80 ทกี่ ำหนดไว ท้งั น้เี ปน เพราะบทเรยี นหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลน ทผี่ วู ิจัยไดส รา งขน้ึ ไดผานกระบวนการสรางตามข้นั ตอนอยางมรี ะบบ มกี ารศึกษาหลักการสราง หนังสืออิเลก็ ทรอนิกสอ อนไลน เพื่อใหผเู รยี นเกดิ ความสนใจ เขยี นคำชแี้ จงในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลน ชวยสอนไวชัดเจน การเรียงลำดับเนื้อหาเหมาะสม มีแบบฝกหัดใหน ักเรียนไดทำ และกิจกรรม บอกรายละเอียดชัดเจน จึงทำใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลอ งกับงานวิจยั ของ ชัยยุทธ ชัยปญญา (2556) ไดทำการวิจัยพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกสวิชาคอมพิวเตอรเบื้องตนเรื่องความรู ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรสำหรับนักเรียนนายสิบทหารบกการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอรเบื้องตน หลังเรียนกับเกณฑรอยละ 80 ผลการวจิ ยั พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพวิ เตอรเบอื้ งตนสำหรับนกั เรยี นนายสิบทหารบก หลัง เรียนโดยใชส ื่ออิเล็กทรอนิกสเรื่องความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร รอยละ 84.88 สูงกวาเกณฑอยางมี นัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .01 3.การศึกษาความพึงพอใจตอการเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนการเรียนรู เร่อื ง การประเมนิ ความนาเชอ่ื ถือของขอมลู ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีผลตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการ เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล มคี า เฉลี่ยเทากับ 4.21 อยใู นระดับมาก ทั้งน้เี ปนเพราะกระบวนการจัดการเรยี นการสอนโดยใชการเรียน ดว ยหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสอ อนไลน หนวยการเรียนรู การประเมนิ ความนาเช่ือถือของขอมูล ทำใหผูเรียน ผูเรียนรูสึกสนุกเพลิดเพลิน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง การใชหนังสือ อิเล็กทรอนิกส มีความสะดวกไมยุงยาก ประกอบกับกระบวนการสรางและพฒั นาหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส ออนไลน มีความถกู ตองตามขน้ั ตอน และมีคณุ ภาพ มีการเรยี งลำดบั เนื้อหาจากงา ยไปหายาก ผวู จิ ัยพัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนกิ ตามขอคนพบในงานวจิ ัยของของ นูรมา ตาเละ และคณะ (2558) วาผูเรียนใหความ

สนใจเนื้อหาในสวนที่เปนภาพเคลื่อนไหวมากกวาภาพนิ่ง ดังนั้นในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส ผูทำวิจยั จะนำเสนอเนอ้ื หาทเี่ ปน ภาพเคลอ่ื นไหวใหมากกวาภาพนงิ่ เพอื่ ดงึ ดูดความสนใจของผูเรยี นใหเกิด การเรยี นรูไดด ีทส่ี ุด ทำใหก จิ กรรมการเรียนการสอนเปนไปอยา งมีประสิทธภิ าพ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของ ชัยยุทธ ชัยปญญา (2556) ไดทำการวิจัยพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ภาษาซี พบวา ความพึงพอใจของนักเรียน ที่จัดการเรียนรูดวยบทเรียน คอมพิวเตอร บนเครือขายอินเทอรเ นต็ กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีวิชา การเขียน โปรแกรมขั้นสูงสำหรับนักเรียนมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 อยูในระดับมาก และสอดคลองกับงานวิจยั ของกัญญา เเรงกลา และคณะ (2559) ไดทำการวิจัยพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การปองกันตนเองจากการ ตั้งครรภที่ไมพึงประสงค สําหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภัฏในเขต ภมู ศิ าสตรภาคกลาง ผลการวิจยั พบวา ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่มี ีตอการใชหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส (E- Book) พบวา ความคิดเห็นของนกั เรยี นโดยรวมอยูในระดบั มาก ขอ เสนอแนะ จากการนำสื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลน หนวยการเรียนรู การประเมินความนาเชื่อถือ ของขอมลู ไปใชกับนกั เรียนโรงเรยี นอนบุ าลแมเ มาะ (ชมุ ชน1) ผูวิจยั มีขอเสนอแนะดังน้ี 1. ขอ เสนอแนะเพ่อื นำผลการวิจัยไปใช 1.1 ในการประเมินทักษะผูวิจัยควรประเมินทั้งชิ้นงานของนักเรียนและใหนักเรียนประเมิน ตนเองดวยแบบประเมินทกั ษะ 1.2 ควรปรับปรงุ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกสออนไลนที่มีปฏิสมั พันธกับผูเรยี นดว ย 1.3 ตรวจสอบความพรอมของคอมพิวเตอรวามีประสิทธิภาพรองรับกับการใชงานหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ อนไลนเพยี งใด 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจยั ในคราวตอ ไป 2.1 ควรศึกษาบริบทของผูเรียนที่ตองการจัดการเรยี นการสอนโดยใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออนไลนเ พ่ือไมใหผ ลกระทบตอ รูปแบบการสอน 2.2 ในการประเมินทักษะผูวิจัยควรประเมินทั้งชิ้นงานของนักเรียนและใหนักเรียนประเมิน ตนเองดว ยแบบประเมนิ ทักษะ 2.3 ควรนำกิจกรรมที่ใหนักเรียนฝกปฏิบัติในชั้นเรียน ไปหาคาความเหมาะสมสอดคลองใน วตั ถุประสงค กบั ผูเชี่ยวชาญดวย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook