Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน-ปี-2563-2565

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน-ปี-2563-2565

Published by Tassaya Sawangsawai, 2021-07-06 07:21:20

Description: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน-ปี-2563-2565

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2563-2565 สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 คา่ นิยมองค์กร SMART&T สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มนโยบายและแผน

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ คานา สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต 4 ไดจ้ ัดทำแผนพฒั นำกำรศึกษำ ข้นั พน้ื ฐำน พ.ศ. 2563 - 2565 เพอื่ ใช้เปน็ กรอบทศิ ทำงเปำ้ หมำยในกำรดำเนินงำนขับเคลื่อนและพัฒนำ กำรศกึ ษำ มงุ่ หวังเป็นองค์กรจดั และสง่ เสริมสนับสนุนกำรจดั กำรศึกษำในเขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำให้มคี ุณภำพ มคี ำ่ เฉลี่ยตำมเกณฑ์มำตรฐำนและทดั เทียมระดับประเทศ โดยกำรนำผลกำรดำเนินงำน ควำมจำเปน็ ควำม ตอ้ งกำร และควำมสอดคล้องเชอ่ื มโยงกบั นโยบำยรัฐบำล กระทรวงศึกษำธิกำร สำนกั งำนคณะกรรมกำร กำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน จังหวดั เชยี งใหม่ มำวิเครำะห์ศกั ยภำพสำนักงำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศกึ ษำ SWOT Analysis เพอื่ กำหนด วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้ำประสงค์ กลยุทธ์ จุดเนน้ ตัวชวี้ ัด โครงกำร/กิจกรรม ไดร้ ับควำม เหน็ ชอบจำกคณะกรรมกำรกล่นั กรอง สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 ขอขอบคุณผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องทกุ ทำ่ นที่ ทำให้กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 – 2565 สำเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ แผนพัฒนำกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนฉบับนี้ จะใช้เป็นกรอบทิศทำงเป้ำหมำในกำรดำเนินงำนให้ สัมฤทธิ์ผลไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ เกิดประโยชนส์ งู สุด สำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 กุมภำพันธ์ 2563 สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ สารบัญ คานา ขอ้ มูลพ้นื ฐาน หนา้ สารบัญ  ที่ตัง้ และสภำพทำงภมู ศิ ำสตร์ ส่วนท่ี 1  อำนำจหนำ้ ทสี่ ำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำ 1 1 ข้อมูลพ้ืนฐานทางการศกึ ษา 2  ขอ้ มูลจำนวนบุคคลำกร 4  ขอ้ มูลจำนวนโรงเรยี นและนกั เรยี น 4  ผลกำรดำเนินงำนดำ้ นคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำ 5 9 ส่วนที่ 2 นโยบายและยทุ ธศาสตรท์ ี่เก่ียวข้อง 16  รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย 16  ยทุ ธศำสตรช์ ำติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) 16  แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12(พ.ศ.2561-2564) 18  แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560-2579 20  นโยบำยและจดุ เนน้ กำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 22  แผนพฒั นำกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2561-2564) 24  นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ.2563 25 สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการจดั การศึกษา 32  วเิ ครำะหส์ ภำพองค์กร SWOT 32  ทิศทำงกำรจดั กำรศึกษำของสำนักงำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 36 แผนท่กี ลยทุ ธ์สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต 4 43 สว่ นท่ี 4 แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2563 – 2565 44  โครงกำร/กจิ กรรม 44 สว่ นที่ 5 การบริหารแผนส่คู วามสาเร็จ 47  กำรบริหำรจดั กำรแผน 47  กำรกำกบั ตดิ ตำม/ประเมินผล 47 ภาคผนวก  คณะทำงำน สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ท่ตี งั้ และสภาพทางภมู ศิ าสตร์ สำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔ เปน็ หนว่ ยงำนทำงกำรศกึ ษำทีเ่ กดิ ขึ้น ตำมพระรำชบัญญตั ิระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง กำรแบง่ สว่ นรำชกำรภำยในสำนกั งำนเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำ ประถมศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๕๓ ปจั จุบันสำนกั งำนเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต ๔ ตัง้ อยเู่ ลขท่ี ๑๓๔ หมู่ที่ ๘ ถนนเชยี งใหม่ – ฮอด ตำบลสันกลำง อำเภอสนั ป่ำตอง จังหวัดเชียงใหม่ อยทู่ ำงทิศใตข้ องจงั หวดั เชียงใหม่ ห่ำงจำกตัวจงั หวดั ๒๐ กโิ ลเมตร ประกอบด้วย ๕ อำเภอ มีอำณำเขตติดต่อกบั อำเภอและจังหวัดใกล้เคียง ดงั นี้ ทศิ เหนอื อำเภอสะเมิง และอำเภอเมืองเชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอเมืองลำพูน จังหวดั ลำพนู ทิศตะวันออก อำเภอสนั กำแพง จังหวัดเชยี งใหม่ ทิศตะวนั ตก อำเภสอจำอนมำกทงองนแเขละตอพำเภำนอทแกำม่แจร่มศำกจษังหวเชัดเำยชงยี งใใหหมม่ำเขต 4 แผนทแี่ สดงอาณาเขตรับผดิ ชอบ อาเภอเมืองเชียงใหม่ อาเภอสะเมิง หางดหางงดง อาเภอแม่แจ่ม แม่วาง หางดง # สำนำกง นเขต.shp ถนน.shp แม่วาแมง่วาง สนั ปสา่น่ปต่าตออง ง # สารภสี ารภ่ อำเภอ.shp ดอยหลำอ สันป่ าตอง แมวำ ง สนำปำตอง อาเภอจอมทอง ดอยดหอยลหล่อดอ่ อยหล่อ อาเภอ ส รภำ สันกาแพง ห งดง จังหวดั ลาพนู N 10 0 10 20 Miles WE S สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ อานาจหนา้ ท่ีของสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา สำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔ เป็นหน่วยงำนทำงกำรศกึ ษำสังกัด สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน มีอำนำจหนำ้ ท่ีดำเนินกำรใหเ้ ป็นไปตำมอำนำจหน้ำที่ของสำนักงำน เขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำตำมกฎหมำยว่ำด้วยระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ. ๒๕๔๖ แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และประกำศกระทรวงศึกษำธกิ ำร เรื่อง กำรแบ่งสว่ นรำชกำรภำยในสำนักงำนเขต พน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ พ.ศ. 2560 มีอำนำจหน้ำท่ี ดังต่อไปนี้ ๑. จดั ทำนโยบำย แผนพฒั นำ และมำตรฐำนกำรศึกษำของเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำใหส้ อดคลอ้ งกับ นโยบำยมำตรฐำนกำรศึกษำ แผนกำรศึกษำ แผนพัฒนำกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำนและควำมต้องกำรของท้องถน่ิ ๒. วเิ ครำะหก์ ำรจัดตั้งงบประมำณเงินอุดหนนุ ทวั่ ไปของสถำนศึกษำ และหนว่ ยงำนในเขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำ และแจ้งกำรจัดสรรงบประมำณท่ีไดร้ ับให้หน่วยงำนข้ำงตน้ รบั ทรำบ รวมทัง้ กำกับตรวจสอบติดตำม กำรใช้จำ่ ยงบประมำณของหนว่ ยงำนดงั กล่ำว ๓. ประสำน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพัฒนำหลกั สตู รร่วมกับสถำนศกึ ษำในเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ ๔. กำกับ ดูแล ติดตำม และประเมินผลสถำนศึกษำขั้นพ้นื ฐำนในเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ ๕. ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย และรวบรวมขอ้ มูลสำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำในเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำ ๖. ประสำนกำรระดมทรัพยำกรด้ำนตำ่ ง ๆ รวมทั้งทรพั ยำกรบคุ คล เพ่ือส่งเสริม สนับสนนุ กำรจดั และกำรพัฒนำกำรศึกษำในเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำ ๗. จัดระบบกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำ และประเมินผลสถำนศึกษำในเขตพ้นื ที่กำรศกึ ษำ ๘. ประสำน สง่ เสริม สนบั สนุน กำรจดั กำรศึกษำของสถำนศกึ ษำเอกชน องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ รวมทัง้ บุคคล องค์กรชมุ ชน องค์กรวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำรและสถำบนั อ่ืน ทจี่ ัดรปู แบบท่ีหลำกหลำยในเขตพนื้ ที่กำรศึกษำ ๙. ดำเนนิ กำรและประสำน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กำรวิจยั และพัฒนำกำรศึกษำในเขตพ้นื ที่ กำรศกึ ษำ ๑๐. ประสำน ส่งเสริม กำรดำเนินงำนของคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำร และคณะทำงำน ดำ้ นกำรศึกษำ ๑๑. ประสำนกำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรทัว่ ไปกับองคก์ รหรือหนว่ ยงำนตำ่ ง ๆ ทั้งภำครฐั เอกชน และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ๑๒. ปฏิบตั ิงำนรว่ มกบั หรอื สนบั สนุนกำรปฏบิ ตั งิ ำนของหน่วยงำนอน่ื ที่เก่ียวขอ้ งหรือที่รับมอบหมำย สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ โครงสรา้ งการบรหิ ารสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 กศจ.เชียงใหม่ สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 หน่วยตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา กลุ่ม กลมุ่ บรหิ ารงาน กลมุ่ บรหิ าร กลมุ่ นโยบาย กล่มุ นเิ ทศ กลมุ่ ส่งเสรมิ อานวยการ การเงินและ งานบุคคล และแผน ติดตาม การจดั สนิ ทรพั ย์ และประเมนิ ผลฯ การศกึ ษา กลุม่ ส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล กลุ่มพฒั นาครูและ กลุ่มกฎหมายและคดี เทคโนโลยีและการส่ือสาร บุคลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ข้อมลู พ้นื ฐานทางการศึกษา สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔ มบี คุ ลำกร ครู นักเรียน สถำนศึกษำ หนว่ ยงำนทำงกำรศกึ ษำ องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และประชำกรในเขตบริกำรท้งั ๕ อำเภอ ดงั รำยละเอยี ด เสนอตำมตำรำงท่ี ๑ - 5 ดงั น้ี ตารางท่ี ๑ แสดงข้อมลู จำนวนบุคลำกร บคุ ลากร จานวน (คน) ๑. สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 1 ๑.๑ ผอู้ ำนวยกำรเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำ 4 ๑.๒ รองผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำ 11 ๑.๓ ศึกษำนิเทศก์ 41 ๑.๔ บคุ ลำกรอื่นตำม มำตรำ ๓๘ ค (๒) 3 ๑.๕ ลกู จำ้ งประจำ 60 รวม 923 ๒. สงั กดั สถานศึกษา 23 50 ๒.๑ ข้ำรำชกำรครู ๒.๒ พนกั งำนรำชกำร 102 ๒.๓ ลกู จ้ำงประจำ 23 ๒.๔ ลกู จำ้ งชั่วครำว 1,121 ๒.๔.๑ ครูอัตรำจ้ำง ๒.๔.๒ นกั กำรภำรโรง รวม รวมท้ังสิ้น 1,181 ท่มี า : ขอ้ มูลDMC สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน (ณ วนั ที่ ๑๐ มถิ ุนำยน ๒๕62) สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตารางที่ 2 แสดงจำนวนโรงเรียนและนกั เรยี นสงั กัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน จำแนกเปน็ อำเภอ อาเภอ จานวนโรงเรยี น รวม ก่อน จานวนนักเรียน ร.ร ร.ร ร.ร. ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม หลัก สาขา เรยี นรวม ประถม สนั ปำ่ ตอง 18 - 8 26 417 2,563 245 - 3,029 หำงดง 22 - 4 26 723 2,626 529 - 3,878 สำรภี 17 - 1 18 693 3,059 693 - 4,445 แมว่ ำง 17 1 3 21 457 1,661 307 173 2,598 ดอยหล่อ 14 - - 14 323 967 143 - 1,433 รวม 88 1 16 105 2,613 10,680 1,917 173 15,383 ท่ีมา : ขอ้ มลู DMC สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน (ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ำยน ๒๕62) สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 มีโรงเรยี นในสงั กัด จำนวน 104 โรง 1 สำขำ จัดกำรเรียนกำรสอน 88 โรง 1 สำขำ จำแนกเป็นดงั น้ี  โรงเรยี นขยายโอกาส จานวน 25 โรง  โรงเรยี นขนาดเลก็ (1-120 คน) จานวน 61 โรง แบง่ เป็น  ไม่มีนักเรยี น จำนวน 17 โรง  นกั เรยี น 1 - 20 คน จำนวน - โรง  นักเรยี น 21 – 40 คน จำนวน 2 โรง  นกั เรียน 41 – 60 คน จำนวน 12 โรง  นักเรยี น 61 – 80 คน จำนวน 13 โรง  นกั เรียน 81 – 100 คน จำนวน 9 โรง  นกั เรยี น 101 – 120 คน จำนวน 8 โรง  โรงเรียนทไ่ี ปจดั การเรยี นการสอนรวมกับโรงเรียนอืน่ ทุกช่วงชั้น จานวน 16 โรง ได้แก่ 1. โรงเรียนต้นแหนหลวงประสิทธ์วิ ิทยำ เรียนรวมกับโรงเรยี นบ้ำนทงุ่ เสยี้ ว 2. โรงเรยี นดอนชัยวทิ ยำคำร เรียนรวมกับโรงเรยี นบำ้ นทงุ่ เสยี้ ว 3. โรงรยี นวัดทุง่ หลุก เรียนรวมกบั โรงเรยี นบำ้ นทงุ่ เสยี้ ว 4. โรงเรียนวดั สวำ่ งอำรมณ์ เรียนรวมกับโรงเรยี นบำ้ นทงุ่ เสยี้ ว 5. โรงเรียนวัดทอ้ งฝำย เรยี นรวมกบั โรงเรียนบ้ำนทงุ่ เสี้ยว 6. โรงเรยี นวัดศรีอุดม เรียนรวมกับโรงเรยี นวดั นำ้ บ่อหลวง 7. โรงเรียนบำ้ นหำรแกว้ เรียนรวมกบั โรงเรยี นวดั ศรสี ว่ำง 8. โรงเรียนวัดศรีสุพรรณ์ เรียนรวมกบั โรงเรยี นวัดศรีสว่ำง 9. โรงเรยี นวดั รตั นำรำม เรียนรวมกับโรงเรยี นบ้ำนแม่ก้งุ หลวง 10. โรงเรียนสำรภีวิทยำคำร เรยี นรวมกบั โรงเรยี นไตรมติ รวทิ ยำ 11. โรงเรยี นวดั วงั ผำปนู รวมกบั โรงเรยี นแม่วินสำมัคคี 12. โรงเรยี นวัดขนุ คง เรียนรวมโรงเรียนบ้ำนท่ำขนุ คง 13. โรงเรียนบำ้ นทำ่ ขนุ คง เรียนรวมโรงเรยี นบ้ำนสันทรำย 14. โรงเรยี นวดั ท่ำโปง่ เรยี นรวมโรงเรียนกว่ิ แลน้อยประสิทธ์ิวิทยำและโรงเรยี นบำ้ นนำ้ บอ่ หลวง 15. โรงเรียนบ้ำนใหมป่ ำงเติม เรียนรวมโรงเรียนบำ้ นกำด(เขมวังสฯ์ )) 16. โรงเรียนวดั ตำหนกั เรียนรวมโรงเรยี นวัดบวกครกเหนือ สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนโรงเรียนและนักเรียนสังกัดสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน จำแนกตำมขนำด ขนาดโรงเรียน จานวนโรงเรียน รอ้ ยละ 17 16.19 ไมม่ ีนักเรียน ขนำดท่ี 1 - - จำนวนนักเรียน 1 - 20 คน 2 1.90 จำนวนนกั เรยี น 21 – 40 คน 12 11.43 จำนวนนักเรยี น 41 – 60 คน 13 12.38 จำนวนนักเรียน 61 – 80 คน 9 8.57 จำนวนนกั เรียน 81 – 100 คน 8 7.62 จำนวนนกั เรียน 101 – 120 คน 25 23.81 13 12.38 ขนำดที่ 2 จำนวนนกั เรียน 121 – 200 คน 2 1.90 ขนำดที่ 3 จำนวนนักเรียน 201 – 300 คน 3 2.86 ขนำดที่ 4 จำนวนนกั เรียน 301 – 499 คน 1 0.95 ขนำดที่ 5 จำนวนนักเรียน 500 – 1,499 คน - ขนำดท่ี 6 จำนวนนักเรยี น 1,500 – 2,499 คน 105 100 ขนำดที่ 7 จำนวนนักเรียน 2,500 คน ข้นึ ไป รวม ทีม่ า : ขอ้ มูล DMC สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ำยน ๒๕62) - โรงเรียนท่ไี มม่ นี ักเรียน จำนวน 17 โรง ได้แก่ 1. โรงเรียนต้นแหนหลวงประสิทธิ์วิทยำ อำเภอสันปำ่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2. โรงเรยี นวัดศรอี ุดม อำเภอสนั ปำ่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ 3. โรงเรยี นวดั สวำ่ งอำรมณ์ อำเภอสนั ป่ำตอง จังหวัดเชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 4. โรงเรียนดอนชยั วิทยำคำร อำเภอสันปำ่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่ จังหวดั เชยี งใหม่ 5. โรงเรียนวดั ทุ่งหลุก อำเภอสันปำ่ ตอง จังหวดั เชียงใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ 6. โรงเรยี นวดั ท้องฝำย อำเภอสันปำ่ ตอง จังหวัดเชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ 7. โรงเรยี นวัดทำ่ โป่ง อำเภอสันปำ่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ 8. โรงเรยี นวัดรตั นำรำม อำเภอสันป่ำตอง จังหวัดเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ 9. โรงเรยี นบ้ำนหำรแก้ว อำเภอหำงดง จังหวดั เชียงใหม่ 10. โรงเรยี นวัดขนุ คง อำเภอหำงดง 11. โรงเรยี นบ้ำนทำ่ ขุนคง อำเภอหำงดง 12. โรงเรยี นวดั ศรีสพุ รรณ์ อำเภอหำงดง 13. โรงเรยี นวดั วงั ผำปูน อำเภอแมว่ ำง 14. โรงเรียนสำรภวี ิทยำคำร อำเภอแม่วำง 15. โรงเรียนบ้ำนใหม่ปำงเตมิ อำเภอแมว่ ำง 16. โรงเรยี นบำ้ นตำหนกั อำเภอสำรภี 17. โรงเรียนบำ้ นเจรญิ สำมัคคี อำเภอดอยหล่อ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตารางท่ี 4 จำนวนนกั เรยี น สงั กัด สพฐ. ปีกำรศึกษำ 2562 จำแนกตำมระดับกำรศึกษำ/ชนั้ /เพศ/ห้องเรยี น ระดับการศึกษา/ช้นั ชาย จานวนนักเรยี น รวม จานวน อนุบำล 1 107 หญิง 225 ห้องเรียน อนบุ ำล 2 571 1,101 อนบุ ำล 3 686 118 1,287 17 530 80 รวมก่อนประถมศึกษา 1,364 601 2,613 84 ประถมศกึ ษำปีท่ี 1 1,018 1,249 1,947 181 ประถมศกึ ษำปที ่ี 2 1,028 1,875 ประถมศกึ ษำปีที่ 3 886 929 1,711 101 ประถมศกึ ษำปีท่ี 4 906 847 1,723 102 ประถมศกึ ษำปีท่ี 5 873 825 1,704 100 ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 929 817 1,720 100 831 98 รวมประถมศกึ ษา 5,640 791 10,680 100 มธั ยมศึกษำปีที่ 1 342 5,040 679 601 มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 344 612 มัธยมศึกษำปที ี่ 3 325 337 626 30 268 29 รวมมธั ยมศึกษาตอนตน้ 1,011 301 1,917 30 มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 4 37 906 81 89 มธั ยมศึกษำปที ี่ 5 18 43 มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 21 44 49 3 25 3 รวมมธั ยมศึกษาตอนปลาย 76 28 173 3 รวมท้ังสน้ิ 8,091 97 15,383 9 7,292 880 ที่มา : ขอ้ มูลDMC สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน (ณ วันที่ ๑๐ มิถุนำยน ๒๕62) สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตารางท่ี 5 จำนวนนักเรยี นที่จบกำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2561 ชั้น/รายการ นักเรยี นท่ีจบการศกึ ษา จบชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน (คน) รอ้ ยละ 1. ศึกษำตอ่ 492 28.55  โรงเรยี นเดมิ 1,029 59.72  โรงเรียนอืน่ สงั กดั สพฐ. 1.57  โรงเรียนสงั กัดเอกชน 27 4.01  โรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนกสำมญั 69 0.64  กศน. 11 4.06  โรงเรียนอื่น สงั กัด อบจ. 70 1.45 25 100.00  อ่นื ๆ 1,723 รวม 98.34 591 1.16 จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 7 0.33 1. ศกึ ษำต่อ 2 0.17 2. ประกอบอำชพี 1 100.00 3. บวชเรียน 4. ไม่ประกอบอำชพี และไม่ศึกษำต่อ 601 54.54 45.46 รวม 24 จบช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 20 1. ศกึ ษำตอ่ 2. ประกอบอำชพี 44 100.00 3. บวชเรยี น 4. ไมป่ ระกอบอำชพี และไม่ศึกษำต่อ รวม ท่ีมา : ขอ้ มูลDMC สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน (ณ วนั ที่ ๑๐ มิถุนำยน ๒๕62) สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ผลการดาเนินงานดา้ นคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา แผนภมู ิท่ี 1 ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นออกของผ้เู รยี น (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2560-2561 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผ้เู รยี น (Reading Test : RT)ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560-2561 ผลคะแนนการทดสอบจาแนกตามความสามารถ ระดับ การอ่านออกเสียง การอา่ นรู้เรอ่ื ง รวม 2 สมรรถนะ ประเทศ 2560 2561 2560 2561 2560 2561 สพฐ. สพป.เชียงใหม่ เขต 4 73.57 66.13 69.58 71.24 71.60 68.69 73.34 65.70 69.52 71.17 71.46 68.44 73.61 65.80 69.14 71.93 71.37 68.86 ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนออกของผ้เู รียน (Reading Test : RT) ของนักเรียน ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2561 พบวำ่ นักเรยี นมีควำมสำมำรถในด้ำนกำรอ่ำนออกเสียง รอ้ ยละ 65.80 กำรอ่ำนรูเ้ ร่ือง รอ้ ยละ 71.93 เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ระดับ สพฐ.และระดับประเทศ พบวำ่ สูงกว่ำ ระดบั สพฐ.และระดบั ประเทศทั้ง 2 สมรรถนะ สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ แผนภูมทิ ี่ 2 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำ NT ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 3 ปกี ำรศึกษำ 2559-2561 เปรียบเทยี บระดบั ประเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษา NT ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2559 – 2561 เปรยี บเทียบระดับประเทศ ประเทศ ความสามารถด้านภาษา ความสามารถด้านคานวณ ความสามารถดา้ นเหตุผล เฉล่ยี ทั้ง 3 ด้าน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 51.00 52.67 53.18 36.99 37.75 47.19 53.38 45.31 48.07 47.13 45.25 49.48 54.25 54.92 55.25 40.51 40.71 51.93 58.46 46.15 50.34 51.07 47.26 52.52 ผลกำรประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี น NT ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2561 สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต 4 พบวำ่ นกั เรียนมีควำมสำมำรถด้ำนภำษำ มคี ำ่ เฉลี่ย ร้อยละมำกทสี่ ดุ ร้อยละ 55.25 รองลงมำ ด้ำนคำนวณ ร้อยละ 51.93 และนอ้ ยท่สี ุด ดำ้ นเหตุผลมคี ำ่ เฉลย่ี ร้อยละ 50.34 เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั ปกี ำรศกึ ษำ 2559 และปกี ำรศึกษำ 2560 พบวำ่ นกั เรียนมีควำมสำมำรถ ดำ้ นภำษำและด้ำนคำนวณสูงขน้ึ ส่วนด้ำนเหตผุ ลมคี ำ่ เฉลี่ยลดลง เมอ่ื เปรียบเทยี บค่ำเฉลี่ยทงั้ 3 ดำ้ น ระหว่ำง ปกี ำรศึกษำ 2559, 2560 และ 2561 พบวำ่ ผลกำรประเมนิ ท้ัง 3 ดำ้ น ปกี ำรศึกษำ 2561 มีค่ำคะแนน สูงกว่ำปีกำรศึกษำ 2559 และปีกำรศึกษำ 2560 แตเ่ ม่ือเปรียบเทยี บกับระดับประเทศ พบวำ่ ทงั้ 3 ปีกำรศกึ ษำ มคี ่ำเฉลี่ยท้ัง 3 ด้ำน สูงกวำ่ ระดบั ประเทศ สำนกั งำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ แผนภูมทิ ี่ 3 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำ O-NET ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2559 - 2561 ปีการศึกษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ีย 2559 55.70 43.18 41.76 34.62 43.82 2560 46.94 37.45 39.26 35.42 39.77 2561 56.71 38.91 40.25 38.15 43.51 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน(O-NET) ช้ันประถมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2559 - 2561 ใน 4 วิชำ พบวำ่ ในปีกำรศึกษำ 2559 มีค่ำคะแนนเฉลีย่ 43.82 สูงกวำ่ คะแนนเฉลีย่ ของ ปกี ำรศึกษำ 2560 และปีกำรศึกษำ 2561 เมื่อดูเป็นรำยวชิ ำ พบว่ำ วชิ ำภำษำไทยมีค่ำคะแนนสูงกว่ำ ทุกวิชำ และวิชำภำษำองั กฤษมีค่ำคะแนนต่ำกวำ่ วชิ ำอืน่ ๆ ทง้ั 3 ปีกำรศึกษำ แผนภมู ทิ ่ี 3 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำ O-NET ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 6 ปีกำรศกึ ษำ 2561 เปรียบเทียบ กับระดบั สพฐ. และระดับประเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 เปรยี บเทยี บกบั ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ ประเทศ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ีย สพฐ. 55.90 37.50 39.93 39.24 43.15 สพป.เชียงใหม่ เขต 4 54.61 35.65 38.83 35.47 41.14 56.71 38.91 40.25 38.15 43.51 สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำตขิ นั้ พ้นื ฐำน(O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 6 ปกี ำรศึกษำ 2561 ใน 4 วิชำ พบว่ำ วิชำภำษำไทย มีค่ำคะแนนสูงสุด ร้อยละ 56.71 ส่วนวิชำที่มีค่ำคะแนนตำ่ สุด ได้แก่ วิชำ ภำษำองั กฤษ ร้อยละ 38.15 เมอ่ื เปรียบเทยี บกับระดับ สพฐ. และระดับประเทศ พบว่ำ มีค่ำคะแนนสูงกว่ำระดบั สพฐ.และระดับประเทศ 3 วิชำ ยกเวน้ วชิ ำภำษำอังกฤษ สูงกวำ่ ระดับ สพฐ. แตต่ ่ำกว่ำระดบั ประเทศ แผนภูมิที่ 5 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3 ปกี ำรศึกษำ 2559 - 2561 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ยี 2559 46.62 28.41 34.48 30.16 34.92 2560 45.46 23.42 30.86 27.82 31.89 2561 54.31 27.97 35.55 27.17 36.25 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขั้นพนื้ ฐำน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2559 – 2561 ใน 4 วชิ ำ พบว่ำ ในปีกำรศึกษำ 2561 มคี ำ่ คะแนนเฉล่ียสูงสุด 36.25 รองลงมำ ได้แก่ ปกี ำรศึกษำ 2559 มีค่ำคะแนน 34.92 และค่ำคะแนนต่ำสุดได้แก่ ปีกำรศึกษำ 2560 มคี ่ำคะแนน 31.89 เม่ือพิจำรณำเป็นรำยวิชำ พบว่ำ วิชำภำษำไทยมีค่ำคะแนนสูงกวำ่ ทกุ วชิ ำ รองลงมำได้แก่ วชิ ำวิทยำศำสตร์ ส่วนวิชำทม่ี คี ่ำคะแนนตำ่ สดุ ท้ัง 3 ปีกำรศกึ ษำ ได้แก่ วชิ ำคณิตศำสตร์ สำนกั งำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ แผนภูมิที่ 6 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำ O-NET ช้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2561 เปรยี บเทยี บกบั สพฐ. และระดับประเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 เปรียบเทยี บกับระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ ประเทศ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลี่ย สพฐ. สพป.เชียงใหม่ เขต 4 54.42 30.04 36.10 29.45 37.50 55.04 30.28 36.43 29.10 37.71 54.31 27.97 35.55 27.17 36.25 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขน้ั พ้ืนฐำน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ 3 ปีกำรศกึ ษำ 2561 ใน 4 วิชำ พบว่ำ วิชำภำษำไทย มีค่ำคะแนนสูงสุด ร้อยละ 54.31 ส่วนวิชำท่ีมีค่ำคะแนนต่ำท่ีสุด ได้แก่ วิชำคณิตศำสตร์ ร้อยละ 27.97 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับ สพฐ. และระดับประเทศ พบว่ำ มีระดับต่ำกว่ำ ทั้งระดับ สพฐ.และระดับประเทศทุกวชิ ำ แผนภมู ทิ ี่ 7 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 6 ปีกำรศกึ ษำ2559 - 2561 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา เฉล่ยี 2559 45.68 16.79 30.43 20.85 34.32 29.65 2560 43.16 16.33 25.77 19.18 32.63 27.41 2561 33.57 19.42 26.96 20.52 29.28 25.95 สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพ้ืนฐำน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2559– 2561 ใน 5 วิชำ พบว่ำ ในปีกำรศกึ ษำ 2559 มีค่ำคะแนนเฉล่ยี สูงกว่ำปกี ำรศึกษำ 2560 และปีกำรศึกษำ 2561 เมื่อพิจำรณำเปน็ รำยวชิ ำ พบว่ำ วชิ ำภำษำไทย มคี ำ่ คะแนนสงู สดุ ทั้ง 3 ปกี ำรศกึ ษำ สว่ นวิชำที่มคี ำ่ คะแนนตำ่ สดุ ได้แก่ วิชำคณิตศำสตร์ มีค่ำคะแนนต่ำกว่ำวชิ ำอ่นื ๆ ทง้ั 3 ปกี ำรศึกษำ แผนภูมิท่ี 8 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำ O-NET ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 6 ปกี ำรศกึ ษำ 2561 เปรยี บเทยี บ กบั ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ยี ประเทศ 47.31 35.16 31.41 30.72 30.51 35.02 48.16 35.48 31.15 31.04 30.75 35.32 สพฐ. สพป.เชียงใหม่ 33.57 29.28 20.52 19.42 26.96 25.95 เขต 4 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2561 ใน 5 วิชำ พบว่ำ วิชำภำษำไทย มีค่ำคะแนนสูงสุด ร้อยละ 33.57 ส่วนวิชำท่ีมีค่ำคะแนนตำ่ สุด ได้แก่ วชิ ำคณิตศำสตร์ มีคำ่ คะแนนรอ้ ยละ 19.42 เม่ือเปรียบเทียบกบั ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ พบว่ำ มรี ะดับตำ่ กว่ำทงั้ ระดบั สพฐ.และระดับประเทศทุกวิชำ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ แผนภูมิที่ 9 ผลกำรประเมินคณุ ธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมำณ 2559 – 2561 พผ.ศล.ก2าร5ป5ร9ะเ-ม2นิ 5ค6ณุ 1ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559-2561 ปงี บประมาณ ความโปรง่ ใส ความพรอ้ ม ความปลอดจากการ วฒั นธรรม คุณธรรมการทางาน เฉล่ยี รับผิด ทจุ ริตในการปฏบิ ตั งิ าน ในองค์กร ในหนว่ ยงาน 2559 70.20 76.40 93.13 82.09 90.81 81.95 2560 86.45 96.25 97.53 80.69 84.28 89.34 2561 79.44 88.52 96.94 95.86 92.35 89.88 จำกผลกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนกั งำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2559 - 2561 ของสำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 เปรยี บเทียบ 3 ปงี บประมำณ พบวำ่ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 มคี ำ่ คะแนนเฉล่ียร้อยละ 89.88 สูงท่ีสดุ ใน 3 ปงี บประมำณ อย่ใู นลำดับที่ 37 จำก 225 เขตพื้นท่ี กำรศกึ ษำ รองลงมำได้แก่ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 มีค่ำคะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 89.34 และในปีงบประมำณ พ.ศ. 2559 มีค่ำคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 81.95 มีค่ำคะแนนเฉล่ียต่ำท่สี ุดในรอบ 3 ปีประมำณ ผลการติดตามและประเมนิ ผลมาตรฐานสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเขียงใหม่ เขต 4 ปีงบประมาณ 2561 มาตรฐาน ระดับคณุ ภาพของการประเมินตามตวั บง่ ช้ี ตัวบ่งชที้ ี่ 1 ตวั บ่งชที้ ่ี 2 ตวั บ่งช้ที ี่ 3 ตวั บ่งชีท้ ี่ 4 ตวั บ่งชี้ที่ 5 ตวั บ่งชท้ี ี่ 6 ค่าเฉล่ยี มาตรฐานท่ี 1 กำรบรหิ ำรจัดกำรองคก์ ำร ดมี ำก ดีมำก ดมี ำก ดีมำก สคู่ วำมเป็นเลศิ มาตรฐานที่ 2 กำรบริหำรและกำรจดั กำร ดี ดมี ำก ดีมำก ดมี ำก ดี ดมี ำก ศึกษำทม่ี ีประสทิ ธภิ ำพ มาตรฐานท่ี 3 สัมฤทธผิ ลของกำรบริหำร ดี ดเี ยยี่ ม ดมี ำก ดเี ย่ียม พอใช้ ดเี ยย่ี ม ดมี ำก และกำรจัดกำรศึกษำ สรปุ ภาพรวมมาตรฐานที่ 3 ดมี าก คะแนนรวมของภาพรวม (3 มาตรฐาน) ดมี าก ผลกำรประเมินติดตำมและประเมินมำตรฐำนสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำของสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต 4 ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2561 ทง้ั 3 มำตรฐำน ผลกำรประเมินระดบั คุณภำพของกำรประเมินตำมตวั บ่งชี้ พบวำ่ ผลกำรประเมินมีระดับคุณภำพอยู่ในระดับดีมำกท้ัง 3 มำตรฐำน สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ สว่ นที่ 2 นโยบายและยุทธศาสตรท์ เี่ กีย่ วขอ้ ง รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก 6 เมษายน 2560 มำตรำ 54 รัฐต้องดำเนินกำรให้เด็กทุกคนได้รับกำรศึกษำเป็นเวลำสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ กำรศึกษำภำคบงั คบั อย่ำงมีคุณภำพโดยไม่เกบ็ ค่ำใช้จ่ำย รฐั ต้องดำเนินกำรให้เด็กเล็กได้รับกำรดูแลและพัฒนำก่อนเข้ำรับกำรศึกษำตำมวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนำร่ำงกำย จิตใจ วินัย อำรมณ์ สังคม และสติปัญญำให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ ภำคเอกชนเขำ้ มีสว่ นรว่ มในกำรดำเนินกำรดว้ ย รัฐตอ้ งดำเนินกำรให้ประชำชนได้รบั กำรศึกษำตำมควำมต้องกำรในระบบต่ำง ๆ รวมท้งั ส่งเสรมิ ให้มกี ำรเรยี นรู้ ตลอดชีวติ และจดั ใหม้ ีกำรร่วมมือกันระหว่ำงรฐั องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และภำคเอกชน ในกำรจัดกำรศกึ ษำ ทกุ ระดับ โดยรฐั มีหนำ้ ทด่ี ำเนนิ กำร กำกับ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้กำรจดั กำรศึกษำดงั กล่ำวมีคุณภำพและได้ มำตรฐำน สำกล ทัง้ นี้ ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรศึกษำแห่งชำติซ่ึงอยำ่ งน้อยต้องมีบทบัญญตั ิเกี่ยวกับกำรจัดทำแผนกำร ศกึ ษำแหง่ ชำติ และกำรดำเนินกำรและตรวจสอบกำรดำเนินกำรให้เป็นไปตำมแผนกำรศึกษำแหง่ ชำตดิ ว้ ย กำรศึกษำท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนำผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชำติ สำมำรถเช่ียวชำญได้ ตำมควำมถนัด ของตน และมคี วำมรับผิดชอบต่อครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชำติ ในกำรดำเนินกำรให้เดก็ เล็กไดร้ ับกำรดูแล และพัฒนำตำมวรรคสองหรือให้ประชำชนได้รับกำรศึกษำตำมวรรคสำม รัฐต้องดำเนินกำรให้ผู้ขำดแคลนทุนทรัพย์ ไดร้ ับกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรศึกษำ ตำมควำมถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพ่ือใช้ในกำรช่วยเหลือผู้ขำดแคลน ทุนทรัพย์ เพ่ือลดควำมเหล่ือมล้ำในกำรศกึ ษำ และเพื่อเสริมสร้ำงและพัฒนำคุณภำพและประสิทธิภำพครู โดยให้รัฐจัดสรร งบประมำณให้แก่กองทุน หรือใช้มำตรกำรหรือกลไกทำงภำษีรวมทั้งกำรให้ผู้บริจำคทรัพย์สินเข้ำกองทุนได้รับประโยชน์ใน กำรลดหย่อนภำษีด้วย ท้ังน้ี ตำมท่ีกฎหมำยบัญญัติ ซึ่งกฎหมำยดังกล่ำวอย่ำงน้อยต้องกำหนดให้กำรบริหำรจัดกำร กองทุน เป็นอสิ ระและกำหนดให้มีกำรใชจ้ ่ำยเงนิ กองทนุ เพื่อบรรลุวตั ถุประสงคด์ งั กลำ่ ว ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ยุทธศำสตร์ชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เป็นยุทธศำสตร์ชำติฉบับแรกของประเทศไทย ตำมรฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ซงึ่ จะต้องนำไปสกู่ ำรปฏบิ ัติเพ่ือใหป้ ระเทศไทยบรรลุวิสยั ทัศน์ “ประเทศไทย มีควำมม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนำแลว้ ดว้ ยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”ภำยในชว่ งเวลำ ดังกล่ำว เพ่ือควำมสขุ ของคนไทยทุกคน โดยมีเป้ำหมำยกำรพฒั นำประเทศคือ “ประเทศชำติม่ันคง ประชำชนมีควำมสุข เศรษฐกิจพัฒนำอยำ่ งตอ่ เนื่อง สังคมเปน็ ธรรม ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติยง่ั ยืน” โดยยกระดบั ศักยภำพของประเทศใน หลำกหลำยมติ ิ พัฒนำคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวยั ใหเ้ ป็นคนดีเกง่ และมีคณุ ภำพ สร้ำงโอกำส และควำมเสมอภำค ทำงสังคม สร้ำงกำรเตบิ โตบนคณุ ภำพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม และมีภำครัฐของประชำชนเพ่อื ประชำชนและ ประโยชน์สว่ นรวม โดยกำรประเมินผลกำรพัฒนำตำมยุทธศำสตรช์ ำติ ประกอบดว้ ย 1. ควำมอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย 2. ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน กำรพฒั นำเศรษฐกิจ และกำรกระจำยรำยได้ 3. กำรพัฒนำทรพั ยำกรมนุษย์ของประเทศ 4. ควำมเทำ่ เทยี มและควำมเสมอภำคของสังคม 5. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ คณุ ภำพสิ่งแวดล้อม และควำมยั่งยนื ของทรัพยำกรธรรมชำติ 6. ประสทิ ธิภำพกำรบริหำรจัดกำรและกำรเขำ้ ถงึ กำรใหบ้ ริกำรของภำครฐั สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือให้ประเทศไทยสำมำรถยกระดับกำรพัฒนำให้บรรลุตำมวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีควำมม่ันคง มงั่ ค่งั ยัง่ ยืน เป็นประเทศพัฒนำแลว้ ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง” และเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ประเทศข้ำงตน้ จึงจำเปน็ ต้องกำหนดยทุ ธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศระยะยำวท่ีจะทำให้ประเทศไทยมคี วำมมั่นคงใน เอกรำชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อกำรเปล่ียนแปลงจำกปัจจัยภำยในและภำยนอกประเทศในทุกมิติทุกรูปแบบและ ทุกระดับ ภำคเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรม และภำคบริกำรของประเทศได้รับกำรพัฒนำยกระดับไปสู่กำรใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในกำรสร้ำงมูลค่ำเพ่ิมและพัฒนำกลไกท่ีสำคัญในกำรขับเคล่ือนเศรษฐกิจใหม่ท่ีจะสร้ำงและ เพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐำนรำยได้ของประชำชนในภำพรวมและกระจำยผลประโยชน์ไปสู่ ภำคส่วนต่ำง ๆได้อย่ำงเหมำะสม คนไทยได้รับกำรพัฒนำให้เป็นคนดีเก่ง มีวินัย คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมและมี ศักยภำพในกำรคิดวิเครำะห์สำมำรถ “รู้รับ ปรับใช้” เทคโนโลยีใหม่ได้อย่ำงต่อเนื่อง สำมำรถเข้ำถึงบริกำรพื้นฐำน ระบบสวัสดิกำรและกระบวนกำรยตุ ธิ รรมไดอ้ ย่ำงเท่ำเทียมกนั โดยไมม่ ใี ครถกู ทงิ้ ไวข้ ้ำงหลงั กำรพฒั นำประเทศในช่วงระยะเวลำของยุทธศำสตรช์ ำตจิ ะมงุ่ เนน้ กำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงกำรพัฒนำ ควำมมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วนในรูปแบบ“ประชำรัฐ” โดย ประกอบด้วย ๖ ยุทธศำสตร์ได้แก่ 1. ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นควำมม่นั คง มีเปำ้ หมำยกำรพัฒนำท่ีสำคัญ คือ ประเทศชำติมน่ั คง ประชำชนมี ควำมสุข เน้นกำรบริหำรจัดกำรสภำวะแวดล้อมของประเทศให้มีควำมม่ันคง ปลอดภัย เอกรำชอธิปไตย และมีควำม สงบเรยี บร้อยในทกุ ระดับ ต้ังแตร่ ะดับชำติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นกำรพัฒนำคนเคร่อื งมอื เทคโนโลยแี ละระบบฐำนข้อมูล ขนำดใหญ่ให้มีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัยคุกคำมและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับควำมรุนแรง ควบคู่ไป กับกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำด้ำนควำมม่ันคงท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน และท่ีอำจจะเกิดข้ึนในอนำคต ใช้กลไกกำรแก้ไข ปัญหำแบบบูรณำกำรทั้งกับสว่ นรำชกำร ภำคเอกชน ประชำสังคม และองค์กรทไ่ี ม่ใช่รฐั รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้ำนและ มิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐำนของหลักธรรมำภิบำล เพ่ือเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อกำรดำเนินกำรของยุทธศำสตร์ชำติ ดำ้ นอื่น ๆ ใหส้ ำมำรถขบั เคล่ือนไปไดต้ ำมทศิ ทำงและเป้ำหมำยท่ีกำหนด 2. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีมุง่ เนน้ กำรยกระดับ ศักยภำพของประเทศในหลำกหลำยมิติบนพ้ืนฐำนแนวคิด ๓ ประกำร ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่ รำกเหงำ้ ทำงเศรษฐกิจ อัตลักษณ์วัฒนธรรม ประเพณีวิถีชีวิตและจุดเด่นทำงทรพั ยำกรธรรมชำติท่ีหลำกหลำย รวมทั้ง ควำมไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้ำนอื่น ๆ นำมำประยุกต์ผสมผสำนกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้ สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทำงสู่อนำคต ผ่ำนกำรพัฒนำ โครงสร้ำงพื้นฐำนของประเทศในมิติต่ำง ๆ ทั้งโครงข่ำยระบบคมนำคมและขนส่ง โครงสร้ำงพื้นฐำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และกำรปรับสภำพแวดล้อมให้เอื้อต่อกำรพัฒนำอุตสำหกรรมและบริกำรอนำคตและ (๓) “สร้ำงคุณค่ำใหม่ในอนำคต” ด้วยกำรเพ่ิมศักยภำพของผู้ประกอบกำร พัฒนำคนรุ่นใหม่รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อควำมต้องกำรของตลำดผสมผสำนกับยุทธศำสตร์ที่รองรับอนำคต บนพ้ืนฐำนของกำรต่อยอดอดีตและ ปรบั ปัจจุบนั พร้อมท้ังกำรส่งเสริมและสนับสนุนจำกภำครัฐใหป้ ระเทศไทยสำมำรถสรำ้ งฐำนรำยได้และกำรจ้ำงงำนใหม่ ขยำยโอกำสทำงกำรค้ำและกำรลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับกำรยกระดับรำยได้และกำรกินดีอยู่ดีรวมถึงกำรเพ่ิมข้ึนของ คนชัน้ กลำงและลดควำมเหล่ือมลำ้ ของคนในประเทศไดใ้ นครำวเดยี วกนั 3. ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรพัฒนำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีสำคญั เพ่อื พัฒนำคนในทุกมติ ิและในทุกชว่ งวยั ใหเ้ ป็นคนดีเกง่ และมีคณุ ภำพ โดยคนไทยมีควำมพรอ้ มท้ังกำย ใจ สตปิ ัญญำ มพี ัฒนำกำรท่ีดรี อบด้ำนและมสี ุขภำวะทด่ี ใี นทุกช่วงวัยมจี ิตสำธำรณะ รบั ผิดชอบตอ่ สังคมและผู้อ่ืน มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอำรี มวี ินัย รกั ษำศีลธรรมและเปน็ พลเมอื งดขี องชำตมิ หี ลักคดิ ทถ่ี ูกตอ้ ง มีทกั ษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสำรภำษำอังกฤษและภำษำที่สำม และอนุรักษ์ภำษำท้องถิ่น มีนิสัยรักกำรเรียนรู้และกำรพัฒนำตนเอง อย่ำงต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่กำรเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบกำร เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมสี มั มำชีพตำมควำมถนัดของตนเอง สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ 4. ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม มเี ป้ำหมำยกำรพฒั นำท่ีให้ควำม สำคัญกับกำรดึงเอำพลังของภำคส่วนต่ำง ๆ ท้ังภำคเอกชน ประชำสังคม ชุมชนท้องถ่ิน มำร่วมขับเคล่ือน โดยกำร สนับสนุนกำรรวมตัวของประชำชนในกำรรว่ มคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม กำรกระจำยอำนำจและควำมรับผิดชอบไปสู่ กลไกบริหำรรำชกำรแผ่นดินในระดับท้องถ่ินกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนในกำรจัดกำรตนเอง และกำรเตรียม ควำมพร้อมของประชำกรไทยทั้งในมิติสุขภำพ เศรษฐกิจ สังคม และสภำพแวดล้อมให้เป็นประชำกรที่มีคุณภำพ สำมำรถพ่ึงตนเองและทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นำนที่สุด โดยรัฐใหห้ ลักประกันกำรเขำ้ ถึงบรกิ ำร และสวสั ดิกำรทม่ี ีคณุ ภำพอย่ำงเปน็ ธรรมและทว่ั ถงึ 5. ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชวี ติ ที่เป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม มีเป้ำหมำยกำรพฒั นำ ท่ีสำคัญเพ่ือนำไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีย่ังยืนในทุกมิติ ท้ังด้ำนสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมำภิบำล และควำมเป็นหนุ้ ส่วนควำมร่วมมือระหว่ำงกันทง้ั ภำยในและภำยนอกประเทศอย่ำงบูรณำกำร ใช้พ้นื ที่เปน็ ตวั ตงั้ ในกำร กำหนดกลยุทธ์และแผนงำนและกำรให้ทุกฝ่ำยท่ีเกี่ยวข้องได้เข้ำมำมีส่วนร่วมในแบบทำงตรงให้มำกท่ีสุดเท่ำที่จะ เป็นไปไดโ้ ดยเป็นกำรดำเนนิ กำรบนพน้ื ฐำนกำรเติบโตรว่ มกัน ไม่ว่ำจะเปน็ ทำงเศรษฐกิจ ส่งิ แวดล้อม และคุณภำพชวี ิต โดยให้ควำมสำคัญกับกำรสร้ำงสมดุลทั้ง ๓ ด้ำน อันจะนำไปสู่ควำมยัง่ ยืนเพ่อื คนรุ่นตอ่ ไปอย่ำงแท้จรงิ 6. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรปรับสมดลุ และพฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรภำครัฐ มเี ปำ้ หมำยกำรพฒั นำท่ี สำคัญ เพอ่ื ปรับเปล่ยี นภำครัฐท่ียดึ หลัก “ภำครฐั ของประชำชนเพื่อประชำชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภำครฐั ตอ้ ง มขี นำดท่ีเหมำะสมกับบทบำทภำรกิจ แยกแยะบทบำทหนว่ ยงำนของรฐั ที่ทำหน้ำทใี่ นกำรกำกับหรือในกำรให้บริกำรใน ระบบเศรษฐกิจที่มีกำรแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมำภิบำล ปรับวัฒนธรรมกำรทำงำนให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และ ผลประโยชน์ส่วนรวมมีควำมทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนำดใหญ่ ระบบกำรทำงำนที่เป็นดิจิทัลเข้ำมำประยุกต์ใช้อย่ำง คุ้มค่ำและปฏิบัติงำนเทียบได้กับมำตรฐำนสำกล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้ำง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกำสให้ทุกภำค ส่วนเข้ำมำมีส่วนร่วมเพอื่ ตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำงสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภำคส่วน ในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่ำนิยมควำมซ่ือสัตย์สุจริต ควำมมัธยัสถ์และสร้ำงจิตสำนึกในกำรปฏิเสธไม่ยอมรับกำรทุจริต ประพฤติมิชอบ อย่ำงสิ้นเชิง นอกจำกน้ัน กฎหมำยต้องมีควำมชัดเจน มีเพียงเท่ำท่ีจำเป็น มีควำมทันสมัย มีควำมเป็น สำกล มีประสิทธิภำพ และนำไปสู่กำรลดควำมเหลื่อมล้ำและเอื้อต่อกำรพัฒนำ โดยกระบวนกำรยุติธรรมมีกำร บริหำรท่ีมีประสิทธิภำพ เป็นธรรมไม่เลือกปฏบิ ัติและกำรอำนวยควำมยตุ ธิ รรมตำมหลักนิตธิ รรม แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติได้จัดทำแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนำประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นกำรแปลงยุทธศำสตร์ ชำติ ระยะ 20 ปี สกู่ ำรปฏิบตั อิ ยำ่ งเปน็ รูปธรรม เพ่ือเตรยี มควำมพรอ้ มและวำงรำกฐำนในกำรยกระดบั ประเทศไทยให้ เป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว มีควำมม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงกำร พัฒนำประเทศในระยะของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) มีหลักกำรที่ สำคัญ คือ 1. ยึด “หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้เกิดบูรณำกำรกำรพัฒนำในทุกมิติอย่ำง สมเหตุสมผล มีควำมพอประมำณ และมีระบบภูมิคมุ้ กันและกำรบรหิ ำรจดั กำรควำมเส่ียงท่ดี ี ซ่ึงเปน็ เงอื่ นไขท่ีจำเป็น สำหรับกำรพัฒนำที่ย่ังยืนซึ่งมุ่งเน้นกำรพัฒนำคน มีควำมเป็นคนท่ีสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภำพ มีที่ยืนและ เปิดโอกำสให้กบั ทุกคนในสังคมไดด้ ำเนินชีวติ ท่ดี ีมคี วำมสขุ และอย่รู วมกนั อยำ่ งสมำนฉันท์ 2. ยดึ “คนเปน็ ศูนย์กลำงกำรพัฒนำ” มุง่ สรำ้ งคณุ ภำพชีวติ และสขุ ภำวะท่ดี ี สำหรับคนไทยพฒั นำ คนใหม้ ีควำมเป็นคนทีส่ มบูรณ์ มีวินยั ใฝ่รู้ มคี วำมรู้ มที กั ษะ มคี วำมคิดสรำ้ งสรรค์ มีทัศนคติทดี่ ี รบั ผิดชอบต่อ สงั คม มจี ริยธรรมและคุณธรรม พฒั นำคนทุกชว่ งวยั และเตรียมควำมพร้อมเขำ้ สสู่ งั คมผสู้ ูงอำยุอยำ่ งมีคณุ ภำพ รวมถึง สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ กำรสร้ำงคนใหใ้ ชป้ ระโยชนแ์ ละอย่กู ับสงิ่ แวดล้อมอยำ่ งเก้อื กูล อนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟู ใช้ประโยชนท์ รัพยำกร ธรรมชำติและ สงิ่ แวดล้อมอย่ำงเหมำะสม 3. ยึด “วิสัยทัศน์ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี” มำเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ พัฒนำแล้วด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชำติว่ำ “มั่นคง มั่งค่ัง ยัง่ ยืน” 4. ยึด “เป้ำหมำยอนำคตประเทศไทย ปี 2579” ท่ีเป็นเป้ำหมำยในยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี มำเป็นกรอบในกำรกำหนดเป้ำหมำยท่ีจะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้ำหมำยในระดับย่อยลงมำ ควบคู่กับกรอบเป้ำหมำย ทย่ี ่ังยืน (SDGs) 5. ยึด “หลกั กำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจทลี่ ดควำมเหลอ่ื มลำ้ และขับเคล่ือนกำรเจริญเติบโตจำก กำรเพิ่มผลิตภำพกำรผลติ บนฐำนของกำรใช้ภมู ปิ ัญญำและนวตั กรรม” 6. ยดึ “หลกั กำรนำไปสู่กำรปฏิบัติให้เกิดผลสมั ฤทธิ์อย่ำงจริงจังใน 5 ปที ต่ี อ่ ยอดไปส่ผู ลสมั ฤทธิ์ท่ี เป็นเป้ำหมำยระยะยำว” ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศ ประกอบด้วย ๑๐ ยุทธศำสตร์ ซ่ึงเก่ียวข้องกับสำนักงำนคณะกรรมกำร กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จำนวน ๖ ยทุ ธศำสตรต์ ำมกรอบ ดงั น้ี ยุทธศำสตร์ท่ี 1 กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพทุนมนุษย์ ให้ควำมสำคัญกับกำรวำงรำกฐำน กำรพัฒนำคนให้มีควำมสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนำให้มีสุขภำพกำยและใจท่ีดีมีทักษะทำงสมอง ทักษะกำรเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่ำงมีคุณภำพ ควบคู่กับกำรพัฒนำคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มี สุขภำวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะควำมรู้ และควำมสำมำรถ ปรับตัวเท่ำทันกับกำรเปล่ียนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพื้นฐำนของกำรมีสถำบันทำงสังคมท่ีเข้มแข็งท้ังสถำบัน ครอบครัว สถำบัน กำรศึกษำ สถำบันศำสนำ สถำบันชุมชน และภำคเอกชนท่ีร่วมกันพัฒนำทุนมนุษย์ให้มีคุณภำพสูง อีกทงั้ ยังเปน็ ทุนทำงสังคมสำคญั ในกำรขบั เคลือ่ นกำรพฒั นำประเทศ ยุทธศำสตร์ท่ี 2 กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมลดควำมเหลื่อมล้ำในสังคมให้ควำมสำคัญกับกำร ดำเนินกำรยกระดับคุณภำพบริกำรทำงสังคมใหท้ ่ัวถึงโดยเฉพำะอย่ำงย่ิงด้ำนกำรศึกษำและสำธำรณสขุ รวมท้ังกำรปิด ชอ่ งว่ำงกำรคุ้มครองทำงสังคมในประเทศไทยซง่ึ เป็นกำรดำเนนิ งำนต่อเนื่องจำกที่ไดข้ ับเคล่อื นและผลักดนั ในช่วงแผนพัฒนำ ฯ ฉบับท่ี 11 และมงุ่ เน้นมำกขน้ึ ในเรื่องกำรเพิ่มทักษะแรงงำนและกำรใช้นโยบำยแรงงำนที่สนับสนุนกำรเพิม่ ผลติ ภำพ แรงงำนและเสริมสร้ำงรำยได้สูงขึ้น และกำรสร้ำงโอกำสทำงเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรสนับสนุนใน เรื่องกำรสร้ำงอำชีพ รำยได้ และให้ควำมช่วยเหลือที่เชื่อมโยง กำรเพิ่มผลิตภำพสำหรับประชำกรกลุ่มร้อยละ 40 รำยได้ต่ำสุด ผู้ด้อยโอกำสสตรี และผู้สูงอำยุ อำทิ กำรสนับสนุนธุรกิจขนำดเล็ก ขนำดกลำง และขนำดย่อม วิสำหกิจชุมชนและวิสำหกิจเพ่ือสังคม กำรพัฒนำองค์กรกำรเงิน ฐำนรำกและกำรเข้ำถึงเงินทุนเพื่อสร้ำงอำชีพ และ กำรสนับสนุนกำรเข้ำถึงปัจจัยกำรผลิตคุณภำพดีที่รำคำเป็นธรรม เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ต้องเพ่ิมประสิทธิภำพ กำรใชง้ บประมำณเชงิ พ้นื ท่ีและบรู ณำกำรเพ่ือลดควำมเหล่อื มลำ้ ยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน ประเด็นท้ำทำยท่ี ต้องเร่งดำเนินกำรในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ กำรสร้ำงควำมมั่นคงของฐำนทรัพยำกรธรรมชำติและ ยกระดับคุณภำพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนกำรเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภำพชีวิตของประชำชน เร่ง แก้ไขปัญหำวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจำกกำรผลิตและกำรบริโภค พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรที่โปร่งใสเป็น ธรรม ส่งเสริมกำรผลิตและกำรบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้ำงมำกขึ้นต้องเร่งเตรียมควำมพรอ้ มในกำรลดกำร ปล่อยกำ๊ ซเรอื นกระจกและเพม่ิ ขดี ควำมสำมำรถในกำรปรบั ตัวตอ่ กำรเปล่ยี นแปลงสภำพภูมิอำกำศรวมทั้งบริหำรจดั กำร เพอื่ ลดควำมเส่ยี งด้ำนภัยพิบัตทิ ำงธรรมชำติ สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ยุทธศำสตร์ที่ 5 กำรเสริมสร้ำงควำมม่ันคงแห่งชำติเพื่อกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมม่ังคั่งและยั่งยืน ให้ควำมสำคัญต่อกำรฟื้นฟูพ้ืนฐำนด้ำนควำมม่ันคงท่ีเป็นปัจจัยสำคัญต่อกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ โดยเฉพำะกำรอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอยำ่ งสันตขิ องผู้มีควำมเห็นต่ำงทำงควำมคิดและอุดมกำรณ์บนพ้ืนฐำนของกำร ปกครอง ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุขและกำรเตรียมกำรรับมือกับภัยคุกคำมข้ำมชำติ ซงึ่ จะสง่ ผลกระทบอยำ่ งมีนยั สำคัญต่อกำรพัฒนำเศรษฐกจิ และ สังคมของประเทศในระยะ 20 ปีขำ้ งหนำ้ ยทุ ธศำสตร์ที่ 6 กำรบรหิ ำรจัดกำรในภำครัฐ กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมำภิบำล ในสังคมไทย เป็นช่วงเวลำสำคัญทต่ี ้องเร่งปฏิรูป กำรบริหำรจัดกำรภำครัฐให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอยำ่ งจริงจัง เพื่อให้เป็น ปัจจัยสนับสนุนสำคญั ที่จะชว่ ยส่งเสริมกำรพัฒนำประเทศในทกุ ด้ำนให้ประสบผลสำเร็จบรรลุเปำ้ หมำย ทั้งกำรบริหำร จัดกำรภำครัฐให้โปร่งใส มีประสิทธิภำพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่ำงเป็นธรรม และประชำชนมีส่วนร่วม มีกำรกระจำย อำนำจ และแบง่ ภำรกจิ รับผิดชอบท่ีเหมำะสมระหว่ำงส่วนกลำง ภูมิภำค และทอ้ งถิน่ และวำงพืน้ ฐำนเพอ่ื ใหบ้ รรลุตำม กรอบเปำ้ หมำยอนำคตในปี 2579 ยุทธศำสตร์ที่ 8 กำรพัฒนำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมให้ควำมสำคัญกับกำรใช้ องค์ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ ผลงำนวิจัยและพัฒนำ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี นวัตกรรมและควำมคิดสร้ำงสรรค์ อย่ำงเข้มข้นทั้งในภำคธุรกำร ภำครัฐ และภำคประชำสังคม รวมท้ังให้ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำสภำวะแวดล้อม หรือปัจจัยพื้นฐำนที่เอื้ออำนวยทั้งกำรลงทุนด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำ กำรพัฒนำบุคลำกรวิจัย โครงสร้ำงพ้ืนฐำน ทำงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี และกำรบริหำรจัดกำรเพ่ือช่วยขับเคลื่อนกำรพัฒนำประเทศให้ก้ำวสู่เป้ำหมำย ดังกล่ำว แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำได้จัดทำแผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 เพ่ือใช้เป็น แผนยุทธศำสตรร์ ะยะยำวสำหรบั หน่วยงำนท่ีเกยี่ วขอ้ งกับกำรศกึ ษำของประเทศ ได้นำไปใชเ้ ป็นกรอบและแนวทำงกำร พัฒนำกำรศกึ ษำและเรียนรู้สำหรบั พลเมืองทุกช่วงวยั ตงั้ แต่แรกเกิดจนตลอดชีวติ โดยจดุ มุ่งหมำยท่ีสำคัญของแผน คือ กำรมงุ่ เน้นกำรประกันโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำและกำรศกึ ษำเพื่อกำรมีงำนทำและสรำ้ งงำนได้ ภำยใต้ บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและควำมคิดสร้ำงสรรค์ รวมทั้ง ควำม เป็นพลวัตร เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถก้ำวข้ำมกับดักประเทศท่ีมีรำยได้ปำนกลำง ไปสู่ประเทศที่พัฒนำแล้ว ซึ่งภำยใต้กรอบแผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 ได้กำหนดสำระสำคัญสำหรับบรรลุเป้ำหมำยของกำร พฒั นำกำรศกึ ษำในระยะ 15 ปีขำ้ งหน้ำ ดงั น้ี วสิ ยั ทศั น์ : คนไทยทุกคนได้รับกำรศกึ ษำและเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อยำ่ งมคี ุณภำพ ดำรงชวี ติ อยำ่ งเปน็ สขุ สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และกำรเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑ พนั ธกิจ ๑. พัฒนำระบบและกระบวนกำรจัดกำรศึกษำท่ีคนไทยทุกคนเข้ำถึงโอกำสในกำรศึกษำและเรียนรู้ ตลอดชวี ิต สร้ำงควำมเสมอภำคด้ำนกำรศึกษำแก่ผู้เรียนทุกกลมุ่ เป้ำหมำย ยกระดับคุณภำพและประสิทธิภำพของกำร จัดกำรศึกษำทุกระดับ และจัดกำรศึกษำที่สอดคล้องและรองรับกระแสกำรเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๒. พัฒนำคุณภำพของคนไทยให้เปน็ ผมู้ คี วำมร้คู ุณลักษณะ และทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ สำมำรถพัฒนำศกั ยภำพและเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเองอยำ่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ ๓. สร้ำงควำมมั่นคงแก่ประเทศชำติโดยสร้ำงสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งกำรเรียนรู้และสังคม คณุ ธรรม จริยธรรมทคี่ นไทยทกุ คนอยู่รว่ มกนั อย่ำงปลอดภัย สงบสุข และพอเพยี ง สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ๔. พัฒนำศักยภำพและควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศไทย เพ่ือกำรก้ำวข้ำมกับดัก ประเทศรำยได้ปำนกลำง สู่กำรเป็นประเทศในโลกที่หน่ึง และลดควำมเหลื่อมล้ำในสังคมด้วยกำรเพิ่มผลิตภำพของ กำลังแรงงำน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำดงำนและกำรพัฒนำ ประเทศ พร้อมรับกำรเปลย่ี นแปลงทเี่ ปน็ พลวตั ของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ภำยใตย้ ุคเศรษฐกิจและสังคม ๔.๐ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดการศกึ ษา ๑) เพอ่ื พัฒนำระบบและกระบวนกำรจดั กำรศึกษำที่มคี ุณภำพและมีประสิทธิภำพ ๒) เพ่อื พัฒนำคนไทยให้เป็นพลเมอื งดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกบั บทบญั ญัติ ของรัฐธรรมนญู แห่งรำชอำณำจักรไทยพระรำชบญั ญัติกำรศกึ ษำแหง่ ชำติและยุทธศำสตรช์ ำติ ๓) เพ่อื พัฒนำสังคมไทยให้เป็นสงั คมแหง่ กำรเรยี นรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม ร้รู กั สำมัคคี และร่วมมือ ผนึกกำลังมงุ่ สู่กำรพัฒนำประเทศอย่ำงยั่งยนื ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔) เพื่อนำประเทศไทยก้ำวข้ำมกับดกั ประเทศที่มีรำยได้ปำนกลำง และควำมเหล่อื มลำ้ ภำยในประเทศลดลง เพอ่ื ใหบ้ รรลุวสิ ัยทัศน์และจดุ มุ่งหมำยในกำรจดั กำรศึกษำดังกลำ่ วข้ำงต้น แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำตไิ ด้ วำงเป้ำหมำยไว้ ๒ ด้ำน คือ เป้าหมายของการจดั การศกึ ษา (Aspirations) ๑. ประชำกรทกุ คนเขำ้ ถึงกำรศกึ ษำทม่ี ีคุณภำพและมำตรฐำนอย่ำงทั่วถึง (Access) ๒. ผู้เรยี นทุกกล่มุ เปำ้ หมำยได้รับบริกำรทำงกำรศึกษำอย่ำงเสมอภำคและเท่ำเทียม (Equity) ๓. ระบบกำรศึกษำท่ีมคี ุณภำพ สำมำรถพฒั นำผเู้ รียนใหบ้ รรลุขดี ควำมสำมำรถและเต็มตำมศักยภำพ (Quality) ๔. ระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำที่มปี ระสทิ ธภิ ำพ เพื่อกำรพัฒนำผ้เู รยี นอยำ่ งท่ัวถึงและมคี ุณภำพ และกำรลงทุนทำงกำรศึกษำทีค่ ุ้มค่ำและบรรลเุ ปำ้ หมำย (Efficiency) ๕. ระบบกำรศึกษำท่ีสนองตอบและก้ำวทันกำรเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเป็นพลวัตและบริบทท่ี เปลยี่ นแปลง (Relevancy) เปา้ หมายด้านผเู้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนำผเู้ รยี นทุกคนใหม้ ีคุณลักษณะและ ทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคณุ ลักษณะต่อไปนี้  3Rs ไดแ้ ก่ กำรอ่ำนออก (Reading) กำรเขียนได(้ Writing) และกำรคิดเลขเป็น (Arithmetics)  8Cs ได้แก่ ทักษะด้ำนกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ และทักษะในกำรแก้ปัญหำ (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้ำนกำรสร้ำงสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้ำนควำม เข้ำใจต่ำงวัฒนธรรม ต่ำงกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้ำนควำมร่วมมือ กำรทำงำน เป็นทีม และภำวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะดำ้ นกำรสื่อสำร สำรสนเทศ และกำร รู้เท่ำทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้ำนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอำชีพ และทักษะกำรเรียนรู้(Career and Learning Skills) และควำมมเี มตตำ กรุณำ มีวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม(Compassion) ยทุ ธศาสตร์ 1. กำรจัดกำรศกึ ษำเพอ่ื ควำมมั่นคงของสงั คมและประเทศชำติ 2. กำรผลิตและพฒั นำกำลังคนกำรวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ สร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ 3. กำรพฒั นำศกั ยภำพคนทกุ ชว่ งวัย และกำรสรำ้ งสังคมแห่งกำรเรียนรู้ 4. กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเทำ่ เทียมทำงกำรศึกษำ ๕. กำรจดั กำรศกึ ษำเพอ่ื สร้ำงเสริมคณุ ภำพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. กำรพฒั นำประสทิ ธภิ ำพของระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ นโยบายและจุดเนน้ การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 นโยบำยและจุดเน้นกำรจัดกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ปีงบประมำณ พ.ศ.2563 สำนักงำน ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ได้กำหนดนโยบำยและจุดเน้นกำรจัดกำรศึกษำ โดยยึดกรอบกำรปฏิรูปกำรศึกษำ น้อมนำ พระรำชกระแสของสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 10 ด้ำนกำรศึกษำ ท่ีจะต้องมุ่งสร้ำงพื้นฐำนให้เด็ก เยำวชน และ ผเู้ รียนมีทศั นคตทิ ่ถี ูกต้องในเร่ืองสถำบนั หลักของชำติ สร้ำงพืน้ ฐำนชวี ติ (อุปนสิ ยั ) ที่เขม้ แข็ง สร้ำงควำมรู้ ทกั ษะเพ่อื ให้ มีอำชีพ มีงำนทำ และได้นำเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ด้ำนกำรเสริมสร้ำงศักยภำพ และทรัพยำกรมนุษย์ ท่ีมุ่งให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภำพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 และยึด เจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 ท่ีกำหนดหลักกำรในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับกำร พัฒนำเด็กเล็ก (ปฐมวยั ) ที่สำคัญได้ยึดวัตถุประสงค์ของกำรปฏิรูปกำรศึกษำ ภำยใต้แผนปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ ในประเดน็ สำคญั คอื เพ่ือให้กำรดำเนินกำรจัดกำรศึกษำและกำรบริหำรจัดกำรกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ใน ปีงบประมำณ พ.ศ.2563 มีควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ เป้ำหมำยของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ วัตถุประสงค์ของแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ และนโยบำยของรัฐบำล โดยเฉพำะนโยบำยเร่งด่วน เร่ืองกำร เตรยี มคนสูศ่ ตวรรษที่ 21 อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 8 และมำตรำ 12 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรจึงประกำศนโยบำยและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธกิ ำร ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 ดงั นี้ 1) ยกระดบั คุณภำพกำรศึกษำ 2) ลดควำมเหล่ือมลำ้ ทำงกำรศึกษำ 3) มงุ่ ควำมเปน็ เลิศและสรำ้ งขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ 4) ปรบั ปรงุ ระบบกำรศึกษำใหม้ ีประสิทธิภำพ หลักการ 1. ให้ควำมสำคญั กับประเดน็ คณุ ภำพและประสิทธิภำพในทกุ มิติ ทัง้ ผ้เู รยี น ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ขำ้ รำชกำรพลเรือน และผูบ้ ริหำรทุกระดับ ตลอดจนสถำนศึกษำทุกระดับทุกประเภทและเปน็ กำรศกึ ษำตลอดชีวติ 2. บูรณำกำรกำรทำงำนร่วมกันระหว่ำงส่วนรำชกำรหลัก องค์กำรมหำชนในกำกับของรัฐมนตรีว่ำกำร กระทรวงศึกษำธิกำรให้มีควำมคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงำนสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำรในพ้ืนท่ีภูมิภำคให้สำมำรถ ปฏิบัติงำนร่วมกันได้ เพ่ือดำเนินกำรปฏิรูปกำรศึกษำร่วมกับภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน ตำมนโยบำย ประชำรฐั จุดเนน้ การจัดการศึกษา จดุ เนน้ กำรจัดกำรศึกษำระดับก่อนอนบุ ำล ระดับอนุบำล ระดับประถมศึกษำ/มัธยมศึกษำ ระดับอำชวี ศึกษำ และระดบั อุดมศกึ ษำ ดังน้ี 1. ระดบั ก่อนอนุบำล เนน้ ประสำนงำนกับสว่ นรำชกำร และชุมชน ในกำรเตรียมควำมพรอ้ มผู้เรยี นในด้ำน สุขภำพและโภชนำกำร และจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ทเ่ี ช่ือมโยงกับระบบโรงเรยี นปกติ 2. ระดับอนบุ ำล เน้นสร้ำงควำมรว่ มมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อออกแบบกิจกรรมกำรพฒั นำ ทักษะท่ีสำคัญดำ้ นต่ำง ๆ เชน่ ทักษะทำงสมอง ทักษะควำมคิดควำมจำ ทกั ษะกำรควบคมุ อำรมณ์ ทักษะกำรรจู้ ักและ ประเมนิ ตนเอง สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ 3. ระดับประถมศึกษำ ม่งุ คำนึงถึงพหปุ ัญญำของผูเ้ รียนรำยบุคคลที่หลำกหลำยตำมศักยภำพ ดว้ ยจดุ เน้น ดงั นี้ 1) ปลกู ฝังควำมมรี ะเบียบวินัย ทศั นคติท่ีถกู ต้อง โดยใชก้ ระบวนกำรลูกเสอื และยุวกำชำด 2) เรยี นภำษำไทย เนน้ เพ่อื ใช้เปน็ เครื่องมือในกำรเรียนรูว้ ิชำอนื่ ๆ 3) เรียนภำษำองั กฤษและภำษำพื้นถนิ่ (ภำษำแม)่ เน้นเพ่ือกำรสื่อสำร 4) เรียนรู้ดว้ ยวธิ ีกำร Active Learning เพอื่ พฒั นำกระบวนกำรคดิ กำรเรยี นรู้จำกประสบกำรณจ์ ริง หรอื จำกสถำนกำรณจ์ ำลองผ่ำนกำรลงมือปฏบิ ัติ และเปดิ โลกทศั นม์ ุมมองร่วมกันของผเู้ รยี นและครดู ้วยกำรจดั กำร เรยี นกำรสอนในเชิงแสดงควำมคิดเหน็ ใหม้ ำกขึน้ 5) สร้ำงแพลตฟอร์มดจิ ทิ ัลเพ่ือกำรเรยี นรู้ และใชด้ จิ ทิ ัลเป็นเคร่ืองมือกำรเรยี นรู้ 6) จดั กำรเรยี นกำรสอนเพื่อฝึกทักษะกำรคิดแบบมเี หตุผลและเปน็ ข้นั ตอน(Coding) 7) พฒั นำครใู ห้มคี วำมชำนำญในกำรสอนภำษำอังกฤษ และภำษำคอมพวิ เตอร(์ Coding) 8) จัดให้มโี ครงกำร 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภำพ โดยเน้นปรับสภำพแวดลอ้ มท้ังภำยในและภำยนอก บริเวณโรงเรยี นให้เอื้อต่อกำรสรำ้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ สำธำรณะ 4. ระดับมธั ยมศึกษำ ม่งุ ตอ่ ยอดระดับประถมศกึ ษำ ด้วยจุดเนน้ ดงั นี้ 1) จดั กำรเรยี นรู้ด้วยวธิ กี ำรทำงวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณติ ศำสตร์(STEM) และ ภำษำต่ำงประเทศ (ภำษำทสี่ ำม) 2) จดั กำรเรยี นรู้ทีห่ ลำกหลำย เพื่อสร้ำงทักษะพน้ื ฐำนท่ีเชอื่ มโยงสู่กำรสร้ำงอำชพี และกำรมงี ำนทำ เช่น ทักษะดำ้ นกีฬำที่สำมำรถพัฒนำไปสูน่ กั กีฬำอำชีพ ทักษะภำษำเพื่อเปน็ มคั คเุ ทศก์ 5. ระดบั อำชีวศึกษำ มงุ่ จัดกำรศึกษำเพื่อกำรมีงำนทำและสร้ำงนวตั กรรมตำมควำมตอ้ งกำรของพน้ื ท่ีชุมชน ภูมิภำคหรือ ประเทศ รวมทั้งกำรเปน็ ผู้ประกอบกำรเอง ดว้ ยจุดเน้น ดังน้ี 1) จดั กำรศึกษำระบบทวิภำคี ให้ผเู้ รยี นมีทกั ษะและควำมเชย่ี วชำญเฉพำะดำ้ น 2) เรยี นภำษำอังกฤษ เพ่ือเพิ่มทักษะสำหรบั ใชใ้ นกำรประกอบอำชีพ 3) เรียนรู้กำรใช้ดจิ ิทลั เพ่ือใชเ้ ป็นเครื่องมือสำหรับในกำรสรำ้ งอำชีพ 4) จัดตง้ั ศูนย์ประสำนงำนกำรผลิตและพัฒนำกำลงั คนอำชวี ศกึ ษำในภมู ภิ ำค 6. กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย มุง่ สร้ำงโอกำสใหป้ ระชำชนผเู้ รียนท่สี ำเร็จหลักสตู ร สำมำรถมงี ำนทำ ดว้ ยจดุ เนน้ ดงั นี้ 1) เรียนรู้กำรใช้ดจิ ทิ ลั เพื่อใช้เป็นเครอื่ งมือสำหรบั หำชอ่ งทำงในกำรสรำ้ งอำชีพ 2) จดั ทำหลักสูตรพฒั นำอำชพี ท่ีเหมำะสมสำหรับผู้ทเ่ี ข้ำสสู่ งั คมสูงวยั การขับเคล่ือนนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ 1. ทกุ หนว่ ยงำนในสงั กัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร ตอ้ งปรับปรุงแผนปฏบิ ตั ริ ำชกำรให้สอดคลอ้ งกับนโยบำยของ รัฐบำล และวำงแผนกำรใชง้ บประมำณเป็นรำยไตรมำส รวมทั้งใชจ้ ่ำยงบประมำณใหเ้ ป็นไปตำมกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2. จดั ทำฐำนข้อมลู (Big Data) ของกระทรวงศึกษำธิกำร ใหค้ รบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมัย 3. ใชเ้ ทคโนโลยีและดิจทิ ลั เป็นเครือ่ งมอื ในกำรพฒั นำงำนท้ังระบบ เน้นกำรเรียนรู้และกำรบริหำรจดั กำร 4. ปรับปรงุ โครงสร้ำงของกระทรวงศึกษำธิกำรใหเ้ กดิ ควำมคลอ่ งตวั หำกตดิ ขดั ในเรอ่ื งข้อกฎหมำย ให้ ผบู้ รหิ ำรระดับสูงรว่ มหำแนวทำงกำรแก้ไขรว่ มกนั 5. ให้หนว่ ยงำนระดบั กรมกำหนดแผนงำนสนับสนนุ ทรพั ยำกร งบประมำณ อัตรำกำลังตำมควำมต้องกำร จำเปน็ ใหแ้ ก่หนว่ ยงำนในพืน้ ทีภ่ ูมภิ ำค สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ 6. ใช้กลไกกองทุนเพื่อควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ มำบูรณำกำรกำรดำเนินงำนร่วมกับหน่วยจัด กำรศกึ ษำ 7. เรง่ ทบทวน (รำ่ ง) พระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ..... โดยปรับปรุงสำระสำคัญใหเ้ อื้อตอ่ กำร ขับเคลื่อนนโยบำยของรฐั บำล 8. ในระดับพนื้ ทหี่ ำกเกิดปญั หำข้อติดขดั กำรปฏิบตั ิงำน ต้องศึกษำ ตรวจสอบขอ้ มลู /ขอ้ เท็จจริงที่เกิดขน้ึ เช่น จำนวนเด็กในพื้นท่ีน้อยลง ซ่งึ จำเป็นต้องมีกำรควบรวมโรงเรยี น ใหพ้ ิจำรณำสื่อสำรอธิบำยทำควำมเขำ้ ใจท่ี ชัดเจนกบั ชมุ ชน 9. วำงแผนกำรใชอ้ ัตรำกำลังครู โดยเฉพำะครรู ะดับอนุบำล และครรู ะดบั อำชีวศกึ ษำให้มปี ระสิทธิภำพ และจดั ทำแผนกำรประเมินครูอยำ่ งเป็นระบบ รวมท้งั จัดทำหลักสูตรกำรพัฒนำครูให้มีองค์ควำมร้แู ละทกั ษะให้ด้ำน พหุปัญญำของผ้เู รยี น 10. ให้ศึกษำธิกำรจังหวัดจัดทำแผนกำรจัดกำรศึกษำของแต่ละจังหวัด นำเสนอต่อคณะกรรมกำร ศกึ ษำธิกำรจงั หวัด และขับเคล่อื นสูก่ ำรปฏิบตั อิ ยำ่ งเป็นรูปธรรม 11. ให้ผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร และศึกษำธกิ ำรภำค มีบทบำทหน้ำทีต่ รวจรำชกำร ติดตำม ประเมนิ ผลในระดับนโยบำย และจัดทำรำยงำนเสนอต่อรัฐมนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร อนึ่ง สำหรับภำรกิจของส่วนรำชกำรหลักและหน่วยงำนที่ปฏิบัติงำนตำมปกติ(Function) งำนในเชิง ยุทธศำสตร์ (Agenda) และงำนในเชงิ พ้นื ที่ (Area) ซงึ่ ได้ดำเนนิ กำรอยู่ก่อนนั้น หำกรฐั บำลหรอื กระทรวงศกึ ษำธกิ ำรมีนโยบำยสำคญั เพิ่มเติมในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 นอกเหนือจำกทก่ี ำหนด หำกมีควำม สอดคล้องกับหลกั กำรในข้ำงตน้ ใหถ้ อื เป็นหนำ้ ที่ของส่วนรำชกำรหลักและหน่วยงำนที่เกย่ี วข้อง จะตอ้ งเร่งรดั กำกับ ติดตำม ตรวจสอบให้กำรดำเนนิ กำรเกิดผลสำเร็จและมีประสิทธิภำพอย่ำงเป็นรปู ธรรมด้วยเชน่ กัน แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) กระทรวงศึกษำธิกำร ได้จดั ทำแผนพฒั นำกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560- 2564) โดยไดน้ อ้ มนำหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงมำประยกุ ต์ใชเ้ ปน็ กรอบในกำรดำเนนิ งำน และสอดคล้อง กับทศิ ทำงกำรพัฒนำประเทศในชว่ งแผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) โดย กำหนดสำระสำคัญ ดังนี้ วสิ ยั ทัศน์ “มุ่งพัฒนำผู้เรียนให้มีควำมรู้คูค่ ุณธรรม มีคุณภำพชวี ติ ท่ดี ี มคี วำมสุขในสังคม” พนั ธกจิ 1. ยกระดับคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำทุกระดับ/ประเภทสสู่ ำกล 2. เสรมิ สรำ้ งโอกำสกำรเขำ้ ถึงบริกำรทำงกำรศึกษำของประชำชนอยำ่ งทัว่ ถึง เทำ่ เทียม 3. พฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำรกำรศึกษำตำมหลักธรรมำภบิ ำล เปา้ หมายหลักของแผนพัฒนาการศึกษาฯ 1. คุณภำพกำรศึกษำของไทยดีขึน้ คนไทยมคี ุณธรรมจริยธรรม มภี มู คิ มุ้ กนั ต่อกำร เปลี่ยนแปลง และกำรพัฒนำประเทศในอนำคต 2. กำลังคนไดร้ ับกำรผลิตและพฒั นำ เพอ่ื เสริมสรำ้ งศักยภำพกำรแขง่ ขันของประเทศ 3. มีองคค์ วำมรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนกำรพัฒนำประเทศอยำ่ งย่ังยนื 4. คนไทยไดร้ บั โอกำสในเรียนรูอยำ่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต 5. ระบบบริหำรจดั กำรกำรศึกษำมปี ระสิทธภิ ำพ และทุกภำคสว่ นมีสว่ นร่วมตำมหลักธรรมำภบิ ำล สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตัวชี้วดั ตามเป้าหมายหลกั 1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแตล่ ะวชิ ำ 2. รอ้ ยละทเ่ี พ่ิมข้นึ ของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นวิชำหลักระดับกำรศึกษำขน้ั พน้ื ฐำน จำกกำรทดสอบระดับชำติ 3. ร้อยละคะแนนเฉลีย่ ของผเู้ รยี นที่มคี ุณธรรมจริยธรรม 4. ร้อยละคะแนนเฉล่ียของผู้เรียนทกุ ระดบั กำรศึกษำมีควำมเป็นพลเมืองและพลโลก 5. สัดส่วนผู้เรียนระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำยประเภทอำชีวศกึ ษำต่อสำยสำมญั 6. จำนวนปีกำรศกึ ษำเฉล่ียของคนไทยอำยุ 15 - 59 ปี 7. รอ้ ยละของกำลังแรงงำนท่ีสำเรจ็ กำรศกึ ษำระดับมัธยมศึกษำตอนตน้ ขน้ึ ไป 8. รอ้ ยละของนักเรียนต่อประชำกรวยเรียนระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย อำยุ 15-17 ปี 9. สดั ส่วนผเู้ รียนในสถำนศกึ ษำทกุ ระดับของรัฐต่อเอกชน 10. จำนวนภำคีเครือข่ำยทเ่ี ข้ำมำมีสว่ นร่วมในกำรจดั /พัฒนำและสง่ เสรมิ กำรศึกษำ ยุทธศาสตร์ 1. ยทุ ธศำสตรพ์ ัฒนำหลักสูตร กระบวนกำรเรยี นกำรสอน กำรวัดและประเมนิ ผล 2. ยทุ ธศำสตร์ผลติ พัฒนำครู คณำจำรย์และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 3. ยทุ ธศำสตร์ผลติ และพฒั นำกำลงั คน รวมทั้งงำนวิจยั ท่ีสอดคล้องกับควำมต้องกำร ของกำรพฒั นำ ประเทศ 4. ยุทธศำสตร์ขยำยโอกำสกำรเขำถึงบริกำรทำงกำรศึกษำ และกำรเรยี นรูอย่ำงต่อเนื่องตลอดชวี ิต 5. ยุทธศำสตรส์ ่งเสรมิ และพัฒนำระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื กำรศึกษำ 6. ยทุ ธศำสตร์พฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำรและสง่ เสริมใหท้ ุกภำคสว่ นมสี ่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำ นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของยุทธศำสตร์ชำติเป็น อย่ำงย่ิง เพรำะเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำประเทศที่ย่ังยืน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและ เสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ ซึ่งเป็นยุทธศำสตร์ที่เน้นกำรวำงรำกฐำนกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ของ ประเทศอย่ำงเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นกำรพัฒนำและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่ ดี เก่ง และมีคุณภำพพร้อมขับเคลื่อนกำรพัฒนำประเทศไปข้ำงหน้ำอย่ำงเต็มศักยภำพ ซึ่ง “คนไทยในอนำคต จะต้องมีควำมพร้อมท้ังกำย ใจ สติปัญญำ มีพัฒนำกำรท่ีดีรอบด้ำน และมีสุขภำวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสำธำรณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มีวินัย รักษำศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชำติ มี หลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสำรภำษำอังกฤษและภำษำที่ 3 และอนุรักษ์ภำษำ ท้องถิ่น มีนิสัยรักกำรเรียนรู้และกำรพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่กำรเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็น นวัตกร นักคิด ผู้ประกอบกำรเกษตรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมำชีพตำมควำมถนัดของตนเอง” ดังนั้น เพื่อให้กำรพัฒนำประเทศไปสู่เป้ำหมำย “ประเทศชำติมั่นคง ประชำชนมีควำมสุข เศรษฐกิจ พัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติยั่งยืน ” สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน จึงได้กำหนดนโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ 2563 สอดคล้องกับ ยทุ ธศำสตรช์ ำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2560 – 2579 แผนกำรปฏริ ปู ประเทศ นโยบำยรัฐบำลที่ได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ เมื่อวันท่ี 25 – 26 กรกฎำคม 2562 และนโยบำยและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธิกำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 โดยได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ และมำตรกำรและ แนวทำงในกำรดำเนินกำร ดงั นี้ สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ วิสัยทศั น์ “สร้ำงคณุ ภำพทุนมนษุ ย์ สสู่ งั คมอนำคตที่ย่งั ยืน” พนั ธกิจ 1. จัดกำรศึกษำเพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคงของสถำบันหลักของชำติและกำรปกครองในระบอบ ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๒. พฒั นำผ้เู รียนใหม้ คี วำมสำมำรถควำมเป็นเลศิ ทำงวชิ ำกำรเพือ่ สร้ำงขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ๓. พฒั นำศกั ยภำพและคุณภำพผู้เรยี นใหม้ ีสมรรถนะตำมหลักสตู รและคุณลกั ษณะในศตวรรษที่ 21 4. สร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค ลดควำมเหลื่อมล้ำ ให้ผ้เู รยี นทกุ คนได้รับบริกำรทำงกำรศกึ ษำอย่ำงท่ัวถึง และเท่ำเทียม 5. พฒั นำผูบ้ ริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้เป็นมอื อำชพี 6. จัดกำรศกึ ษำเพ่ือพฒั นำคุณภำพชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ยึดหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้ำหมำยกำรพฒั นำทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) 7. ปรบั สมดุลและพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำทุกระดบั และจัดกำรศึกษำโดยใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) เพือ่ พัฒนำมุ่งสู่ Thailand 4.0 เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีควำมรักในสถำบันหลักชองชำติ และยึดมั่นกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมี พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้ำนเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชำติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคำ่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ มีจติ สำธำรณะ รบั ผิดชอบตอ่ สังคมและผ้อู ืน่ ซอื่ สตั ย์ สุจริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มีวินัย รักษำศลี ธรรม 2. ผู้เรยี นมีควำมสำมำรถพิเศษดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ คณติ ศำสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี กีฬำ ภำษำและอนื่ ๆ ไดร้ ับ กำรพัฒนำอย่ำงเต็มตำมศักยภำพ 3. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งกำรเรียนรู้ คิดรเิ ร่ิมและสรำ้ งสรรค์นวัตกรรม มีควำมรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะตำม หลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภำวะที่เหมำะสมตำมวัย มีควำมสำมำรถในกำรพึ่งพำ ตนเอง ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และกำรเป็นพลเมือง พลโลกทด่ี ี (Global Citizen) พรอ้ มก้ำวสสู่ ำกล นำไปสกู่ ำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของประเทศ 4. ผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำเปน็ บุคคลแห่งกำรเรียนรู้ มคี วำมรู้ และจรรยำบรรณตำม มำตรฐำนวชิ ำชีพ 5. ผเู้ รียนท่มี คี วำมต้องกำรจำเปน็ พิเศษ (ผู้พิกำร) กลุ่มชำติพันธ์ุ กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกำสและกลมุ่ ทอ่ี ยู่ในพ้ืนท่ี ห่ำงไกลทรุ กันดำร ได้รับกำรศึกษำอยำ่ งทัว่ ถึง เทำ่ เทยี ม และมคี ุณภำพ 6. สถำนศกึ ษำจัดกำรศึกษำเพ่อื กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำอยำ่ งย่งั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้ำงเสรมิ คณุ ภำพชวี ิตทีเ่ ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง 7. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ สถำนศึกษำ มีสมดุลใน กำรบริหำรจดั กำรเชงิ บูรณำกำร มีกำรกำกับ ติดตำม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสำรสนเทศทม่ี ีประสทิ ธิภำพ และกำร รำยงำนผลอย่ำงเป็นระบบ ใช้งำนวจิ ยั เทคโนโลยีและนวตั กรรมในกำรขบั เคลื่อนคุณภำพกำรศกึ ษำ นโยบาย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน ได้กำหนดนโยบำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 โดยยึดหลัก ของกำรพัฒนำที่ยั่งยืน และกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศในอนำคต เป็นแนวทำงในกำรจัด กำรศึกษำจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทภำยใต้ ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนปฏิรปู ประเทศด้ำนกำรศกึ ษำ แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 และมงุ่ สู่ Thailand 4.0 ดงั นี้ นโยบำยท่ี 1 ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเพ่ือควำมมัน่ คงของมนุษย์และของชำติ นโยบำยท่ี 2 ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเพื่อเพมิ่ ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของประเทศ นโยบำยท่ี 3 ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งศักยภำพทรพั ยำกรมนษุ ย์ นโยบำยที่ 4 ดำ้ นกำรสร้ำงโอกำสในกำรเข้ำถงึ บริกำรกำรศกึ ษำที่มคี ุณภำพ มมี ำตรฐำนและลด ควำมเหล่ือมล้ำทำงกำรศึกษำ นโยบำยท่ี 5 ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเพ่ือพัฒนำคุณภำพชีวติ ท่เี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม นโยบำยท่ี 6 ด้ำนกำรปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ นโยบายท่ี 1 ด้านการจดั การศกึ ษาเพื่อความมัน่ คงของมนุษยแ์ ละของชาติ เปำ้ ประสงค์ ๑. ผู้เรยี นทุกคนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ควำมรกั ในสถำบันหลกั ของชำติ ยึดม่ันกำรปกครองระบอบ ประชำธปิ ไตยอนั มพี ระมหำกษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๒. ผู้เรยี นทกุ คนมีทศั นคตทิ ่ีดีต่อบำ้ นเมือง มีหลักคิดที่ถกู ต้อง เปน็ พลเมืองดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่ำนิยมท่ี พงึ ประสงค์ มีจิตสำธำรณะ มีจิตอำสำครอบครวั รับผดิ ชอบต่อ ผู้อื่น และสงั คมโดยรวม ซ่ือสตั ยม์ ัธยัสถส์ จุ ริตอดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ยั และรกั ษำศลี ธรรม ๓. ผูเ้ รียนทุกคนมคี วำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ และมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกบั ภยั คุกคำม ทุกรูปแบบท่มี ีผลกระทบ ตอ่ ควำมม่นั คง เช่น ภยั จำกยำเสพตดิ ควำมรุนแรง กำรคุกคำมในชวี ิตและ ทรัพยส์ ิน กำรค้ำมนุษย์ อำชญำกรรมไซ เบอร์และภยั พิบตั ิต่ำง ๆ เป็นตน้ ๔. ผูเ้ รยี นในเขตพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกจิ จังหวดั ชำยแดนภำคใต้ไดร้ ับโอกำส และกำรพัฒนำอย่ำงเต็ม ศักยภำพ และมีคณุ ภำพสอดคลอ้ งกับบริบทของพื้นที่ ๕. ผเู้ รียนในเขตพ้ืนทเี่ ฉพำะ กลุ่มชำตพิ นั ธ์ุ กล่มุ ผู้ด้อยโอกำส และกลมุ่ ท่ีอย่ใู นพื้นที่หำ่ งไกลทุรกนั ดำร เช่น พ้ืนท่สี งู ชำยแดน ชำยฝง่ั ทะเล และเกำะแกง่ เปน็ ต้น ได้รับกำรบรกิ ำร ดำ้ นกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำนทีม่ ีคณุ ภำพ และ เหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร ตัวช้ีวัด ๑. ร้อยละของผ้เู รยี นที่มพี ฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ ควำมรกั ในสถำบนั หลกั ของชำติ ยดึ มน่ั กำรปกครองระบอบ ประชำธิปไตยอนั มพี ระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๒. รอ้ ยละของผเู้ รียนท่มี ีพฤติกรรมที่แสดงออกถงึ กำรมีทศั นคติท่ดี ตี ่อบ้ำนเมือง มีหลักคิดทถ่ี ูกต้องเป็นพลเมือง ดีของชำติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ำ่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์มีคุณธรรม อัตลกั ษณ์ มจี ติ สำธำรณะ มจี ิตอำสำรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ผ้อู ืน่ และสังคมโดยรวม ซือ่ สตั ย์ สุจรติ มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ัย และรกั ษำศีลธรรม ๓. รอ้ ยละของผู้เรียนมคี วำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ และมคี วำมพร้อมสำมำรถรับมือ กบั ภัยคุกคำมทุกรปู แบบทีม่ ี ผลกระทบต่อควำมมัน่ คง เช่น ภัยจำกยำเสพติด ควำมรุนแรง กำรคกุ คำมในชวี ติ และทรัพยส์ นิ กำรค้ำมนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภัยพบิ ัติตำ่ ง ๆ เป็นตน้ ๔. รอ้ ยละของผู้เรียนในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกจิ จังหวดั ชำยแดนภำคใต้ได้รับโอกำส และกำรพฒั นำอย่ำงเต็ม ศกั ยภำพ และมีคณุ ภำพสอดคลอ้ งกับบริบทของพืน้ ท่ี ๕. ร้อยละของผเู้ รยี นในเขตพ้ืนที่เฉพำะกลุ่มชำตพิ นั ธ์ุ กลุ่มผดู้ อ้ ยโอกำส และกลุ่มทอ่ี ยู่ในพนื้ ทีห่ ำ่ งไกลทรุ กนั ดำร เช่น พ้ืนที่สงู ชำยแดน ชำยฝงั่ ทะเล และเกำะแก่ง ไดร้ บั กำรบรกิ ำรดำ้ นกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำนทมี่ คี ุณภำพ และ เหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของพ้ืนท่ี ๖. จำนวนสถำนศกึ ษำท่นี ้อมนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศกึ ษำของพระบำทสมเดจ็ พระปรเมนทรรำมำธิบดี ศรีสนิ ทร มหำวชิรำลงกรณฯ พระวชริ เกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั และหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งไปพัฒนำผ้เู รียนให้มี คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตำมทกี่ ำหนดได้อยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ๗. จำนวนสถำนศึกษำท่ีจดั บรรยำกำศสิง่ แวดล้อม และจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงออกถงึ ควำมรกั ใน สถำบันหลกั ของชำติ ยึดมัน่ กำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตย อนั มพี ระมหำกษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มีทศั นคตทิ ีด่ ีตอ่ บ้ำนเมือง มหี ลักคดิ ที่ถูกตอ้ ง เป็นพลเมืองท่ีดีของชำติ มคี ุณธรรม จริยธรรม นโยบายท่ี 2 ด้านการจัดการศึกษาเพอ่ื เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ เป้ำประสงค์ ๑. ผ้เู รยี นทุกระดับใหม้ คี วำมเป็นเลิศ มีทกั ษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ๒. ผู้เรยี นมีควำมเป็นเลศิ ตำมควำมถนดั และควำมสนใจ นำไปสกู่ ำรพฒั นำทกั ษะวชิ ำชีพ เป็นนักคิด เปน็ ผูส้ รำ้ ง นวัตกรรม เปน็ นวัตกร ๓. ผเู้ รยี นได้รบั โอกำสเขำ้ สูเ่ วทกี ำรแขง่ ขนั ระดบั นำนำชำติ ตวั ช้ีวดั ๑. จำนวนผู้เรียนมีควำมเปน็ เลิศทำงด้ำนวิชำกำร มที ักษะควำมรู้ท่สี อดคลอ้ งกับทักษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ๒. ผู้เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษำผ่ำนกำรประเมินสมรรถนะท่ีจำเป็นด้ำนกำรรเู้ รอ่ื งกำรอ่ำน (Reading Literacy) ดำ้ นกำรรู้เรื่องคณิตศำสตร์Mathematical( Literacy) และด้ำนกำรร้เู รื่องวทิ ยำศำสตร์Scientific( Literacy) ตำม แนวทำงกำรประเมินPISA ๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มศี ักยภำพได้รบั โอกำสเข้ำสู่เวทีกำรแขง่ ขนั ระดับนำนำชำติ นโยบายท่ี 3 ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ เปำ้ ประสงค์ ๑. หลักสตู รปฐมวัยและหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน มีกำรพัฒนำ ท่สี อดคล้องกบั แนวโน้มกำร พัฒนำของประเทศ ๒. ผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำตำมจุดมงุ่ หมำยของหลักสตู ร และมีทักษะควำมสำมำรถทีส่ อดคล้องกบั ทกั ษะท่ี จำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีควำมยืดหยุ่นทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำน ร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ ภำยใตส้ ังคมท่เี ป็นพหุ วัฒนธรรมรวมถึงกำรวำงพน้ื ฐำนกำรเรยี นรู้เพ่ือกำรวำงแผนชวี ิต ท่เี หมำะสมในแต่ละชว่ งวัยและนำไปปฏิบตั ิได้ ๓. ผู้เรยี นได้รบั กำรพัฒนำให้มีควำมรแู้ ละทักษะนำไปสู่กำรพัฒนำนวัตกรรม ๔. ผู้เรยี นได้รบั กำรพัฒนำเต็มตำมศกั ยภำพ เชอ่ื มโยงสู่อำชีพและกำรมงี ำนทำ มีทักษะอำชพี ท่ีสอดคล้องกบั ควำมตอ้ งกำรของประเทศ ๕. ผู้เรียนไดร้ ับกำรพฒั นำให้มศี ักยภำพในกำรจัดกำรสขุ ภำวะของตนเองใหม้ ีสุขภำวะที่ดี สำมำรถดำรงชีวิต อย่ำงมีควำมสขุ ท้ังดำ้ นรำ่ งกำยและจติ ใจ ๖. ครู เปลย่ี นบทบำทจำก “ครผู ู้สอน” เป็น “Coach” ผใู้ ห้คำปรกึ ษำ ข้อเสนอแนะ กำรเรียนรหู้ รือ ผู้อำนวยกำรกำรเรียนรู้ ๗. ครู มคี วำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน และเปน็ แบบอยำ่ ง ด้ำนคุณธรรมและจรยิ ธรรม ตวั ชวี้ ดั ๑. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคญั ตำมหลักสูตร มที ักษะกำรเรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ (3 R 8C) ๒. ร้อยละของผูเ้ รยี นชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 3 ทม่ี คี ะแนนผลกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนระดบั ชำติ(NT) ผ่ำนเกณฑ์ทกี่ ำหนด ๓. รอ้ ยละของผ้เู รียนท่มี คี ะแนนผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขนั้ พื้นฐำน (O-NET) มำกกว่ำรอ้ ยละ ๕๐ ในแตล่ ะวชิ ำเพ่ิมขึ้นจำกปีกำรศึกษำทผ่ี ำ่ นมำ ๔. รอ้ ยละผู้เรยี นทจี่ บกำรศึกษำชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๖ ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี ๖ มีทกั ษะ กำรเรียนรทู้ ีเ่ ชอื่ มโยงสู่อำชพี และกำรมงี ำนทำ ตำมควำมถนัดและควำมต้องกำรของตนเอง มที กั ษะอำชพี ทีส่ อดคล้อง กบั ควำมต้องกำรของประเทศ วำงแผนชีวติ และวำงแผนทำงกำรเงินทเี่ หมำะสมและนำไปปฏบิ ตั ิได้ สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ๕. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพนื้ ฐำนในกำรดำรงชวี ิต สำมำรถดำรงชวี ติ อยู่ในสังคม ได้อย่ำงมีควำมสขุ มีควำม ยดื หยนุ่ ทำงด้ำนควำมคดิ สำมำรถทำงำนรว่ มกับผู้อืน่ ได้ ภำยใต้สังคมทเี่ ป็นพหวุ ฒั นธรรม ๖. ผู้เรียนทกุ คนมีศักยภำพในกำรจัดกำรสขุ ภำวะของตนเองใหม้ ีสุขภำวะที่ดี สำมำรถดำรงชวี ิตอย่ำงมคี วำมสุข ท้ังด้ำนรำ่ งกำยและจิตใจ ๗. ครูมกี ำรเปล่ยี นบทบำทจำก “ครูผูส้ อน” เป็น “Coach” ผูใ้ ห้คำปรกึ ษำ ข้อเสนอแนะกำรเรียนรูห้ รือ อำนวยกำรกำรเรยี นรู้ นโยบายท่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ เหล่ือมลา้ ทางการศึกษา เป้ำประสงค์ ๑. สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยโลกเพ่ือกำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืน (Global Goals for Sustainable Development) ๒. สถำนศึกษำกบั องค์กรปกครองท้องถิ่นภำคเอกชน และหน่วยงำนทเี่ ก่ยี วข้อง ในระดับพ้ืนทีร่ ่วมมือในกำรจดั กำรศึกษำ ๓. สถำนศึกษำมีคุณภำพและมมี ำตรฐำนตำมบรบิ ทของพน้ื ท่ี ๔. งบประมำณ และทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำมีเพยี งพอ และเหมำะสม สอดคลอ้ ง กับสภำพข้อเทจ็ จรงิ โดยคำนึงถงึ ควำมจำเปน็ ตำมสภำพพื้นที่ภมู ิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และ ของสถำนศึกษำ ๕. งบประมำณเพ่อื เปน็ ค่ำใชจ้ ่ำย และงบลงทนุ แก่สถำนศึกษำอย่ำงเหมำะสมเพื่อใหส้ ถำนศึกษำบรหิ ำรงำนจดั กำรศึกษำอย่ำงมีประสทิ ธิภำพ ๖. นำเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology) มำเปน็ เคร่ืองมือใหผ้ ู้เรยี นไดม้ ีโอกำส เข้ำถึงบรกิ ำรดำ้ นกำรศึกษำ ได้อย่ำงมีประสิทธภิ ำพ ๗. พฒั นำระบบกำรติดตำม สนบั สนุนและประเมินผลเพอ่ื สร้ำงหลักประกนั สิทธิ กำรไดร้ บั กำรศึกษำที่มีคุณภำพ ของประชำชน ตัวชวี้ ดั ๑. ผูเ้ รียนทุกคนสำมำรถเข้ำเรียนในสถำนศึกษำท่มี ีคุณภำพเป็นมำตรฐำนเสมอกัน ๒. ผ้เู รยี นทุกคนได้รับจัดสรรงบประมำณอุดหนุนอยำ่ งเพียงพอ และเหมำะสม สอดคลอ้ งกับสภำพข้อเทจ็ จริง โดย คำนงึ ถึงควำมจำเป็นตำมสภำพพ้ืนท่ีภมู ิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และท่ตี ้ังของสถำนศึกษำและควำมต้องกำรจำเป็น พเิ ศษสำหรบั ผู้พิกำร ๓. ผู้เรยี นได้รบั กำรสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณด์ จิ ิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในกำรเรยี นรู้ อยำ่ งเหมำะสม เพียงพอ ๔. ครูไดร้ บั กำรสนบั สนนุ วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณด์ ิจทิ ัล (Digital Device) เพอื่ ใช้เป็นเครอ่ื งมอื ในกำรจัด กิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้แก่ผ้เู รียน ๕. สถำนศึกษำได้รับกำรพฒั นำให้มีมำตรฐำนอย่ำงเหมำะสมตำมบริบท ด้ำนประเภท ขนำด และพ้ืนท่ี ๖. สถำนศึกษำนำเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มำใช้เป็นเคร่ืองมือในกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้แก่ ผู้เรียนได้อย่ำงมีประสทิ ธิภำพ ๗. สถำนศึกษำมรี ะบบกำรดูแลชว่ ยเหลือและคมุ้ ครองนักเรยี นและกำรแนะแนว ทีม่ ีประสทิ ธภิ ำพ ๘. สถำนศึกษำท่มี ีระบบฐำนข้อมลู ประชำกรวยั เรยี นและสำมำรถนำมำใช้ในกำรวำงแผนจัดกำรเรียนรู้ให้แกผ่ เู้ รียน ได้อย่ำงมีประสิทธภิ ำพ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม เปา้ ประสงค์ ๑. สถานศกึ ษา นกั เรียนไดร้ บั การส่งเสรมิ ดา้ นความรู้ การสรา้ งจิตสานกึ ดา้ นการผลและบริโภค ท่ีเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ๒ . สถานศกึ ษาสามารถนาเทคโนโลยีมาจัดทาระบบสารสนเทศการเกบ็ ข้อมลู ด้านความรู้ เรือ่ ง ฉลากสเี ขียว เพื่อสง่ิ แวดล้อม ฯลฯ และสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ในทุกโรง ตามแนวทาง Thailand ๔.๐ ๓. สถานศึกษามีการจดั ทานโยบายจัดซอ้ื จดั จา้ งท่ีเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม ๔. สถานศึกษามีการบรู ณาการหลักสตู ร กจิ กรรมเร่ืองวงจรชีวติ ของผลิตภณั ฑ์ การผลิตและบรโิ ภค สู่การลด ปรมิ าณคารบ์ อนในโรงเรียนคาร์บอนต่าสูช่ มุ ชนคารบ์ อนตา่ ๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน และสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา โรงเรยี น ทกุ โรงเรียนใน สังกัดมกี ารปรบั ปรงุ และพัฒนาเป็นหนว่ ยงานต้นแบบสานกั งานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพอื่ ให้มีบรบิ ทที่เปน็ แบบอย่างเอ้ือหรือสนบั สนนุ การเรยี นรูข้ องนักเรียนและชมุ ชน ๖. สถานศกึ ษาในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จาก ๒๒๕ เขต มนี โยบายส่งเสริมความรแู้ ละ สร้างจิตสานกึ และจดั การเรยี นร้กู ารผลติ และบรโิ ภคท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ๗. สถานศกึ ษาต้นแบบนาขยะมาใช้ประโยชนเ์ พื่อลดปริมาณขยะ จานวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรยี น ๘ . มีสถำนศึกษำนวัตกรรมต้นแบบในกำรนำ 3 RS มำประยกุ ต์ใชใ้ นกำรผลิต และบรโิ ภคที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม จำนวน ๖,๐๐๐ โรงเรยี น ๙. สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ๒๒๕ เขต มีการทานโยบายการจดั ซ้ือจดั จ้าง ท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม ตัวชวี้ ดั ๑. สถานศึกษาในสังกัดมนี โยบายและจัดกจิ กรรมให้ความรู้ท่ถี กู ต้องและสร้างจติ สานึกดา้ นการผลติ และบรโิ ภค ท่เี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อมนาไปปฏิบัติใชท้ ่ีบา้ นและชมุ ชน เช่น การสง่ เสรมิ อาชีพท่เี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม การลดใช้ สารเคมจี ากปยุ๋ และยาฆา่ แมลง ฯลฯ ๒. สถานศกึ ษามีการนาขยะมาใช้ประโยชน์ในรปู ผลติ ภัณฑ์และพลังงานเพื่อลดปรมิ าณขยะ และมีสง่ เสริมการ คัดแยกขยะในชุมชนเพ่ือลดปรมิ าณคาร์บอนท่โี รงเรียนและชมุ ชน ๓. สถานศึกษามีการบูรณาการเร่ืองการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะ มาใช้ประโยชน์รวมท้ัง สอดแทรกในสาระการเรียนรู้ทเี่ ก่ียวข้อง ๔. นกั เรียนเรยี นร้จู ากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรยี นรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรดู้ ้านการลดใช้ พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ และตัวอย่างรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสเี ขียว ฯลฯ ๕. นักเรียน สถานศึกษามีการเก็บขอ้ มลู เปรยี บเทียบการลดปริมาณคารบ์ อนไดออกไซต์ ในการดาเนนิ กจิ กรรม ประจาวันในสถานศึกษาและทบี่ า้ น และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบQR CODE และ Paper less ๖. ครู มคี วามคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และดาเนนิ การจัดทา งานวจิ ัยด้านการสรา้ งสานกึ ดา้ นการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มได้ ๗. ครู และนกั เรียนสามารถนาสอื่ นวตั กรรมทผ่ี ่านกระบวนการคิดมาประยุกต์ใช้ ในโรงเรียนการจัดการเรยี นรู้ และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวันและชมุ ชนได้ตามแนวทาThailand ๔.๐ ๘. สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา สถานศึกษามีการปรบั ปรงุ และพัฒนาบุคลากร และสถานทีใ่ ห้เปน็ สานักงาน สีเขยี วต้นแบบมนี โยบายการจัดซือ้ จดั จ้างที่เปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมทเี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรูข้ องนักเรยี นและชุมชน สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา เปา้ ประสงค์ ๑. สถานศึกษา หรอื กลุ่มสถานศึกษา มีความเปน็ อิสระในการบรหิ ารและจดั การศึกษา ครอบคลุม ด้านการ บริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ดา้ นการบริหารงานบคุ คล และด้านการบริหารงานท่ัวไป ๒. หน่วยงานส่วนกลาง และสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาต้องปรับเปลย่ี น ใหเ้ ปน็ หน่วยงานใหม้ ีความทนั สมัย พรอ้ มทจ่ี ะปรบั ตวั ใหท้ นั ต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา เปน็ หนว่ ยงานท่ีมหี นา้ ทส่ี นบั สนนุ ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ๓. หนว่ ยงานทกุ ระดบั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ๔. หน่วยงานทุกระดบั มีกระบวนการ และการวิธงี บประมาณดา้ นการศึกษา เพ่ือเพ่ิมคุณภาพและประสิทธภิ าพ การจัดการศึกษาโดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผ้เู รยี น ๕. หน่วยงานทุกระดับ พฒั นานวตั กรรม และเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) มาใชใ้ นการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบรหิ าร และการจดั การเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ตัวช้วี ดั ๑. สถานศกึ ษาไดร้ ับการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งเป็นอสิ ระ ๒. สถานศกึ ษา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา และสานักงานส่วนกลาง ไดร้ บั การพัฒนาให้เปน็ หนว่ ยงานท่มี ี ความทันสมัย ยืดหยนุ่ คล่องตวั สูง พรอ้ มที่จะปรบั ตัวให้ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลกอย่ตู ลอดเวลา เป็นหน่วยงานท่ี มีหน้าที่สนับสนนุ สง่ เสริม ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพื่อใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๓. สถานศึกษา สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และสานักงานส่วนกลาง นานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการและตดั สินใจทัง้ ระบบ ๔. สถานศกึ ษา และหน่วยงานในสงั กัดทุกระดบั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บรหิ าร จัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล ๕. สถานศึกษา หนว่ ยงานในสังกดั ทุกระดับผ่านการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนนิ งานของ หน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ๖. สถานศกึ ษาทุกแห่งและหนว่ ยงานในสงั กัดมีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศวิชาการ ผูเ้ รียน ครู บคุ ลากรทางการ ศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานในสงั กัด ๗. สถานศกึ ษาทุกแหง่ มขี ้อมูลผเู้ รียนรายบคุ คลทส่ี ามารถเชอื่ มโยงกบั ข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่การวเิ คราะหเ์ พือ่ วางแผนการจดั การเรยี นร้สู ผู่ เู้ รียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Big Data Technology) ๘. สถานศึกษา สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลางมีแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพอ่ื สนบั สนุนภารกจิ ดา้ นบรหิ ารจดั การศึกษา ๙ . สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศที่สามารถใชใ้ นการวางแผน การจัดการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ส่วนที่ 3 ทศิ ทางการจดั การศกึ ษา วเิ คราะห์ศักยภาพสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (SWOT Analysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส ( Opportunities : O ) อุปสรรค ( Threats : T ) O1 กำรคมนำคมกำรส่อื สำรสะดวกรวดเรว็ T1 ผูป้ กครองมรี ำยไดน้ อ้ ย ยำกจน ขำดกำรเอำใจใส่ O2 อำชพี ในท้องถ่ินเอ้ือต่อกำรจัดกำรศกึ ษำ ดูแลบุตร O3 มสี ถำนท่สี ำคัญและเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว T2 กำรคมนำคมสะดวกผู้ปกครองนยิ มสง่ ลูกเขำ้ เรยี น ในเมอื ง ทำใหม้ ีโรงเรยี นในชุมชนมนี ักเรียนลดลง O4 โรงเรยี นกระจำยทุกพื้นท่ีและเพียงพอ T3 นโยบำยระดับสูงเปลย่ี น ส่งผลต่อกำรนำนโยบำย O5 มีกำรสบื ทอดประเพณที ี่ดี มีเอกลักษณ์เฉพำะ สกู่ ำรปฏบิ ัติไม่ต่อเน่ือง O6 กำรปฏิรูประบบรำชกำร T4 มีโรงเรยี นขนำดเลก็ เพม่ิ มำกขึ้น ทำใหก้ ำรบริหำร จัดกำรศกึ ษำมีอุปสรรค O7 กำรแข่งขนั และควำมคำดหวงั ด้ำนกำรศึกษำของ ผปู้ กครองเพิม่ ข้ึน T5 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนไม่เปิด โอกำสให้บรหิ ำรงบประมำณ สว่ นใหญด่ ำเนินกำร O8 หน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้อง ชุมชนใหค้ วำมชว่ ยเหลอื ตำมนโยบำย สนับสนุนส่งเสริมกำรจดั กำรศึกษำ T6 งบประมำณท่ีไดร้ บั จัดสรร เป็นไปตำมนโยบำยแต่ O9 นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ไม่ตอบสนองควำมต้องกำรพัฒนำสถำนศึกษำ ข้ันพื้นฐำนมีกำรจัดสรรงบประมำณสนบั สนนุ T7 ระเบยี บหลกั เกณฑ์และข้อจำกัดในกำรใช้ O10 หน่วยงำนต้งั อยู่ใกล้สถำบนั อุดมศึกษำเออ้ื ต่อ งบประมำณไมส่ อดคล้องกับกำรพัฒนำงำน กำรจดั กจิ กรรมพัฒนำบุคลำกร T8 กำรอพยพย้ำยถิน่ ผู้ปกครองส่งผลต่อจำนวนนกั เรยี น O11 ระบบงบประมำณแบบมุ่งเนน้ ผลงำนทำให้กำร และกำรจดั กำรศึกษำ บริหำรงำนมปี ระสิทธิภำพ สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน จุดแขง็ (Strengths : S) จดุ อ่อน (Weaknesses : W) S1 ผูบ้ ริหำรนำนโยบำยมำกำหนดเป็นแผนงำน W1 โรงเรียนขนำดเล็กมำก และมีครไู ม่ครบช้ัน โครงกำรและแจ้งใหบ้ ุคลำกรทรำบและปฏบิ ัติ W2 งำนวิจัยเพ่อื กำรพฒั นำมนี อ้ ย S2 มโี รงเรยี นตน้ แบบ แกนนำ นำร่อง W3 ครมู วี ุฒิไม่ตรงสำขำวิชำที่สอน ขำดประสบกำรณ์ S3 ทีมงำนเข้มแข็ง มมี นุษยส์ มั พันธ์ และมคี ณุ ธรรม เฉพำะด้ำน เช่น กำรเงินพัสดุ ICT วชิ ำกำร S4 บคุ ลำกรมีคณุ วฒุ ิ มีควำมรู้ มีประสบกำรณ์ W4 ขำดบุคลำกรดำ้ นเทคโนโลยีในกำรบูรณำกำรจดั ทำ ปฏิบตั ิงำนตำมโครงสรำ้ ง ตำมกรอบอตั รำกำลงั สำรสนเทศเขตพื้นทแ่ี ละสถำนศกึ ษำ S5 บุคลำกรมมี นุษยส์ ัมพันธใ์ นกำรปฏิบตั ิงำนไดด้ ี W5 ผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำมีทักษะกำรบริหำรงำนวชิ ำกำร S6 มีวัสดคุ รภุ ณั ฑ์ทันสมยั ครบทงั้ ครภุ ัณฑส์ ำนกั งำน น้อยกวำ่ ดำ้ นอน่ื และกำรสื่อสำร W6 ข้อมูลสำรสนเทศขำดกำรพฒั นำ กำรจัดเกบ็ กำร S7 ผู้บรหิ ำรใหค้ วำมสำคัญกับงำน และส่งเสรมิ สืบค้น กำรบูรณำกำรและกำรประยกุ ต์ใช้ สนับสนุน W7 บคุ ลำกรไม่ได้รบั กำรพัฒนำตรงตำมสมรรถนะ S8 โรงเรียนจดั กำรศกึ ษำไดห้ ลำกหลำย ในระบบ W8 กำรให้บริกำรกำรศึกษำยงั ไมเ่ ท่ำเทียมทุกโรงเรียน โดยครอบครวั และตำมอัธยำศัย ทำใหผ้ ้เู รยี นมคี ุณภำพไม่เป็นไปตำมทีก่ ำหนด S9 มีผลกำรประเมิน ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรศึกษำ W9 งบประมำณมีกฎระเบียบให้ต้องปฏบิ ัติ ไมส่ ำมำรถ ในระดับดี นำไปใช้ได้ตำมต้องกำร S10 มีแผนกำรใชง้ บประมำณท่ีชัดเจน W10 ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นยังขำดประสิทธภิ ำพ S11 ครอบครัว ชุมชน ทอ้ งถน่ิ มสี ่วนร่วมในกำรจัด W11 ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำยงั ขำดและเกนิ กำรศกึ ษำมำกขน้ึ ในบำงพ้นื ท่ี การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก รูปแบบ C- CPEST 1. ดำ้ นพฤตกิ รรมของลกู ค้ำ (Customer Behaviors : C) โอกำส กำรแข่งขันและควำมคำดหวงั ด้ำนกำรศึกษำของผูป้ กครองเพ่มิ ขน้ึ อปุ สรรค 1. ผู้ปกครองมีรำยไดน้ ้อย ยำกจน ขำดกำรเอำใจใสด่ ูแลบตุ ร 2. กำรอพยพย้ำยถิ่นผ้ปู กครองสง่ ผลตอ่ จำนวนนักเรยี นและกำรจดั กำรศึกษำ 2. ด้ำนกำรเมอื งและกฎหมำย(Political and legal : P) โอกำส กำรปฏริ ูประบบรำชกำร อุปสรรค 1. นโยบำยระดับสูงเปล่ียนแปลงบอ่ ย สง่ ผลใหก้ ำรนำนโยบำยสกู่ ำรปฏิบตั ิไม่ต่อเนอื่ ง 2. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ไมเ่ ปิดโอกำสให้บรหิ ำรงบประมำณ สว่ นใหญ่ทำตำมนโยบำย สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ 3. ด้ำนเศรษฐกิจ (Economic factors : E) โอกำส 1. อำชพี ในทอ้ งถนิ่ เอ้ือต่อกำรจดั กำรศึกษำ 2. หนว่ ยงำนท่ีเกยี่ วข้อง ชุมชนให้ควำมช่วยเหลือสนบั สนนุ ส่งเสริมกำรจดั กำรศึกษำ 3. นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำนมกี ำรจดั สรรงบประมำณสนบั สนนุ 4. ระบบงบประมำณแบบมุง่ เนน้ ผลงำนทำให้กำรบริหำรงำนมปี ระสทิ ธภิ ำพ อปุ สรรค 1. งบประมำณทีไ่ ดร้ บั จดั สรรเปน็ ไปตำมนโยบำยแต่ไม่ตอบสนองควำมตอ้ งกำรพฒั นำ สถำนศึกษำ 2. ระเบียบหลกั เกณฑแ์ ละข้อจำกดั ในกำรใช้งบประมำณไม่สอดคลอ้ งกับกำรพฒั นำงำน 4. ปจั จยั ดำ้ นสังคมและวฒั นธรรม (Social-cultural : S) โอกำส 1. มีสถำนท่ีสำคัญและเปน็ แหล่งท้องเท่ยี ว 2. โรงเรยี นกระจำยทุกพน้ื ที่และเพยี งพอ 3. มีกำรสบื ทอดประเพณีทีด่ ี มเี อกลักษณ์เฉพำะ 4. หนว่ ยงำนตงั้ อยู่ใกลส้ ถำบันอุดมศึกษำเอื้อต่อกำรจัดกิจกรรมพัฒนำบคุ ลำกร อุปสรรค มโี รงเรยี นขนำดเลก็ เพมิ่ ขึ้นทำให้กำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำมีอุปสรรค 5. ด้ำนเทคโนโลยี (Technological : T) โอกำส กำรคมนำคมกำรส่อื สำรสะดวกรวดเรว็ อุปสรรค กำรคมนำคมสะดวก ผู้ปกครองนยิ มสง่ บตุ รไปเรียนในเมอื ง ทำใหโ้ รงเรียนในชุมชน มีนักเรียนลดลง การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน แบบ 2S4M 1. ดำ้ นโครงสร้ำงและนโยบำยองค์กร (Structure and Policy : S1) จดุ แขง็ 1. ผูบ้ รหิ ำรนำนโยบำยมำกำหนดเปน็ แผนงำนโครงกำรและแจ้งให้บุคลำกรทรำบและปฏิบตั ิ 2. บคุ ลำกรมีคุณวุฒิ มคี วำมรู้ มปี ระสบกำรณ์ ปฏิบัติงำนตำมโครงสร้ำงกรอบอตั รำกำลัง จุดอ่อน 1. โรงเรยี นขนำดเล็กมำกและมีครูไม่ครบชนั้ 2. กำรให้บรกิ ำรกำรศึกษำยงั ไมเ่ ท่ำเทยี มทกุ โรงเรยี นทำให้ผเู้ รียนมคี ุณภำพไมเ่ ป็นไปตำม ท่กี ำหนด 2. ผลผลติ และกำรบริกำร (Service and Products : S2) จุดแขง็ 1. มีโรงเรยี นต้นแบบ แกนนำ นำร่อง 2. มีผลกำรประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรศึกษำในระดับดี จดุ ออ่ น งำนวิจยั เพือ่ กำรพฒั นำมนี อ้ ย 3. บคุ ลำกร (Man : M1) จดุ แขง็ 1. ทมี งำนเข้มแข็ง มีมนุษยส์ ัมพันธ์ และมคี ุณธรรม 2. บคุ ลำกรมมี นษุ ยส์ มั พนั ธ์ในกำรปฏบิ ัตงิ ำนไดด้ ี จุดออ่ น 1. ครมู ีวฒุ ิไมต่ รงสำขำวิชำท่ีสอนขำดประสบกำรณ์เฉพำะด้ำน เชน่ กำรเงนิ พสั ดุ ICT วชิ ำกำร 2. ขำดบุคลำกรด้ำนเทคโนโลยีในกำรบรู ณำกำรจัดทำสำรสนเทศเขตพ้ืนทแี่ ละสถำนศึกษำ 3. บุคลำกรไม่ได้รับกำรพฒั นำตรงตำมสมรรถนะ 4. กำรเงนิ (Money : M2) จุดแขง็ มแี ผนกำรใชง้ บประมำณชดั เจน จดุ ออ่ น งบประมำณมีกฎระเบียบให้ต้องปฏิบตั ิ ไมส่ ำมำรถนำไปใชไ้ ด้ตำมต้องกำร สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ 5. วสั ดอุ ปุ กรณ์ (Material : M3) จดุ แขง็ 1. มีวสั ดุครุภณั ฑท์ นั สมัยพร้อมพฒั นำงำนและกำรส่ือสำร จดุ ออ่ น 2. ขอ้ มูลสำรสนเทศขำดกำรพัฒนำ กำรจัดเก็บ กำรสบื ค้น กำรบูรกำร และกำรประยุกตใ์ ช้ 6. กำรบริหำรจดั กำร (Management : M4) จดุ แข็ง 1. ผูบ้ รหิ ำรใหค้ วำมสำคญั และสนบั สนนุ งำน และสง่ เสรมิ สนบั สนุน 2. โรงเรียนจดั กำรศึกษำได้หลำกหลำย ในระบบ โดยครอบครัว และตำมอธั ยำศัย 3. ครอบครวั ชมุ ชนท้องถ่ินมสี ่วนรว่ มในกำรจัดกำรศกึ ษำมำกขึ้น จุดอ่อน 1. ผ้บู ริหำรสถำนศกึ ษำมีทักษะกำรบรหิ ำรงำนวชิ ำกำรนอ้ ยกว่ำด้ำนอืน่ 2. ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนยังขำดประสิทธิภำพ 3. ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำยงั ขำดและเกนิ ในบำงพน้ื ที่ ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 โดยกำรศึกษำวเิ ครำะห์ศักยภำพสำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชียงใหม่ เขต 4 (SWOT analysis) ดังนี้ โอกาส O ตาแหนง่ ที่ 2 Question marks เออ้ื แตอ่ ่อน 1.16 4.26 จุดแข็ง S 1.06 3.63 W จุดอ่อน 3.53 -0.09 3.20 อุปสรรค T  สภำพแวดลอ้ มภำยนอกเปน็ โอกำส (1.06) เป็นปจั จยั เอื้อ  สภำพแวดล้อมภำยใน เปน็ จุดอ่อน (-0.09) ปัจจัยภายนอก ทีเ่ ปน็ โอกำสในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ (+4.26) โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ ใน ด้ำนพฤติกรรมลูกค้ำ (+1.20) และเมื่อพจิ ำรณำโดยภำพรวมแล้ว ปจั จยั ภำยนอก มโี อกำสมำกกว่ำ อปุ สรรค ซึง่ เอื้อต่อกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ (+1.06) ปจั จัยภายใน โดยสรุปเป็นจดุ อ่อน (-3.63) โดยเฉพำะอย่ำงย่งิ ในดำ้ นโครงสรำ้ ง/นโยบำย (-0.96) เมือ่ พิจำรณำโดยรวมแลว้ มจี ุดอ่อนในกำรบริหำรจดั กำรศึกษำมำกกวำ่ จดุ แข็ง (0.09) สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ทศิ ทางการจดั การศกึ ษาของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 วสิ ยั ทัศน์ ( Vision ) “ องคก์ รจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานส่คู วามเป็นเลิศ ” พันธกจิ ( Mission ) 1. ส่งเสริมสนับสนนุ สร้ำงโอกำสกำรจดั กำรศึกษำอย่ำงเสมอภำค 2. สง่ เสริมสนับสนนุ กำรจดั กำรศึกษำใหป้ ระชำกรวัยเรียนทุกคนไดร้ บั กำรศกึ ษำอยำ่ งมคี ณุ ภำพ 3. พัฒนำครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำสมู่ ืออำชพี 4. สร้ำงควำมเข้มแขง็ ให้เขตพืน้ ที่กำรศึกษำและสถำนศกึ ษำ 5. พัฒนำเครือขำ่ ยควำมรว่ มมอื ในกำรจดั กำรศึกษำ ค่านิยมองคก์ าร (Core Value) SMART&T : บรกิ ารดี มีคุณธรรม นาวิชาการ ทบทวนงานด้วยทีมและเทคโนโลยี S : Service Mind บริการดี M : Moral มีคณุ ธรรม A : Academic นาวิชาการ R : Reflection ทบทวนงาน T : Team ทีมงาน T : Technology เทคโนโลยี กลยุทธ์ ( Strategic ) สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4 ได้กำหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกิจ คำ่ นิยม องค์กร เป้ำประสงค์ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งนโยบำยด้ำนกำรศึกษำจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องและหนว่ ยงำนดำ้ นกำรศึกษำ ให้สำมำรถขับเคลอ่ื นนโยบำยส่กู ำรปฏิบตั ิได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพและประสิทธผิ ล จึงได้กำหนดกลยุทธ์ดงั น้ี กลยทุ ธท์ ี่ 1 กำรจัดกำรศกึ ษำเพ่ือควำมม่นั คงของมนุษย์และของชำติ กลยทุ ธท์ ี่ 2 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อเพิม่ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ กลยุทธ์ท่ี 3 กำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ กลยทุ ธ์ที่ 4 กำรสรำ้ งโอกำสในกำรเข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำที่มคี ุณภำพ มีมำตรฐำนและลดควำม เหลือ่ มล้ำทำงกำรศึกษำ กลยทุ ธ์ท่ี 5 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อพฒั นำคณุ ภำพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม กลยุทธ์ท่ี 6 กำรปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ เป้าประสงค์เชงิ กลยุทธ์ 1. พฒั นำคณุ ภำพผูเ้ รียนให้มีทักษะวิชำกำร ทักษะชีวิต ทักษะวิชำชพี สู่ควำมเป็นเลศิ 2. สำมำรถบรหิ ำรจัดกำรตำมภำรกจิ และให้บรกิ ำรได้อยำ่ งมีประสิทธิภำพ เกดิ ประสทิ ธิผล ผรู้ บั บริกำรพงึ พอใจและพัฒนำสคู่ วำมเป็นเลิศ 3. พฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำตรงตำมสมรรถนะ และภำระงำน มีขวัญ กำลงั ใจ สำมำรถปฏบิ ตั หิ น้ำท่ีได้อยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ 4. ขบั เคลือ่ นนโยบำยสู่กำรปฏิบตั จิ นเกิดผลสำเรจ็ โดยกำกบั ดแู ลสง่ เสริมสนับสนุนช่วยเหลือ พฒั นำสถำนศึกษำดว้ ยรปู แบบทีห่ ลำกหลำย 5. สร้ำงและพฒั นำเครอื ขำ่ ยควำมรว่ มมอื ท้ังภำยในและภำยนอก ใหม้ ีควำมเข้ำใจและเข้ำมำ มสี ่วนรว่ มในกำรจัดกำรศึกษำอยำ่ งเป็นรปู ธรรม จดุ เน้น 1. น้อมนำศำสตรพ์ ระรำชำ 2. พัฒนำระบบกำรดูแลชว่ ยเหลือ 3. อ่ำนเขยี นไดร้ ้อยเปอรเ์ ซ็นต์ นกั เรยี น 5. ก่อเกิดงำนอำชีพ 4. มุ่งเนน้ ผลสัมฤทธิเ์ ปน็ เลิศ 7. มีกำรพฒั นำหลักสูตร 6. เร่งรีบพัฒนำเทคโนโลยี 8. อ่ำนพูดภำษำองั กฤษ 9. สง่ เสริมกำรคดิ วเิ ครำะห์ 10. บ่มเพำะคุณธรรม 11. นำสคู่ ณุ ภำพมำตรฐำน 12. สืบสำนอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมและควำมเปน็ ไทย 13. ใส่ใจนิเทศภำยใน 14. ก้ำวไกลส่หู ้องเรียนคุณภำพ 4 มติ ิ 15. พิชิต Active learning 16. รจู้ รงิ ประกันคุณภำพภำยใน 17. ร่วมใจ เครือข่ำยกำรมีสว่ นร่วม สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ กลยทุ ธ์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของมนุษย์และของชาติ ที่ ตวั ชว้ี ัด คา่ เป้าหมาย 1 รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีมพี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงควำมรักในสถำบัน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 100 100 100 หลักของชำติ ยึดมั่นกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมี พระมหำกษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 2 รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มีพฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกถงึ กำรมีทัศนคติทด่ี ตี ่อ 80 85 90 บำ้ นเมอื ง มีหลักคิดที่ถกู ต้องเปน็ พลเมืองดีของชำติ มีคุณธรรม จริยธรรม มคี ่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรม อตั ลักษณ์ มจี ิต สำธำรณะ มีจติ อำสำ รบั ผิดชอบต่อครอบครวั ผ้อู น่ื และสงั คม โดยรวม ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ัยและ รกั ษำศีลธรรม 3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ และมคี วำมพร้อมสำมำรถ 100 100 100 รบั มอื กับภยั คกุ คำมทุกรปู แบบทีม่ ีผลกระทบต่อควำมมัน่ คง เช่น ภยั จำกยำเสพติด ควำมรนุ แรง กำรคกุ คำมในชวี ติ และทรัพย์สนิ กำรคำ้ มนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภัยพิบตั ิต่ำง ๆ 4 ร้อยละของผูเ้ รยี นในเขตพ้นื ท่ีเฉพำะกล่มุ ชำติพนั ธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกำส 70 75 80 และกลมุ่ ทอี่ ยูใ่ นพน้ื ท่หี ่ำงไกลทุรกันดำร เชน่ พ้นื ที่สูง ชำยแดน ไดร้ ับกำรบริกำรด้ำนกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำนที่มคี ุณภำพ และเหมำะสม ตรงตำมควำมต้องกำร สอดคลอ้ งกบั บริบทของพื้นที่ 5 จำนวนสถำนศกึ ษำทน่ี ้อมนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำของ 100 100 100 พระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธบิ ดีศรสี ินทร มหำวชริ ำลงกรณฯ พระวชริ เกล้ำเจ้ำอย่หู ัว และหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพฒั นำผ้เู รียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตำมท่ีกำหนดได้ อยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ 6 จำนวนสถำนศึกษำทจี่ ดั บรรยำกำศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรมกำร 100 100 100 เรยี นรู้ใหผ้ เู้ รียนแสดงออกถึงควำมรักในสถำบนั หลักของชำติ ยึดมั่น กำรปกครองระบบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีทัศนคติทดี่ ีต่อบ้ำนเมือง มหี ลักคดิ ที่ถกู ต้อง เป็นพลเมืองดี ของชำติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ กลยทุ ธ์ท่ี 2 การจดั การศกึ ษาเพอื่ เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ที่ ตัวชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1 จำนวนผ้เู รียนมคี วำมเป็นเลิศทำงดำ้ นวชิ ำกำร มที ักษะควำมรูท้ ี่ 80 85 90 สอดคล้องกบั ทักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 2 ผู้เรยี นระดับมัธยมศึกษำผำ่ นกำรประเมินสมรรถนะที่จำเป็นด้ำนกำร 70 75 80 รเู้ รอื่ งกำรอำ่ น (Reading Literacy) ด้ำนกำรรเู้ ร่ืองคณติ ศำสตร์ (Mathematical Literacy) และดำ้ นกำรรู้เร่ืองวิทยำศำสตร์ (Scientific Literacy) ตำมแนวทำงกำรประเมนิ PISA 3 ร้อยละของผู้เรียนท่ีมศี ักยภำพได้รับโอกำสเข้ำสูเวทีกำรแข่งขนั ระดบั 30 35 40 นำนำชำติ กลยทุ ธ์ที่ 3 การพฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ ที่ ตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมาย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1 ผู้เรยี นมสี มรรถนะสำคัญตำมหลกั สตู ร มีทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษ 65 70 75 ท่ี 21 (3R8C) 2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นช้ันประถมศึกษำปที ่ี 3 ที่มีคะแนนผลกำรทดสอบ 50 55 60 ควำมสำมำรถพ้นื ฐำนระดับชำติ (NT) ผ่ำนเกณฑ์ทกี่ ำหนด 3 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่ีมคี ะแนนผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ +3 +3 +3 ข้ันพน้ื ฐำน (O-NET) มำกกว่ำร้อยละ 50 ในแตล่ ะวิชำเพิม่ ขึน้ จำกปี กำรศึกษำทีผ่ ่ำนมำ 4 รอ้ ยละผู้เรยี นทีจ่ บกำรศึกษำช้นั ประถมศึกษำปีที่ท่ี 6 ช้ัน 70 75 80 มัธยมศึกษำปที ่ี 3 ชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี 6 มีทักษะกำรเรยี นรู้เชื่อมโยง สอู่ ำชพี และกำรมีงำนทำ ตำมควำมถนัดและควำมต้องกำรของ ตนเอง มที ักษะอำชีพทีส่ อดคล้องกับควำมต้องกำรของประเทศ วำงแผนชวี ติ และวำงแผนทำงกำรเงนิ ทีเ่ หมำะสมและนำไปปฏิบตั ิได้ 5 ผู้เรียนมที ักษะพน้ื ฐำนในกำรดำรงชวี ติ สำมำรถดำรงชวี ิตอยใู่ นสังคม 80 85 90 ไดอ้ ยำ่ งมีควำมสุข มีควำมยืดหยนุ่ ทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำน ร่วมกับผอู้ ่ืนได้ ภำยใต้สังคมท่ีเป็นพหวุ ัฒนธรรม 6 ผเู้ รยี นมีศักยภำพในกำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองใหม้ สี ขุ ภำวะทด่ี ี 80 85 90 สำมำรถดำรงชวี ิตอยำ่ งมคี วำมสุขทงั้ ด้ำนร่ำงกำยและจติ ใจ 7 ครู มีกำรเปลีย่ นบทบำทจำก “ครูผสู้ อน” เปน็ “Coach” ผใู้ ห้ 80 85 90 คำปรกึ ษำ ข้อเสนอแนะกำรเรียนรหู้ รอื ผ้อู ำนวยกำรกำรเรยี นรู้ สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ กลยทุ ธ์ที่ 4 การสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บริหารการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและการลดความเหลื่อมล้า ทางการศกึ ษา ที่ ตัวชีว้ ัด ค่าเป้าหมาย 1 ผู้เรยี นสำมำรถเขำ้ เรยี นในสถำนศึกษำทม่ี ีคณุ ภำพเป็นมำตรฐำน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 100 100 100 เสมอกนั 2 ผู้เรียนได้รบั จัดสรรงบประมำณอุดหนุนอยำ่ งเพียงพอ และเหมำะสม 80 85 90 สอดคลอ้ งกับสภำพข้อเท็จจริง โดยคำนงึ ถงึ ควำมจำเป็นตำมสภำพ พื้นทภี่ มู ิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจและทตี่ งั้ ของสถำนศึกษำ และ ควำมตอ้ งกำรจำเป็นพิเศษสำหรับผูพ้ ิกำร 3 ผู้เรียนไดร้ บั กำรสนบั สนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทลั (Digital 70 75 80 Device) เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือในกำรเรยี นรู้ อยำ่ งเหมำะสม เพียงพอ 4 ครไู ด้รับกำรสนับสนนุ วสั ดุ อปุ กรณ์ และอุปกรณด์ จิ ทิ ัล(Digital 70 75 80 Device)เพอ่ื ใช้เปน็ เคร่ืองมือในกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ใหแ้ ก่ ผ้เู รียน 5 สถำนศกึ ษำไดร้ ับกำรพฒั นำใหม้ ีมำตรฐำนอยำ่ งเหมำะสมตำมบรบิ ท 80 85 90 ด้ำนประเภท ขนำด และพนื้ ท่ี 6 สถำนศึกษำนำเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) มำใช้เปน็ 80 85 90 เครอื่ งมือในกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรใู้ ห้แกผ่ ู้เรยี นได้อย่ำงมี ประสทิ ธิภำพ 7 สถำนศึกษำมรี ะบบกำรดูแลช่วยเหลอื และคุ้มครองนกั เรียนและกำร 90 95 100 แนะแนวที่มีประสิทธิภำพ 8 สถำนศกึ ษำท่มี ีระบบฐำนข้อมูลประชำกรวยั เรยี นและสำมำรถ 100 100 100 นำมำใชใ้ นกำรวำงแผนจดั กำรเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผู้เรยี นได้อย่ำงมี ประสทิ ธภิ ำพ สำนกั งำนเขตพนื้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ กลยุทธ์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ี ตวั ช้วี ัด ค่าเปา้ หมาย 1 สถำนศึกษำในสังกดั มีนโยบำยและจัดกิจกรรมใหค้ วำมรู้ ที่ถูกต้อง ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 80 85 90 และสรำ้ งจติ สำนกึ ด้ำนกำรผลิตและบริโภคทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม นำไปปฏบิ ตั ิใช้ทีบ่ ำ้ นและชมุ ชน เชน่ กำรสง่ เสริมอำชีพทีเ่ ป็นมติ รกับ ส่งิ แวดลอ้ ม กำรลดใช้สำรเคมีกำรปุย๋ และยำฆ่ำแมลง ฯลฯ 2 สถำนศกึ ษำมีกำรนำขยะมำใช้ประโยชน์ในรปู ผลติ ภัณฑ์และพลังงำน 85 90 95 เพื่อลดปริมำณขยะ และมกี ำรสง่ เสรมิ กำรคัดแยกขยะในชุมชนเพอ่ื ลดปรมิ ำณคำร์บอนที่โรงเรียนและชุมชน 3 สถำนศึกษำมีกำรบรู ณำกำรเร่ืองกำรจัดกำรขยะแบบมีส่วนรว่ มและ 85 90 95 กำรนำขยะมำใช้ประโยชน์รวมท้งั สอดแทรกในสำระกำรเรียนร้ทู ่ี เกย่ี วขอ้ ง 4 นักเรียนเรยี นรจู้ ำกแหลง่ เรยี นรู้ มีกำรขยำยผลแหล่งเรียนรู้ นักเรยี น 85 90 95 โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ดำ้ นกำรลดใชพ้ ลงั งำน กำรจดั กำรขยะและ อนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมเพื่อเปน็ แหลง่ เรียนรู้และตวั อยำ่ งรูปแบบ ผลติ ภัณฑท์ เี่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม เช่น โรงงำนอุตสำหกรรมสีเขยี ว ฯลฯ 5 นักเรียน สถำนศึกษำมีกำรเก็บขอ้ มูลเปรียบเทียบกำรลดปริมำณ 70 75 80 คำร์บอนไดออกไซต์ในกำรดำเนินกิจกรรมประจำวันในสถำนศึกษำ และทบี่ ำ้ น และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ OR CODE และ Paper less 6 ครู มีควำมคิดสรำ้ งสรรค์ สำมำรถพฒั นำสื่อ นวตั กรรม และ 70 75 80 ดำเนินกำรจัดทำงำนวจิ ัยดำ้ นกำรสรำ้ งสำนกึ ด้ำนกำรผลิตและ บริโภคทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อมได้ 7 ครู และนกั เรียนสำมำรถนำสื่อนวัตกรรมที่ผ่ำนกระบวนกำรคิดมำ 70 75 80 ประยุกตใ์ ชใ้ นโรงเรยี น กำรจดั กำรเรยี นรู้ และประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวันและชมุ ชนไดต้ ำมแนวทำง Thailand 4.0 8 สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ และสถำนศึกษำ มีกำรปรับปรุงและ 80 85 90 พฒั นำบุคลำกรสถำนทใี่ ห้เป็นสำนกั งำนสีเขยี วต้นแบบมีนโยบำยกำร จัดซ้ือจัดจ้ำงท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อมท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรขู้ อง นักเรียนและชมุ ชน สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ กลยุทธ์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา ท่ี ตวั ชี้วัด ค่าเปา้ หมาย 1 สถำนศกึ ษำในสงั กัดไดร้ ับกำรกระจำยอำนำจกำรบริหำรจดั ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 100 100 100 กำรศึกษำอยำ่ งเปน็ อสิ ระ 2 สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ และสถำนศึกษำ ไดร้ ับกำรพัฒนำให้ 80 85 90 เป็นหน่วยงำนท่มี คี วำมทันสมัย ยืดหย่นุ คล่องตวั สูง พร้อมที่จะ ปรับตวั ให้ทนั ตอ่ กำรเปล่ยี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลำ เป็น หนว่ ยงำนทมี่ ีหน้ำทสี่ นบั สนุน สง่ เสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตำม เพ่ือให้ สถำนศึกษำสำมำรถจดั กำรศึกษำได้อย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพครอบคลุม ทุกอำเภอ 3 สำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำและสถำนศึกษำ นำนวัตกรรมและ 100 100 100 เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Technology) มำใชใ้ นกำรบริหำรจัดกำร และตดั สนิ ใจ ทง้ั ระบบ 4 สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำ มีควำมโปรง่ ใส 100 100 100 ปลอดกำรทจุ รติ และประพฤติมิชอบ บรหิ ำรจดั กำรตำมหลัก ธรรมำภิบำล 5 สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำ ผ่ำนกำรประเมิน 85 86 87 คณุ ธรรมและควำมโปรง่ ใสในกำรดำเนินงำนของหนว่ ยงำนภำครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) 6 สถำนศึกษำในสังกัด มรี ะบบฐำนขอ้ มูลสำรสนเทศวชิ ำกำร ผเู้ รยี น 100 100 100 ครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ สถำนศึกษำ สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ส่วนที่ 4 แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 ที่ โครงการ ประมาณการงบประมาณ กลุ่มท่ี รบั ผิดชอบ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 นเิ ทศ ติดตาม กลยุทธ์ที่ 1 ด้านการจดั การศึกษาเพ่อื ความมัน่ คงของมนษุ ย์และของชาติ ประเมินผลฯ นเิ ทศ ติดตาม 1 ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 100,000 100,000 100,000 ประเมินผลฯ นเิ ทศ ตดิ ตาม 2 พัฒนาหอ้ งเรียนคุณภาพ 4 มิติ 100,000 100,000 100,000 ประเมินผลฯ 3 นิเทศเพื่อยกระดบั พฒั นาโรงเรยี นวิถพี ุทธโดยใชก้ ล่มุ 35,000 35,000 35,000 นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลฯ เครอื ข่ายโรงเรยี นเปน็ ฐานดว้ ยเทคนิค Direct tell & 31,200 Peer assist” ปงี บประมาณ 2563 นิเทศ ติดตาม 49,000 ประเมินผลฯ 4 พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาตามเป้าหมายหลกั สตู ร 31,200 31,200 แกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 100,000 นเิ ทศ ติดตาม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) 30,600 ประเมนิ ผลฯ 37,600 นิเทศ ติดตาม 5 พัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย เพื่อ 49,000 49,000 107,600 ประเมินผลฯ สง่ เสรมิ ศักยภาพดา้ นการอา่ นออกเขยี นได้ และการ 591,000 สง่ เสริมการจัด 250,000 การศึกษา วเิ คราะห์โดยกระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active 250,000 สง่ เสรมิ การจัด Learning 150,000 การศกึ ษา 6 พฒั นาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สารสู่ 100,000 100,000 ส่งเสริมการจดั คณุ ภาพผเู้ รยี น ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 การศกึ ษา 7 ส่งเสรมิ พัฒนากจิ กรรมแนะแนวและกจิ กรรมพฒั นา 30,600 30,600 นเิ ทศ ติดตาม ทักษะอาชีพในโรงเรยี น ประเมนิ ผลฯ 8 ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารสร้างความเข้มแข็งองค์กรสภา 37,600 37,600 นกั เรียนเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 9 พฒั นากจิ การลูกเสือ – เนตรนารี ประจาปงี บประมาณ 107,600 107,600 พ.ศ. 2563 รวมกลยุทธท์ ี่ 1 591,000 591,000 กลยุทธ์ท่ี 2 การจัดการศึกษาเพือ่ เพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ 10 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับชาติ ภาคเหนือ 250,000 250,000 คร้งั ที่ 69 ปีการศึกษา 2562 รวมกลยุทธ์ท่ี 2 250,000 250,000 กลยทุ ธ์ท่ี 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 11 นิเทศบรู ณาการโดยใช้พน้ื ทเ่ี ป็นฐาน ปงี บประมาณ 150,000 150,000 พ.ศ. 2563 สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ที่ โครงการ ประมาณการงบประมาณ กลมุ่ ที่ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รบั ผดิ ชอบ 12 นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา 59,400 59,400 59,400 นิเทศ ติดตาม ปงี บประมาณพ.ศ. 2563 ประเมินผลฯ 13 พฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ และบูรณาการใช้ 8,000 8,000 8,000 นเิ ทศ ติดตาม ทกั ษะเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ สร้างเครือข่าย ประเมินผลฯ หอ้ งเรยี นคุณภาพ 14 ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศ 51,000 51,000 51,000 นิเทศ ตดิ ตาม ไทยสาหรับครปู ฐมวยั ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ประเมนิ ผลฯ 15 ส่งเสริมพฒั นายกระดบั วชิ าชีพทางการศึกษา ประจาปี 53,000 53,000 53,000 พฒั นาครูและ บุคลากรฯ พ.ศ.2563 16 สรรหาและเลอื กสรรบุคคลเพื่อจดั จ้างเป็นพนักงาน 31,000 31,000 31,000 บริหารงาน ราชการหรอื ลกู จ้างชว่ั คราว ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. บุคคล 2563 รวมกลยทุ ธท์ ี่ 3 352,400 352,400 352,400 กลยทุ ธท์ ่ี 4 การสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มคี ุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศึกษา 17 สง่ เสริมสนับสนุนการจดั การศึกษาโดยครอบครัว 17,600 17,600 17,600 สง่ เสรมิ การจดั สพป.เชียงใหม่ เขต 4 การศกึ ษา 18 บรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ “บรหิ ารจัดการ 65,600 65,600 65,600 นโยบายและ โรงเรยี นขนาดเลก็ สู่ความเป็นเลศิ ” แผน รวมกลยทุ ธ์ที่ 4 83,200 83,200 83,200 กลยทุ ธ์ที่ 5 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม 19 ส่ิงแวดลอ้ มศึกษา 59,900 59,900 59,900 นิเทศ ติดตาม ประเมินผลฯ รวมกลยุทธท์ ่ี 5 59,900 59,900 59,900 กลยุทธ์ที่ 6 การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา 20 ประชุมสมั มนาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 30,000 30,000 30,000 ส่งเสริมการจัด การศึกษา 21 พัฒนาประสิทธภิ าพผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในการบริหาร 200,000 200,000 200,000 อานวยการ จัดการ 22 อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการใชร้ ะบบสนับสนนุ การศกึ ษา 64,500 64,500 64,500 อานวยการ และระบบสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา 23 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการสานักงานเขตพืน้ ที่ 55,000 55,000 55,000 อานวยการ การศกึ ษา 24 ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารจัดจัดจา้ งภาครัฐดว้ ยวธิ กี ารทาง 52,400 52,400 52,400 บริหารการเงินฯ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์(e-GP) สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ที่ โครงการ ประมาณการงบประมาณ กลุ่มท่ี รบั ผดิ ชอบ 25 ประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารยื่นขอรบั บาเหน็จบานาญด้วย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ตนเองทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 25,600 25,600 25,600 บริหารการเงินฯ 26 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การตาม 200,000 200,000 200,000 นโยบายและ นโยบาย แผน 36,000 36,000 27 ยกระดบั ประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน 36,000 หนว่ ยตรวจสอบ 663,500 663,500 ภายใน รวมกลยุทธ์ท่ี 6 2,000,000 2,000,000 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 663,500 2,000,000 สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ส่วนที่ 5 การบริหารแผนสู่ความสาเร็จ การบริหารจดั การแผน สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำเชียงใหม่ เขต 4 ได้จัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำ ข้ันพื้นฐำน (พ.ศ.2563 - 2565) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในกำรปฏิบัติงำนท่ีสอดคล้องกับนโยบำยของรัฐบำล กระทรวงศึกษำธกิ ำร สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำนและจงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือกำรดำเนนิ งำน ให้ประสบผลสำเร็จ สำมำรถท่ีจะผลักดันกำรทำงำนของกลไกที่สำคัญให้บรรลุผลลัพธ์ตำมที่ต้ังเป้ำหมำย กำรดำเนินงำนที่จะบังเกิดผลอย่ำงมีประสิทธิภำพจำเป็นที่จะต้องมีกำรผลักดันให้มีกำรปรับเปลี่ ยนแนวคิด ค่ำนิยม เป้ำหมำย รวมถึง วิธีและกระบวนกำรทำงำนนำแผนสู่กำรปฏิบัติ จะต้องทำให้หน่วยงำนยอมรับ แนวทำง แผนงำน โครงกำร และพร้อมที่จะนำแนวทำงน้ันไปดำเนินกำรได้อย่ำงเหมำะสม ดังน้ัน กำรระดม ทรัพยำกร แสวงหำกำรสนับสนุน เพื่อให้เกิดกำรปฏิบัติและสร้ำงควำมเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้น เพื่อให้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งมคี วำมรู้สึกเป็นเจำ้ ของและมสี ่วนร่วม สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต 4 จึงได้กำหนดแนวทำงในกำรดำเนินงำนสู่ควำมสำเร็จ และกระบวนกำรนำแผนสู่กำรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. กำรเผยแพร่และเสรมิ สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจเก่ียวกับสำระสำคัญของแผน นำวิสัยทศั น์ พันธกิจ เปำ้ ประสงค์ คำ่ นยิ ม กลยทุ ธ์ ให้เจำ้ หน้ำทแ่ี ละบุคลำกรทุกระดบั ได้รบั ทรำบ มีส่วนรว่ มและใหก้ ำร สนับสนนุ อยำ่ งกว้ำงขวำง เพ่ือใหก้ ำรนำแผนสู่กำรปฏิบัตเิ ป็นไปอย่ำงมีประสิทธภิ ำพ 2. ผู้บรหิ ำรกำรศกึ ษำเข้ำใจและผลักดนั ให้มีกำรดำเนนิ งำนตำมแผนอยำ่ งมีประสิทธิภำพและ สม่ำเสมอ 3. ขับเคล่ือนดว้ ยกำรมสี ว่ นร่วมของสถำนศึกษำและกล่มุ ต่ำง ๆ ตำมพันธกิจทไี่ ดร้ บั มอบหมำย รวมถงึ แสวงหำและประสำนเครือขำ่ ยควำมรว่ มมือกบั หน่วยงำนภำยนอก ตลอดจนองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ภำคเอกชนและภำคประชำสงั คมในกำรพฒั นำกำรศึกษำ 4. พฒั นำระบบข้อมูลสำรสนเทศทำงกำรศึกษำให้มคี วำมถูกต้องและเป็นปัจจบุ นั และสำมำรถ ให้บริกำรได้ตรงกับควำมต้องกำรและทนั ตอ่ กำรเปลย่ี นแปลง 5. พัฒนำระบบกำรกำกับ ติดตำมและกำรประเมินผลทมี่ ุง่ เน้นกำรประเมินเพื่อกำรพฒั นำและ ปรับปรงุ กำรดำเนินงำนโดยมีกำรพฒั นำตัวชี้วดั ผลสำเรจ็ กำรดำเนินงำน ท้งั ในด้ำนปริมำณ คุณภำพ ระยะเวลำ ในกำรประเมนิ ผู้ประเมินและแนวทำงในกำรเก็บรวบรวมข้อมลู การกากบั ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล กำรตดิ ตำมและประเมินผลกำรดำเนินงำนตำมแผนพฒั นำกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน (พ.ศ.2563 – 2565) เพอื่ หำข้อสรุปเกย่ี วกับกำรดำเนนิ งำนว่ำไดผ้ ลเป็นอยำ่ งไร กำรดำเนินงำนมีประสิทธภิ ำพและประสิทธิผล อย่ำงไร เปน็ ไปตำมเปำ้ หมำยที่ได้กำหนดไวห้ รือไม่ กำรประเมนิ ในขัน้ ตอนน้ีจะทำให้ได้รับทรำบข้อมูลเกีย่ วกบั ควำมสำเร็จและควำมล้มเหลวของกำรปฏบิ ัติงำน เพื่อจะนำมำเปน็ บทเรียนท่จี ะชว่ ยในกำรตัดสินใจสำหรบั กำร ดำเนินงำนใหม่ รวมท้ังกำรปรับปรุงโครงกำรซึง่ มีลักษณะเหมอื น หรือใกล้เคียงกับท่ีไดป้ ระเมิน สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕ ประเด็นท่ีนำมำพิจำรณำในกำรติดตำมและประเมินผลเมื่อส้ินระยะเวลำของแผนพัฒนำ กำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน 4 ปี (พ.ศ.2562-2565) ประกอบด้วย 1. กำรตดิ ตำมและประเมินผลกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณเมื่อเทียบกับเปำ้ หมำย เปน็ กำรติดตำมและประเมินเกี่ยวกบั ปจั จัยเข้ำ (Input) หรือกำรใช้ทรัพยำกรตำ่ ง ๆ ท่ีใชใ้ น กำรดำเนินโครงกำรตำมแผนว่ำเปน็ ไปตำมทไี่ ด้กำหนดในโครงกำรหรือกจิ กรรมมำกน้อยเพียงใด 2. กำรติดตำมและประเมินผลกำรดำเนินงำนตำมแผน เปน็ กำรตดิ ตำมและประเมินผล กระบวนกำร (Process) ในกำรปฏบิ ตั งิ ำนตำมแผนงำนหรือ โครงกำรตำ่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับกำรดำเนินงำนตำมแนวทำงกำรพฒั นำในแตล่ ะกลยทุ ธ์ รวมถงึ กำรสรปุ ปัญหำและ อปุ สรรคในกระบวนกำรทำงำนอยำ่ งไร 3. กำรตดิ ตำมและประเมินผลสัมฤทธิข์ องกำรดำเนนิ โครงกำร เป็นกำรติดตำมและประเมินผลผลิต (Output) ที่ได้จำกกำรดำเนินโครงกำรเม่ือเทียบกับ เป้ำหมำยทีก่ ำหนดไว้ในแผนพัฒนำกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน กำรประเมนิ ผลในข้นั ตอนนี้เปน็ กำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำน ว่ำสำมำรถดำเนินงำนตำมโครงกำรและกิจกรรมท่กี ำหนดไว้ไดต้ ำมแผนเมอื่ เทียบกับเป้ำหมำยหรือไม่ ท้ังนี้ โดยใช้ เป้ำหมำยและตัวชวี้ ัด(KPI)ที่ไดก้ ำหนดเป็นเครื่องมือทจ่ี ะนำไปตดิ ตำมและประเมินผล โดยเปรียบเทียบกบั ผลท่เี กดิ ขน้ึ จริงภำยใต้งบประมำณท่ีได้รับ 4. กำรตดิ ตำมและประเมินผลลัพธข์ องกำรดำเนนิ โครงกำร เป็นกำรติดตำมและประเมินผลลัพธ์ (Outcome) ของโครงกำรหรือเป็นกำรประเมินผล ประโยชน์ทเ่ี กิดขึ้นจำกโครงกำรว่ำนักเรียนและครูได้รบั ประโยชนจ์ ำกกำรดำเนินงำนทีก่ ำหนดในแตล่ ะโครงกำรและ กิจกรรมหรือไม่ ท้ังนี้ เป็นกำรติดตำมและประเมินผลโดยพิจำรณำจำกวัตถุประสงค์ของโครงกำรว่ำผลกำร ดำเนินงำนไดส้ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงกำรและกิจกรรมที่ระบุไว้หรอื ไม่ เพียงใด และหำกไมบ่ รรลตุ ำม วตั ถุประสงค์ สำเหตุ ปัญหำ อุปสรรค คืออะไร เพือ่ จะได้นำบทเรียนท่ีได้เรียนรูจ้ ำกโครงกำรและกจิ กรรมดังกลำ่ ว มำปรับปรงุ โครงกำรหรือกิจกรรมทจี่ ะดำเนินกำรต่อไปในอนำคต สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต ๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook