Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดอกบัว

ดอกบัว

Published by sakunthipplengpin, 2021-11-28 13:40:22

Description: สกุลทิพย์ ลิ้มสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

บัวหลวง เสนอ ผศ.มลิวลั ย์ กาญจนชาตรี จัดทาโดย นางสาวสกุลทิพย์ ลิ้มสมบรู ณ์ มธั ยมศกึ ษาปที ่5ี /2 เลขท1ี่ 3 รายงานเลม่ นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชาชวี วทิ ยา(ว32244) ภาคเรียนท่ี2 ปกี ารศกึ ษา2563 โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการศกึ ษา

บัวหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์: Nelumbo nucifera ชั้น: สปชี สี ์ สปชี ีส์: N. nucifera อาณาจักร: Plantae วงศ์: Nelumbonaceae สายพนั ธุ์ดอกบัวหลวง 1. บัวหลวงพันธุด์ อกสชี มพู (บัวแหลมชมพู) มชี ่ือว่า ปทมุ ปัทมา โก กระนต หรือโกกนุต ดอกขนาดใหญ่ ดอกตมู เป็นรูปไข่ ปลายเรียวสี ชมพู กลบี ดอกชน้ั นอกมี 4-5 กลีบ รปู ไขม่ ีขนาดเลด็ เรียงตัวกนั 2 ชน้ั ส่วนกลางของกลบี มีรูปรา่ งโค้งปอ่ ง ตรงกลางสีชมพูอมเขียว ส่วนกลบี ดอกช้นั กลางและชั้นในสชี มพูเขม้ โคนกลีบดอกสีขาวนวล มีประมาณ 13-14 กลบี เรียงตัวเปน็ ช้นั ประมาณ 3 ชั้น อยโู่ ดยรอบฐานดอก กลีบช้ันนอกและชัน้ ในมีสแี ละรูปรา่ งคล้ายช้นั กลางแตเ่ ล็กกว่ากลีบใน ชนั้ กลาง 2. บวั หลวงพนั ธด์ุ อกสีขาว (บัวแหลมขาว) มชี อื่ วา่ บุณฑรกิ หรือ ปณุ ฑริก ดอกขนาดใหญ่เป็นรูปไข่ ปลายเรยี ว คล้ายบัวพันธ์ุปทมุ ดอกมีสขี าวประกอบด้วยกลีบดอกช้ันนอกสขี าวอมเขียว ส่วนกลีบ ในชนั้ กลางและชนั้ ในสีขาวปลายกลบี ดอกสชี มพเู ร่ือ ๆ รปู ร่างของ กลีบและการเรยี งตัวของกลีบดอกคลา้ ยดอกบวั พนั ธุป์ ทุม[4] 3. บวั หลวงพนั ธ์ุดอกสีชมพซู ้อน (บวั ฉตั รชมพู) มีชือ่ วา่ สัตตบงกช ดอกมีขนาดใหญ่ ดอกตูมเปน็ รปู ไขท่ รงป้อม สชี มพู ประกอบดว้ ยกลบี นอกเป็นรูปรี มี 4-7 กลีบ กลบี เลก็ เรยี นซอ้ นกันเปน็ ชั้น 2-3 ชน้ั สีเขียวอมชมพู กลีบในสีชมพูตลอด ส่วนโคนกลบี ท่ีตดิ กบั ฐานรองดอกมสี ีขาวอมเหลือง กลีบในมปี ระมาณ 12-16 กลีบ กลบี ในชัน้ นอกและ ชน้ั ในมขี นาดเลก็ กว่าชนั้ กลาง เปน็ รูปไขท่ ่ีมีส่วนกว้างอยู่ดา้ นบน เกสรตวั ผ้ชู ัน้ นอก ๆ เปน็ หมนั โดยมกี ้านชูทีเ่ ป็นเกสรตวั ผทู้ ี่เป็นแผน่ บาง ๆ สีชมพคู ลา้ ยกลบี ในแตม่ ีขนาดเลก็ กวา่ ไม่มีอับเรณู แตป่ ลายกลีบมีสว่ นยนื่ ออกมาที่มฐี านเรียวเลก็ สว่ นปลายพองใหญ่ มสี ีขาวนวล

4. บวั หลวงพนั ธ์ุดอกสีขาวซ้อน (บัวฉตั รขาว) มชี ่ือว่า สตั ตบุตย์ ดอกมีขนาด ใหญ่ ดอกตมู เป็นรปู ไขท่ รงปอ้ ม คล้ายบวั พันธุ์สตั ตบงกช ดอกมสี ีขาว ซอ้ น กนั หลายชัน้ ดอกประกอบด้วยกลบี ดอกสเี ขียวอมขาว ส่วนกลบี ชนั้ ในสีขาว ตลอด ส่วนรปู ทรงและการเรียงตัวของกลีบดอกจะมลี ักษณะคลา้ ยกบั บวั พนั ธ์สุ ัตตบงกช ลักษณะทางพฤกษศาสตร:์ พืชนา้ อายหุ ลายปี ล้าตน้ เป็นเหงา้ ใต้ดิน หรือเป็นไหลเหนอื ดินนา้ มา รบั ประทานได้ เรียกว่า “รากบวั ” ใบ ใบเด่ยี วแตกจากขอ้ ของล้าต้น ใบรปู กลมใหญ่ เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 15-40 ซม. ขอบใบเรยี บและเป็นคลืน่ สีเขยี ว มนี วลเคลอื บทา้ ให้ไม่ เปยี กน้า กา้ นใบและกา้ นดอกกลมเรียวแขง็ มหี นามเล็กๆ ชูขน้ึ เหนือนำ้า มี เสน้ ใยสขี าว ดอก ดอกเดี่ยวออกจากขอ้ ของเหงา้ ใตด้ นิ ท่บี ริเวณซอกใบ กลบี เล้ยี ง ขนาดเล็ก 4-5 กลบี กลบี ดอกจา้ นวนมากเรยี งซอ้ นกนั หลายชัน้ สี ขาว หรอื สีชมพู เกสรเพศผสู้ เี หลอื งจา้ นวนมาก บางคร้งั เปลี่ยนไปเป็น กลบี ดอกท้าให้กลีบดอกซ้อนกันแนน่ ฐานรองดอกบวมขยายใหญ่ เรียกว่า “ฝกั บัว”

บัวหลวง วงศ์ Nelumbonaceae บวั หลวงมีกลีบรวม จา้ นวนมาก กลบี ด้านนอกสดุ 2 - 4 กลีบ มกั มขี นาด เล็กกว่าปรกติ ลักษณะคลา้ ยเปน็ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้จ้านวนมาก กา้ นชูอบั เรณสู นั้ อบั เรณูรูปยาว สีเหลือง ท่ยี อดอบั เรณมู ีรยางคส์ ีขาวย่ืนออกมาเป็นติง่ เกสรเพศเมยี จา้ นวนมากเรียงตัวอยู่บนฐานรองดอกท่ีขยายขนาดออกมาคล้าย ฝักบัว เรยี ก ฐานดอกนนู (torus) โผลเ่ ฉพาะสว่ นยอดเกสรเพศเมยี ให้เห็นกา้ นชยู อดเกสรเพศเมยี สัน้ มาก ยอดเกสร เพศเมียคล้ายรปู จานสเี ขยี ว รงั ไข่เหนือวงกลบี ออวลุ 1 อันตดิ อยู่ดา้ นบนของรังไข่ ผล ผลกลมุ่ ประกอบดว้ ยผลย่อยจ้านวนมาก เจรญิ อยภู่ ายในฝกั บัว ภายในผล ย่อยมเี มล็ดขนาดใหญ่ ใบเลยี้ งหนาน้ามารับประทานได้ เรยี กว่า “เม็ดบัว” ราก : ระบบล้าเลียงในรากของพชื ใบเล้ียงเดยี่ ว ไซเล็มจะเรียงตัวอยู่รอบพิธ (Pitch) ซง่ึ เป็นเนือ้ เยือ่ อยูต่ รงกลางของ ราก สว่ นโฟลเอ็มแทรกอยู่ระหว่างไซเล็ม รากมีหน้าที่หลักที่สา้ คัญ คือ -ดูด (Absorption) น้าและแร่ธาตทุ ล่ี ะลายน้าจากดนิ เขา้ ไปในลา้ ตน้ -ลา้ เลียง (Conduction) น้าและแร่ธาตุรวมทัง้ อาหารซ่งึ พชื สะสม ไว้ในรากขน้ึ สูส่ ่วน ตา่ ง ๆ ของล้าตน้ -ยึด (Anchorage) ล้าต้นใหต้ ดิ กับพ้นื ดิน -แหลง่ สร้างฮอร์โมน (Producing hormones) รากเป็นแหลง่ สา้ คัญในการผลิตฮอร์โมนพชื หลายชนิด เช่น ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน ซ่งึ จะถกู ล้าเลยี งไปใช้เพื่อการเจริญพัฒนาส่วนของลา้ ตน้ สว่ นยอด และสว่ นอ่ืน ๆ ของพชื นอกจากนี้ ยังมรี ากของพืชอีกหลายชนดิ ท่ที ้าหน้าที่พเิ ศษ

โครงสร้างภายในราก บรเิ วณหมวกราก (Root cap) ประกอบดว้ ยเซลล์ พาเรงคิมา หลายช้ันท่ปี กคลมุ เนือ้ เยื่อเจรญิ ทีป่ ลายรากที่ ออ่ นแอไว้ เซลล์ในบรเิ วณน้มี ีอายุสน้ั เน่อื งจากเปน็ บริเวณท่ีมกี ารฉีกขาดอยเู่ สมอ เพราะส่วนนจี้ ะยาวออกไปและชอน ไชลึกลงไปในดินเซลลเ์ รียงตัวกันอยา่ งหลวม ๆ ในบรเิ วณเซลล์ขนราก (Root hair cell) เปน็ เซลลเ์ ดี่ยวทมี่ ขี นรากเปน็ ส่วนหนึ่งของผนังเซลล์ยื่นออกไปเพอ่ื เพมิ่ พน้ื ท่ีผิวในการดูดซมึ น้าและแร่ธาตุ เซลลข์ นรากเกดิ จากการเปล่ยี นแปลง ของเซลล์ เอพเิ ดอรม์ สิ บางเซลล์ เซลล์ขนรากจะมีอย่เู ฉพาะบรเิ วณนีเ้ ทา่ น้ันเซลลข์ นรากมอี ายปุ ระมาณไม่เกิน 7- 8 วัน แล้วจะเหยี่ วแหง้ ตายไป แต่ขนรากในบรเิ วณเดมิ จะมีเซลล์ใหม่สรา้ งเซลลข์ นรากข้นึ มาแทนท่ี เนื้อเย่ือท่ีอยู่ บรเิ วณนีเ้ ร่มิ มีการเปลีย่ นแปลงเพ่อื เจริญไปเป็นเนื้อเย่ือถาวรชนิดต่าง ๆ ต่อไป เซลลบ์ ริเวณขนราก เปน็ เซลล์ทเี่ ร่ิมแก่ตัวแลว้ เจริญไปเป็นเน้ือเยื่อถาวรชนิดเนอื้ เย่ือถาวรข้นั ต้น (Primary permanent tissue) บรเิ วณขนรากประกอบดว้ ยเนื้อเย่ือ 3 ชนดิ คอื เอพเิ ดอร์มสิ (Epidermis) คอรเ์ ทกซ์ (Cortex) และสตลี (Stele) รากพืชใบเลย้ี งเดี่ยว ตัดตามขวาง (Cross section)

สามารถแยกเป็นบริเวณ หรือช้ันต่างๆตามลกั ษณะเซลล์ท่ีเหน็ ได้ 3บริเวณ ดังน้ี 1. epidermis เปน็ เน้อื เยื่อที่อยชู่ น้ั นอกสดุ มกี ารเรียงตวั ของเซลล์ เพยี งช้ันเดียว แตเ่ รยี งชิดกัน เซลล์มผี นงั บางไม่มคี ลอโรพลาสต์ มแี วคิวโอลขนาดใหญ่ บางเซลลเ์ ปล่ียนไปเปน็ เซลลข์ นราก เอพิ เดอรม์ สิ มีหนา้ ท่ีป้องกนั อนั ตรายใหแ้ กเ่ นื้อเย่อื ทอี่ ยภู่ ายในขนราก ของเอพิเดอร์มสิ ชว่ ยดูดนา้ และแรธ่ าตุ และป้องกนั ไม่ใหน้ า้ เข้า รากมากเกนิ ไป 2. cortex เป็นอาณาเขตระหวา่ งชั้น epidermis และ stele ประกอบด้วยเนื้อเย่อื พาเรงคิมาท่ีท้าหน้าที่ สะสมนา้ และอาหารเป็นส่วนใหญ่ ชนั้ ในสดุ ของ cortex จะเป็นเซลล์แถวเดยี วเรยี ก endodermis ในรากพชื ใบเลย้ี ง เด่ยี วจะเห็นชัดเจนเซลลใ์ นช้ันนเี้ มอ่ื มีอายมุ ากข้นึ จะมผี นงั หนาเพราะมสี ารซูเบอริน หรือลกิ นินสะสมอยู่ แตจ่ ะมีชว่ งที่ มีเซลล์ผนังบางแทรกอยู่ในชน้ั นแี้ ละอย่ตู รงกับแนวของไซเลม 3. stele เป็นบรเิ วณท่ีอยู่ถดั จากช้ัน endodermisเข้าไป พบว่าstele ในรากจะแคบกวา่ ช้ัน cortex ประกอบด้วยช้นั ต่างๆดงั นี้ 3.1 pericycle เป็นเซลลผ์ นังบางขนาดเล็กมี 1-2 แถว พบเฉพาะในรากเทา่ นน้ั เปน็ แหล่งก้าเนดิ ของรากแขนง ( secondary root ) 3.2 vascular bundle ประกอบด้วย xylem อยู่ตรงใจกลางเรียงเป็นแฉกโดยมี phloem อยู่ ระหวา่ งแฉก สา้ หรับพชื ใบเลี้ยงคตู่ ่อมาจะเกิดเน้ือเย่อื เจริญ vascular cambium ค่ันระหวา่ ง xylem กบั phloem ในรากของพชื ใบเลี้ยงค่มู ีจ้านวนแฉกน้อยประมาณ 1-6 แฉก โดยมากมักมี 4 แฉก สว่ นรากของ พชื ใบเล้ียงเดี่ยวมกั มจี า้ นวนแฉกมากกว่า 3.3 pith เป็นบริเวณตรงกลางรากหรอื ไส้ในของรากเห็นได้ชดั เจนในราก พชื ใบเลี้ยงเด่ยี ว ส่วนใหญเ่ ป็นเนอื้ เย่ือพาเรนไคมา

สรุปรากของพชื ใบเลี้ยงเดี่ยว 1. มีขนราก 2. มไี ซเล็มเรียงเป็นแฉกมากกวา่ 6 แฉก 3. ปกติไม่มเี น้ือเย่ือวาสควิ ลาร์แคมเบยี ม อยู่ระหวา่ งไซเลม็ กบั โฟลเอ็ม จงึ ไม่มีการเจริญเติบโต ในระยะทุติย ภมู ิ ยกเว้นพืชบางชนิด 4.ไม่มีคอรก์ และคอร์แคมเบยี ม 5. เอนโดเดอร์มิสเห็นเปน็ แนวชัดเจนดี และ เหน็ แคสพาเรียนสตริพ เดน่ ชดั กว่าในรากพืชใบเลี้ยงคู่ ลาต้น (Stem) เปน็ อวัยวะของพืชทีส่ ว่ นใหญจ่ ะเจริญขึ้นเหนอื ดนิ เจริญมาจากสว่ นทเ่ี รยี กว่า Hypocotyl ของเมล็ด ประกอบด้วยส่วนสา้ คญั 2 ส่วนคอื ข้อ (Node) ส่วนใหญม่ กั มตี า (Bud) ซึ่งจะเจรญิ ไปเปน็ กิง่ ใบ หรอื ดอก ต่อไป และ ปลอ้ ง (Internode) ซ่งึ อยูร่ ะหว่างขอ้ โดยในพืชใบเลีย้ งเดี่ยวจะเหน็ ข้อและปล้องชัดเจน แต่ในพชื ใบเล้ยี งคู่ เห็นข้อและปลอ้ งชดั เจนในขณะทีเ่ ปน็ ต้นออ่ นหรือก่ิงอ่อน แต่เมื่อเจริญเติบโตและมี Cork มาหุ้ม ท้าให้เหน็ ข้อและปล้องไมช่ ัดเจน ระบบลา้ เลยี งในล้าต้นของพืชใบเลีย้ งเด่ยี ว ไซเลม็ และโฟลเอ็มจะอยรู่ วมกนั เรยี งตัว กระจดั กระจายทว่ั ลา้ ตน้

โครงสร้างภายในของลาตน้ พชื ใบเล้ยี งเดย่ี ว 1. epidermis เป็นเนอื้ เยื่อท่ีอย่ชู ้ันนอกสดุ ท้าหนา้ ทป่ี ้องกันอันตรายให้แก่ เน้ือเย่ือภาย ในของล้าตน้ สว่ นใหญ่เซลลเ์ รยี งตวั เพียงช้นั เดยี วและมีอยู่ตลอดไป ยกเว้นใน ต้นพชื ตระกลู ปาล์มจะมีเฉพาะในปีแรกเทา่ น้นั เพราะ ต่อมาจะมเี น้ือเยอื่ คอร์ก (cork) มาแทน 2. cortex มเี นื้อเยื่อบางๆ1-2 ชั้น สว่ นใหญ่เป็นเน้อื เยอ่ื ชนดิ parenchyma และสว่ นใหญ่ไม่พบ endodermis ทา้ ให้อาณาเขต แบ่งได้ไม่ชัดเจน 3. stele 3.1 vascular bundle กลุ่มของเนือ้ เย่อื ล้าเลยี งของพืชใบเล้ียงเดี่ยว สว่ นของ xylem, phloem จะเรยี งตัวกนั มองคลา้ ยๆใบหนา้ คน มสี ว่ นของ vessel อยบู่ ริเวณคล้ายดวงตา สว่ น phloem อยบู่ ริเวณคลา้ ยหนา้ ผาก xylem และ phloem จะถกู ล้อมรอบด้วยเน้ือเยอ่ื parenchyma หรอื อาจเปน็ sclerenchyma และเรยี กเซลลท์ ม่ี า ล้อมรอบนว้ี ่า bundle sheath vascular bundle ของพชื ใบเลี้ยงเดีย่ วส่วนใหญ่ไม่พบเนื้อเยือ่ เจริญ vascular cambium ยกเว้นหมากผู้ หมากเมยี และพืชตระกลู ปาลม์ 3.2pith เป็นเน้ือเยื่อที่อย่สู ่วนกลางของลา้ ต้น สว่ นใหญเ่ ป็นเนื้อเย่ือประเภท parenchyma พชื ใบเลี้ยงเด่ียวบางชนิด เช่น ข้าวโพด ในเนือ้ เย่ือของ pith นี้จะพบ vascular bundle กระจายอยู่ เต็ม นอกจากนีพ้ ชื บางชนดิ เน้ือเยอ่ื ในส่วนน้อี าจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางล้า ต้น เรียกวา่ pith cavity เชน่ ต้นไผ่ ตน้ ข้าวเปน็ ต้น

ใบ : ในพชื ชนั้ สูง เชน่ พชื ดอกจะมีเน้ือเย่ือท้าหนา้ ท่ีล้าเลยี งสารต่าง ๆ เรยี กวา่ วาสคิวลาร์ บันเดิล (Vascular bundle) ประกอบด้วย เนื้อเย่ือไซ เลม็ (Xylem) ท้าหน้าท่ลี ้าเลียงนา้ และแร่ธาตุจากดนิ ข้นึ สู่ใบ เพื่อสร้างอาหารดว้ ยกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ส่วน เน้ือเยือ่ โฟลเอ็ม (Phloem) ทา้ หน้าที่ลา้ เลียงอาหารที่สรา้ ง จากใบไปสสู่ ว่ นต่าง ๆ ของพชื ซง่ึ การจัดเรยี งตวั ของไซเลม็ และโฟลเอ็มในรากและล้าตน้ ของพืชใบเล้ยี งเดยี่ วและพืชใบ เล้ยี งคจู่ ะมีความแตกตา่ งกนั ทอ่ และเนอ้ื เยื่อลา้ เลียงน้าและแร่ธาตจุ ากดนิ ผ่านราก และลา้ ต้นไปส่ใู บนน้ั เรียกวา่ ไซเล็ม เป็นเน้อื เยอื่ ที่ประกอบด้วย เซลลท์ ต่ี ายแล้วเรียงต่อกนั โดยทเี่ นอื้ เยื่อตอนปลายท่เี ป็น รอยตอ่ ระหวา่ งเซลล์สลายตวั ไป ทา้ ให้ไซเล็มมลี ักษณะเป็นท่อ กลวงตลอดตง้ั แตร่ ากไปจนถึงใบท่อและเน้ือเย่ือล้าเลียงอาหาร ทอ่ และเนือ้ เย่ือลา้ เลียงอาหารทอี่ ยู่ในรปู ของสารละลาย จากใบไปเลี้ยงส่วนตา่ ง ๆ ของพชื น้ัน คอื โฟลเอม็ ประกอบด้วย เซลล์ท่มี ลี กั ษณะรปู ร่างต่าง ๆ กันหลายแบบ แต่ทุกเซลลม์ ีชวี ติ มไี ซโทพลาซึม เซลล์ทท่ี ้าหน้าทีใ่ นการลา้ เลยี งอาหาร เรียกว่า เซลลต์ ะแกรง (Sieve tube cell) มาเรยี งต่อกันเปน็ ท่อ รอยตอ่ ระหว่างเซลล์จะมลี ักษณะเหมือนแผ่นตะแกรงกั้นไว้ พชื ใบเลย้ี งเด่ยี ว - เปน็ พืชทมี่ ีใบเลี้ยง 1 ใบ เส้นใบขนานกนั - ล้าต้นมีข้อและปล้องท่ีเห็นไดช้ ัดเจน - มรี ากฝอย - ตวั อยา่ งเชน่ ต้นขา้ ว ต้นตาล ตน้ ขา้ วโพด ตน้ หญา้ ต้น ออ้ ย เปน็ ตน้

โครงสร้างและหน้าท่ีของใบ หนา้ ท่ีของใบ 1. ปรงุ อาหาร หรอื กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ซึ่ง จะเกดิ เฉพาะ ในเวลากลางวนั และเกิดท่ีใบเปน็ สว่ นใหญ่ ที่ล้าต้น หรอื สว่ นประกอบอน่ื ท่ีมีสเี ขยี ว กส็ ามารถปรุง อาหารได้ 2. หายใจ พืชจ้าเป็นต้องมีการหายใจตลอดเวลา เช่นเดยี วกบั สัตว์ ในเวลากลางวัน พืชจะหายใจเอากา๊ ซ คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และปล่อยก๊าซออกซิเจน ออกมาเมอ่ื เราเข้าไปในปา่ หรือน่ังใต้ต้นไมใ้ นเวลากลางวันจงึ รูส้ ึกสดช่ืน เนอื่ งจากไดร้ บั อากาศ บริสุทธจิ์ ากตน้ ไม้ 3. คายน้า การคายนา้ เป็นการปรบั อุณหภูมิภายในต้นพชื ไมใ่ หส้ ูงมาก ในวนั ท่ีมีอากาศร้อนพชื จะคายน้ามากกวา่ วนั ท่ี อากาศปกติ โครงสร้างของใบ 1. เอพิเดอร์มสี (epidermis) เปน็ เนื้อเยอื่ ทเี่ รียงกัน เปน็ ชัน้ เดียว มอี ยทู่ ้ังด้านบนและดา้ นลา่ งของใบ บางเซลลใ์ น ชนั้ เอพิเดอร์มีสนจี้ ะเปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่ควบคุมการ แลกเปลี่ยนก๊าซ เรยี กว่า เซลล์คมุ (guard cell) ตรงกลางของ เซลลค์ มุ น้ีจะมีปากใบ (stoma) ทา้ หน้าท่ีคายน้า และ แลกเปล่ียนก๊าซ ออกซิเจน กับ คาร์บอนไดออกไซด์ 2. มโี ซฟีลล์ (mesophyll) คือ สว่ นกลางของใบ แบง่ เปน็ 2 บริเวณ คอื 2.1 พาลิเซด มโี ซฟลี ล์ เซลลม์ รี ูปรา่ งยาวเรียว เรียงตัวกนั หนาแนน่ 1-2 ชั้น ถัดจากเอพเิ ดอร์มสี ดา้ นบน ในเซลล์จะมคี ลอ โรพลาสตอ์ ย่เู ตม็ เป็นชัน้ ท่ีเกิดการสังเคราะฆแ์ สงได้มากท่ีสุด 2.2 สปนั จี มโี ซฟลี ล์ อยู่ถัดจากชนั้ พาลิเซคลงมา เซลลร์ ูปรา่ ง ไม่แน่นนอน อยู่กนั อย่างหลวมๆ ทา้ ใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นก๊าซ ระหว่างใบกับส่ิงแวดล้อมไดด้ ี ภายในเซลล์มีคลอโรพลาสอย่บู ้าง

กา้ นใบ (petiole) คือ สว่ นคล้ายกิง่ ท้าหนา้ ทเ่ี ชื่อมต่อระหว่างลา้ ตน้ กบั ใบท่ีไม่มกี ้านใบเรยี กว่า เซสไซล์ (sessile leaf) ลักษณะของก้านใบมีแตกตา่ งกันไปหลายแบบ เช่น - พลั วนิ ัส (pulvinus) คือ ส่วนก้านใบทโี่ ปง่ พองออกเลก็ น้อย - ก้านใบแผ่เป็นกาบ (sheathing leaf-base) - ดีเคอรเ์ รนท์ (decurrent) คอื กา้ นใบอาจรวมท้งั ฐานใบแผอ่ อกเป็นปีก แลว้ โอบล้อมลา้ ตน้ ลงไปจนถึง ขอ้ ดา้ นล่าง - กา้ นใบแผ่เป็นแผ่นคลา้ ยปกี (winged petiole) - ก้านใบโปง่ พอง เพ่อื ช่วยพยุงลา้ ตน้ ใหล้ อยนา้ การเรียงตวั ของเส้นใบ (venation) 1. เส้นใบเรยี งขนาน -เส้นใบเรียงขนานกัน (parallel venation)เสน้ ใบจะเรียงขนานกันตั้งแตฐ่ านจนถึงปลายใบ พบใน ใบพชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว -เสน้ ใบเรียงขนานคล้ายฝ่ามือ (palmately parallel venation) เป็นการเรยี งของเส้นใบจาก ฐานใบขนานไปเรื่อยจนจดปลายใบ -เส้นใบเรียงขนานคลา้ ยขนนก (pinnately parallel venation) เปน็ การเรียงของเส้นใบทีแ่ ตก จากเส้นกลางใบแลว้ ขนานกนั ไปจนจดขอบใบ 2. เส้นใบเรยี งแบบร่างแห ตวั อยา่ งใบเลยี้ งคู่ -เส้นใบเรยี งแบบร่างแห (netted venation หรือ reticulate venation) มีการแตกแขนงของเส้นใบย่อยออกไปทุกทศิ ทางแล้วมา ประสานกนั เปน็ รา่ งแห พบในใบพืชใบเล้ียงคู่ แบง่ เป็น -เส้นใบเรยี งแบบรา่ งแหคลา้ ยฝา่ มอื (palmately netted venation) มี เสน้ ใบใหญ่มากกว่า 1เส้น แตกเรยี งขนานจากฐานไปสูป่ ลายใบ แลว้ มีเส้น ใบย่อยแตกแขนง -เส้นใบเรียงแบบร่างแหคลา้ ยขนนก (pinnately netted venation) มี เส้นกลางใบ 1 เสน้ แตกจากฐานใบไปสู่ปลายใบ แล้วมเี สน้ ใบยอ่ ยแตกเป็นรา่ งแห

3. เส้นใบเรยี งแบบไดโคโตมสั เสน้ ใบเรียงแบบไดโคโตมัส (dichotomous venation) เส้นใบจะเรียงขนาน แต่ปลายสดุ ของเสน้ ใบแตก เป็น 2 แฉก หใู บ (stipule) คือสว่ นท่ีเจริญออกจากฐานใบ ทา้ หน้าที่ป้องกนั อนั ตรายให้กับ ตาอ่อนพบทัว่ ไปในพืชใบ เลี้ยงคู่ แตไ่ ม่ค่อยพบในพืชใบเลย้ี งเดย่ี ว ถา้ มหี ใู บเรียกวา่ สติพูเลท (stipulate leaf) ถา้ ไมม่ ีหูใบเรยี ก เอกสติพเู ลท (exstipulate leaf) ลักษณะของหใู บ เช่น -แอดเนท (adnate หรอื adherent) คอื มีหใู บ 2 อนั ซงึ่ เช่อื มติดกบั ก้านใบทั้งสองด้านทา้ ใหด้ คู ลา้ ยปีก -อนิ ทราเพทิโอลาร์ (intrapetiolar stipule) หูใบอยูท่ ่ี โคนกา้ นใบตรงบริเวณมมุ ระหวา่ งกา้ นใบกบั ล้าต้น -อินเทอร์เพทิโอลาร์ (interpetiolar stipule) หูใบอยู่ ระหวา่ งกา้ นใบทตี่ ิดกับลา้ ตน้ แบบตรงขา้ ม -โอเครีย (ochrea) คอื หูใบ 2 อนั ที่เช่อื มตดิ กันกลายเป็นหลอดหมุ้ ล้าตน้ ไว้ อาจเชื่อมเปน็ หลอดตลอดความยาว หรืออาจมสี ว่ นปลายโอเครยี แยกกันบ้าง -หใู บเปล่ียนแปลงเป็นมือเกาะ (tendrillar stipule) -หูใบเปล่ยี นแปลงเปน็ หนาม -หใู บเปลีย่ นเป็นกาบหุ้มยอดอ่อนของล้าตน้ -หใู บแผอ่ อกคล้ายใบ (foliaceous stipule) แผ่นใบ (lamina หรอื blade) คอื สว่ นท่ีแผแ่ บนออกเปน็ แผ่นซ่ึงอาจมรี ูปร่างแตกต่างกันไปหลายแบบดงั นี้ ปลายใบ (leaf apex) คอื ส่วนบนหรอื ปลายสุดของแผ่นใบซ่งึ มีลกั ษณะตา่ งๆ กนั ฐานใบ (leaf base) คือ สว่ นของแผน่ ใบทีบ่ ริเวณติดกบั ก้านใบ ซึง่ มกี ารผนั แปรแตกตา่ งกนั ไปไดห้ ลายลกั ษณะ ขอบใบ (leaf margin) มลี กั ษณะท่ีแตกตา่ งกันออกไป

ชนิดของใบ 1. ใบเดีย่ ว (simple leaf) คือ ใบท่ีมีแผ่นใบ 1 แผ่นตดิ อยู่บนก้านใบ 1 ก้าน 2. ใบประกอบ (compound leaf) คือ ใบที่มแี ผ่นใบย่อย (leaflet) ต้งั แต่ 2 ใบข้นึ ไปติดอย่บู นกา้ นใบ 1 กา้ น แบ่ง ออกเปน็ - ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaf) - ใบประกอบแบบมือ (palmately compound leaf) การทางานของระบบลาเลียง พชื ไดร้ บั น้าและแร่ธาตจุ ากดิน โดยน้าและแร่ธาตุจะถูกล้าเลียงจากรากไปสสู่ ่วนตา่ ง ๆ รวมถงึ ยอดพืช เพื่อใช้ใน กระบวนการสร้างอาหารของพืช ซ่งึ เม่ือพืชสร้างสารอาหารขึ้นแล้ว สารอาหารจะถูกล้าเลียงจากใบไปยังสว่ นตา่ ง ๆ ของพืชโดยระบบลา้ เลียงในพืชซึง่ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ ระบบลา้ เลยี งน้าและแร่ธาตุ น้าในดินเคลื่อนท่ีเขา้ สรู่ าก ได้โดยกระบวนการออสโมซสิ สว่ นแร่ธาตุท่อี ยู่ในรูปสารละลาย ผา่ นเข้าสรู่ ากได้ โดยกระบวนการแพร่และ แอคทีฟทรานสปอร์ต เมอ่ื นา้ และแร่ธาตผุ ่านเข้าสภู่ ายในเซลล์ขนรากแล้ว น้าจะออสโม ซีสจากเซลล์ขนรากไปยงั เซลลร์ ากท่อี ยู่ติดกนั ไปเร่อื ย ๆ จนถึงท่อ ลา้ เลยี งทเ่ี รยี กว่า ไซเล็ม น้าและแรธ่ าตุจะถูกสง่ ไปตามไซเล็มไป ยังสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช การทน่ี ้าและแร่ธาตจุ ากรากขน้ึ ไปสู่ยอด พืชไดน้ น้ั เปน็ เพราะมีแรงดึงท่ีเกิดจากการคายนา้ ของใบดึงดดู ให้ นา้ และแรธ่ าตลุ า้ เลียงขน้ึ ไปตลอดเวลาคลา้ ยกับการที่เราดูดนา้ จากขวดหรือจากแกว้ โดยใช้หลอดดูด ระบบลาเลยี งอาหาร สารอาหารท่ีพชื สร้างข้นึ คือ น้าตาลกลูโคสทีอ่ ยู่ในรูปของ สารละลายจะถูกลา้ เลียงจากใบไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพชื ผ่านทาง ทอ่ โฟลเอ็ม ซ่งึ การล้าเลยี งจากเซลล์ของใบไปสู่เซลล์ขา้ งเคียง ต่อ ๆ กันไปโดยกระบวนการแพร่ และแอคทีฟทรานสปอร์ต การลา้ เลียงอาหารเปน็ การเคลือ่ นท่จี ากด้านบนของตน้ พชื ลงสู่ ด้านล่างไปเลย้ี งสว่ นของล้าต้นและราก แต่กม็ ีบางส่วนที่มีการ ล้าเลียงไปในทิศทางข้นึ ด้านบนเหมือนกนั เชน่ การลา้ เลียงไป เลี้ยงดอกและผล เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook