Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 230863 หลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63

230863 หลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63

Published by Aplicot Major, 2021-05-23 00:54:33

Description: 230863 หลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา

หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ก รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา คำนำ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๑๙ (๔) และ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง บางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลและ ความก้าวหน้าแก่ราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ประกอบกับ ก.ค.ศ. ได้กาหนดมาตรฐาน ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษาไวว้ ่าตอ้ งผา่ นการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.กาหนด สา น ัก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศ ึก ษ า ขั ้น พื้ นฐ าน ไ ด ้จ ัด ท า ร า ย ล ะ เ อีย ด ห ล ัก ส ูต ร ก า ร พ ัฒ น า ตามหนงั สอื สานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว 8 ลงวนั ที่ 29 เมษายน 2563 เพ่อื ให้บรรลุผลตามหลักการ และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังว่า หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาจะใช้เป็นแนวทางดาเนินการพัฒนา ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความรู้ ทักษะเจตคติท่ีดี คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ที่เหมาะสม สามารถดาเนินการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา แปลงนโยบายเป้าหมาย สู่การปฏิบัติ เป็นนักบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผล และขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนนิ การจัดทาและผ้เู กี่ยวข้องทุกฝ่ายในการจดั ทาคู่มอื การพัฒนา จนสาเรจ็ เรยี บร้อยไว้ ณ โอกาสนี้ดว้ ย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พืน้ ฐำน

หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ข สำรบัญ บทที่ ๑ ความเปน็ มา....................................................................................................................... ๑ วตั ถปุ ระสงค์...................................................................................................................... ๒ กรอบการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน..................... ๓ โครงสร้างหลักสตู รการพฒั นาก่อนแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน........................................................... ๕ วธิ กี ารพฒั นา...................................................................................................................... ๖ วิทยากร............................................................................................................................. ๖ ส่อื และนวตั กรรมการพัฒนา............................................................................................... ๖ การประเมินผลการพัฒนา.................................................................................................. ๗ บทบาทของบุคลากรที่มสี ว่ นเก่ยี วข้องกับการดาเนินการพฒั นา......................................... ๗ กระบวนการพัฒนา............................................................................................................ ๙ แนวปฏบิ ตั กิ ารพัฒนา......................................................................................................... ๙ บทท่ี ๒ กระบวนการพฒั นา.............................................................................................................. ๑๐ สว่ นที่ ๑ การเสริมสร้างสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ..................................... ๑๐ สว่ นท่ี ๒ การเรียนร้ใู นสภาพจรงิ ...................................................................................... ๑๔ สว่ นที่ ๓ การจัดทาและนาเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา........ ๑๗ บทท่ี ๓ การวัดและประเมินผล......................................................................................................... ๑๙

หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา บทที่ ๑ บทนำ ควำมเป็นมำ เพ่ือให้ผู้ที่จะได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม ในอันท่ีจะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และความกา้ วหน้าแก่ราชการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 19 (4) และมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ 2547 ก.ค.ศ. จึงกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ดังนี้ หลกั เกณฑ์ 1. การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการพัฒนาผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา หรือตาแหน่ง ผูอ้ านวยการสถานศึกษา 2. ขอบขา่ ยการพัฒนา 2.1 การนาความรู้ หลักการบริหารการศึกษา การกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธกี ารบริหารงานไปใช้ ในการบรหิ ารจดั การศึกษาในสถานศึกษา 2.2 การเป็นผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเจตคติที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ การประพฤตติ น และการดารงชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั การดารงตาแหน่ง 2.3 การปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางวิชาการ การบริหารจัดการ การบังคับบัญชา การเป็นผใู้ ต้บังคับบัญชา การนิเทศการศึกษาและการประสานงาน 2.4 การบริหารจัดการตามภารกิจของสถานศึกษา ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารงานท่ัวไป ให้มีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล 2.5 การใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษ ดิจิทลั และเทคโนโลยใี นการบริหารจัดการในสถานศึกษา 2.6 เรื่องทตี่ อ้ งปฏิบัติตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 3. กาหนดระยะเวลาการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษาจานวนไม่น้อยกว่า 150 ช่ัวโมง และรองผู้อานวยการสถานศึกษาจานวนไม่น้อยกว่า 120 ชัว่ โมง ท้ังนี้ ให้สว่ นราชการกาหนดจานวนชัว่ โมงของเนื้อหาสาระตามขอบขา่ ยการพฒั นาได้ตามความเหมาะสม วธิ กี าร ใหส้ ว่ นราชการตน้ สังกัดดาเนนิ การดังน้ี 1. จัดทารายละเอียดการพัฒนาตามท่ีหลักเกณฑ์กาหนดให้เหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศึกษาหรือตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา แลว้ แต่กรณี และดาเนินการพัฒนา

หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒ 2. กาหนดองค์ประกอบ ตวั ชีว้ ดั และรายละเอยี ดการประเมินผล 3. ดาเนินการพัฒนาโดยใช้วิธีการพัฒนาท่ีหลากหลาย เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จาก ผู้มีประสบการณ์ การเรียนรู้จากสถานท่ีจริง การใช้กรณีศึกษา การศึกษาดูงานสถานศึกษาต้นแบบ การฝึกปฏิบัติงาน การนาเสนอผลการศึกษา/เรยี นรู้ เพือ่ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 4. เกณฑ์การตัดสิน ผู้เข้ารับการพัฒนาจะต้องมีระยะเวลาเข้ารับการพัฒนาไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของ ระยะเวลาการพัฒนาทั้งหมด และต้องผ่านการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการพัฒนาไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่าน การพฒั นา ผ้ไู ม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนาไมส่ ามารถบรรจแุ ละแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่งได้ มาตรฐานการพฒั นา ใหส้ ่วนราชการตน้ สงั กดั ดาเนนิ การตามมาตรฐานการพฒั นา ดงั ต่อไปนี้ 1. การบรหิ ารจัดการ จัดทารายละเอียดหลักสูตรและคู่มือการพัฒนา จัดทาแผนพัฒนา คัดเลือกวิทยากรและวิทยากรพี่เล้ียง จัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิทยากร จัดวิทยากรเป็นคณะหรือทีมจัดการเรียนรู้สร้างความเข้าใจในเร่ืองหลักสูตร และการประเมินผลการพัฒนากบั วิทยากร และดาเนนิ การพฒั นาให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด จัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้เพียงพอ จัดระบบควบคุมคุณภาพการพัฒนา รวมท้ังกากับ ติดตาม ประเมินและ รายงานผลการพัฒนาให้ ก.ค.ศ. ทราบ 2. วิทยากรและวิทยากรพ่ีเล้ียง วิทยากรและวิทยากรพี่เล้ียงต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความ รอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์ ประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษาและ เรื่องท่ีเก่ียวข้อง มีความรับผิดชอบการพัฒนา และสามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนา รวมทั้งสามารถ จัดกิจกรรมการพัฒนาโดยเนน้ ผูเ้ ข้ารับการพัฒนาเปน็ สาคัญ 3. สื่อและนวัตกรรมการพัฒนา จัดให้มีคู่มือ ส่ือและนวัตกรรมประกอบการพัฒนา ส่งให้ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษาล่วงหน้า จัดเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และโสตทัศนูปกรณ์ที่มีเน้ือหาความรู้ทางวิชาการทันสมัย เข้าถึงได้สะดวก มีคุณภาพดี มีปริมาณ เพียงพอ ชว่ ยให้ผเู้ ข้ารับการพัฒนามีความสนใจ กระตอื รือรน้ และมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ 4. สถานท่ที ่ีใช้ในการพฒั นา สถานที่ท่ีใช้ในการพัฒนาต้องเหมาะสม และมีบรรยากาศที่ดี มีอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก เออื้ ต่อการพฒั นา รวมท้งั มแี หล่งศกึ ษาค้นควา้ อย่างเพียงพอสาหรบั การพัฒนา 5. การประเมนิ ผลการพัฒนา การประเมินผลการพัฒนาต้องประเมินผลก่อนการพัฒนา ระหว่างการพัฒนาและเมื่อสิ้นสุดการพัฒนา โดยม่งุ เน้นการประเมินผลตามสภาพจริงอยา่ งเป็นระบบ และไดม้ าตรฐานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังว่าหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษาจะใชเ้ ปน็ แนวทางดาเนนิ การพัฒนาใหบ้ รรลุ วัตถุประสงค์ในการพัฒนาความรู้ ทักษะเจตคติท่ีดี คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม สามารถดาเนินการและพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษา แปลงนโยบายเป้าหมายสู่การปฏิบัติเป็น

หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๓ นัก บ ริห า ร จัด ก า ร ที่ยึด ห ลัก ธ ร ร ม า ภิบ า ล ใ น การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลและ ขอขอบคุณคณะทางาน ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รองผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษา รองผู้อานวยการสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ตลอดจนเจ้าหน้าท่ี ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการจัดทาคู่มือการพัฒนาจนสาเร็จไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย วตั ถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินการให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธร รม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความก้าวหน้าแก่ราชการ โดยสามารถช่วยเหลือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใน การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ กาหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นในการปฏิรูปและการพัฒนาการศึกษาในเขต พื้นท่ีการศึกษา เป็นผู้นาทางวิชาการ และนักบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา หลักสูตรพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๓ ระยะ ใช้เวลาในการพัฒนาไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน โดยมีโครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้ ระยะที่ ๑ กำรเสรมิ สร้ำงสมรรถนะของรองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ ไมน่ อ้ ยกวำ่ ๗ วัน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ คณุ ลกั ษณะรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาที่พึงประสงค์ (๑๒ ช่ัวโมง) หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ (๒๑ ชั่วโมง) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓ การบรหิ ารและการจัดการในสถานศึกษา (๓๐ ชวั่ โมง) ระยะที่ ๒ กำรเรียนรู้ในสภำพจรงิ ไม่นอ้ ยกว่ำ ๕ วัน ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาเรยี นรู้ตามสภาพจรงิ การบริหารจัดการในสถานศึกษา ภาครัฐและเอกชน องค์กร เอกชน แหล่งเรียนรู้ที่เปน็ เลิศในการบรหิ ารจัดการ ที่มีนวัตกรรมหรือมีการปฏิบตั งิ านท่ีเป็นเลศิ ด้านการบรหิ าร โดยมีผทู้ รงคณุ วุฒิท่ีมีความรอบรู้ มีประสบการณ์ ให้คาแนะนา มีการกากบั ติดตามและประเมินผลการเรียนรู้ใน สภาพจริง ระยะท่ี ๓ กำรจัดทำและนำเสนอแผนกลยทุ ธพ์ ฒั นำกำรศกึ ษำในสถำนศกึ ษำ ไมน่ ้อยกว่ำ ๓ วนั ผู้เข้ารับการพัฒนาจัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา โดยการศึกษาวิเคราะห์และ สังเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้ในสภาพจริงแล้วนาเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ระยะเวลาในการพัฒนา ใช้เวลาในการพฒั นา จานวนไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕ วัน ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒๐ ชัว่ โมง

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 4

หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา 5 กรอบหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้ง ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ ๑ จานวน ๖๓ ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ คุณลักษณะรองผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีพงึ ประสงค์ (๑๒ ช่วั โมง) รายวิชาท่ี ๑.๑ การพัฒนาอุดมการณ์และกระบวนทัศนข์ องการเปน็ รองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพฒั นาบุคลิกภาพและสุนทรียภาพเหมาะสมกับรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๑.๓ การพัฒนาทักษะการพดู ท่ถี ูกต้องและเหมาะสมกับตาแหน่ง เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๑.๔ การพัฒนาวินยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และ เวลา ๓ ชว่ั โมง ธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารของสถานศึกษา หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ (๒๑ ชวั่ โมง) รายวชิ าท่ี ๒.๑ วสิ ยั ทศั นแ์ ละภาวะผูน้ าการเปล่ยี นแปลงทางวิชาการสคู่ วามสาเรจ็ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๒.๒ ผู้นาในการบริหารจัดการหลกั สตู ร เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๒.๓ ผ้นู าการเปล่ยี นแปลงกระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญและ เวลา ๓ ชว่ั โมง การวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู ร รายวิชาที่ ๒.๔ ผ้นู าแห่งศรัทธาและทักษะการตัดสินใจ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๒.๕ ผู้นาในการนิเทศภายในพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและงานวจิ ยั เวลา ๓ ชวั่ โมง มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา รายวิชาท่ี ๒.๖ การพฒั นาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าที่ ๒.๗ การพัฒนาทกั ษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ การบริหารและการจดั การในสถานศึกษา (๓๐ ชัว่ โมง) รายวิชาท่ี ๓.๑ การขับเคล่ือนนโยบายในสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาที่ ๓.๒ การบริหารจดั การสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๓.๓ การบรหิ ารงานวิชาการ เวลา ๓ ชั่วโมง รายวิชาที่ ๓.๔ การบรหิ ารงบประมาณ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๓.๕ การบริหารงานทวั่ ไป เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๓.๖ การบรหิ ารงานบุคคล เวลา ๓ ชั่วโมง รายวชิ าที่ ๓.๗ การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใชด้ จิ ทิ ัลและเทคโนโลยี เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๓.๘ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) เวลา ๓ ชั่วโมง รายวิชาที่ ๓.๙ การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ เวลา ๓ ช่ัวโมง รายวชิ าที่ ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการที่ ๑๐ เวลา ๓ ชวั่ โมง

หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา 6 โครงสร้างหลักสตู รการพฒั นาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน หน่วยการ รายละเอยี ดหลักสตู ร เวลา เรียนรทู้ ่ี (ช.ม.) ประเมินก่อนพัฒนา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓๐ นาที ๑ คณุ ลักษณะรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาทพี่ ึงประสงค์ (๑๒ ช่วั โมง) ๓ ๒ รายวชิ าที่ ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทศั น์ของการเป็นรองผู้อานวยการ ๓ สถานศกึ ษา ๓ รายวชิ าที่ ๑.๒ การพฒั นาบุคลิกภาพและสุนทรียภาพเหมาะสมกับรองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ๓ รายวชิ าท่ี ๑.๓ การพัฒนาทักษะการพดู ทีถ่ ูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ ๓ รายวิชาท่ี ๑.๔ การพฒั นาวนิ ัยในตนเอง มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และ ๓ ธรรมาภบิ าล ในการบริหารของสถานศึกษา ๓ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ (๒๑ ชวั่ โมง) ๓ รายวชิ าที่ ๒.๑ วสิ ัยทศั นแ์ ละภาวะผนู้ าการเปล่ยี นแปลงทางวชิ าการสคู่ วามสาเร็จ ๓ รายวิชาที่ ๒.๒ ผู้นาในการบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร รายวชิ าท่ี ๒.๓ ผู้นาการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ๓ ๓ และการวดั และประเมนิ ผลตามหลักสูตร รายวชิ าท่ี ๒.๔ ผนู้ าแห่งศรัทธาและทักษะการตัดสินใจ ๓ รายวิชาที่ ๒.๕ ผนู้ าในการนเิ ทศภายในพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ ๓ ๓ งานวจิ ัยมาใชพ้ ัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ รายวชิ าที่ ๒.๖ การพัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Literacy) ๓ รายวชิ าที่ ๒.๗ การพัฒนาทกั ษะความรู้ภาษาองั กฤษ (English Literacy) การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา (๓๐ ชัว่ โมง) รายวิชาที่ ๓.๑ การขับเคลอ่ื นนโยบายในสถานศึกษา รายวชิ าที่ ๓.๒ การบริหารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ รายวชิ าที่ ๓.๓ การบรหิ ารงานวิชาการ รายวชิ าที่ ๓.๔ การบรหิ ารงบประมาณ รายวิชาที่ ๓.๕ การบริหารงานทว่ั ไป

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 7 หนว่ ยการ รายละเอียดหลักสูตร เวลา เรียนรูท้ ี่ (ช.ม.) รายวิชาที่ ๓.๖ การบริหารงานบุคคล รายวิชาที่ ๓.๗ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ดิจิทัลและเทคโนโลยี ๓ รายวิชาท่ี ๓.๘ ชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) รายวิชาที่ ๓.๙ การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ๓ รายวชิ าที่ ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการท่ี ๑๐ ๓ ประเมินหลงั พัฒนา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓ ๓ ๓๐ นาที วธิ กี ำรพฒั นำ ๑. การศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารและแหลง่ เรียนรู้ ๒. การศึกษาจากวิทยากรและผทู้ รงคุณวุฒิ ๓. การแลกเปลีย่ นเรยี นร้โู ดยกระบวนการกลุ่ม ๔. การฝกึ ประสบการณ์ในสภาพจริง ๕. การสังเคราะหค์ วามรูจ้ ากกิจกรรมการเสรมิ สร้างสมรรถนะและการฝึกประสบการณ์ ๖. การนาเสนอและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ วิทยำกร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คัดเลอื กวิทยากรและวทิ ยากรพีเ่ ล้ยี งทีม่ ี ความรอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์และประสบความสาเรจ็ เป็นทย่ี อมรบั ในเชิงวชิ าการและการบรหิ ารงานในเรอ่ื งท่ี รบั ผิดชอบ มคี วามสามารถในการสรา้ งบรรยากาศทดี่ ีในการพฒั นา และให้ถอื วา่ ผู้เข้ารับการพัฒนา มีความสาคัญ ทีส่ ุด ส่ือและนวตั กรรมกำรพฒั นำ ๑. คู่มือและเอกสารประกอบการพัฒนา ๒. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ ใบงาน ใบความรู้ ๓. สอ่ื เทคโนโลยี ๔. เว็บไซตท์ ี่เกีย่ วขอ้ ง ๕. ชดุ การเรยี นรู้ ๖. สถานทีแ่ ละแหล่งเรียนรู้

หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา 8 กำรประเมินผลกำรพฒั นำ การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพ่ือปรบั ปรุง พฒั นา โดยกาหนดให้มีการประเมิน ก่อนพัฒนา ระหว่างการพฒั นา และเมื่อสิน้ สดุ การพัฒนา มงุ่ เนน้ การประเมนิ ตามสภาพจริง ด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย โดยยดึ วัตถปุ ระสงค์ท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ดงั นี้ ๑. ผ้เู ขา้ รับการพัฒนาศึกษาเอกสารและค้นควา้ จัดทาเอกสารสรุปรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สง่ พร้อมวันรายงานตวั ๒. ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาตอ้ งเขา้ รบั การประเมนิ ความรู้ก่อนและหลงั การพฒั นาด้วยการทดสอบความรู้ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสาหรับตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา จานวน ๓๐ ขอ้ ๓. การประเมินระหวา่ งการพัฒนา (๕๐๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๑ การเสริมสร้างสมรรถนะของรองผ้อู านวยการสถานศึกษา (Competency) (๑๕๐ คะแนน) ส่วนที่ ๒ การเรยี นรู้ในสภาพจริง (๒๐๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธพ์ ัฒนาการศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา (๑๕๐ คะแนน) ๔. เกณฑ์การผ่านการพัฒนากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา ผู้เขา้ รับการพัฒนาตอ้ งมี คะแนนการประเมินตามเกณฑ์ ทก่ี าหนด ดังน้ี ๔.๑ มีระยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาทงั้ หมด ๔.๒ ได้คะแนนการประเมินผล ระหวา่ งการพฒั นาไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ๔.๓ ผา่ นการประเมินความรู้หลังการพัฒนาดว้ ยการทดสอบความรู้เมื่อสิ้นสดุ การพัฒนา ไมต่ ่ากว่า รอ้ ยละ ๘๐ บทบำทของบคุ ลำกรทมี่ ีสว่ นเก่ียวขอ้ งกับกำรดำเนนิ กำรพฒั นำ ๑. บทบำทผู้บริหำรโครงกำร ๑.๑ ประสานกบั สว่ นราชการและบุคลากรทเี่ กี่ยวข้องเพอ่ื เตรียมดาเนินการพัฒนา เช่น รายช่ือผู้เข้า รับการพัฒนา กาหนดระยะเวลา งบประมาณ อาคารสถานที่ ฯลฯ ๑.๒ ศกึ ษาและทาความเข้าใจเกยี่ วกับหลักสูตร ค่มู ือ หลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนินการพัฒนา ๑.๓ ดาเนินการพัฒนาตามกระบวนการและข้ันตอนอย่างเป็นระบบให้บรรลุจุดประสงค์ของ หลกั สูตรทีก่ าหนด ๑.๔ อานวยความสะดวกแก่วิทยากร ผู้เข้ารบั การพฒั นาและผู้เก่ยี วขอ้ งตลอดโครงการ ๑.๕ ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดาเนนิ การพัฒนา ๑.๖ กากบั และควบคุมเวลาการเข้ารับการพฒั นาของผ้เู ขา้ รับการพฒั นา ๑.๗ รายงานผลการดาเนินการพัฒนาใหผ้ ้อู านวยการหนว่ ยดาเนินการพัฒนาเพื่อดาเนินการตอ่ ไป ๒. บทบำทคณะกรรมกำรวชิ ำกำร ๒.๑ ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกบั หลักสูตร คมู่ อื หลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนนิ การพฒั นา ๒.๒ พิจารณาคัดเลอื กวทิ ยากรตามคณุ สมบัติที่กาหนดไว้ในคูม่ ือ ๒.๓ ให้คาปรึกษาแนะนาเชงิ วชิ าการใหแ้ ก่วทิ ยากรและผูท้ ี่เกย่ี วขอ้ ง

หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา 9 ๓. บทบำทคณะกรรมกำรวดั และประเมินผล ๓.๑ ศึกษารายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และแบบ ประเมนิ ต่าง ๆ ท่กี าหนดไว้ในคูม่ ือ ๓.๒ จัดเตรียมเอกสารแบบประเมินต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในคู่มือให้แก่ผู้บริหารโครงการิ วิทยากรหรือ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี ง และผู้ที่เก่ยี วขอ้ ง ๓.๓ ช้ีแจงและทาความเข้าใจรายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ใน หลักสูตรและแบบประเมินต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในคู่มือแก่ผู้บริหารโครงการ วิทยากร หรือวิทยากรพี่เลี้ยง และ ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง ๓.๔ รวบรวมแบบประเมินต่าง ๆ จากผู้บริหารโครงการ วิทยากรหรือวิทยากรพ่ีเลี้ยง และผู้ท่ี เกยี่ วข้องเพ่อื ประมวลผล ๓.๕ วเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการประเมินวิทยากรรายบุคคล ๓.๖ วเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการประเมินโครงการ ๓.๗ สรุปผลการประเมินผู้เข้ารับการพัฒนาตามแบบกรอกคะแนนและแบบสรุปผล การพัฒนาตามแบบประเมินทก่ี าหนดไว้ในคู่มือ ท้ังนี้ ผูล้ งนามในแบบประเมิน ประกอบดว้ ย ประธานหน่วยพัฒนา คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการวัดและประเมินผล ผู้บริหารโครงการและผู้ประสานงานของสานักพัฒนา ระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ รวม ๕ คน ๔. บทบำทวทิ ยำกร ๔.๑ ศกึ ษาหลกั สตู รและทาความเขา้ ใจสาระของหนว่ ยการเรียนรู้ทร่ี บั ผิดชอบใหช้ ดั เจน ๔.๒ ดาเนินการจัดกิจกรรมตามขอบข่ายสาระและแนวทางการจัดกิจกรรมของหน่วยการเรียนรู้ ตามทหี่ ลักสตู รกาหนด ๔.๓ วางแผนการจัดกจิ กรรมร่วมกนั ในหน่วยการเรียนร้ใู นกรณที ่ีมีวิทยากรเป็นทีม ๔.๔ ให้คาปรึกษา แนะนาเชิงวิชาการ แก่ผู้เข้ารับการพัฒนาในสาระของหน่วยการเรียนรู้ ท่ีรบั ผิดชอบ ๔.๕ ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มและให้ขวัญกาลังใจในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้แกผ่ ู้เข้ารับการพฒั นา ๕. บทบำทวทิ ยำกรพีเ่ ล้ยี ง วิทยากรพ่ีเลยี้ ง หมายถงึ ผทู้ ี่ทาหน้าทช่ี ่วยวิทยากรในการจัดกิจกรรมการพัฒนา อานวยความสะดวก ใหแ้ กผ่ ู้เข้ารบั การพฒั นา โดยมบี ทบาท ดงั น้ี ๕.๑ ศึกษาหลักสูตรและทาความเข้าใจสาระของหน่วยการเรียนรู้ทีร่ ับผดิ ชอบให้ชดั เจน ๕.๒ ร่วมวางแผนการจดั กจิ กรรมการพัฒนาและอานวยความสะดวกให้แกว่ ิทยากร ๕.๓ เสริมประสบการณ์การบริหารจัดการเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เข้ารับ การพัฒนา ๕.๔ สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมและให้ขวญั กาลังใจในการปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้แก่ผู้เขา้ รับการพัฒนา ๕.๕ ประเมินผเู้ ขา้ รับการพฒั นาตามแบบประเมนิ ทกี่ าหนด

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา 10 กระบวนกำรพัฒนำ ๑. ก่อนกำรพฒั นำ ผู้เข้ารับการพัฒนา ศึกษา ค้นคว้า ด้วยตนเองจาก เอกสาร ตารา บทความ งานวิจัย ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และ แหล่งเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย ประกอบไปด้วย หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ คณุ ลกั ษณะรองผู้อานวยการสถานศึกษาทพ่ี ึงประสงค์ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การบรหิ ารและการจัดการในสถานศึกษา การพฒั นาตามแนวนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประกอบไปดว้ ย ๑. การพัฒนาทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Literacy) ๒. การพัฒนาทักษะความรูภ้ าษาอังกฤษ (English Literacy) ๓. การพฒั นาความเป็นผ้นู าทางการบรหิ าร (Leadership) ๒. ระหว่ำงกำรพฒั นำ ผู้เข้ารับการพัฒนา รับฟัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท้ังระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนากับวิทยากร และระหว่าง ผู้เข้ารับการพัฒนาด้วยกนั ใช้กระบวนการกลุ่มในการดาเนินกิจกรรม ฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรมตามใบงาน และกจิ กรรม นาเสนอผลการดาเนินกิจกรรม ๓. หลงั กำรพัฒนำ ผู้ผ่านการพัฒนาเป็นผู้มีความรู้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ สามารถนาผลการเรียนรู้ไปปฏิบัติจริง โดยมีกระบวนการติดตามและประเมินผลจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน แนวปฏิบตั สิ ำหรับผเู้ ขำ้ รบั กำรพัฒนำ ๑. ศกึ ษาเอกสารหลกั สูตรและแนวทางการพฒั นาอยา่ งชดั เจน ๒. เตรียมเอกสารประกอบการศกึ ษาในแตล่ ะรายวิชาหรอื ในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ ๓. ตรงตอ่ เวลา ใหค้ วามสนใจและตงั้ ใจเข้ารว่ มกจิ กรรมตามหลกั สูตรทกุ กจิ กรรม ๔. ดาเนินการตามกิจกรรมทวี่ ิทยากรและวิทยากรพเี่ ลยี้ งได้แนะนาและสงั เกต ๕. ทบทวนบทเรียนทุกวันในแต่ละรายวิชา สรุปเปน็ องค์ความรู้ ๖. ปฏิบตั ติ นตามระเบยี บของหน่วยดาเนินการพฒั นา ๗. ในกรณีที่จาเป็นต้องลากิจ ลาป่วย ให้ย่ืนใบลาต่อประธานหน่วยพัฒนา โดยผ่านผู้บริหารโครงการหรือ วิทยากรพ่ีเลีย้ ง ๘. แตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย ใช้วาจาทส่ี ภุ าพ ปฏิบตั ติ นเหมาะสม ให้เกียรตซิ ึ่งกนั และกัน ๙. ละเว้นอบายมุขทุกชนดิ ตลอดระยะเวลาการเข้ารับการพัฒนา ๑๐. ปฏิบัติกิจกรรมอ่นื ๆ ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ๑1 บทที่ ๒ กระบวนการพัฒนา สว่ นท่ี ๑ การเสริมสร้างสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ ๗ วนั หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ คุณลกั ษณะรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาที่พงึ ประสงค์ ระยะเวลา ๑๒ ชวั่ โมง คาอธิบายหนว่ ยการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลิกภาพของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ทักษะการพูด อุดมการณ์ และกระบวนทัศน์ การ สร้างอุดมการณ์และปรับกระบวนทัศน์ในการเป็นรองผู้อานวยการสถานศึกษา วินัยในตนเอง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ธรรมาภิบาลในการบริหาร โดยใช้วิธีการเรียนรู้ ท่ีเน้นการ ปฏิบัติและการประเมินผลท่ี หลากหลาย เพอ่ื ให้รองผ้อู านวยการสถานศึกษามคี ุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รับการพัฒนามอี ดุ มการณ์และกระบวนทัศน์ของการเป็นรองผู้อานวยการสถานศึกษา ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีบุคลิกภาพและสุนทรียภาพเหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพฒั นามที กั ษะการพูดที่ถูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารบั การพัฒนามีวินัยในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และธรรมาภิบาล ในการบริหารของสถานศึกษา ความคดิ รวบยอด รองผูอ้ านวยการสถานศึกษายุคใหม่ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ บุคลกิ ภาพดี มีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ มีความมุง่ ม่นั ดว้ ยอดุ มการณ์ และกระบวนทัศน์ สามารถบรหิ ารสถานศกึ ษาได้อยา่ งมี คณุ ภาพ เป็นแบบอย่างทีด่ ี ให้แกเ่ พื่อนรว่ มงานและหนว่ ยงานทางการศึกษา ส่งผลสัมฤทธ์ิตอ่ ผ้เู รยี นสกู่ ารพฒั นา การศกึ ษาของชาติ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ คุณลักษณะรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษาท่พี งึ ประสงค์ (๑๒ ช่ัวโมง) รายวิชาท่ี ๑.๑ การพัฒนาอุดมการณ์และกระบวนทัศนข์ องการเป็นรองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ช่ัวโมง รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพและสนุ ทรียภาพเหมาะสมกบั รองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๑.๓ การพัฒนาทักษะการพดู ท่ถี ูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๑.๔ การพฒั นาวนิ ยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและ เวลา ๓ ชว่ั โมง ธรรมาภิบาล ในการบริหารของสถานศึกษา

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑๑2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ ระยะเวลา ๒๑ ชั่วโมง คาอธบิ ายหนว่ ยการเรียนรู้ ภาวะผู้นาทางวิชาการมุ่งพัฒนาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ นโยบาย ภารกิจ จุดเน้น การบริหาร จัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการนิเทศภายในส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา ตลอดจนกระบวนการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพ ฝึกปฏิบัติ ประเมิน วิเคราะห์และวางแผน เกี่ยวกับ การบริหารการเปลี่ยนแปลง ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ มียุทธศาสตร์การบรหิ ารสู่ความสาเร็จ เป็นผู้นาทางวชิ าการ เพื่อส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา มีภาวะผนู้ าทางวชิ าการ สอดคล้องกับปรชั ญาการศกึ ษาของชาติ วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีภาวะผู้นาทางวิชาการและสามารถบริหารการเปล่ียนแปลงได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถจัดทาหลักสูตร พัฒนาหลักสตู ร ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง และตามความต้องการของสถานศึกษา มกี ารนาหลกั สตู รไปใช้ และประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตรได้อย่างเป็นระบบ ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถเป็นผู้นาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและวัดผล ประเมนิ ผลตามหลักสูตรการสอนได้ ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถดาเนินการนิเทศภายในได้อย่างหลากหลายสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ๕. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนาสามารถจัดทานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิจยั ในชัน้ เรยี นและนาผล การวิจยั มาใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาได้ ๖. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนามีทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Literacy) ๗. เพอ่ื ให้ผ้เู ขา้ รับการพัฒนามีทักษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) ความคิดรวบยอด ภาวะผูน้ าทางวิชาการเปน็ ทักษะสาคัญสาหรับรองผู้อานวยการสถานศึกษา ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพผ้เู รียน และต่อการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของชาติ โดยเฉพาะในยุคของการเปลี่ยนแปลง ท่ตี อ้ งนาทกั ษะความ เข้าใจและการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Literacy) ทักษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) มาปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตร นวตั กรรม สื่อการเรียนการสอน และการนเิ ทศติดตามรูปแบบใหม่ๆ

หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๑3 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศกึ ษา ระยะเวลา ๓๐ ชวั่ โมง คาอธิบายหนว่ ยการเรียนรู้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของ รองผู้อานวยการสถานศึกษา สามารถวางแผนกลยุทธ์ การตัดสินใจบนพ้ืนฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลักการ ท่ีเหมาะสม สามารถประยุกต์ใชห้ ลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ทรพั ยากรทางการศกึ ษา ระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลโดยใช้วิธีการศึกษา เอกสารการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปราย และการฝึกปฏิบัติจริง เพ่ือให้สามารถจัดการบริหารสถานศึกษา ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นาสามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกจิ ของสถานศกึ ษาบทบาท หน้าที่ ความรบั ผิดชอบของรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถวางแผนกลยทุ ธใ์ หส้ อดคลองกบั บริบทของสถานศกึ ษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถในการบริหารและการจัดการในสถานศึกษา โดยประยุกตใ์ ช้หลักธรรมาภบิ าลกับการบรหิ ารจดั การไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการ นเิ ทศ กากับ ติดตามประเมินและรายงานผล ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ความคิดรวบยอด รองผู้อานวยการสถานศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจ บทบาทหน้าท่ี ความ รับผิดชอบ การวางแผนกลยุทธ์ การตัดสินใจ บนพื้นฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลักการท่ีเหมาะสม โดยยึด หลกั ธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ การบริหารและการจดั การในสถานศึกษา (๓๐ ชัว่ โมง) เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๓.๑ การขับเคลอื่ นนโยบายในสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๓.๒ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยทุ ธ์ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๓.๓ การบรหิ ารงานวิชาการ เวลา ๓ ช่วั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๔ การบรหิ ารงบประมาณ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๓.๕ การบริหารงานทัว่ ไป เวลา ๓ ช่วั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๖ การบรหิ ารงานบคุ คล เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๓.๗ การบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยี

หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑4 รายวชิ าท่ี ๓.๘ ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) เวลา ๓ ชั่วโมง รายวชิ าที่ ๓.๙ การบริหารจดั การสถานศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ เวลา ๓ ช่ัวโมง รายวิชาท่ี ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการท่ี ๑๐ เวลา ๓ ชว่ั โมง

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๑5 ส่วนที่ ๒ การเรียนรใู้ นสภาพจริง ไมน่ ้อยกว่า ๕ วนั คาอธบิ าย ผูเ้ ข้ารับการพฒั นาไดเ้ รยี นรู้การบรหิ ารจดั การตามสภาพจริงในสถานศึกษา ที่มนี วตั กรรมหรือมกี ารปฏิบัติ ทีเ่ ป็นเลิศ องค์กร หน่วยงาน ชุมชน แหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ มีผทู้ รงคุณวุฒิหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านให้ความรู้ แนะนา โดยการเรยี นรู้และประเมินผลจากสภาพจริง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เรียนรู้การบริหารจัดการจากสถานศึกษาท่ีประสบผลสาเร็จและผลการ ปฏิบตั ิงานทีเ่ ป็นเลศิ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เรียนรู้การบริหารจัดการแนวใหม่ที่ประสบความสาเร็จจากองค์กร หนว่ ยงาน ชมุ ชน แหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ ๓. เพ่ือใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนาสามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์การเรียนรู้ตามสภาพจรงิ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการ พฒั นาการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. เรียนรู้ตามสภาพจริงในสถานศึกษา ที่มีนวัตกรรมการบริหาร และหรือมีการจัดการศึกษาประสบ ผลสาเรจ็ และผลการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ป็นเลศิ ระยะเวลา ๓ วัน ๒. เรยี นรู้ในองค์กร หนว่ ยงาน ชมุ ชน แหล่งเรียนรูต้ ่างๆ ระยะเวลา ๑ วัน ๓. สรุปและแลกเปล่ียนเรยี นรู้สถานศกึ ษา องคก์ ร หน่วยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ทีม่ นี วัตกรรม หรือมีการปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลิศ ระยะเวลา ๑ วนั แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. เรยี นรแู้ ละฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ ทมี่ ี นวัตกรรมหรอื มกี ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลิศ โดยจดั กล่มุ ผ้เู ข้ารบั การพัฒนาเปน็ กลุ่มยอ่ ย กลุม่ ละไมเ่ กนิ ๑๐ คน เป็นระยะเวลา ๕ วนั ๑.๑ หลกั เกณฑ์การคัดเลือกสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนร้ตู ่างๆ ที่มี นวัตกรรมหรือมีการปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ ๑.๑.๑ คัดเลอื กสถานศกึ ษาทมี่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบ O-NET / NT ทม่ี คี ่าเฉลีย่ สูงกวา่ ระดับชาติอย่างต่อเน่ือง หรือท่ีได้รับรางวัลต่าง ๆ หรือสถานศึกษาที่มีนวัตกรรมดีเด่น และแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ตามขนาดของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก กาหนดเปน็ สถานที่ ฝกึ ประสบการณ์ ๑.๑.๒ คัดเลือกองค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่มีนวัตกรรมดีเด่น และแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศ มีผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์องค์การ กระบวนการ บริหารจัดการ รูปแบบการพัฒนาองค์การ ปัจจัยความสาเร็จด้านการประสานงาน ความร่วมมือ การส่งเสริม สนับสนุนงบประมาณ กาหนดเป็นสถานท่ฝี ึกประสบการณ์

หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑6 ๑.๒ กิจกรรมศกึ ษาดูงานสถานศึกษา ทมี่ ีนวัตกรรมดเี ด่น และแนวปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ โดยแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ ๑๐ คน โดยมกี ิจกรรมดังน้ี วันที่ กจิ กรรม หมายเหตุ ๑-๓ ๑.๑ ฟังบรรยายสรปุ สภาพปัจจุบนั ของสถานศึกษา ๑.๒ ศกึ ษางานของกล่มุ ต่าง ๆ ในสถานศกึ าโดยศกึ ษาแบบเจาะลึกใน กระบวนการทางาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ และการศกึ ษา รายกรณี (Case Study) ๔ ศกึ ษาดูงานองค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ ท่ีกาหนด ๕ สรปุ ผลการศึกษาดูงานและจดั ทารายงานผลการศกึ ษาดูงานและนาเสนอ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ๑.๓ ช้ินงาน/คะแนน งาน/ช้ินงาน รายละเอยี ด คะแนน ผูป้ ระเมิน พฤติกรรมการเรียนรู้และการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ๔๐ ผอ.ตน้ แบบ/ การเขา้ รว่ มกิจกรรม กลุ่ม เชน่ การตรงต่อเวลา ความเปน็ ผูน้ า ผู้ตาม วิทยากรพเ่ี ลย้ี ง และการให้ความร่วมมือ ตอ่ กจิ กรรม งานกลุ่ม รายงานผลการศึกษาดูงานประกอบดว้ ยภาพรวม ๔๐ วทิ ยากรพเ่ี ลี้ยง ของสถานศกึ ษา บทเรยี นทีไ่ ด้รบั จากการศึกษา นวตั กรรม การปฎิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ จานวน ๒๐ - ๓๐ หน้า รายบคุ คล รายงานการศึกษารายกรณี (Case Study) ๒๐ วทิ ยากรพเ่ี ล้ียง ประกอบดว้ ย สภาพปญั หา และวธิ กี ารแก้ปัญหา ของสถานศกึ ษา การวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะ ของผศู้ ึกษาดูงาน จานวน ๕ - ๑๐ หน้า งานกลมุ่ รายงานผลการศกึ ษาดูงานประกอบดว้ ยภาพรวม ๔๐ วิทยากรพเ่ี ล้ียง ขององคก์ ร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ บทเรยี นที่ไดร้ บั จากการศึกษา นวัตกรรม การปฎิบัตทิ ่เี ปน็ เลศิ ฯ จานวน ๒๐ - ๓๐ หน้า รายบุคคล สรุปองค์ความรู/้ การนาไปใช้ ท่ีไดจ้ ากการศึกษา ๒๐ วทิ ยากรพ่ีเล้ียง ดงู าน องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นร้ตู ่างๆ จานวน ๕ - ๑๐ หน้า การเสนอผล นาเสนอผลการฝึกประสบการณ์และการศึกษาดู ๔๐ ผอ.ต้นแบบ/ การศกึ ษาดงู าน งาน ด้วย power point หรอื วิธีการอื่น ๆ วิทยากรพ่เี ล้ยี ง

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑7 ๑.๔ ผู้อานวยการสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ซ่ึงเป็นสถานที่ฝึก ประสบการณ์บรรยายสรุป ถ่ายทอดประสบการณ์ อานวยความสะดวก กาหนดสถานที่ศึกษาดูงาน และ ประเมินผลผเู้ ข้ารบั การพฒั นา สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. สถานศกึ ษา ท่ีมนี วัตกรรม และการปฎบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลิศ ๒. องค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ทม่ี ีนวตั กรรม และการบรหิ ารทเี่ ปน็ เลิศ การวดั และประเมินผล ๑. การมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม ๒. สงั เกตพฤติกรรม ๓. งานกลุ่ม ๔. งานรายบุคคล ๕. การนาเสนอผลงาน/นทิ รรศการ

หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๑8 ส่วนที่ ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธพ์ ัฒนาการศึกษาในเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ วัน คาอธบิ าย ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาจดั ทาแผนกลยทุ ธ์การพัฒนาการศกึ ษาในสถานศึกษา โดยศึกษาวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ผลการเรียนรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรใู้ นสภาพจริง แลว้ นาเสนอเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการการจดั การความรู้ วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนามีความสามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ การจดั ทาแผนกลยุทธพ์ ัฒนาการศึกษา ในสถานศกึ ษา ๒. เพื่อให้ผเู้ ข้ารบั การพัฒนานาผลการเรียนรู้ในการเสริมสรา้ งสมรรถนะและเรียนร้สู ภาพจรงิ มาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดทาแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา ๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนามที กั ษะการนาเสนอผลงาน และการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการเสริมสร้างสมรรถนะในส่วนท่ี ๑ และการเรียนรูใ้ น สภาพจริงในส่วนที่ ๒ ๒. การแลกเปล่ียนเรียนรู้จากการฝึกประสบการณ์และศึกษาดูงาน โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ใน เรื่อง ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การในสถานศึกษา องคก์ ร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ทีม่ ีนวตั กรรม และการบรหิ ารที่เป็นเลศิ ๓. จัดทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธก์ ารพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการจดั กิจกรรม ผู้เข้ารับการพัฒนานาความรู้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้จากสภาพจริงมาแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ และจดั ทากจิ กรรมดังน้ี วนั ที่ กจิ กรรม หมายเหตุ ๑ ๑. นาเสนอภาพรวมที่ไปศึกษาดูงานทส่ี ถานศึกษา โดยจัดนทิ รรศการและนาเสนอ ดว้ ย Power Point กลุม่ ละประมาณ ๑๐ – ๑๕ นาที ๒. จดั กล่มุ ผู้เข้ารับการพัฒนาใหม่ โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ จดั การความรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เจาะลกึ กรอบงานในสถานศกึ ษา จากทุกกลุม่ นวัตกรรม ผลสาเร็จ จุดเด่น จุดดอ้ ย การปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ และการศึกษารายกรณี ๒ ๑. วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรูท้ ี่มาบูรณาการเพื่อจัดเรียงลาดับความสาคัญของปัญหา แล้วเลือกปัญหาที่สาคัญทส่ี ุดมาจัดทาแผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒. จัดทาแผนกลยุทธจ์ ากปัญหาที่สาคัญทส่ี ุดเพ่ือแก้ปัญหา หรือการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา จัดทาบอร์ดแสดงกระบวนการการจัดทาแผนกลยุทธ์หรือแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ นาเสนอแผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กลุ่มละประมาณ ๑๕ นาที

หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๑9 ชน้ิ งาน/คะแนน งาน/ช้ินงาน รายละเอยี ด คะแนน ผู้ประเมิน ๕๐ วิทยากรพี่เลย้ี ง การนาเสนอและการทางานเป็นทมี (งานกลุ่ม) ๕๐ วทิ ยากรพ่ีเลี้ยง การนาเสนอกระบวนการจัดทา - กระบวนการกลุ่ม แผนกลยทุ ธ์ - ขนั้ ตอนการจัดทาแผนกลยุทธ์โดยใช้ กระบวนการจดั การความรู้ (KM) การนาเสนอและ - นิทรรศการ การจัดนทิ รรศการ - การนาเสนอ การจดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเลศิ (รายบคุ คล) ๕๐ วทิ ยากรพี่เลย้ี ง แผนพัฒนาการศึกษาเพ่ือความ - จัดทาแผนพัฒนาการศกึ ษาเพ่อื ความเป็นเลศิ เป็นเลศิ สอื่ และแหล่งเรียนร้ใู นการพฒั นา ๑. เอกสาร/ใบงาน ๒. สื่อเทคโนโลยี ๓. นทิ รรศการ/บอรด์ การวดั และประเมินผล ๑. สงั เกตพฤตกิ รรม ๒. การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม ๓. งานรายบคุ คล/กลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน

หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา 20 บทที่ ๓ การวดั และประเมนิ ผล การประเมนิ ผล การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพื่อปรับปรุง พัฒนา โดยกาหนดให้มีการประเมินก่อนพัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเม่ือสิ้นสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยยึด วตั ถุประสงค์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด ดังนี้ ๑. กำรประเมินก่อนกำรพฒั นำ ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องเข้ารับการประเมินความรู้กอ่ นรับการพัฒนาด้วยการทดสอบความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง กบั การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสาหรับตาแหนง่ ทีเ่ ข้ารับการพัฒนา ๒. กำรประเมินระหว่ำงกำรพฒั นำ (๕๐๐ คะแนน) ส่วนที่ ๑ กำรเสรมิ สร้ำงสมรรถนะของรองผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ (๑๕๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๒ กำรเรียนรูใ้ นสภำพจริง (๒๐๐ คะแนน) การเรียนรู้ในสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาและสถานศึกษาภาครฐั และเอกชน โดยสงั เกตพฤตกิ รรมการ เรียนรู้ และการสรุปองค์ความรหู้ รอื ชิ้นงานท่ีกาหนด สว่ นท่ี ๓ กำรจัดทำและนำเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนำกำรศึกษำในสถำนศึกษำ ประเมินจากคุณภาพ ชน้ิ งาน การนาเสนอ และการทางานเปน็ ทมี ประกอบดว้ ย (๑๕๐ คะแนน) ๓. เกณฑ์การผา่ นการพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งรองผ้อู านวยการสถานศึกษา ผู้เขา้ รับการพฒั นาตอ้ งมี คะแนนการประเมนิ ตามเกณฑ์ ทีก่ าหนด ดงั น้ี ๓.๑ มีระยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพัฒนาทัง้ หมด ๓.๒ ได้คะแนนการประเมนิ ผล ระหวา่ งการพัฒนาไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐ ๓.๓ ผา่ นการประเมนิ ความรู้หลังการพฒั นาดว้ ยการทดสอบความรู้เม่ือส้ินสดุ การพฒั นา ไมต่ า่ กว่า ร้อยละ ๘๐ กรอบการประเมนิ ๑. ดา้ นระยะเวลา ๑.๑ มีระยะเวลาในการเขา้ รับการพัฒนาไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาทั้งหมด ๑.๒ ผเู้ ข้ารับการพฒั นาจะต้องมีระยะเวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรมและผ่านการพฒั นาทั้ง ๓ สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ ๑ การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของรองผอู้ านวยการสถานศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๙๐ ส่วนท่ี ๒ การเรียนรูใ้ นสภาพจริง ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ส่วนท่ี ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศึกษาไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๙๐

หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒1 ๒. ดำ้ นกำรประเมนิ ผลระหว่ำงกำรพฒั นำและเม่อื สน้ิ สดุ กำรพฒั นำ รายละเอยี ด ดงั นี้ ๒.๑ การประเมินระหวา่ งการพฒั นา (๕๐๐ คะแนน) ส่วนที่ ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศึกษา (Competency) (๑๕๐ คะแนน) การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ประเมนิ จากการสงั เคราะห์องคค์ วามรู้ การนาไปประยุกต์ใช้ หรอื ชิ้นงานท่กี าหนด ๓ หน่วยการเรียนรแู้ ละการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ประเมนิ จาก ๒.๑.๑ สรปุ องคค์ วามรู้จากการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Strategy Formulation) (๒๐ คะแนน) ๒.๑.๒ สรุปองค์ ความรู้ จากการอบรมพฒั นา (๑๐๐ คะแนน) ๒.๑.๓ ประเมินพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม (๓๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๒ การเรยี นรู้ในสภาพจริง (๒๐๐ คะแนน) การเรียนรู้และฝึกประสบการณ์ตามสภาพจริงการบริหารจัดการสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ที่มีนวัตกรรม โดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการสรุปองค์ความรู้หรือชิ้นงานท่ีกาหนด (๒๐๐ คะแนน) ประเมนิ จาก ๒.๒.๑ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้และการเขา้ รว่ มกิจกรรม ๔๐ คะแนน ๒.๑.๒ การนาเสนอผลการศกึ ษาสถานศึกษาตามสภาพจรงิ และ ๔๐ คะแนน การศึกษาดงู านองค์กร/หนว่ ยงาน/ชุมชน/แหล่งเรยี นรู้ ทม่ี นี วัตกรรมหรือมีการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ ด้านการบริหาร (งานกล่มุ ) ๒.๑.๓ การสรปุ องค์ความรูจ้ ากการศึกษาสถานศึกษาตามสภาพจรงิ ๔๐ คะแนน (งานกลมุ่ ) ๒.๑.๕ การสรปุ องคค์ วามรูจ้ ากการศึกษาสถานศึกษาตามสภาพจริง ๒๐ คะแนน (รายบคุ คล) ๒.๑.๔ การสรุปองคค์ วามรจู้ ากการศึกษาดงู านองคก์ ร/หน่วยงาน ๔๐ คะแนน /ชุมชน/แหล่งเรยี นรู้ท่ีมนี วตั กรรมหรือมกี ารปฏบิ ตั ิงาน ท่ีเป็นเลิศด้านการบริหาร (งานกลุม่ ) ๒.๑.๖ การสรปุ องคค์ วามรู้จากการศกึ ษาดงู านองคก์ ร/หนว่ ยงาน ๒๐ คะแนน /ชมุ ชน/แหล่งเรียนรู้ท่ีมนี วัตกรรมหรอื มีการปฏบิ ตั งิ าน ทเี่ ปน็ เลิศดา้ นการบรหิ าร (รายบคุ คล)

หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒2 ส่วนที่ ๓ การจัดทาและนาเสนอแผนกลยุทธพ์ ัฒนาการศกึ ษาในสถานศกึ ษา (๑๕๐ คะแนน) ๓.๑ การนาเสนอและการทางานเปน็ ทมี (๑๐๐ คะแนน) ประเมนิ จาก ๓.๑.๑ การนาเสนอกระบวนการการจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ ๕๐ คะแนน ๓.๑.๒ การนาเสนอและการจดั นิทรรศการ ๕๐ คะแนน ๓.๒ ประเมนิ จากแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาเพ่อื ความเปน็ เลิศรายบคุ คล (๕๐ คะแนน) ๒.๒ คะแนนประเมินระหว่างการพัฒนาในแต่ละส่วน ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓. การประเมนิ เม่ือส้นิ สดุ การพฒั นา (๓๐ คะแนน) ผลการประเมินจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ เมื่อสิ้นสุดการพัฒนาโดยทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน ๓๐ ข้อ มผี ลการประเมินไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ สรุป เมื่อสนิ้ สดุ การพัฒนาผเู้ ขา้ รบั การพฒั นาต้องมผี ลการประเมิน โดยใชผ้ ลจาก กระบวนการพัฒนาทั้ง ๓ สว่ น และประเมนิ ความสามารถในการประมวลผลองค์ความรไู้ ปส่กู ารพฒั นา โดย กาหนดเกณฑ์การผา่ นการพฒั นาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ดงั น้ี ๑. มรี ะยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพัฒนาทั้งหมด ๒. ได้คะแนนประเมินระหว่างการพัฒนาในแต่ละส่วน ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓. ได้คะแนนประเมินความรู้เมื่อส้ินสุดการพัฒนา ไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐

หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๒3 รำยชื่อคณะกรรมการดาเนินการจัดทา ท่ปี รึกษำ 1. นายอานาจ วิชยานวุ ัติ . เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 2. นายสนิท แยม้ เกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 3. นางวฒั นาพร ระงับทุกข์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 4. นายกวินทรเ์ กียรติ นนธพ์ ละ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 5. นายวลั ลพ สงวนนาม ผ้ชู ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 6. นายอมั พร พินะสา เลขาธิการ ก.ค.ศ. ๗. นายสมั นาการณ์ บุญเรอื ง ผอู้ านวยการสถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา คณะทำงำนพัฒนำ/ปรับปรุงหลักสูตรกำรพัฒนำข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ 1. นางสุดา สุขอ่า ผู้อานวยการ ประธานคณะทางาน สานกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ รกั ษาการในตาแหนง่ ทป่ี รกึ ษาดา้ นการศึกษาพิเศษ และผู้ดอ้ ยโอกาส 2. ผแู้ ทนสานกั งาน ก.ค.ศ. คณะทางาน 3. นางสาวสรสั วดี มุสกิ บุตร ครู ชานาญการพิเศษ คณะทางาน สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 4. นางสุพรรณี สมทิ ครู ชานาญการพเิ ศษ คณะทางาน สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 5. นางสาวจุฑามาศ คุ้มเณร ครูผูช้ ว่ ย คณะทางาน สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 6. ผอู้ านวยการกลุ่มทุกกลุ่มในสานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ คณะทางาน 7. นายสชุ าติ กลัดสุข ผอู้ านวยการ คณะทางาน สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2 8. นางสาวลออ วลิ ยั ผู้อานวยการ คณะทางาน สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท 9. นายพิเชฐร์ วนั ทอง ผอู้ านวยการ คณะทางาน สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บรุ ี 10. นางวรกญั ญาพิไล แกระหนั รองผ้อู านวยการ คณะทางาน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 11. นางสาวศิรวิ รรณ ขวญั มขุ รองผู้อานวยการ คณะทางาน สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต 1 12. นางสเุ นตร ขวัญดา รองผ้อู านวยการ คณะทางาน สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33

หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 24 13. นางดุจดาว โตบางปา่ รองผูอ้ านวยการ คณะทางาน สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 2 14. นายวาทกานต์ ศรีธรราษฎ์ รองผอู้ านวยการ คณะทางาน สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 คณะทางาน 15. นางสาวเสาวลักษณ์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นเจ้าวัด บญุ จันทร์ สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 2 16. นางสาวเกษแก้ว เจริญเกตุ ครู โรงเรยี นบางระจันวทิ ยา คณะทางาน สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 17. นางจารุวรรณ รตั ภาสกร นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ คณะทางาน สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร 18. ส.อ.พษิ ณุ เกง่ กสวิ ิทย์ นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ คณะทางาน รกั ษาการในตาแหนง่ นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ 19. นายจิรภาพ มเี จริญ นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ คณะทางาน สานกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร 20. นายสังคม จันทรว์ เิ ศษ ผู้อานวยการ คณะทางานและเลขานุการ กลุ่มวจิ ัยและพฒั นาการบริหารทรัพยากรบุคคล สานักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ 21. นายกนั ตภณ พมิ พาลัย นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ คณะทางานและผู้ชว่ ยเลขานุการ สานกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ 22. นางสาวพฒุ ตาล นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ ปราชญศ์ รภี ูมิ สานกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ 23. นางสาวอฉั ราพรรณ อ่ินทา นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัติการ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ สานักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิตกิ าร 24. นางพิมณฏั ฐา นักทรัพยากรบุคคลปฏบิ ัติการ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ สายทพิ ยว์ ดี สานักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ กิ าร 25. นางสาวอารยา นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ ดาราศรศี กั ดิ์ สานักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ *****************************************************************************************

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 25

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 26

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 27

หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook