Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูวิชาเคมี เรื่อง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

คู่มือครูวิชาเคมี เรื่อง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Published by Nuttigar, 2018-06-10 23:46:49

Description: คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์เคมี เล่ม 1 เรื่อง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: ความปลอดภัย,ทักษะ,ปฏิบัติการ,เคมี,คู่มือครู

Search

Read the Text Version

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏิบัตกิ �รเคมี 1บทท่ี 1คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี goo.gl/HfRaqEผลก�รเรียนรู้ 1. บอกและอธบิ ายข้อปฏบิ ตั เิ บ้ืองต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนกั ในการทาำ ปฏิบัติการเคมีเพ่ือให้มีความปลอดภัย ท้งั ต่อตนเอง ผู้อนื่ และสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเม่อื เกิดอุบตั เิ หตุ 2. เลอื กและใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอ่ื งมอื ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ระบหุ น่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลีย่ นหน่วยวัดใหเ้ ปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอรเ์ ปล่ยี นหน่วย 4. นำาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลองก�รวิเคร�ะหผ์ ลก�รเรยี นรู้ผลก�รเรยี นรู้1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำา ปฏบิ ตั กิ ารเคมเี พอ่ื ใหม้ คี วามปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผอู้ น่ื และสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทาง แกไ้ ขเม่ือเกิดอบุ ตั เิ หตุจุดประสงค์ก�รเรยี นรู้1. ระบุความเปน็ อันตรายของสารเคมีจากสญั ลกั ษณแ์ ละข้อมูลบนฉลากสารเคมี2. อธิบายข้อปฏิบัติเบ้อื งต้นและการปฏิบัติตนท่แี สดงถึงความตระหนักในการทำาปฏิบัติการ เคมเี พอ่ื ใหม้ คี วามปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผอู้ น่ื และสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ข เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ทกั ษะกระบวนก�ร ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ย�ศ�สตร์ ท�งวทิ ย�ศ�สตร์1. การสงั เกต 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 1. การใชว้ จิ ารณญาณ และการแก้ปัญหา 2. ความใจกวา้ ง 2. การสอ่ื สารสารสนเทศและ 3. ความรอบคอบ การร้เู ทา่ ทันสอื่ 4. การเหน็ คณุ คา่ ทาง 3. ความรว่ มมอื การทาำ งาน วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ทมี และภาวะผนู้ าำ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏิบตั ิก�รเคมี เคมี เล่ม 12ผลก�รเรยี นรู้2. เลอื กและใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอ่ื งมอื ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมจุดประสงค์ก�รเรียนรู้1. เลอื กและใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอ่ื งมอื ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม2. อ่านคา่ ปรมิ าณจากการวัดโดยแสดงเลขนยั สาำ คัญทีถ่ กู ตอ้ ง ทกั ษะกระบวนก�ร ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ย�ศ�สตร์ ท�งวทิ ย�ศ�สตร์ 1. ความรอบคอบ1. การสงั เกต 1. ความรว่ มมอื การทาำ งาน2. การวดั เปน็ ทมี และภาวะผนู้ าำผลก�รเรยี นรู้3. ระบหุ นว่ ยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร และเปลย่ี นหนว่ ยวดั ใหเ้ ปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอดว้ ย การใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปลย่ี นหนว่ ยจุดประสงคก์ �รเรยี นรู้1. ระบหุ น่วยวัดปรมิ าณต่าง ๆ ของสาร2. เปลย่ี นหนว่ ยวดั ให้เปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอรเ์ ปล่ยี นหนว่ ย ทกั ษะกระบวนก�ร ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ย�ศ�สตร์ ท�งวทิ ย�ศ�สตร์ - 1. ความรอบคอบ1. การใชจ้ าำ นวนสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 3ผลก�รเรียนรู้4. นาำ เสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลองจดุ ประสงคก์ �รเรยี นรู้1. นาำ เสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลองทกั ษะกระบวนก�ร ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ย�ศ�สตร์ท�งวทิ ย�ศ�สตร์ 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 2. ความซอ่ื สตั ย์1. การสงั เกต 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. ความรอบคอบ2. การวดั และการแกป้ ญั หา3. การตง้ั สมมตฐิ าน 2. การสอ่ื สารสารสนเทศและ4. การกาำ หนดและควบคมุ การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ตวั แปร 3. ความรว่ มมอื การทาำ งาน5. การทดลอง เปน็ ทมี และภาวะผนู้ าำ6. การจดั กระทาำ และสอ่ื ความหมายขอ้ มลู 7. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี เคมี เลม่ 14 ผงั มโนทัศน์บทที่ 1 คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏิบตั ิก�รเคมีGHS NFPA ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ ก�ร ก�รก�ำ จดั เบอ้ื งตน้ ปฐมพย�บ�ล ส�รเคมีแสดงดว้ ยสญั ลกั ษณใ์ นระบบ ขอ้ มลู ส�รเคมี เชน่ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ เกย่ี วขอ้ งกบั แบง่ เปน็ คว�มปลอดภยั ในปฏบิ ตั กิ �รเคมี แบง่ เปน็วธิ กี �รท�งวทิ ย�ศ�สตร์ แบง่ เปน็ คว�มปลอดภยั และ ทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี ทกั ษะกระบวนก�ร แบง่ เปน็ ทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี ท�งวทิ ย�ศ�สตร์ ทกั ษะก�รท�ำ ปฏบิ ตั กิ �ร ทกั ษะก�รค�ำ นวนสมั พนั ธก์ บั จติ วทิ ย�ศ�สตร์จรยิ ธรรมท�ง อปุ กรณว์ ดั การนาำ ไปใช ้ เชน่ ตอ้ งวทิ ย�ศ�สตร์ ปรมิ �ตรและมวล ก�รเปลย่ี นหนว่ ย รจู้ กั หนว่ ยวดั อาจใชว้ ธิ ี สง่ ผลตอ่ สง่ ผลตอ่ วธิ กี �รเทยี บหนว่ ย เชน่คว�มเทย่ี งและ เลขนยั ส�ำ คญั ตอ้ งอาศยั หนว่ ย คว�มแมน่ ตอ้ งคาำ นงึ ในระบบ แฟกเตอร์ เอสไอ เปลย่ี นหนว่ ยสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 5ส�ระส�ำ คญั การทดลองถือเป็นหัวใจของการศึกษาค้นคว้าทางเคมีท่ีสามารถนำาไปสู่การค้นพบและความรใู้ หมท่ างเคม ี นอกจากนย้ี งั สามารถชว่ ยถา่ ยทอดความรแู้ กน่ กั เรยี นใหเ้ กดิ ความรแู้ ละความเขา้ ใจในบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น การทดลองทางเคมีสำาหรับนักเรียนนิยมทำาในห้องปฏิบัติการและมีความเกย่ี วขอ้ งกบั สารเคม ี อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ผทู้ าำ ปฏบิ ตั กิ ารจงึ ตอ้ งทราบเกย่ี วกบั ประเภทของสารเคมีท่ีใช้ วิธปี ฏิบตั ิการทดลอง ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการทำาปฏิบัติการเคมี และการกาำ จัดสารเคมีเพื่อให้สามารถทำาปฏิบัติการได้อย่างปลอดภัย รวมถึงมีความรู้และสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพ่อื ลดความรุนแรงและความเสียหายที่เกิดข้นึ ได้ ในการทำาปฏิบัติการเคมีความน่าเช่ือถือของข้อมูลพิจารณาได้จากความเท่ียงและความแม่น ซึ่งสำาหรับการวัดน้ันความน่าเช่ือถือข้ึนกับทักษะของผู้ทำาปฏิบัติการและความละเอียดของเคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ใช ้ การบอกปรมิ าณของสารอาจระบอุ ยู่ในหน่วยต่าง ๆ ดงั น้ันเพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจที่ตรงกนั จึงมีการกำาหนดหน่วยในระบบเอสไอใหเ้ ป็นหน่วยสากล ผูท้ ำาปฏิบัติการควรมที กั ษะการเปลีย่ นหนว่ ยเพ่อื ใหเ้ ป็นหนว่ ยสากลโดยการใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปลยี่ นหน่วย การทำาปฏิบัติการเคมีต้องมีการวางแผนการทดลอง การทำาการทดลอง การบันทึกข้อมูล สรุปและวิเคราะห์ นำาเสนอข้อมูล และการเขียนรายงานการทดลองที่ถูกต้อง ในขณะเดียวกันการทำาปฏิบัติการเคมีต้องคำานึงถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จติ วิทยาศาสตร์และจรยิ ธรรมทางวิทยาศาสตร์เวล�ท่ีใช้ บทน้ีควรใช้เวลาสอนประมาณ 10 ชัว่ โมง 1.1 ความปลอดภยั ในการทาำ งานกบั สารเคม ี 2 ชั่วโมง 1.2 อบุ ัติเหตจุ ากสารเคม ี 1 ชัว่ โมง 1.3 การวดั ปริมาณสาร 2 ชั่วโมง 1.4 หนว่ ยวดั 2 ชั่วโมง 1.5 วิธีการทางวิทยาศาสตร ์ 3 ช่ัวโมง คว�มรกู้ อ่ นเรยี น อปุ กรณแ์ ละเครื่องแกว้ ในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 16 ตรวจสอบคว�มร้กู อ่ นเรยี น1. ใสเ่ ครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู ตอ้ ง และเครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ……. 1.1 ถ้านักเรียนทำาขวดบรรจุสารเคมีตกแตกและสารเคมีหกเป�อนโต�ะ นักเรียน ต้องกันเพื่อน ๆ ออกจากบรเิ วณนัน้ และแจง้ อาจารยผ์ ้ดู แู ลการทดลอง ……. 1.2 วธิ จี ดุ ตะเกยี งแอลกอฮอลท์ าำ โดยการเอยี งตะเกยี งตอ่ ไฟจากตะเกยี งแอลกอฮอลอ์ น่ื วิธีจดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ไมค่ วรใช้วิธีต่อไฟจากตะเกียงแอลกอฮอล์อ่นื ……. 1.3 สารละลายทม่ี สี มบตั เิ ปน็ กรดจะเปล่ยี นสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำาเงิน สารละลายทมี่ สี มบัตเิ ปน็ กรดจะเปลี่ยนสกี ระดาษลติ มัสจากนำ้าเงินเปน็ แดง ……. 1.4 ควรสวมถุงมือ และใช้ผ้าป�ดปาก ป�ดจมูก เมื่อต้องใช้สารเคมีที่มีสัญลักษณ์ ความเปน็ อนั ตรายรปู หวั กะโหลกไขว ้ ……. 1.5 หลอดหยดเปน็ อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการถา่ ยเทสารปรมิ าณน้อย ๆ ……. 1.6 การตวงปริมาตรน้ำา สามารถใช้ถ้วยตวงของเหลวสำาหรับทำาขนมแทนการตวง ดว้ ยบีกเกอร์ได้สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ัติก�รเคมี 72. จบั ครู่ ปู อปุ กรณก์ บั ชอ่ื ใหถ้ กู ตอ้ ง กขคง จฉ ช ซญ…ค... 2.1 บกี เกอร์ …ช... 2.6 บวิ เรตต์…ซ... 2.2 กระบอกตวง …ฉ... 2.7 ปเ� ปตต์..ญ... 2.3 เทอรม์ อมเิ ตอร์ …ข... 2.8 กระจกนา�กิ า…ง... 2.4 กรวยกรอง …จ... 2.9 ถว้ ยระเหยสาร…ก... 2.5 หลอดทดลอง สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัติก�รเคมี เคมี เล่ม 183. จากรปู ตอ่ ไปน ้ี อุปกรณใ์ ดใช้ในการวดั ปรมิ าณสารก ขคง จฉ ชซญ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการวดั ปริมาณสาร ได้แก่ ก.บกี เกอร์ ข.กระบอกตวง ค.ขวดรูปกรวย ช.เคร่อื งชง่ั ซ.ปเ� ปตต ์ และญ.บิวเรตต์สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 91.1 คว�มปลอดภัยในก�รทำ�ง�นกับส�รเคมี1.2 อบุ ตั เิ หตุจ�กส�รเคมีจดุ ประสงคก์ �รเรียนรู้ 1. ระบคุ วามเปน็ อันตรายของสารเคมีจากสัญลักษณแ์ ละข้อมูลบนฉลากสารเคมี 2. อธบิ ายขอ้ ปฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน้ และการปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงถงึ ความตระหนกั ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี เพอ่ื ใหม้ คี วามปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผอู้ น่ื และสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุคว�มเข้�ใจคล�ดเคลอ่ื นทีอ่ �จเกิดขน้ึ คว�มเข้�ใจที่ถูกต้อง คว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อน สารไวไฟ สับสนระหว่างสัญลักษณ์ของสารไวไฟและ สารออกซิไดส์ สารออกซิไดส์เมื่อร่างกายสัมผัสกรดให้ปฐมพยาบาลโดย เมื่อที่ร่างกายสัมผัสกรดหรือเบส ให้ซับการสะเทินด้วยเบสอ่อน และหากสัมผัสเบส สารเคมีออกจากร่างกายให้มากที่สุด แล้วให้ปฐมพยาบาลโดยการสะเทินด้วยกรดอ่อน ล้างด้วยการเป�ดน้ำาไหลผ่านปริมาณมาก ส่อื ก�รเรยี นรแู้ ละแหลง่ ก�รเรียนรู้ 1. รปู หรือขวดบรรจสุ ารเคมที มี่ สี ญั ลักษณแ์ ละข้อมูลในฉลากสารเคมี 2. ขอ้ ความ ภาพ หรอื วีดทิ ศั นข์ ่าว สถานการณห์ รือปญั หาที่แสดงถึงความเสียหายรนุ แรงที่เกดิ จากการปฐมพยาบาลทีไ่ มถ่ กู วิธี เมื่อมอี ุบัตเิ หตเุ กดิ ขึน้ จากการใชส้ ารเคมี 3. อุปกรณป์ ฐมพยาบาลเบอื้ งต้น ได้แก ่ สาำ ลี ผา้ พนั แผล แผน่ ป�ดแผล ยาใสแ่ ผล แอลกอฮอล์ล้างแผล นำ้าเกลอื ลา้ งแผล ถ้วยล้างตา นา้ำ ยาลา้ งตา ยาใสแ่ ผลไฟไหม้นา้ำ ร้อนลวก สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เล่ม 110แนวก�รจดั ก�รเรยี นรู้ 1. ครใู ชค้ าำ ถามนำาวา่ การทำาปฏบิ ัติการเคมไี ด้อย่างปลอดภยั จะต้องคาำ นึงถงึ เรือ่ งใดบา้ ง เพอื่นำาเขา้ สู่เรอ่ื งความปลอดภัยในการทำางานกับสารเคมี จากน้นั ครกู ระตุ้นความสนใจของนักเรยี นโดยแสดงรปู หรอื ขวดบรรจสุ ารเคมีท่มี สี ญั ลกั ษณ์และขอ้ มูลในฉลากสารเคมี เช่น โพแทสเซยี มไอโอไดด ์(KI) เลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) กรดแอซีตกิ (CH3COOH) โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) กรดไฮโดรคลอริก (HCl) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จากนัน้ให้นักเรียนจัดกลุ่มสารเคมีโดยใช้รูปสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนฉลากเป็นเกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม เพื่อนำาเข้าสู่เรื่องฉลากและสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมี ซึ่งนักเรียนอาจจัดกลุ่มโดยแบ่งสารเคมีท่ีมีรูปสญั ลักษณ์เหมอื นกนั ไว้เปน็ กล่มุ เดยี วกนั 2. ครูอธิบายเก่ียวกับข้อมูลบนฉลากของสารเคมีว่าส่วนมากประกอบด้วยชื่อผลิตภัณฑ์รปู สญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตราย คาำ เตอื น ขอ้ มลู ความเปน็ อนั ตราย ขอ้ ควรระวงั และขอ้ มลู บรษิ ทัผู้ผลิตสารเคมี และสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ Globally Harmonized System of Classifi cation and Labelling of Chemicals (GHS) ซงึ่ เป็นระบบท่ใี ช้สากล และ National Fire Protection Association Hazard Identifi cation System (NFPA) ซ่ึงเป็นระบบที่ใชใ้ นสหรัฐอเมริกา โดยยกตวั อยา่ งฉลากสารเคม ี ดงั รูป 1.1 ตามรายละเอียดในหนงั สือเรยี น ได้แก่ กรดไฮโดรคลอริกเข้มขน้ (HCl) แอมโมเนยี (NH3) โดยชีป้ ระเดน็ ใหน้ ักเรียนเหน็ วา่ รายละเอยี ดของข้อมูลมีองคป์ ระกอบส่วนใหญค่ ล้ายคลงึ กัน แต่ตำาแหน่งของขอ้ มูลตา่ ง ๆ บนฉลากอาจต่างกนั 3. ครูอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายในระบบ GHS โดยยกตัวอย่างสญั ลกั ษณ ์ ดงั รปู 1.2 จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นพจิ ารณาฉลากของกรดไฮโดรคลอรกิ เขม้ ขน้ และแอมโมเนยีในรปู 1.1 แลว้ ตอบคาำ ถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ จากฉลากของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนีย สารเคมีทั้งสองมีอันตรายตามระบบ GHS อย่างไรบ้าง กรดไฮโดรคลอริกเป็นสารกัดกร่อนและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และแอมโมเนียเป็น สารกัดกร่อน สารไวไฟ และมีอันตรายถึงชีวิต ทั้งน้ีครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมด้วยว่าอันตรายจากสารเคมีนั้นมีความเกี่ยวข้องกับปริมาณ ความเข้มขน้ และเวลาท่สี ัมผัสกบั สารเคมดี ้วยสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏิบตั ิก�รเคมี 11 4. ครยู กตัวอยา่ งสัญลกั ษณ์ความเปน็ อันตรายในระบบ NFPA ของสารเคมี ดงั รปู 1.3 ตามรายละเอยี ดในหนังสือเรียน ไดแ้ ก่ กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นและแอมโมเนีย จากนน้ั ครใู ห้นักเรยี นตอบคาำ ถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ จากสญั ลกั ษณค์ วามเปน็ อนั ตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอรกิ และแอมโมเนยี สารเคมีใดเป็นอันตรายมากกว่ากันในด้านความไวไฟ ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และ ความวอ่ งไวในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี แอมโมเนยี มคี วามไวไฟมากกวา่ กรดไฮโดรคลอรกิ แตก่ รดไฮโดรคลอรกิ มคี วามวอ่ งไว ในการทาำ ปฏกิ ริ ยิ าเคมมี ากกวา่ แอมโมเนยี และสารทง้ั สารชนดิ มรี ะดบั ความเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพเทา่ กนัคว�มรเู้ พม่ิ เตมิ ส�ำ หรบั ครู ระดบั ความเปน็ อนั ตรายดา้ นตา่ ง ๆ บนสญั ลกั ษณใ์ นระบบ NFPA สี คว�มหม�ยสีแดง แทน 0 ไม่ติดไฟความไวไฟ 1 สารที่มีจุดวาบไฟสูงกว่า 200 องศาฟาเรนไฮต์ (93.3 องศาเซลเซียส) 2 สารที่มีจุดวาบไฟต่ำากว่า 200 องศาฟาเรนไฮต์ (93.3 องศาเซลเซียส) 3 สารที่มีจุดวาบไฟสูงกว่า 100 องศาฟาเรนไฮต์ (37.8 องศาเซลเซียส) 4 สารที่มีจุดวาบไฟต่ำากว่า 100 องศาฟาเรนไฮต์ (37.8 องศาเซลเซียส) สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 112สี คว�มหม�ยสีน้ำาเงิน แทนความ 0 ปลอดภัย ไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพเป็นอันตรายต่อ 1 มคี วามอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพเล็กนอ้ ย อาจทาำ ให้เกิดการระคายเคอื งสุขภาพ 2 มคี วามอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพปานกลาง 3 มคี วามอันตรายตอ่ สุขภาพมาก ทำาให้เกดิ การกดั กร่อน หรอื เป็น พิษ ควรหลกี เล่ียงการสมั ผัสหรือสูดดม 4 มคี วามอันตรายต่อสขุ ภาพมาก อาจเสยี ชีวติ ได้สีเหลือง แทนความ 0 มีความเสถียร ไม่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีว่องไวในการเกิด 1 เกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อได้รับความร้อนปฏิกิริยาเคมี 2 ไวต่อการเกิดปฏิกิริยารุนแรง 3 ไวต่อการเกิดปฏิกิริยารุนแรง อาจเกิดการระเบิดเมื่อกระแทก หรือได้รับความร้อน 4 ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี อาจเกิดการระเบิดได้สีขาว ใส่อักษร ox สารออกซิไดซ์หรือสัญลักษณ์ที่ w สารที่ทำาปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำาแสดงสมบัติที่เป็น cor สารกัดกร่อนอันตรายด้านอื่น ๆ ACID สารที่เป็นกรด ALK สารที่เป็นเบส หม�ยเหต ุ จดุ วาบไฟ คอื อณุ หภมู ติ าำ่ สดุ ทส่ี ารเคมเี กดิ การวาบไฟไดเ้ มอ่ื มปี ระกายไฟ 5. ครอู าจใหน้ กั เรยี นทาำ กจิ กรรมเสนอแนะ โดยพจิ ารณาฉลากสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรียน จากนั้นอภิปรายว่าฉลากสารเคมีในห้องปฏิบัติการของโรงเรียนเหมือนหรือแตกต่างจากฉลากในระบบ GHS และ NFPA หรอื ไม ่ อยา่ งไร เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจถงึ ความเปน็ อนั ตรายของสารเคมที ใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรยี น อนั นาำ ไปสคู่ วามตระหนกั ในการใชส้ ารเคมใี หป้ ลอดภยัสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏิบตั กิ �รเคมี 13 6. ครอู ธบิ ายว่าหากต้องการข้อมูลอ่นื ๆ เกย่ี วกับสารเคม ี สามารถสบื ค้นข้อมูลไดจ้ ากเอกสารความปลอดภยั (safety data sheet, SDS) ของสารเคมนี ั้น ๆ เชน่ การสบื คน้ ข้อมลู จากอินเตอรเ์ นตเก่ยี วกับ HCl ทาำ ไดโ้ ดยใช้คาำ สำาคัญวา่ “SDS HCl” หรอื สบื คน้ ข้อมลู จากแหลง่ อา้ งองิ ที่เชือ่ ถอื ได ้เช่น http://www.chemtrack.org 7. ครูอาจใหน้ ักเรียนทำากจิ กรรมเสนอแนะ โดยนกั เรียนแตล่ ะคนสบื คน้ ข้อมูลเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี แลว้ ระบุขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ เชน่ การป้องกนั ตนเอง การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ 8. ครแู ละนักเรยี นอภิปรายรว่ มกนั เกยี่ วกับขอ้ ควรปฏิบัติในการทำาปฏิบัตกิ ารเคมี ทัง้ กอ่ นทำาปฏิบัติการ และขณะทำาปฏบิ ตั กิ ารว่ามอี ะไรบา้ ง ซึ่งควรไดข้ อ้ สรุปวา่ ขอ้ ควรปฏิบตั กิ ่อนการทาำ ปฏิบตั ิการเคมี เชน่ ศึกษาขัน้ ตอนการทำาปฏิบตั กิ าร ศกึ ษาข้อมูลสารเคมี ขอ้ ควรปฏบิ ัติขณะทาำ ปฏบิ ตั ิการเคม ี เช่น แต่งกายให้เหมาะสม โดยสวมแวน่ ตานริ ภัย ใสเ่ สอ้ื คลมุ ปฏบิ ัติการ สวมถงุ มือ จากนั้นครูอธบิ ายเพ่มิ เติมตามรายละเอียดในหนงั สือเรียน 9. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการกำาจัดสารเคมีท่ีใช้แล้วหรือที่เหลือใช้จากการทำาปฏบิ ตั กิ ารเคมี ตามรายละเอียดในหนังสอื เรยี น 10. ครูตั้งคาำ ถามวา่ สารประกอบของโลหะเป็นพิษ เช่น ตะกัว่ แคดเมยี ม ที่ใช้แลว้ หรอื ทีเ่ หลอืใชจ้ ากการทำาปฏิบตั กิ ารเคม ี เมื่อรวบรวมไว้แล้วเทลงอ่างน้าำ ไดห้ รือไม ่ เพราะเหตุใด ซึ่งควรได้คาำ ตอบว่า ไม่ได ้ เพราะจะทาำ ใหส้ ่งิ แวดล้อมเป็นพษิ จงึ ควรส่งใหบ้ รษิ ัทรับกาำ จัดสารเคมี จากนนั้ ครเู ช่ือมโยงว่านอกจากการกำาจดั สารเคมที ีถ่ กู วธิ แี ลว้ ยังมวี ิธกี ารอ่นื ท่ีสามารถนาำ มาใช้เพ่อื ให้เกิดความเปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดล้อมมากยง่ิ ข้ึน เช่น ออกแบบการทดลองทไ่ี มก่ ่อใหเ้ กดิ ของเสยี ทเ่ี ปน็ อนั ตราย เลือกใช้สารเคมแี ละปฏกิ ริ ยิ าเคมที ป่ี ลอดภยั และมคี วามคมุ้ คา่ ในการใชพ้ ลงั งาน ใชอ้ ปุ กรณท์ ดแทนสาำ หรบั ทาำปฏบิ ัตกิ ารแบบยอ่ สว่ น เพื่อเป็นการลดการใช้สารเคมีและพลังงาน อกี ท้ังยังสามารถลดปริมาณของเสียท่ีเกดิ ข้ึนไดอ้ ีกดว้ ย 11. ครใู หน้ กั เรยี นสะทอ้ นความรคู้ วามเขา้ ใจและแสดงถงึ ความตระหนกั เกย่ี วกบั ความปลอดภยัในการทาำ ปฏบิ ตั กิ ารเคม ี และความเปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สรปุ ความร ู้ และนาำ เสนอในรปู แบบทส่ี ามารถสรา้ งความเขา้ ใจใหก้ บั ผอู้ น่ื ไดด้ ี เชน่ แผนผงั แผน่ พบั วดี ทิ ศั น ์ 12. ครูให้นกั เรียนทำาแบบฝึกหัด 1.1 เพ่ือทบทวนความรู้ 13. ครกู ระตุ้นความสนใจของนกั เรียนโดยยกตัวอย่างข่าว สถานการณห์ รือปญั หาซงึ่ อาจเปน็ขอ้ ความ ภาพ หรอื วดี ิทศั น์ที่แสดงถงึ ความเสียหายท่เี กิดจากอบุ ัติเหตุจากสารเคมี เช่น ภาพข่าวคนถูกน้ำากรดสาด คนบาดเจบ็ และเสยี ชีวติ จากกรณีแก�สแอมโมเนียรว่ั จากหอ้ งทาำ ความเย็น เพื่อนำาเข้าสู่การอภปิ รายถงึ อุบตั เิ หตทุ ่อี าจเกิดขนึ้ จากการใชส้ ารเคมีในห้องปฏิบตั ิการ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ัติก�รเคมี เคมี เล่ม 114 14. ครยู กตวั อยา่ งอบุ ตั เิ หตทุ อ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากการใชส้ ารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ สารเคมหี กใสม่ อื สารเคมกี ระเดน็ เขา้ ตา ไอสารเคมเี ขา้ จมกู แลว้ ตง้ั คาำ ถามวา่ เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตดุ งั กลา่ ว ควรทาำอยา่ งไร ซง่ึ ควรไดค้ าำ ตอบวา่ เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หต ุ ตอ้ งทราบชนดิ และปรมิ าณสารเคมกี อ่ น แลว้ จงึ ทาำ การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ 15. ครูใหน้ กั เรียนแบง่ เปน็ 4 กลุ่มแลว้ ศึกษาข้อมูลเกีย่ วกบั การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้นในกรณีที่เกิดอบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมีในแต่ละหวั ข้อ ไดแ้ ก ่ การปฐมพยาบาลเมอ่ื รา่ งกายสมั ผสั สารเคมี การปฐมพยาบาลเมอื่ สารเคมีเข้าตา การปฐมพยาบาลเม่อื สดู ดมแก�สพิษ และการปฐมพยาบาลเมื่อโดนความร้อน จากนน้ั นาำ เสนอแนวทางในการแก้ไขอุบัติเหตุในรูปแบบท่ีสามารถสร้างความเข้าใจให้กับผอู้ ่นื ได้ด ี เช่น การแสดงบทบาทสมมติ โดยมคี รูเป็นผู้ชีแ้ นะและให้ความรเู้ พิ่มเตมิ 16. ครใู หน้ ักเรียนทำาแบบฝกึ หดั 1.2 เพอื่ ทบทวนความรู้แนวท�งก�รวัดและประเมินผล 1. ความรเู้ กย่ี วกบั ฉลากและสญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตรายของสารเคม ี ขอ้ ปฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน้ในการทาำ ปฏิบัติการเคมี การกำาจดั สารเคมี และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอบุ ตั ิเหตจุ ากสารเคมี จากการทำากจิ กรรม การอภิปราย การทาำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกต การคดิ และการแกป้ ญั หาอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และความรว่ มมอื การทาำ งานเป็นทีมและภาวะผู้นาำ จากการทาำ กิจกรรม 3. ทักษะการสอื่ สารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสอื่ จากการอภปิ รายและการนำาเสนอ 4. จติ วิทยาศาสตรด์ า้ นการใช้วจิ ารณญาณ ความใจกวา้ ง และความรอบคอบ จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการอภิปรายและการทำากิจกรรม 5. จิตวิทยาศาสตรด์ ้านการเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์ จากผลงานและการสะทอ้ นความคิดสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัตกิ �รเคมี 15แบบฝ�กหัด 1.11. พจิ ารณาขอ้ มลู บนฉลากของโซเดยี มไฮดรอกไซด ์ และวงกลมเพอ่ื ระบสุ ว่ นทแ่ี สดงขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี 1. ชื่อผลิตภัณฑ ์ 2. รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี 3. คำาเตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย และข้อควรระวัง 1 Sodium hydroxide, solid2 DANGER Causes severe skin burns and eye damage. 3 PREVENTION Do not breathe dust. Wash skin and eyes thoroughly after handling. Wear protective gloves and clothing, and eye and face protection. RESPONSE If swallowed: Rinse mouth. Do NOT induce vomiting. iIff pinreeseyenst:aRnidnseeacsayuttoioduosl.yCwonitthinwuaeterirnsfoinrgs.everal minutes. Remove contact lenses, If in skin (or hair): Take off immediately all contaminated clothing. Rinse skin with water/shower. Wash contaminated clothing before reuse. IIfmimnheadleiadte: lRyemcaollvea person to fresh air and keep comfortable for breathing. doctor or other medical personnel. STORAGE Store locked up. Keep container tightly closed. DISPOSAL Dispose of contents to an EPA permitted facility.2. พิจารณาตัวอย่างฉลากสารเคมีต่อไปนี้ U5432.2500 2.51 2.5 L SAF-T-DATATM System Nitric Acid,Ammonia solution 25% 4HEALTH 0FLAMMABILITY 3REACTIVITY 4CONTACT 69.0 - 70.0% EXTREME NONE SEVERE EXTREME LABORATORY PROTECTIVE EQUIPMENT G&OSGHGIELLEDS L&ABAPCROOANT HVOENOTD PGRLOOPVEER STORAGE COLOR WHITEแอมโมเนีย กรดไนทริก สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏิบัติก�รเคมี เคมี เลม่ 116 โพแทPสoเtซasยี sมiuเmปอpรeแ rมmงaกnาgเaนnตateKMnO4 Mw 158.04 mp 50 ํC Xn ขนาดบรรจุ 100 กรมัอาจเกดิ การลกุ ไหมถา สมั ผสั สารที่เปนเช้ือไฟเปน อนั ตรายเมอ่ื กลนื กนิ แสบรอ นเมอ่ื สมั ผสัผวิ หนงั , ตาโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต แบเรียมคลอไรด์ Sodium sulfate n Copper(II)nitrate โซเดียมซัลเฟต คอปเปอร(II)ไนเทรตHEALTH 1 Formula 1N4a22.S0O4 4 Catalog No. HEALTH 1 Formula 1C8u7(N.5o43)2 Catalog No.FLAMMABILITY 0 F.W. 450g. 3097170 FLAMMABILITY 0 F.W. 250g. 3091250REACTIVITY 0 Quantity REACTIVITY 3 QuantityPEQROUTIPEMCETNIVTE 0 R: - technical P.D. 1206-271 EPQROUTIPEMCETNIVTE 1 R: 8-22-38 AR P.D. 1205-097 S: 22-24/25 S: 28 โซเดียมซัลเฟต คอปเปอร์(II)ไนเทรต โพแทสเซยี มไฮดรอกไซด PLbe(aNdO3N)2itrate Potassiuดmางhคyลdี roxide CSMoAWlSu::b31i3l0i1t0y.92:935-7240-8g/l at 20 C KOH 301 bMpw15362.101ํC mp 50 ํCทำใหเกิดแผลไหมเมือ่ สัมผสั ผวิ หนงั , ตา OXI5D.1IZERเมื่อกลนื กินมีผลตอ ระบบทางเดนิ อาหาร ขนาดบรรจุ 350 กรัมR: 35S: 26-37/39-45Mfg. Date .............................................. โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เลด(II)ไนเทรต 2.1 สารเคมีใดไม่ควรวางใกล้เปลวไฟ กรดไนทริก โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต คอปเปอร์(II)ไนเทรต เลด(II)ไนเทรต 2.2 สารเคมีใดเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม แอมโมเนีย 2.3 สารเคมีใดมีฤทธ์ิกัดกร่อนผิวหนัง กรดไนทริก แอมโมเนีย โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี 17 2.4 เมื่อสัมผัสกับโซเดียมซัลเฟต ควรปฏิบัติอย่างไร ล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมีด้วยการเป�ดน้ำาไหลผ่านมาก ๆ 2.5 สารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) เข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร ที่ เหลือจากการทดลอง 5 มิลลิลิตร ควรทิ้งอย่างไร ทิ้งในภาชนะท่ที างห้องปฏิบตั ิการจัดเตรียมไว้ให ้ เพ่อื รวบรวมใหไ้ ดป้ รมิ าณมากพอ ให้ส่งบริษัทรับกำาจัดสารเคมี เนื่องจาก Pb(NO3)2 มีสัญลักษณ์ที่แสดงว่าเป็น สารเคมีที่มีอันตรายถึงชีวิตได ้3. จากรปู ผทู้ าำ ปฏบิ ตั กิ ารควรปรบั ปรงุ สง่ิ ใดบา้ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ าร เคมี1. รวบผมให้เรียบร้อย2. สวมแว่นตานิรภัย3. ติดกระดุมเสื้อคลุมปฏิบัติการให้เรียบร้อย4. สวมรองเท้าส้นเตี้ยที่หุ้มปลายและส้นเท้า สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี เคมี เล่ม 118 แบบฝ�กหัด 1.21. ให้นักเรียนระบุวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่เหมาะสม เมื่อเกิดอุบัติเหตุต่อไปนี้ในห้อง ปฏบิ ตั กิ าร 1.1 สารละลายกรดกระเดน็ ถูกผวิ หนงั ถอดเส้ือผ้าบริเวณที่เป�อนออก ซบั สารละลายกรดออกจากร่างกายให้มากที่สุดแล้ว ลา้ งน้าำ ปรมิ าณมาก ๆ 1.2 สัมผสั กับเมด็ โซเดยี มไฮดรอกไซด์ ลา้ งนาำ้ ปรมิ าณมาก ๆ 1.3 ไอนำ้าร้อนจากอ่างน้ำารอ้ นสมั ผัสรา่ งกาย แชน่ าำ้ เยน็ หรอื ปด� แผลดว้ ยผา้ ชบุ นาำ้ จนหายปวดแสบปวดรอ้ น แลว้ ทายาขผ้ี ง้ึ สาำ หรบั ไฟไหมแ้ ละน้ำารอ้ นลวก 1.4 เศษแกว้ จากหลอดทดลองทแ่ี ตกบาดมือ ล้างดว้ ยนำ้าเกลอื ล้างแผล แล้วใสย่ าใส่แผลและปด� พลาสเตอร์ 1.5 เมือ่ ใช้มอื สมั ผสั โตะ� ในหอ้ งปฏบิ ัติการ แล้วเกิดอาการแสบร้อน ล้างน้ำาปรมิ าณมาก ๆ2. สบื คน้ ขอ้ มลู safety data sheet ของ 1-naphthyl methylcarbamate ซง่ึ เปน็ ยาฆา่ แมลง ในกลุ่มคาร์บาเมต (carbaryl insecticide) ที่นำามาใช้ในการกำาจัดแมลงศัตรูพืช เพือ่ ตอบคาำ ถามต่อไปนี้ 2.1 วิธเี กบ็ รักษา ควรเกบ็ ในตูป้ ราศจากความชนื้ ที่ปด� มิดชดิ หา่ งไกลจากเด็กและสัตวเ์ ล้ียง ภายใน ตเู้ ก็บควรปราศจากความชืน้ และมอี ุณหภูมติ าำ่ กวา่ 40 องศาเซลเซียส 2.2 วธิ ีปฐมพยาบาล เม่ือสมั ผสั ผวิ หนงั ถอดเสอ้ื ผา้ ทเ่ี ปอ� นสารเคมอี อก ลา้ งบรเิ วณทส่ี มั ผสั สารเคมดี ว้ ยนาำ้ สบปู่ รมิ าณมาก ๆ และใหน้ าำ้ ไหลผา่ นบรเิ วณทส่ี มั ผสั เปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย 5 นาท ี หากสมั ผสั สารปรมิ าณ มาก ๆ หรอื มีความเขม้ ข้นสูงให้ไปพบแพทย์สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบตั กิ �รเคมีตวั อย�่ งเอกส�รคว�มปลอดภัย 19 สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี เคมี เล่ม 1207. HANDLING AND STORAGE10. STABILITY AND REACTIVITY11. TOXICOLOGICAL INFORMATION12. ECOLOGICAL INFORMATIONสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 21 สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี เคมี เล่ม 1221.3 ก�รวัดปริม�ณส�รจุดประสงค์ก�รเรียนรู้ 1. เลอื กและใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอ่ื งมอื ในการทาำ ปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. อ่านค่าปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร คว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อนที่อ�จเกิดขึ้นคว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อน คว�มเข้�ใจที่ถูกต้องเมื่อถ่ายเทของเหลวออกจากป�เปตต์ ป�เปตต์ที่ใช้งานในระดับมัธยมศึกษา เป็นแบบจะต้องทาำ ใหข้ องเหลวออกจากปเ� ปตต์ ถ่ายเทของเหลวออกจากป�เปตต์แล้วไม่ต้องเป�าให้จนหมด ของเหลวออกจนหมดสอ่ื ก�รเรยี นรูแ้ ละแหลง่ ก�รเรียนรู้ ตวั อยา่ งผลการทดลองทม่ี กี ารกระจายตวั ของขอ้ มลู แตกตา่ งกนั เพอ่ื นาำ ไปสกู่ ารวเิ คราะหเ์ กย่ี วกบัความนา่ เช่ือถอื ของข้อมลู ซ่ึงพจิ ารณาจากความเทย่ี งและความแม่น แนวก�รจดั ก�รเรยี นรู้ 1. ครใู หน้ กั เรียนพิจารณาคา่ ท่ีวดั ไดจ้ ากการทดลองในรปู 1.6 แล้วต้ังคาำ ถามว่า ข้อมูลชดุ ใดมคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มากท่ีสดุ เพราะเหตใุ ด เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปว่า ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มลู สามารถพจิ ารณาไดจ้ าก 2 สว่ นดว้ ยกนั คอื ความเทยี่ งและความแม่น โดยความเทย่ี ง คอื ความใกลเ้ คยี งกนัของคา่ ทไ่ี ดจ้ ากการวดั ซาำ้ สว่ นความแมน่ คอื ความใกลเ้ คยี งของคา่ เฉลย่ี จากการวดั ซาำ้ เทยี บกบั คา่ จรงิดังน้ันข้อมลู ชดุ ง มคี วามน่าเชื่อถือมากท่สี ุด เนือ่ งจากมีความเที่ยงและความแม่นสงู ทส่ี ุด 2. ครตู ง้ั คาำ ถามวา่ ขอ้ มลู แตล่ ะชดุ มคี วามเทย่ี งและความแมน่ แตกตา่ งกนั เพราะเหตใุ ด ซง่ึ ควรได้คำาตอบว่า ความเท่ียงและความแม่นของข้อมูลขึน้ กบั ทักษะของผ้ทู ดลอง และอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการทำาปฏิบัตกิ าร 3. ครใู ชค้ าำ ถามนาำ วา่ ถา้ จะแบง่ กลมุ่ อปุ กรณว์ ดั ปรมิ าตร ไดแ้ ก ่ บกี เกอร ์ ขวดรปู กรวย กระบอกตวง ปเ� ปตต ์ บวิ เรตต์ และขวดกาำ หนดปริมาตร โดยใชค้ วามแม่นเปน็ เกณฑ ์ จะสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ ก่ีกลุ่ม และอุปกรณใ์ นแต่ละกลมุ่ มีอะไรบา้ ง โดยครูอาจแสดงรปู อุปกรณ์ประกอบ เพอ่ื นาำ เขา้ สูเ่ รอ่ื งอปุ กรณ์วัดปรมิ าตรสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี 23 4. ครสู าธติ และอธบิ ายการใชง้ านอปุ กรณว์ ดั ปรมิ าตร ไดแ้ ก ่ บกี เกอร ์ ขวดรปู กรวย กระบอกตวงป�เปตต ์ บวิ เรตต ์ ขวดกาำ หนดปริมาตร อุปกรณว์ ดั มวล เช่น เคร่อื งช่ังแบบสามคาน เครื่องช่งั ไฟฟ้าในประเดน็ ต่อไปน้ี - วตั ถปุ ระสงค์และเทคนิคการใชอ้ ุปกรณ์และเครอื่ งมอื - การอา่ นคา่ และการรายงานผลจากการวดั ทง้ั นใ้ี หเ้ นน้ ในประเดน็ การอา่ นปรมิ าตรของของเหลวตอ้ งใหส้ ายตาอยู่ในระดบั เดยี วกบั ระดบั ส่วนโคง้ ของของเหลวดังรูป 1.13 และการประมาณคา่ ทไี่ ด้จากการอ่านปริมาตรของของเหลวในบวิ เรตต ์ วา่ สามารถประมาณตัวเลขไดต้ งั้ แต่ 0-9 - ข้อควรระวังในการใช้และการดูแลอุปกรณ์และเคร่ืองมอื ท้งั นเี้ มื่อครอู ธิบายขั้นตอนการใช้บวิ เรตต ์ ใหเ้ น้นในประเด็นการบรรจุของเหลวใสบ่ ิวเรตต์ซ่งึ ไมค่ วรทาำ เหนอื ระดับสายตา และตอ้ งไลฟ่ องอากาศออกจากปลายบวิ เรตต์ให้หมดกอ่ นการใชง้ าน โดยระหว่างท่มี กี ารสาธติ ควรให้นกั เรียนไดฝ้ กึ ปฏิบัติร่วมด้วย ฟองอากาศ คว�มร้เู พ่มิ เตมิ ส�ำ หรบั ครู ในกรณีท่ียังมีฟองอากาศเหลืออยู่ในบิวเรตต์ให้หมุนก�อกป�ดเป�ดไปในตำาแหน่งท่ี ของเหลวไหลออกมาเร็วและแรงทสี่ ุด ปลอ่ ยให้ของเหลวไหลออกมาไล่ฟองอากาศจนหมด ขณะทข่ี องเหลวไหลลงมาอาจใชล้ ูกยางเคาะเบา ๆ ตรงบริเวณทีม่ ีฟองอากาศอยู่เพ่ือชว่ ยไล่ ฟองอากาศใหอ้ อกมาจนหมด ทง้ั น้ีครูใหน้ กั เรียนตอบคาำ ถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจระหวา่ งการให้ความรู้แตล่ ะขัน้ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ัติก�รเคมี เคมี เลม่ 124 ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมปี เ� ปตตแ์ บบใชต้ วงขนาด 5 มลิ ลเิ มตรและ 10 มลิ ลเิ มตรและมปี เ� ปตต์แบบปรมิ าตรขนาด 5 มลิ ลเิ มตรและ 25 มลิ ลเิ มตรหากตอ้ งการของเหลวปรมิ าตรตอ่ ไปน้ีตอ้ งเลอื กปเ� ปตตแ์ บบใดและขนาดปรมิ าตรใด 1. 2.50 มลิ ลเิ มตร ใชป้ เ� ปตตแ์ บบใชต้ วง ขนาด 5 หรอื 10 มลิ ลเิ มตร 2. 5.00 มลิ ลเิ มตร ใชป้ เ� ปตตแ์ บบใชต้ วง ขนาด 5 หรอื 10 มลิ ลเิ มตรหรอื ใชป้ เ� ปตต์ แบบปรมิ าตรขนาด 5 มลิ ลเิ มตร 3. 25.00 มลิ ลเิ มตร ใชป้ เ� ปตตแ์ บบปรมิ าตร ขนาด 25 มลิ ลเิ มตร ตรวจสอบคว�มเข�้ ใจ1. จากรูป ปริมาตรของของเหลวในกระบอกตวงมีค่าเท่าใด อ่านค่าปริมาตรของของเหลวได้ประมาณ 6.80 มิลลิลติ ร (ทศนยิ มตำาแหนง่ ที่สองเปน็ ค่าประมาณ นกั เรยี นอาจตอบตา่ งจากแนวคาำ ตอบได้)2. ปริมาตรเริ่มต้นและปริมาตรสุดท้ายจากการถ่ายเทของเหลวด้วยบิวเรตต์ เป็นดังรูป ของเหลวที่ถ่ายเทได้มีปริมาตรเท่าใดปริมาตรเริ่มตน้ ปรมิ าตรสดุ ทา้ ย อ่านค่าปริมาตรเริ่มต้นและปริมาตรสุดท้าย ได ้ 6.25 และ 39.30 มลิ ลลิ ิตร ดงั น้นั ของเหลวทถ่ี า่ ยเทไดม้ ปี รมิ าตร 39.30 – 6.25 เทา่ กบั 33.05 มลิ ลลิ ติ ร (ทศนยิ มตำาแหน่งท่ี สองเป็นค่าประมาณ นักเรยี นอาจตอบต่าง จากแนวคาำ ตอบได)้สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี 25 5. ครูใหน้ ักเรียนทำากิจกรรม 1.1 เพอ่ื ฝึกทกั ษะการใชอ้ ปุ กรณ์วัดปรมิ าตรและอปุ กรณว์ ัดมวล จากนั้นนำาเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำากิจกรรม แล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็นความแม่นที่ได้จากการใช้อุปกรณว์ ดั ปรมิ าตรตา่ งชนดิ กนั และร่วมกันสรปุ กิจกรรม กิจกรรม 1.1 ก�รทดลองวดั ปริม�ตรโดยใช้อุปกรณช์ นิดต่�ง ๆ และ ก�รวัดมวลโดยใช้เครอ่ื งช่งัจดุ ประสงคก์ �รทดลอง1. ฝึกใช้เคร่อื งชั่งและเครื่องแก้ววัดปรมิ าตรบางชนดิ2. เปรียบเทียบความแมน่ ในการวดั ปริมาตรของกระบอกตวงและป�เปตต์เวล�ทใี่ ช ้ อภปิ รายกอ่ นทำาการทดลอง 5 นาที ทาำ กจิ กรรม 10 นาที อภปิ รายหลังทำาการทดลอง 10 นาที รวม 25 นาทีวสั ดุ อุปกรณ์ และส�รเคมี ปริม�ณต่อกลุ่ม ร�ยก�ร 50 mL ส�รเคมี 1 อัน 1. น้ำา 1 ใบ วัสดุและอุปกรณ์ 1 ใบ 1. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 2. บีกเกอร์ขนาด 100 mL 1 อัน 3. บีกเกอร์ขนาด 250 mL ใช้ร่วมกัน 4. ป�เปตต์ ขนาด 25 mL 5. กระบอกตวงขนาด 25 mL 6. เครื่องชั่ง สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบัตกิ �รเคมี เคมี เล่ม 126ก�รเตรียมล่วงหน้� ตารางแสดงความหนาแนน่ ของนำา้ ท่ีอุณหภมู ิต่าง ๆ กล่มุ ละ 1 ใบอภิปร�ยก่อนทำ�ก�รทดลอง ทบทวนเกยี่ วกบั การอ่านค่าอุณหภูมจิ ากเทอรม์ อมิเตอร์ตวั อย่�งผลก�รทดลองการวัดปรมิ าตรน้าำ ดว้ ยปเ� ปตต์ °C อณุ หภมู ขิ องน้าำ ท่ีทาำ การทดลอง คือ 20.0 ความหนาแน่นของนาำ้ ที่อุณหภูมิน้ ี เท่ากบั 0.998203 g/mL มวลที่ชั่งได้ (g) มวลของน้ำ�ที่ได้ (g) บีกเกอร์เปล่า 46.98 - 24.61 เติมน้ำาครั้งที่ 1 71.59 24.84 25.04 เติมน้ำาครั้งที่ 2 96.43 24.83 เติมน้ำาครั้งที่ 3 121.47 เฉลี่ยคำานวณปริมาตรนำ้าทีว่ ดั ไดจ้ ากค่ามวลนา้ำ เฉล่ยี จาก d = m V จะได ้ V = m d 24.83 g แทนค่า V = 0.998203 g/mL = 24.87 mLการวัดปริมาตรน้าำ ดว้ ยกระบอกตวง °C อุณหภมู ขิ องนำ้าทีท่ าำ การทดลอง คือ 20.2 g/mL ความหนาแน่นของนาำ้ ทีอ่ ุณหภูมนิ ้ี เทา่ กับ 0.998162สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบัตกิ �รเคมี 27 บีกเกอร์เปล่า มวลที่ชั่งได้ (g) มวลของน้ำ�ที่ได้ (g) เติมน้ำาครั้งที่ 1 เติมน้ำาครั้งที่ 2 50.72 - เติมน้ำาครั้งที่ 3 74.92 24.20 99.04 24.12 123.62 24.58 เฉลี่ย 24.30คาำ นวณปรมิ าตรนาำ้ ท่วี ัดได้จากคา่ มวลนำ้าเฉลย่ี จาก d = m V จะได้ V = m d 24.30 g แทนค่า V = 0.998162 g/mL = 24.34 mLอภิปร�ยผลก�รทดลอง การวัดปรมิ าตรของนำา้ ด้วยปเ� ปตตข์ นาด 25 มลิ ลิลิตร 3 คร้งั พบวา่ มวลเฉล่ียของนา้ำที่วัดได้เท่ากับ 24.83 กรัม เมื่อนำาค่ามวลเฉลี่ยที่ได้ไปคำานวณหาปริมาตรของน้ำาจากความหนาแนน่ ณ อณุ หภูมิท่ีทำาการวัด พบว่าปริมาตรของนา้ำ เทา่ กับ 24.87 มิลลลิ ิตร การวัดปรมิ าตรของน้ำาดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตร 3 ครงั้ พบว่า มวลเฉล่ยีของนาำ้ ทีว่ ัดไดเ้ ท่ากับ 24.30 กรัม และเมอ่ื นาำ ค่ามวลเฉลี่ยทีไ่ ดไ้ ปคำานวณหาปริมาตรของน้าำจากความหนาแน่น ณ อณุ หภูมทิ ที่ ำาการวัด พบวา่ ปริมาตรของนา้ำ เทา่ กบั 24.34 มลิ ลิลิตร ดังน้นั ปริมาตรของนำา้ ทีว่ ัดด้วยปเ� ปตตต์ า่ งจากคา่ จรงิ 0.13 มลิ ลิลิตร ส่วนกระบอกตวงตา่ งจากคา่ จริง 0.66 มิลลลิ ิตร เม่ือเปรยี บเทยี บการวดั ปรมิ าตรนำา้ โดยใช้ปเ� ปตต์และกระบอกตวง พบว่า ปรมิ าตรน้าำ ทไี่ ด้จากการใชป้ เ� ปตตใ์ กลเ้ คยี งค่าจริงมากกว่าคา่ ปริมาตรของนำ้าท่ีวดั ด้วยกระบอกตวง สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏบิ ตั กิ �รเคมี เคมี เลม่ 128 สรปุ ผลก�รทดลอง ปเ� ปตตเ์ ปน็ อปุ กรณท์ ว่ี ดั ปรมิ าตรไดใ้ กลเ้ คยี งคา่ จรงิ มากกวา่ กระบอกตวง หรอื กลา่ วได้ วา่ การใช้ปเ� ปตตม์ ีความแม่นมากกวา่ กระบอกตวง 6. ครูอาจใหค้ วามรเู้ พ่มิ เติมว่า ปเ� ปตต์เปน็ อุปกรณ์วดั ปริมาตรที่สอบเทยี บ (calibrate) โดยการวดั ปรมิ าตรของของเหลวทถ่ี ่ายเทออกจากป�เปตต ์ ขณะทกี่ ระบอกตวงเปน็ อุปกรณว์ ัดปรมิ าตรที่สอบเทยี บโดยการวดั ปริมาตรของของเหลวที่เตมิ ลงในกระบอกตวง ดงั น้ันเม่อื ถ่ายเทของเหลวออกจากกระบอกตวงจะมีของเหลวบางส่วนติดค้างอยู่ในกระบอกตวง ทำาให้ปริมาตรของของเหลวที่ถ่ายเทออกมาน้อยกวา่ ที่วดั ได ้ และชี้ให้เหน็ สญั ลักษณ์ทป่ี รากฏบนอุปกรณ์ 7. ครใู ห้ความรู้เพิม่ เติมวา่ อปุ กรณแ์ ต่ละชนดิ มคี วามละเอยี ดไมเ่ ทา่ กนั โดยช้ใี ห้เห็นตวั เลขท่ีปรากฏบนอุปกรณ์ทน่ี าำ มาใหน้ กั เรยี นดู เชน่ ค่าความคลาดเคลือ่ นของกระบอกตวงและป�เปตต์ขนาด 25 มิลลลิ ติ ร เท่ากบั ±0.40 และ ±0.10 ตามลาำ ดบั ดังรปู ค่าความ คลาดเคล่ือนกระบอกตวง ปเ� ปตต์สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 29 8. ครูให้นักเรยี นพจิ ารณารปู ร่างของกระบอกตวงและปเ� ปตต ์ แล้วต้งั คาำ ถามเพือ่ นาำ อภปิ รายว่า เพราะเหตใุ ดกระบอกตวงมีค่าความคลาดเคลื่อนมากกวา่ ป�เปตต ์ ซ่ึงควรได้ข้อสรปุ วา่ ป�เปตต์มีพื้นที่หน้าตัดบริเวณที่ผิวของของเหลวน้อยกว่ากระบอกตวง ทำาให้ความผิดพลาดของระดับของเหลวที่ถ่ายเทมีค่าน้อยกว่าของกระบอกตวง นอกจากนัน้ ครอู าจอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ดงั นี ้ การอา่ นปรมิ าตรจากอปุ กรณว์ ดั ปรมิ าตรเปน็ การอา่ นคา่ จากความสงู ของของเหลว เมอ่ื พจิ ารณาจากสตู รคาำ นวณปรมิ าตรทรงกระบอก คอื ปรมิ าตร = พน้ื ทห่ี นา้ ตดั × สงู จะพบวา่ หากพน้ื ทห่ี นา้ ตดั มคี า่นอ้ ย ความสงู ทอ่ี า่ นไดจ้ ะมคี า่ มาก ทาำ ใหค้ วามผดิ พลาดจากการอา่ นคา่ ความสงู นอ้ ยกวา่ ซง่ึ อธบิ ายดว้ ยตวั เลขประกอบ ดงั น ้ี ต้องการตวงของเหลวปริมาตร 1 mL ถา้ พ้ืนที่หน้าตัดของอปุ กรณ์วัดปริมาตรเทา่ กับ 1 cm2 ความสงู ท่อี า่ นไดจ้ ะเท่ากบั 1 cm ถา้ อ่านค่าความสงู ผดิ ไป 0.1 cm จะอ่านปริมาตรผดิ ไปร้อยละ 10แตถ่ า้ พืน้ ท่หี นา้ ตดั ของอปุ กรณว์ ดั ปริมาตรเทา่ กับ 0.1 cm2 ความสูงทอ่ี า่ นได้จะเท่ากบั 10 cm ถา้อ่านคา่ ความสงู ผดิ ไป 0.1 cm เทา่ เดมิ ปรมิ าตรทอ่ี ่านผดิ ไปคิดเปน็ เพยี งแคร่ ้อยละ 1 9. ครูใหน้ ักเรียนพิจารณารูป 1.15 จากนัน้ ตั้งคำาถามวา่ อณุ หภมู ิทอี่ ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์ทง้ั สองมีค่าเทา่ ใด ซง่ึ นักเรยี นอาจตอบว่า อา่ นค่าได้ 26.22 และ 26.0 องศาเซลเซยี ส ตามลาำ ดบั เพือ่นำาเขา้ สูก่ ารอธบิ ายความหมายของเลขนัยสำาคัญ 10. ครอู ธบิ ายเกยี่ วกับหลกั การนบั เลขนยั สำาคญั การปัดเศษ และเลขนยั สำาคัญของผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการคาำ นวณ ท้งั นค้ี รใู หน้ กั เรยี นตอบคำาถามเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจระหว่างการให้ความรู้แต่ละขั้น ตรวจสอบคว�มเข�้ ใจ ชง่ั มวลของสารได ้ 76.98 และ 34.9 กรมั ตามลาำ ดบั ผลรวมของมวลสารเปน็ เทา่ ใด ในการบวก ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ะมจี าำ นวนตวั เลขหลงั ทศนยิ มเทา่ กบั ขอ้ มลู ทน่ี อ้ ยทส่ี ดุ ดงั นน้ั ผลรวมของวตั ถทุ ง้ั สองเทา่ กบั 111.9 กรมั สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ัติก�รเคมี เคมี เล่ม 130 ตรวจสอบคว�มเข�้ ใจ ปรอทปริมาตร 20.00 มิลลลิ ิตร จะมีมวลเท่าใด เมือ่ ปรอทมคี วามหนาแนน่ เทา่ กับ 1.36 กรมั ตอ่ มิลลลิ ติ ร จาก d = m V จะได้ m = d × V m = 1.36 g/mL × 20.00 mL m = 27.2 g ในการคูณและหาร ผลลัพธ์ที่ได้จะมีจำานวนเลขนัยสำาคัญเท่ากับข้อมูลที่มีเลขนัยสาำ คญั นอ้ ยทส่ี ดุ ดงั น้ัน ปรอทมีมวล 27.2 กรมั 11. ครใู ห้นกั เรียนตอบคาำ ถามเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจเกี่ยวกับเลขนยั สาำ คัญ โดยตรวจสอบการบันทึกผลการทำากิจกรรม 1.1 และการคำานวณของตนเองว่าสอดคล้องกับหลักการเกี่ยวกับเลขนยั สาำ คญั หรอื ไม ่ หากไมส่ อดคลอ้ งใหแ้ กไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง ทง้ั นค้ี รอู าจใหต้ วั แทนนกั เรยี นนาำ เสนอรายงานการตรวจสอบขอ้ มูลของตนเอง โดยคาำ ตอบทไี่ ดค้ วรสอดคลอ้ งกับความละเอียดของอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการทำากจิ กรรม 12. อภปิ รายและสรุปบทเรียนร่วมกันเกี่ยวกับวัตถุประสงค ์ เทคนคิ วิธีการใชง้ าน รวมทั้งขอ้ ควรระวงั ในการใช้และการดูแลอปุ กรณ์และเครือ่ งมอื ในการทำาปฏิบตั กิ ารเคม ี และเลขนัยสาำ คัญ 13. ครูใหน้ กั เรยี นทาำ แบบฝกึ หัด 1.3 เพ่ือทบทวนความรู้แนวท�งก�รวดั และประเมนิ ผล 1. ความรู้เกี่ยวกบั เทคนิคการใช้ และการดูแลอุปกรณ์และเครือ่ งมอื ที่ใชส้ าำ หรับวดั ปรมิ าตรและวดั มวล การอ่านค่าและการรายงานผลจากการวัดโดยคำานึงถึงเลขนยั สำาคัญ จากรายงานการทดลอง การทาำ แบบฝึกหัด และการทดสอบ 2. ทักษะการสังเกตและการวัด จากรายงานการทดลองและการสังเกตพฤติกรรมในการทาำ การทดลอง 3. ทักษะความร่วมมือ การทำางานเป็นทีมและภาวะผู้นำา จากการสังเกตพฤติกรรมในการทาำ การทดลองสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏิบตั ิก�รเคมี 31 4. จติ วิทยาศาสตร์ด้านความรอบคอบ จากรายงานการทดลอง และการสงั เกตพฤติกรรมในการทำาการทดลอง แบบฝก� หดั 1.3 1. อ่านปริมาตรของของเหลว จากรูปต่อไปนี้ 20.2 มลิ ลิลติ ร 41.6 มลิ ลลิ ิตร 44.68 มลิ ลิลิตร2. อ่านค่าปริมาตรของของเหลวในบิวเรตต์ที่มีปริมาตรเท่ากันในมุมมองที่แตกต่างกันได้ เท่าใด และคา่ ทอี่ า่ นได้ในแตล่ ะข้อถูกต้องหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 1. 30.40 มลิ ลลิ ติ ร คา่ ทอ่ี า่ นไดถ้ กู ตอ้ ง เพราะการอา่ นปรมิ าตรของของเหลวตอ้ งใหส้ ายตา อยรู่ ะดบั เดยี วกนั กบั ระดบั สว่ นโคง้ ของของเหลว 2. 30.30 มิลลิลิตร ค่าที่อ่านได้ไม่ถูกต้อง เพราะหากสายตาอยู่สูงกว่าระดับส่วนโค้ง ของของเหลวจะอา่ นค่าปรมิ าตรได้นอ้ ยกวา่ ปรมิ าตรจรงิ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏิบตั กิ �รเคมี เคมี เลม่ 132 3. 30.50 มลิ ลลิ ติ ร ค่าท่อี า่ นไดไ้ ม่ถกู ตอ้ ง เพราะหากสายตาอยตู่ ่ำากว่าระดบั ส่วนโคง้ ของ ของเหลวจะอ่านคา่ ปริมาตรไดม้ ากกวา่ ปรมิ าตรจรงิ3. วิธีการในแตล่ ะขอ้ ตอ่ ไปนี้ สามารถวัดปรมิ าตรนำา้ ทต่ี อ้ งการไดแ้ ม่นหรือไม่ เพราะเหตใุ ด 3.1 ตวงนาำ้ โดยใชก้ ระบอกตวงขนาด 100 มลิ ลลิ ติ ร ครง้ั ละ 100.00 มลิ ลลิ ติ ร 2 ครง้ั และ 50.00 มลิ ลิลิตร 1 คร้งั จะได้นำา้ ปริมาตร 250.00 มิลลิลติ ร ไม่สามารถวัดปริมาตรน้ำาได้แม่น เนื่องจากกระบอกตวงเป็นอุปกรณ์วัดปริมาตร ทส่ี อบเทยี บโดยการวดั ปรมิ าตรของของเหลวทเ่ี ตมิ ลงในกระบอกตวง ดงั นน้ั เมอ่ื ถา่ ยเท ของเหลวออกจากกระบอกตวงจะมขี องเหลวบางสว่ นตดิ คา้ งอยใู่ นกระบอกตวง ทาำ ให้ ปริมาตรของของเหลวท่ีถา่ ยเทออกมาจะนอ้ ยกว่าที่วัดได้ 3.2 ไขนาำ้ จากบวิ เรตตท์ บ่ี รรจนุ าำ้ เรม่ิ ตน้ ทข่ี ดี บอกปรมิ าตรเลข 0 มาถงึ ขดี บอกปรมิ าตร เลข 20 จะได้นำ้าปริมาตร 20.00 มิลลลิ ิตร สามารถวัดปริมาตรน้ำาได้แม่น เนื่องจากบิวเรตต์เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตรที่สอบ เทยี บโดยการวดั ปรมิ าตรของของเหลวทถ่ี า่ ยเทออกจากบวิ เรตต ์ ดงั นน้ั เมอ่ื ถา่ ยเทนาำ้ ออก จากบิวเรตต ์ 20.00 มลิ ลลิ ติ ร จะได้นำา้ ปริมาตร 20.00 มลิ ลิลิตร 3.3 เตมิ นาำ้ ลงในขวดกาำ หนดปรมิ าตรขนาด 100 มลิ ลลิ ติ ร ปรบั ใหพ้ อดกี บั ขดี บอกปรมิ าตร เมือ่ เทนา้ำ ออกใส่บกี เกอรจ์ ะได้น้ำาปรมิ าตร 100.00 มิลลลิ ิตรพอดี ไม่สามารถวัดปริมาตรน้ำาได้แม่น เนื่องจากขวดกำาหนดปริมาตรเป็นอุปกรณ์วัด ปรมิ าตรทส่ี อบเทยี บโดยการวดั ปรมิ าตรของเหลวทบ่ี รรจอุ ยใู่ นขวดกาำ หนดปรมิ าตร เมอ่ื ถา่ ยเทของเหลวออกจากขวดกาำ หนดปรมิ าตรจะมขี องเหลวบางสว่ นตดิ คา้ งอย ู่ ทาำ ให้ ปรมิ าตรของเหลวที่ถา่ ยเทออกมาน้อยกว่าที่วัดได้สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏบิ ัติก�รเคมี 331.4 หนว่ ยวัดจุดประสงคก์ �รเรียนรู้ ระบหุ นว่ ยวดั ปรมิ าณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหนว่ ยวดั ให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอรเ์ ปลย่ี นหนว่ ยคว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อนที่อ�จเกิดขึ้นคว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อน คว�มเข้�ใจที่ถูกต้องหน่วยมวลในระบบเอสไอ คือ กรัม หน่วยมวลในระบบเอสไอ คือ กิโลกรัมแนวก�รจัดก�รเรยี นรู้ 1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยยกตัวอย่างการวัดปริมาณส่ิงของที่พบในชีวิตประจาำ วนั ซง่ึ วดั ปรมิ าณเดยี วกนั แตใ่ ชห้ นว่ ยทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ การวดั มวลทร่ี ายงานดว้ ยหนว่ ยปอนด์และกิโลกรัม จากน้ันให้นกั เรียนยกตวั อยา่ งอนื่ ๆ เพม่ิ เติม เช่น การระบุปรมิ าตรในหนว่ ยลิตร ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ลูกบาศก์เดซเิ มตร ถ้วยตวง แกลลอน การระบอุ ุณหภูมใิ นหนว่ ยองศาเซลเซียส ฟาเรนไฮต ์ แล้วอภปิ รายร่วมกันเพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปวา่ หนว่ ยท่วี ดั ได้จากปรมิ าณทตี่ ่างกัน ก็จะมีหน่วยท่ีแตกต่างกนั และแตล่ ะปรมิ าณกม็ ไี ด้หลายหน่วย 2. ครูให้ความรูว้ ่า การรายงานค่าปริมาณเดยี วกันแต่ใชห้ น่วยวดั ทีแ่ ตกตา่ งกันอาจก่อให้เกดิความเข้าใจไมต่ รงกันได้ ดังนั้นจึงมีการกาำ หนดระบบหน่วยวดั ระหว่างประเทศหรือหน่วยเอสไอ ซึ่งเปน็ หนว่ ยสากลที่เขา้ ใจไดต้ รงกัน ดังตาราง 1.1 และ 1.2 นอกจากนี้ยงั มหี นว่ ยนอกระบบเอสไอทไี่ ดร้ ับการยอมรับและมใี ชอ้ ย่างแพร่หลาย เชน่ การระบปุ ริมาตรในหนว่ ยลติ ร ตามรายละเอยี ดในตาราง 1.3 3. ครูให้นกั เรียนตอบคำาถามเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เล่ม 134 ตรวจสอบคว�มเข�้ ใจ 1. ลวดแมกนเี ซยี มหนา 0.1 มลิ ลเิ มตร สามารถเขยี นแสดงความหนาใหอ้ ยใู่ นรปู สญั กรณ์ วทิ ยาศาสตรใ์ นหนว่ ยเอสไอไดเ้ ปน็ เทา่ ใด 0.1 mm = 0.1 × 10-3 m = 1 × 10-4 m 2. ปรมิ าตรนาำ้ ทไ่ี ดจ้ ากปเ� ปตต ์ 10.00 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร สามารถเขยี นแสดงปรมิ าตรใหอ้ ยู่ ในรปู สญั กรณว์ ทิ ยาศาสตรใ์ นหนว่ ยเอสไอไดเ้ ปน็ เทา่ ใด 1 cm3 = 1 cm × 1 cm × 1 cm = 0.01 m × 0.01 m × 0.01 m = 1 × 10-6 m3 ดงั นน้ั 10.00 cm3 = 10.00 × 10-6 m3 = 1.000 × 10-5 m3 4. ครูนำาอภิปรายในประเด็นว่า ในการคำานวณเพื่อเปลี่ยนหน่วยสามารถใช้วิธีใดในการคำานวณไดบ้ ้าง เพ่ือนำาเข้าสกู่ ารอธิบายเรอ่ื งแฟกแตอร์เปลี่ยนหน่วยและวธิ กี ารเทียบหน่วย 5. ครใู หค้ วามรเู้ ก่ียวกับแฟกแตอร์เปลยี่ นหนว่ ยและวิธกี ารเทียบหน่วย 6. ครใู หน้ ักเรยี นทำาแบบฝกึ หดั 1.4 เพื่อทบทวนความรู้แนวท�งก�รวัดและประเมินผล 1. ความรู้เกยี่ วกบั หน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ทางเคมใี นระบบเอสไอ และการเปล่ยี นหน่วยวัดโดยใชแ้ ฟกเตอร์เปลีย่ นหน่วย จากการอภิปราย การทำาแบบฝกึ หัด และการทดสอบ 2. ทักษะการใชจ้ ำานวน จากการทาำ แบบฝกึ หดั 3. จิตวทิ ยาศาสตร์ด้านความรอบคอบ จากการทาำ แบบฝกึ หัดสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏิบัติก�รเคมี 35แบบฝก� หดั 1.41. จงแสดงวิธีการเปลย่ี นหน่วยไปเปน็ หน่วยใหมท่ ่ตี ้องการในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี้ข้อที่ ปริม�ณและหน่วยเริ่มต้น หน่วยใหม่ที่ต้องก�ร1.1 59.2 cm dm1.2 1.8 kg mg dm31.3 2,800 mL kg/dm31.4 3.2 g/mL1.1 59.2 cm = 59.2 cm × 1 m × 10 dm 100 cm 1 m = 5.92 dm ดงั นน้ั 59.2 cm เทา่ กบั 5.92 dm1.2 1.8 kg = 1.8 kg × 1 0 0 0 g × 1000 mg 1 kg 1 g = 1.8 × 106 mg ดงั น้นั 1.8 kg เทา่ กับ 1.8 × 106 mg 1.3 2800 mL = 2800 mL × 1 L × 1 dm3 1000 mL 1 L = 2.8 dm3 ดงั น้นั 2,800 mL อาจตอบไดเ้ ป็น 2.8 dm3 หรือ 2.80 dm3 หรือ 2.800 dm3 เน่อื งจากเลขศูนย์อาจมคี า่ เปน็ ศนู ย์จรงิ ๆ จากการวัด หรอื เปน็ ตวั เลขท่ใี ชแ้ สดงใหเ้ ห็นวา่ ค่าดงั กล่าวอยู่ในหลกั พัน1.4 3.2 g/mL = 3.2 g × 1 kg × 1000 mL × 1 L 1 mL 1000 g 1 L 1 dm3 = 3.2 kg/dm3 ดังน้ัน 3.2 g/mL เทา่ กับ 3.2 kg/dm3 สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 1362. น้ำาบริสุทธิ์ปริมาตร 50.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 20.5 องศาเซลเซียสมีมวล เทา่ ใด เมื่อความหนาแนน่ ของนา้ำ ท่อี ุณหภูม ิ 20.5 องศาเซลเซยี ส เทา่ กบั 0.998099 กรัม ตอ่ ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร มวลของนำา้ = 50.0 cm3 × 0.998099 g 1 cm3 = 49.90495 g คาำ ตอบต้องมเี ลขนัยสาำ คัญ 3 ตวั ดงั น้นั น้ำามมี วล 49.9 กรมั3. สารละลายกรดซลั ฟว� รกิ เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 24 โดยมวล มคี วามหนาแนน่ 1.2 กรมั ตอ่ ลกู บาศก์ เซนตเิ มตร ถา้ สารละลายกรดซลั ฟว� รกิ 200 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร จะมกี รดซลั ฟว� รกิ ก่ีกรัมปริมาณกรดซัลฟ�วริก = 24 g acid × 1.2 g solution × 200 cm3 solution 100 g solution 1 cm3 solution = 57.6 g acid คำาตอบต้องมีเลขนัยสำาคัญ 2 ตัว ดังนั้น มีกรดซัลฟ�วริก 58 กรัม 4. ถ้าทองเหลือง 12 กรัม ต้องใช้ทองแดง 9.0 กรัม มีต้นทุนราคาของทองแดงกิโลกรัมละ 200 บาท หากตอ้ งการทองเหลือง 300 กรมั ตอ้ งซอ้ื ทองแดงกี่บาท ต้องซื้อทองแดง = 9.0 g Cu × 1 kg Cu × 200 Baht × 300 g brass 12 g brass 1,000 g Cu 1 kg Cu = 45 Baht คำาตอบต้องมีเลขนัยสำาคัญ 2 ตัว ดังนั้น ต้องซื้อทองแดง 45 บาทสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี 371.5 วิธีก�รท�งวิทย�ศ�สตร์จุดประสงค์ก�รเรยี นรู้ นาำ เสนอแผนการทดลอง ทดลอง และเขียนรายงานการทดลองคว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อนที่อ�จเกิดขึ้นคว�มเข้�ใจคล�ดเคลื่อน คว�มเข้�ใจที่ถูกต้องข้อมูลจากการสังเกตมีการเพิ่มเติมความคิด การสังเกตเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เห็นลงไปด้วย เพื่อหาข้อมูล โดยไม่เติมความเห็นใด ๆ ลงไปการสังเกตใช้ประสาทสัมผัสด้านการมองเห็น การสังเกตต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ เท่านั้น การมองเห็น การฟังเสียง การได้กลิ่น การ รับรส และการสัมผัส แต่ในการทำาปฏิบัติ การส่วนใหญ่ไม่ใช้การดมกลิ่นและการชิม เนื่องจากเหตุผลทางด้านความปลอดภัยส่ือก�รเรยี นรแู้ ละแหลง่ ก�รเรียนรู้ กิจกรรมหรือวีดิทัศน์แสดงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เห็นการเปลี่ยนแปลงง่าย ๆ เช่นการผสมสารสองชนดิ แลว้ สารเปลยี่ นสีหรือเกดิ ฟองแก�สแนวก�รจัดก�รเรยี นรู้ 1. ครูสาธิตกิจกรรมหรือใช้วีดิทัศน์แสดงการเปล่ียนแปลงทางเคมีท่ีเห็นการเปลี่ยนแปลงง่าย ๆ เชน่ การผสมสารสองชนดิ แลว้ สารเปลี่ยนสีหรอื เกิดฟองแก�ส เพ่ือกระตุน้ ให้นกั เรยี นได้สงั เกต และการตั้งสมมติฐาน ซง่ึ เปน็ จุดเรม่ิ ตน้ ของทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2. ครูทบทวนเกี่ยวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นกระบวนการศึกษาหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตรท์ มี่ ีแบบแผนขนั้ ตอน จากน้ันยกตวั อย่างสถานการณท์ ่ี 1 เพอื่ ให้นกั เรยี นทบทวนเกีย่ วกบั วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ตามรายละเอียดในหนงั สือเรยี น 3. ครูให้นกั เรยี นตอบคาำ ถามจากสถานการณ์ตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจ ฃ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทกั ษะในปฏิบตั กิ �รเคมี เคมี เลม่ 138 ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ1. การออกแบบการทดลองสอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านทต่ี ัง้ ไว้หรอื ไม่ อยา่ งไร สอดคล้อง เน่อื งจาก pH เปน็ ค่าท่ีบอกความเขม้ ข้นของกรดในสารละลายการเปรยี บเทยี บ คา่ pH จงึ สามารถบอกความเขม้ ขน้ ของกรดคารบ์ อนกิ ทอ่ี ยใู่ นนาำ้ อดั ลม 2. การสรุปผลการทดลองสอดคล้องกับข้อเท็จจริงท่ีได้จากการตรวจสอบสมมติฐานหรือไม่ อย่างไร สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ระบุว่าน้ำาอัดลมที่แช่เย็นมีความเข้มข้นของ กรดคาร์บอนิก มากกว่า แต่ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่สรุปว่าน้ำาอัดลมที่แช่เย็นมีความซ่ามากกว่า เนือ่ งจากเป็นการสรปุ ท่เี กินกวา่ ขอ้ เท็จจรงิ ท่ไี ด้จากการตรวจสอบ3. สมมติฐานท่ีต้ังไว้สอดคล้องกับสิ่งท่ีสังเกตได้ว่านำ้าอัดลมท่ีแช่เย็นมีความซ่ามากกว่า นำา้ อดั ลมทีไ่ มแ่ ช่เย็นหรอื ไม ่ อยา่ งไร ไม่สอดคล้องกับข้อสังเกตเน่ืองจากไม่ทราบความสัมพันธ์ระหว่างความซ่ากับ ความเขม้ ขน้ ของกรดคาร์บอนกิ 4. ถา้ ตอ้ งการออกแบบการทดลองเพอ่ื ตอบคาำ ถามวา่ เพราะเหตใุ ดเมอ่ื ดม่ื นาำ้ อดั ลมทแ่ี ชเ่ ยน็ จะ รสู้ กึ ว่ามีความซ่ามากกว่านำา้ อดั ลมทไ่ี มแ่ ชเ่ ยน็ ควรมีข้อมลู ใดเพ่มิ เตมิ บ้าง องคป์ ระกอบในนาำ้ อัดลม ปจั จัยท่ที าำ ให้เกิดความซา่ 4. ครูใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั หวั ขอ้ ที่ควรมใี นการเขียนรายงานการทดลอง จากนัน้ ให้นกั เรียนทาำกจิ กรรม 1.2 ออกแบบการทดลองและทำาการทดลองเพื่อเปรยี บเทียบความแม่นจากการวัดปรมิ าตรนำา้ ดว้ ยกระบอกตวงท่มี ีขนาดต่างกนั พร้อมท้งั เขียนรายงานการทดลองสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 39ตัวอย่�งผลก�รออกแบบและเขียนร�ยง�นที่ 1 กิจกรรม 1.2 ก�รออกแบบและทดลองเปรยี บเทยี บคว�มแม่นในก�รวัด ปรมิ �ตรนำ้�ดว้ ยกระบอกตวงทีม่ ขี น�ดต่�งกัน จดุ ประสงคข์ องก�รทดลอง เปรียบเทียบความแมน่ ของกระบอกตวงท่ีมีขนาดต่างกัน สมมตฐิ �น การตวงน้าำ ปรมิ าตร 25.00 มลิ ลิลิตร โดยการใชก้ ระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตร มีความแมน่ มากกวา่ กระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลลิ ิตรตวั แปรตน้ ขนาดของกระบอกตวงตัวแปรต�ม ความแม่นในการตวงนาำ้ ปริมาตร 25.00 มลิ ลิลติ รตัวแปรควบคุม เคร่อื งชัง่ ผ้ทู าำ การทดลองวัสดุ อปุ กรณ์ และส�รเคมี ปริม�ณต่อกลุ่ม ร�ยก�ร 50 mL ส�รเคมี 1 อัน 1. น้ำา 1 ใบ วัสดุและอุปกรณ์ 1 ใบ 1. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 2. บีกเกอร์ขนาด 100 mL 1 อัน 3. บีกเกอร์ขนาด 250 mL ใช้ร่วมกัน 4. กระบอกตวงขนาด 25 mL 5. กระบอกตวงขนาด 50 mL 6. เครื่องชั่ง สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบตั ิก�รเคมี เคมี เล่ม 140วิธกี �รทดลอง1. เทนาำ้ กลั่นปริมาตร 200 มลิ ลิลิตร ลงในบีกเกอรข์ นาด 250 มิลลิลิตร วัดอณุ หภูมิของน้าำ บนั ทึกผล 2. ชงั่ มวลของบีกเกอรข์ นาด 100 มิลลลิ ติ ร บันทกึ ผล 3. หามวลของนา้ำ 25 มลิ ลลิ ติ ร 3 ครงั้ ดังน้ี ครัง้ ที่ 1 ตวงนาำ้ ด้วยกระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ิตร ลงในบกี เกอร ์ 100 มิลลิลติ ร ชั่ง มวลรวมของนา้ำ และบกี เกอร ์ บนั ทกึ ผล และคาำ นวณมวลของนาำ้ 25 มลิ ลลิ ิตร บันทึกผล ครัง้ ท่ ี 2 ตวงน้าำ ด้วยกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลิลิตร ลงในบกี เกอร์เดมิ ชงั่ มวลรวม ของนำ้า 50 มลิ ลลิ ิตร และบีกเกอร ์ บันทกึ ผล และคำานวณมวลของน้าำ 25 มลิ ลลิ ิตรที่เตมิ ครง้ั ที ่ 2 บนั ทกึ ผล ครงั้ ที ่ 3 ตวงนำา้ ดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลิลิตร ลงในบีกเกอร์เดมิ ชงั่ มวลรวม ของนำ้า 75 มิลลิลิตร และบกี เกอร์ บันทึกผล และคำานวณมวลของนำา้ 25 มิลลลิ ติ รท่เี ติมคร้ังที ่ 3 บนั ทึกผล4. คาำ นวณค่ามวลเฉลย่ี ของนาำ้ ท่ไี ด้จากการตวงนำ้าดว้ ยกระบอกตวง 3 คร้ัง บันทกึ ผล5. นาำ คา่ มวลเฉลย่ี ของนำา้ ในขอ้ 4 มาคำานวณปริมาตรของนำา้6. ทำาการทดลองซา้ำ ในขอ้ 1–5 โดยเปลย่ี นกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ติ ร เปน็ กระบอกตวง ขนาด 50 มลิ ลลิ ิตร 7. นำาคา่ ปรมิ าตรของน้าำ ทค่ี ำานวณไดจ้ ากการใช้กระบอกตวงขนาด 25 และ 50 มลิ ลลิ ติ ร มาเปรยี บเทยี บความแม่นของการวัดจากการใช้อุปกรณต์ า่ งขนาดผลก�รทดลองการวัดปริมาตรนา้ำ ด้วยกระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลติ ร อุณหภูมิของนำ้าท่ีทาำ การทดลอง คือ 20.2 °C ความหนาแนน่ ของน้าำ ที่อุณหภูมนิ ี้ เท่ากบั 0.998162 g/mLสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบัตกิ �รเคมี 41 มวลที่ชั่งได้ (g) มวลของน้ำ�ที่ได้ (g) บีกเกอร์เปล่า 50.72 - 24.20 เติมน้ำาครั้งที่ 1 74.92 24.12 24.58 เติมน้ำาครั้งที่ 2 99.04 24.30 เติมน้ำาครั้งที่ 3 123.62 เฉลี่ยคำานวณปรมิ าตรนำ้าท่วี ดั ได ้ 1 mL H2O 0.998162 g H2O ปรมิ าตรน้าำ ทว่ี ดั ได้ = 24.30 g H2O × = 24.34 mL H2O การวัดปรมิ าตรน้ำาด้วยกระบอกตวงขนาด 50 มิลลิลิตร อณุ หภูมิของนำ้าที่ทำาการทดลอง คือ 20.0 °C ความหนาแน่นของนาำ้ ทีอ่ ณุ หภมู ิน ี้ เท่ากบั 0.998203 g/mL บีกเกอร์เปล่า มวลที่ชั่งได้ (g) มวลของน้ำ�ที่ได้ (g) เติมน้ำาครั้งที่ 1 เติมน้ำาครั้งที่ 2 52.34 - เติมน้ำาครั้งที่ 3 76.38 24.04 100.56 24.18 124.49 23.93 เฉลี่ย 24.05 สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 142คาำ นวณปริมาตรนำา้ ทว่ี ัดได้ 1 mL H2O 0.998203 g H2O ปรมิ าตรนำา้ ท่วี ัดได้ = 24.05 g H2O × = 24.09 mL H2O อภปิ ร�ยหลังก�รทดลอง การวดั ปริมาตรของนาำ้ ด้วยกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตร 3 คร้งั พบว่า มวลเฉลี่ยของนำ้าทวี่ ดั ได้เท่ากบั 24.30 กรัม และเม่อื นาำ คา่ มวลเฉลย่ี ทไ่ี ด้ไปคำานวณหาปรมิ าตรของน้าำจากความหนาแนน่ ณ อุณหภมู ิที่ทำาการวัด พบว่าปรมิ าตรของนาำ้ เทา่ กับ 24.34 มลิ ลลิ ิตร การวัดปริมาตรของน้าำ ด้วยกระบอกตวงขนาด 50 มิลลลิ ติ ร 3 ครัง้ พบว่า มวลเฉลีย่ของนำา้ ท่ีวัดไดเ้ ทา่ กบั 24.05 กรัม และเม่ือนาำ คา่ มวลเฉลี่ยทีไ่ ดไ้ ปคำานวณหาปริมาตรของน้ำาจากความหนาแนน่ ณ อณุ หภูมิทที่ าำ การวัด พบว่าปริมาตรของนาำ้ เท่ากบั 24.09 มิลลลิ ิตร เม่อื เปรยี บเทยี บกบั ค่าจริง ปรมิ าตรของนาำ้ ท่วี ัดดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ิตร ต่างจากค่าจริง 0.66 มิลลลิ ิตร ส่วนกระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลลิ ติ ร ต่างจากคา่ จรงิ เท่ากับ 0.91 มิลลลิ ติ ร เม่อื เปรียบเทยี บการวัดปรมิ าตรน้าำ โดยใช้กระบอกตวงขนาด 25 และ 50 มิลลลิ ิตร พบวา่ ปรมิ าตรนำ้าทไี่ ด้จากการใชก้ ระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลติ ร ใกล้เคียงคา่ จริงมากกว่าค่าปรมิ าตรของน้ำาที่วดั ด้วยกระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลลิ ิตรสรปุ ผลก�รทดลอง การตวงน้าำ ปรมิ าตร 25.00 มิลลิลิตร ด้วยกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตรมีความแม่นมากกว่ากระบอกตวงขนาด 50 มิลลลิ ิตรสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี 43ตัวอย�่ งผลก�รออกแบบและเขียนร�ยง�นท่ี 2 กจิ กรรม 1.2 ก�รออกแบบและทดลองเปรยี บเทยี บคว�มแมน่ ในก�รวัด ปรมิ �ตรนำ�้ ด้วยกระบอกตวงท่มี ขี น�ดต�่ งกัน จุดประสงค์ของก�รทดลอง เปรียบเทยี บความแม่นของกระบอกตวงท่มี ีขนาดต่างกัน สมมติฐ�น ป�เปตต์น้ำาปริมาตร 25.00 มิลลิลิตร ลงในกระบอกขนาด 25 มลิ ลิลิตร จะวดั ปริมาตรได้แม่นกว่ากระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลลิ ิตรตัวแปรตน้ ขนาดของกระบอกตวงตัวแปรต�ม ความแม่นในการวัดปรมิ าตรน้ำา 25.00 มลิ ลลิ ิตรตวั แปรควบคมุ ปเ� ปตต์ ผู้ทำาการทดลองวัสดุ อุปกรณ์ และส�รเคมี ปริม�ณต่อกลุ่ม ร�ยก�ร 100 mL ส�รเคมี 1 อัน 1. น้ำา 1 ใบ วัสดุและอุปกรณ์ 3 อัน 1. ป�เปตต์ขนาด 25 mL 3 อัน 2. บีกเกอร์ขนาด 250 mL 3. กระบอกตวงขนาด 25 mL 4. กระบอกตวงขนาด 50 mLวธิ ีก�รทดลอง1. เทน้าำ กล่ันปริมาตร 100 มิลลลิ ิตร ลงในบีกเกอรข์ นาด 250 มลิ ลลิ ิตร 2. ป�เปตตน์ าำ้ ด้วยป�เปตตข์ นาด 25 มลิ ลิลิตร ลงในกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลิลิตร อันที่ หนึง่ อา่ นปริมาตรและบนั ทึกผล สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 1443. ทาำ การทดลองซำ้าในข้อ 2 โดยเปลี่ยนเป็นกระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ิตร อนั ที่สองและ สาม 4. คำานวณค่าปรมิ าตรเฉล่ียของนาำ้ ที่วัดไดจ้ ากกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตร5. ทำาการทดลองซำ้าในขอ้ 2-4 โดยเปลยี่ นจากกระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ติ ร เปน็ กระบอกตวงขนาด 50 มิลลลิ ติ ร6. นำาคา่ ปริมาตรของนำ้าทีค่ าำ นวณได้จากการใช้กระบอกตวงขนาด 25 และ 50 มิลลิลิตร มาเปรียบเทียบความแมน่ ของการวัดผลก�รทดลอง ปริม�ตรที่อ่�นได้จ�ก ปริม�ตรที่อ่�นได้จ�ก กระบอกตวงขน�ด กระบอกตวงขน�ด 25 มิลลิลิตร (mL) 50 มิลลิลิตร (mL) ครั้งที่ 1 25.0 24.8 ครั้งที่ 2 24.9 24.7 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 25.0 24.8 25.0 24.8อภปิ ร�ยผลก�รทดลอง การวัดปริมาตรของน้าำ ดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลติ ร 3 ครัง้ พบว่า ปริมาตรเฉลยี่ ของน้าำ ที่วดั ได้เท่ากบั 25.0 มิลลิลิตร ขณะทก่ี ารวัดปรมิ าตรของน้าำ ดว้ ยกระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลิลติ ร 3 ครัง้ พบวา่ ปริมาตรเฉลย่ี ของนำา้ ที่วัดไดเ้ ท่ากับ 24.8 มิลลลิ ิตร ปรมิ าตรนำ้าท่ีไดจ้ ากการปเ� ปตต์ คือ 25.00 มิลลิลิตร เมื่อใช้กระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ิตร ปรมิ าตรเฉลย่ี ของนา้ำ ทีว่ ดั ไดจ้ ะใกล้เคียงกบั ปริมาตรที่ไดจ้ ากการใช้ปเ� ปตต์มากกว่าการใช้กระบอกตวงขนาด 50 มิลลิลติ รสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติก�รเคมี 45 สรปุ ผลก�รทดลอง การวัดนา้ำ ปริมาตร 25.00 มลิ ลิลติ ร ดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 มิลลลิ ิตรมีความแมน่ มากกวา่ กระบอกตวงขนาด 50 มลิ ลิลติ ร 5. ครูทบทวนความร้เู กยี่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แล้วให้ความรเู้ พ่มิ เตมิ เกีย่ วกับจติ วทิ ยาศาสตร์ จากน้นั ใหน้ ักเรียนตอบคำาถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ ตรวจสอบคว�มเข�้ ใจ จากการทำากิจกรรมออกแบบและทดลองเปรียบเทียบความแม่นในการวัดปริมาตร น้ำาด้วยกระบอกตวงที่มีขนาดต่างกัน นักเรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ จติ วทิ ยาศาสตรใ์ ดบา้ ง ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ใ่ี ช ้ คอื การสงั เกต การวดั การตง้ั สมมตฐิ าน การ กำาหนดและควบคุมตัวแปร การจัดกระทำาและสื่อความหมายข้อมูล และการตีความหมาย ขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จติ วทิ ยาศาสตรท์ ใ่ี ช ้ คอื ความอยากรอู้ ยากเหน็ ความซอ่ื สตั ย ์ ความรอบคอบ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภัยและทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เล่ม 146แนวท�งก�รวัดและประเมนิ ผล 1. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ จากการอภิปราย การทำาการทดลอง และรายงานการทดลอง 2. ทักษะการสังเกต การวดั การต้ังสมมติฐาน การกาำ หนดและควบคมุ ตวั แปร การทดลอง การจดั กระทาำ และสอ่ื ความหมายขอ้ มลู และการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จากการทาำ การทดลอง และรายงานการทดลอง 3. ทักษะการส่อื สารสารสนเทศ และการรู้เทา่ ทนั สื่อ จากรายงานการทดลอง 4. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา จากการทำาการทดลองและรายงานการทดลอง 5. ทักษะความร่วมมือ การทำางานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำา จากการสงั เกตพฤติกรรมในการทำาการทดลอง 6. จติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความอยากรอู้ ยากเหน็ ความซอ่ื สตั ย ์ และความรอบคอบ จากการสงั เกตพฤติกรรมในการทาำ การทดลองสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏบิ ัติก�รเคมี 47แบบฝก� หดั ท�้ ยบท1. แปลความหมายของสญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตรายในระบบ GHS ตอ่ ไปน ้ี และ ถ้านักเรียนต้องใช้สารเคมีเหล่าน้ีในการทำาปฏิบัติการจะต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันเพ่ิมเติมใด นอกจากเสอ้ื คลมุ ปฏบิ ตั กิ ารขอ้ ท่ี สัญลักษณ์ ก�รแปลคว�มหม�ยของสัญลักษณ์ อุปกรณ์ป�องกัน เพิ่มเติม วัตถุกัดกร่อน : กัดกร่อนผิวหนังและระคาย1.1 เคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ถุงมือยาง ผ้าป�ดจมูก - ทำาปฏิกิริยากับโลหะทำาให้เกิดแก�สไวไฟ - อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีอุปกรณ์ ป้องกันเพิ่มเติม แก�สไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ : ไม่ไวไฟ ไม่ แต่ระวังไม่ให้สาร1.2 เป็นพิษ แต่อาจเกิดระเบิดได้ หากภาชนะ ได้รับความร้อนสูง ถุงมือยาง บรรจุถูกกระแทกอย่างแรง หรือได้รับ ผ้าป�ดจมูก ความร้อนสูงจากภายนอก เป็นสารก่อมะเร็ง : กระตุ้นอาการแพ้ต่อ1.3 ระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง เกิดการกลายพันธุ์ของเซลล์สืบพันธุ์ เป็นอันตรายต่อชีวิต ถุงมือยาง1.4 ผ้าป�ดจมูก มีความเป็นพิษเฉียบพลัน การกัดกร่อน : ถุงมือยาง1.5 ระคายเคืองต่อผิวหนัง ดวงตา กระตุ้นอาการ ผ้าป�ดจมูก แพ้ต่อระบบทางเดินทางใจหรือผิวหนัง เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมทางน้ำา ไม่มีอุปกรณ์1.6 ป้องกันเพิ่มเติมแต่ ต้องระวังในการ กาำ จดั หลงั ใช้งาน สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัติก�รเคมี เคมี เลม่ 1482. เตมิ เครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู ตอ้ ง และเตมิ เครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ... ... 2.1 สามารถใชแ้ วน่ สายตาทดแทนแว่นนริ ภยั ในการทำาปฏบิ ตั กิ ารเคมีได้ ไม่ควรใชแ้ ว่นสายตาทดแทนแวน่ นริ ภัยในการทาำ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ... ... 2.2 ควรถอดรองเท้ากอ่ นเข้าห้องปฏบิ ตั ิการเคมีเสมอ ควรสวมรองเทา้ มดิ ชดิ สน้ เตี้ยเพอ่ื เขา้ ทำาปฏิบตั กิ ารเคมี ... ... 2.3 การทดสอบปฏิกิริยาเคมีในหลอดทดลองไม่ควรหันปากหลอดทดลองไปทาง ทมี่ คี น ... ... 2.4 เมอ่ื สมั ผสั บกี เกอรห์ รอื ภาชนะทร่ี อ้ น ควรใชย้ าสฟี นั ทาบรเิ วณทส่ี มั ผสั ของรอ้ น เมอ่ื สมั ผสั บกี เกอรห์ รอื ภาชนะทร่ี อ้ น ควรปฐมพยาบาลโดยการแชม่ อื ในนาำ้ เยน็ หรือป�ดแผลด้วยผ้าชุบน้ำาจนหายปวดแสบปวดร้อน แล้วทายาขี้ผึ้งสำาหรับ ไฟไหม้และนาำ้ รอ้ นลวก ... ... 2.5 หลังทาำ การทดลอง ควรทาำ ความสะอาดอปุ กรณ์ และโตะ� ใหส้ ะอาดก่อนออก จากห้องปฏบิ ตั ิการเคม ี ... ... 2.6 ถ้าทาำ สารเคมหี กบนเคร่อื งชง่ั ควรทำาความสะอาดทนั ทโี ดยไมจ่ าำ เป็นต้องป�ด เคร่อื งชัง่ ถ้าทำาสารเคมหี กบนเครื่องชงั่ ต้องปด� เคร่อื งช่งั ก่อนความสะอาด ... ... 2.7 การวาดกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ของขอ้ มลู เปน็ วธิ หี นึง่ ในการนำาเสนอข้อมูล เพอ่ื วิเคราะห์ผล ... ... 2.8 ควรสวมเสื้อคลุมปฏิบัติการทุกครั้งที่ทำาการทดลอง เพื่อป้องกันสารเคมีหก รดถูกรา่ งกาย ... ... 2.9 เอกสารความปลอดภยั เปน็ เอกสารทบ่ี อกสมบตั ิ อนั ตราย และการปฐมพยาบาล ของสารเคมีแตล่ ะชนดิ ... ... 2.10 การหา้ มรบั ประทานอาหารและเครอ่ื งดม่ื ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคม ี เปน็ การปอ้ งกนั ไม่ให้ได้รับอุบัติเหตจุ ากการกลืนกนิ สารเคมีสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บทท่ี 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ตั ิก�รเคมี 493. จากรปู ใหน้ กั เรยี นระบวุ า่ บคุ คลใดบา้ งทป่ี ฏบิ ตั ไิ มถ่ กู หลกั ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พร้อมระบุวา่ บคุ คลน้ันปฏิบัติตัวไม่ถูกตอ้ งในเรื่องใด บุคคลท่ปี ฏิบตั ไิ มถ่ กู หลักความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ัติการ คอื B C D E และ Gโดย B สดู ดมสารเคมโี ดยตรง ควรใช้มอื โบกใหไ้ อสารเขา้ จมูกเพียงเล็กน้อย C ไม่รวบผมใหเ้ รยี บร้อย เมอ่ื ทาำ ปฏิบัติการจงึ ทำาให้เปลวไฟตดิ ปลายผม D ดมื่ น้าำ ในห้องปฏบิ ตั กิ าร E วง่ิ ในหอ้ งปฏิบตั ิการจนทำาใหเ้ กดิ อุบัติเหตุทาำ สารเคมีรดใส่เพือ่ น G รบั ประทานอาหารในห้องปฏบิ ตั ิการ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | คว�มปลอดภยั และทักษะในปฏบิ ัตกิ �รเคมี เคมี เลม่ 1504. เตมิ เครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู ตอ้ ง และเครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ... ... 4.1 ขา้ งขวดนำา้ ดืม่ ยห่ี ้อหนึง่ ระบวุ ่าปริมาตรน้าำ ภายในขวดเทา่ กบั 0.6 ลิตร หมายความวา่ น้ำาด่ืมในขวดนั้นมีนำา้ ปริมาตร 600 มิลลิลติ ร ... ... 4.2 ใชป้ เ� ปตตแ์ บบปรมิ าตรขนาด 10 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ปเ� ปตตส์ ารละลาย A ถา่ ยลง ในบกี เกอร ์ สารละลาย A ในบกี เกอร์มปี รมิ าตรเท่ากบั 10.00 มิลลิลติ ร ... ... 4.3 สารละลาย B ในขวดกำาหนดปริมาตรขนาด 250 มิลลิลิตร หมายความว่า เมื่อเทสารละลาย B ออกมาใสบ่ กี เกอรส์ ามารถวดั ปรมิ าตรได้เทา่ กับ 250 มลิ ลิลติ ร สารละลาย B ในขวดกำาหนดปริมาตรขนาด 250 มลิ ลลิ ติ ร หมายความว่า ปรมิ าตรสารละลาย B ทบ่ี รรจใุ นขวดกาำ หนดปรมิ าตรเทา่ กบั 250.00 มลิ ลลิ ติ ร ... ... 4.4 ในการไขสารละลายออกจากบิวเรตต์ จะอ่านเลขทศนิยมของปริมาตรของ สารละลายได ้ 2 ตาำ แหนง่ เสมอ ... ... 4.5 เมอื่ ตวงสารละลาย C โดยใชก้ ระบอกตวงใหม้ ปี รมิ าตร 100.00 มลิ ลลิ ติ ร แลว้ เท ใส่ในบีกเกอรข์ นาด 250 มิลลลิ ติ ร จะสามารถอา่ นปรมิ าตร์ของสารละลาย C ได้เท่ากบั 100.00 มลิ ลิลติ ร ตวงสารละลาย C โดยใช้กระบอกตวงใหม้ ปี รมิ าตร 100.00 มิลลลิ ติ ร แลว้ เท สารละลาย C ใสใ่ นบีกเกอรข์ นาด 250 มลิ ลลิ ติ ร จะสามารถอ่านปรมิ าตร ของสารละลาย C ไดเ้ ท่ากบั 100 มิลลิลิตรสถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี