Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการอ่านด้วยอีบุค

พัฒนาการอ่านด้วยอีบุค

Published by t_hankla, 2019-04-10 04:04:54

Description: พัฒนาการอ่านด้วยอีบุค.

Search

Read the Text Version

วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปที ี่ 7 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2557 ฉบบั มนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ การพัฒนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) เพ่ือพฒั นาทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นหนองเค็ด* THE DEVELOPMENT OF ELECTRONIC BOOK TO DEVELOP READING SKILLS THAI LANGUAGE FOR PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS BANNONGKED SCHOOL จรัสสม ปานบุตร** บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียง ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การ อา่ นออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ก่อนเรียนกับ หลังเรียน ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3) เพื่อวัดทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านหนองเค็ด 4) เพื่อศึกษาความพงึ พอใจที่มีต่อการเรียนดว้ ยหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง การอ่านออก เสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด กลุ่มประชากรท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 25 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การ อา่ นออกเสียงภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 3) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญ 4) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เรือ่ ง การอ่านออกเสยี งภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 5) แบบวดั ทกั ษะการอ่านออกเสยี งภาษาไทย 6) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย รอ้ ยละ และสว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 84.88/82.27 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การอ่านออก เสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบา้ นหนองเค็ด หลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรียนดว้ ยหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 23.87 3) ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบา้ นหนองเค็ด หลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 25.16 อยู่ในเกณฑ์ระดับดี 4) ความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่าน ออกเสยี งภาษาไทย ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบ้านหนองเค็ด อยใู่ นระดับมากที่สุด ( m= 4.53 , s = 0.44) * บทความน้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของการค้นควา้ อิสระ ระดบั ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชา เทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปีการศึกษา 2556 เรื่อง การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เพื่อพัฒนา ทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบ้านหนองเค็ด ** นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ศลิ ปากร E-mail : [email protected] โทรศพั ท์ 085-2124422 อาจารยท์ ปี่ รึกษาการค้นคว้าอิสระ : รศ.สมหญิง เจรญิ จติ รกรรม 175

ฉบบั มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปที ่ี 7 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2557 Abstract The purpose of this research were : 1) to develop an electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6 students to efficiency. 2) to compare the achievement before and after study using the electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6 students Bannongked school. 3) to measurement of enunciation skills Thai language of Prathomsuksa 6 students Bannongked school. 4) to study satisfaction in studying with the electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6 students Bannongked school. The population in this research were 25 students in Prathomsuksa 6 students Bannongked school in the second semester, academic year 2013. The research instruments were 1) A structured interview form. 2) Electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6. 3) An evaluate quality form of electronic books for the specialists. 4) The learning achievement test on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6. 5) The measurement of enunciation skills Thai language form. 6) A satisfaction form in studying with electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6 students. The data analysis were mean, standard deviation and t-test of dependent The results were as follows : 1) Electronic book on enunciation Thai language of Prathomsuksa 6 students effective 84.88/82.27 Which meets the specified criteria. 2) The student’s achievement after learning with electronic book on enunciation Thai language higher than before learning at 23.87 percent. 3) The student’s enunciation skills Thai language of Prathomsuksa 6 Bannongked school an average score of 25.16 was good level. 4) The student’s satisfaction in studying with the electronic book on enunciation Thai language was most level. ( m= 4.53 , s = 0.44) บทนาํ ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพ่ือการดารงชีวิต เป็น เครอื่ งมอื ของการสือ่ สารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออกของความคิด ด้วยการพูด การเขยี นและการกระทาซงึ่ เป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถ้าคนมีภาษาน้อย มี คาศัพท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนท่ีใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย คนจะใช้ความคิดและ แสดงออกทางความคิดเปน็ ภาษา ซึง่ ส่งผลไปสู่การกระทา ผลของการกระทาส่งผลไปสู่ความคิดซ่ึงเป็นพลังของ ภาษา ภาษาจงึ มบี ทบาทสาคญั ตอ่ มนุษย์ ช่วยให้มนุษย์พัฒนาความคิด ช่วยดารงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษาติดต่อส่ือสารกัน ช่วยให้คนปฏิบัติตนตาม กฎเกณฑข์ องสงั คม ภาษาชว่ ยให้มนุษย์ เกิดการพัฒนา ใช้ภาษาในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การอภิปราย โตแ้ ยง้ เพอ่ื นาไปส่ผู ลสรุป มนุษยใ์ ชภ้ าษาในการเรียนรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัวของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบด้วยเสียงและ ความหมาย การใช้ภาษาใช้ถอ้ ยคาทาใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ต่อผูร้ บั สาร ใหเ้ กดิ ความจงเกลียดจงชังหรือเกิด ความช่ืน 176

วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2557 ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ ชอบ ความรักย่อมเกิดจากภาษาทั้งส้ิน ที่นาไปสู่ผลสรุปท่ีมีประสิทธิภาพ (สานักวิชาการและมาตรฐาน การศกึ ษา, 2551 : 45) ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลกิ ภาพของคนในชาตใิ ห้มีความเปน็ ไทย เปน็ เครื่องมอื ในการติดต่อส่อื สารเพอื่ สร้างความเข้าใจและ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้ อย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือ พัฒนาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสรา้ งสรรค์ ให้ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม และ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณีและสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้าค่า ควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551 : 1) ดงั พระราชดารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ในการประชมุ ทางวชิ าการของชมุ นมุ ภาษาไทย คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันท่ี 29 กรกฎาคม พุทธศักราช 2505 ความว่า “...ภาษาไทยน้ัน เป็นเครือ่ งมืออยา่ งหนึ่งของชาติ ภาษาทง้ั หลายเปน็ เครอ่ื งมอื ของมนษุ ย์ชนิดหน่งึ คือ เป็นทางสาหรับแสดงความ คิดเห็นอย่างหน่ึง เป็นสิ่งสวยงามอย่างหนึ่ง เช่น วรรณคดี เป็นต้น ฉะน้ัน จาจึงเป็นต้องรักษาเอาไว้ให้ดี ประเทศไทยเรานนั้ มีภาษาของเราเองซ่ึงต้องหวงแหน ประเทศใกล้เคียงของเราท้ังหลายมีภาษาของตนเองแต่ไม่ แข็งแรงพอ เราตอ้ งพยายามหาหนทางสร้างภาษาของเราให้ม่ันคง เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จงึ สมควรอย่างย่ิงที่จะรกั ษาไว้...” (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน, 2553 : ก) การอ่านหนังสือเป็นการพัฒนาตนเองและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซ่ึงเป็นสิ่งจาเป็นมากในการ พัฒนาคนและพัฒนาสังคม การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้อยู่ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้ว โดยเฉพาะการอ่านหนังสือท่ีดีและมีสาระยิ่งมีน้อยลงไปอีก สาเหตุมีอยู่หลายประการนับต้ังแต่การขาดแคลน หนังสือที่ดีและตรงกับความสนใจของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือท่ีจะยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความ สนใจและการแย่งเวลาของสื่ออื่นๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง ฯลฯ รวมทั้งการชักจูง การกระตุ้น และมี นิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกโรงเรียน เม่ือเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ฟังได้รู้เห็นเร่ืองต่างๆ จาก โทรทัศนแ์ ละวิทยกุ ระจายเสยี งแล้ว การอ่านหนงั สือเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่าและ ต้องมีทักษะในการอ่าน การอ่านเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิตในปัจจุบัน มีความสาคัญในการเรียนการศึกษาหา ความรู้ เพื่อประกอบอาชีพในอนาคต เป็นทักษะที่จาเป็นอย่างย่ิงในการจัดกิจกรรมการเรียน และนับว่าเป็น เคร่อื งมอื ที่จะแสวงหาความรู้ทดี่ ีท่ีสุด (จินตนา ใบกายซู ,ี 2534 : 57) จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ ถึงสถิติการอ่านหนังสือของคนไทย พบว่า คนไทยอายุ ต้งั แต่ 6 ปขี ึน้ ไป อ่านหนังสือลดลง จากร้อยละ 69.1 ในปี 2548 เปน็ ร้อยละ 66.3 ในปี 2551 และจากจานวน คนท่ีไม่อ่านหนังสืออีกร้อยละ 33.7 นั้น ใช้เวลาเพื่อดูโทรทัศน์ถึงร้อยละ 54.3 รองลงมาคือ ไม่มีเวลาอ่าน ไม่ สนใจหรือไม่ชอบอ่านหนังสือ และอ่านหนังสือไม่ออก ตามลาดับ ซึ่งจากสถิติพบว่า คนไทยอ่านหนังสือลดลง เกือบทุกวัย ส่วนใหญ่จะใช้เวลาดูโทรทัศน์มากข้ึน ทาให้จินตนาการน้อยลง คนไทยใช้เวลาอ่านหนังสือน้อยลง จากเฉลีย่ 51 นาทตี อ่ วนั ในปี 2548 เหลอื 39 นาทตี อ่ วนั ในปี 2551 โดยมีกลุ่มเยาวชนอา่ นหนังสือมากท่ีสุด 46 นาทีต่อวัน จากสถิติดังกล่าวน้ี เป็นข้อมูลสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการอ่านของเด็กและเยาวชนที่ 177

ฉบบั มนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2557 หน่วยงานทางการศึกษาต้องตระหนักและทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง ในการแก้ไขปัญหาและ รณรงค์สง่ เสรมิ ให้เด็กไทยมีนิสัยรักการอ่าน รักการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการอ่าน เพ่ือให้เด็กไทย เปน็ ประชากรทม่ี มี คี ณุ ภาพ (สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ, 2552 : 6) จากผลการทดสอบวัดความสามารถในการอา่ นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามโครงการ การ ประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2552 จากสานักทดสอบทาง การศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปรากฏว่า นักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีที่ 6 ในสังกัด สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4 จานวน 1,624 คน มนี กั เรยี น ที่มีผลการทดสอบวัด ความสามารถในการอ่าน อยู่ในระดับพอใช้ และระดับปรับปรุง จานวน 964 คน คิดเป็นร้อยละ 59.36 ซึ่งเป็น ปญั หาตอ่ คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรูข้ องนักเรียน ทาใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนต่า (สานักงาน เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4, 2553 : 3) ส่ือการเรยี นรู้ จงึ จดั วา่ เปน็ องคป์ ระกอบสาคัญอยา่ งหน่งึ ที่ทาให้กระบวนการสอนครบบริบูรณ์และยัง อาจกล่าวได้ว่า เปน็ ตัวชี้ถงึ ประสทิ ธภิ าพของการเรียนการสอนในครั้งนน้ั ๆ เพราะสอ่ื เปน็ ตัวกลางสาคัญ ที่นาเอา ความรู้และประสบการณ์เข้าไปสู่การรับรู้ของผู้เรียน ซ่ึงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ระบุเก่ียวกับส่ือการเรียนรู้ไว้ว่า ส่ือการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลักสตู รไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 27) ส่ือเทคโนโลยีทางด้านการศึกษาในปัจจุบัน ช่วยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษาไปมาก โดยเฉพาะ การจัดการกับความรู้ เพ่ือนาองค์ความรู้มาใช้ประโยชน์ และสามารถสร้างรูปแบบการประยุกต์ใช้งานได้ กวา้ งขวาง หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) เปน็ ส่อื การเรยี นรู้หน่ึงท่ีจะทาให้นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีทาง การศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ เน่อื งจากหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นหนังสือท่ีจัดทาและแสดงผล ในรปู แบบส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ เป็นแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถอ่านผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ท้ังในระบบ ออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากน้ันหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรก ภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารท่ีต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีก ประการหน่ึงที่สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซ่ึงคุณสมบัติ เหล่านจ้ี ะไม่มีในหนังสือธรรมดาทวั่ ไป (ไพฑูรย์ ศรีฟา้ , 2551 : 14) นอกจากน้ี หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ ยังสามารถออกแบบและจัดรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กบั ความต้องการรายบุคคล มีการอธบิ ายเนอ้ื หาบทเรยี นให้เข้าใจง่ายข้นึ พรอ้ มกับเรียนแล้วสนุกเพลิดเพลิน ไม่ เบื่อง่าย และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน สนองหลักด้านจิตวิทยาของมนุษย์ คือ มีการสอดแทรกหลักการเรียนและเล่นผสมผสานกันไป มีการให้ทดสอบ ความเข้าใจของนักเรียนผนวกอยู่ ด้วย บทเรียนน่าสนใจและนักเรียนเกดิ ความพึงพอใจในการเรียน ดังที่ อัญญาพัชร ใจช่ืน และคณะ (2548 : 83) กล่าวไว้วา่ การออกแบบเนื้อหา กจิ กรรมและการเชื่อมโยงเน้ือหา ตลอดท้งั การปฏิสัมพนั ธ์ รวมถึงการออกแบบ ด้านกราฟกิ และเสียง ทาใหน้ กั เรียนมีความสนใจ กระตือรือร้น สามารถทาความเข้าใจเน้ือหาได้ด้วยตนเอง จึง 178

วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2557 ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ทาให้ผลการเรียนของนักเรียนหลังเรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าก่อนเรียน เป็นผลให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนักเรยี นสูงขน้ึ ดว้ ย เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ผู้วิจัยได้ศึกษา ค้นหาเทคนิควิธีการต่างๆ เพ่ือเพิ่มความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมี เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การอ่าน สื่อบทเรยี นคอมพิวเตอรม์ ลั ติมีเดยี ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นเทคนิควิธีการหนึ่ง ที่จะช่วยให้การเรียนรู้และทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย มีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน เน่ืองจากหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เปน็ สือ่ ประสม (Multimedia) มีภาพน่งิ ภาพเคลอื่ นไหว และเสียงบรรยายประกอบ ทาให้ผเู้ รยี น มีความสนใจในการเรียนรู้ สามารถเข้าใจบทเรียนได้ดี ผู้วิจัยจึงพัฒนาส่ือบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นหนองเคด็ สังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพ่ือพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มี ประสทิ ธิภาพ 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นหนองเคด็ ก่อนเรยี นกบั หลงั เรยี นด้วยหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ 3. เพื่อวัดทกั ษะการอา่ นออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนอง เค็ด 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียง ภาษาไทย ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นหนองเคด็ สมมติฐานการวจิ ยั 1. หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด หลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี นด้วยหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3. นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นหนองเคด็ มีทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย อยู่ ในระดบั ดี 4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบา้ นหนองเค็ด มีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง การอ่านออกเสียงภาษาไทย อยใู่ นระดบั มาก 179

ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปที ี่ 7 ฉบับท่ี 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2557 การดําเนินการวจิ ยั 1. ระเบียบวจิ ัย การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยและพัฒนา (R&D : Research and Development) ใช้แบบแผน การวจิ ัยแบบทดลองกบั หน่ึงกลุม่ มีการทดสอบก่อนและหลงั ทดลอง (One Group Pretest - Posttest Design) 2. เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจัยครง้ั น้ี คอื 1. แบบสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ ง 2. หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง การอา่ นออกเสียงภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 3. แบบประเมนิ คณุ ภาพหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ โดยผเู้ ช่ียวชาญ 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 5. แบบวัดทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาไทย 6. แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของ นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 3. การดาํ เนินการเก็บข้อมลู ผู้วิจัยดาเนินการทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย กับ ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียน บ้านหนองเค็ด จานวน 25 คน เป็นเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง โดยมีวิธีในการดาเนินการเก็บ รวบรวมขอ้ มูล ดังนี้ 3.1 สัปดาห์ท่ี 1 ชี้แจงทาความเข้าใจและกาหนดข้อตกลงในการเรียนโดยใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์กับนักเรียน แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน (Pretest) จานวน 30 ข้อ และผู้วิจัยดาเนินการวัดทักษะการอ่านออกเสียงของนักเรียนก่อนเรียนเป็นรายบุคคล ตาม แบบประเมินความสามารถในการอ่านคล่อง ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2553 ของสานักทดสอบ ทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 3.2 สัปดาห์ท่ี 2 จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง มาตราตวั สะกดตรงมาตรา และมาตราตัวสะกดตรงไมม่ าตรา 3.3 สัปดาห์ท่ี 3 จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง มาตราตวั สะกดตรงไม่มาตรา (ตอ่ ) และเรอ่ื ง คาที่มตี ัวการนั ต์ 3.4 สัปดาห์ที่ 4 จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง คาควบกลา้ 3.5 สัปดาห์ท่ี 5 จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง อกั ษรนา และเรื่อง คาพ้อง 3.6 สัปดาห์ที่ 6 ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Posttest) จานวน 30 ข้อ และผู้วิจัยดาเนินการวัดทักษะการอ่านออกเสียงหลังเรียนของนักเรียน ตามแบบประเมิน ความสามารถในการอ่านคล่อง ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2553 ของสานักทดสอบทางการศึกษา 180

วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธันวาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อหนังสือ อิเล็กทรอนกิ ส์ เรื่อง การอ่านออกเสยี งภาษาไทย 3.7 ผูว้ จิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูลท้ังหมดไปวเิ คราะห์ข้อมลู ทางสถิติ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวเิ คราะหข์ ้อมูลของการวิจัยในครง้ั นี้ ประกอบด้วย 1. การวเิ คราะห์เพ่อื หาประสทิ ธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/ E2 2. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นก่อนและหลงั เรียน โดยใช้คา่ ร้อยละ 3. การวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย โดยใชค้ า่ เฉล่ีย ( m) 4. การวิเคราะห์ค่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ( m) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (s ) ผลการวิจยั จากการวจิ ัยการพฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ผลปรากฏเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี งั้ ไว้ ดังนี้ 1. ผู้วิจัยได้ดาเนินการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย กับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด จานวน 25 คน นาผลการทาแบบทดสอบระหว่างเรียน และ แบบทดสอบหลังเรียนท่ีได้จากการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย มาวิเคราะห์หา ประสทิ ธิภาพของหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ ตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/80 ไดผ้ ลดังนี้ ตารางท่ี 1 ประสทิ ธิภาพของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่อื ง การอา่ นออกเสียงภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน คะแนนระหว่างเรยี น คะแนน ประสิทธภิ าพ นกั เรยี น หลงั เรียน E1/ E2 ชุดที่ 1 ชุดท่ี 2 ชดุ ที่ 3 ชุดท่ี 4 ชดุ ที่ 5 รวม 25 (30) 84.88/82.27 (10) (10) (10) (10) (10) (50) 617 82.27 132 141 146 155 150 1,061 คิดเปน็ ร้อยละ 84.88 จากตารางท่ี 1 พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 84.88 และผลการ ทดสอบหลังเรียนมคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละ 82.27 แสดงว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มปี ระสิทธภิ าพ 84.88/82.27 ซง่ึ เปน็ ไปตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ 2. การทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การ อ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด จานวน 25 คน ด้วย แบบทดสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก แบบฉบับเดียวสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียนจานวน 30 ขอ้ ไดผ้ ล ดงั น้ี 181

ฉบับมนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2557 ตารางท่ี 2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี นและหลังเรยี นด้วยหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ นักเรียน 25 คน คะแนน ความก้าวหน้า ร้อยละของความกา้ วหนา้ เฉล่ีย () ก่อนเรยี น (30) หลังเรยี น (30) 7.16 23.87 17.52 24.68 จากตารางที่ 2 คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 17.52 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.68 เม่ือนาคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนกั เรยี นก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบกัน พบว่า คะแนนฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีค่าสูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉล่ียก่อนเรียนด้วย หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ รอ้ ยละ 23.87 แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของ นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นหนองเคด็ หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนด้วยหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึง เปน็ ไปตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ 3. การประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จานวน 25 คน โดยใช้แบบประเมินความสามารถในการอ่านคล่อง ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2553 ของสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ซึ่งผ่านการวิเคราะห์คุณภาพความยากง่ายของบทอ่านด้วยกราฟประมาณค่าของ ฟราย (Fry Graph for Estimating Reading Ages (in years)) ไดผ้ ลดงั น้ี ตารางท่ี 3 ผลการประเมินทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาไทย ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 นักเรยี น ก่อนเรยี น หลังเรียน 25 คน คะแนน (30) ระดับการอา่ น คะแนน (30) ระดบั การอา่ น เฉล่ยี () 16.48 ปรับปรุง 25.16 ดี จากตารางที่ 3 พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนเท่ากับ 16.48 อยู่ในช่วง 14 - 19 คะแนน ซึ่งระดับการอ่านอยู่ใน ระดับปรับปรุง และคะแนนเฉล่ยี ผลการประเมนิ ทกั ษะการอา่ นออกเสียงภาษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 หลังเรียน เท่ากับ 25.16 อยู่ในช่วง 25 - 30 คะแนน ซ่ึงระดับการอ่านอยู่ในระดับดี ซึ่งเป็นไปตาม สมมตฐิ านทก่ี าหนดไว้ 4. การถามความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale) 5 ระดบั ตามแนวคิดของลิเคิรท์ (Likert) ได้ผลดังนี้ 182

วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2557 ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ตารางท่ี 4 ความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ การเรยี นด้วยหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ รายการประเมนิ m s แปลผล ลาดบั ที่ 1. การนาเสนอเนอ้ื หาบทเรียน เหมาะสม นา่ สนใจ 4.52 0.51 มากท่สี ุด 4 2. สามารถเขา้ ถงึ เนือ้ หาได้ง่ายและรวดเรว็ 4.48 0.51 มาก 5 3. การนาเสนอเนอื้ หา มคี วามชดั เจน เข้าใจง่าย 4.72 0.46 1 4. ความยากง่ายของเนื้อหามีความเหมาะสม 4.68 0.48 มากทสี่ ดุ 2 5. ตัวอกั ษรอา่ นง่าย ชดั เจน และเหมาะสม 4.64 0.49 มากทส่ี ุด 3 6. ภาพประกอบสวยงามเหมาะสมกับเน้อื หา 4.36 0.49 มากที่สดุ 5 7. เสียงทใ่ี ชม้ คี วามชัดเจน และเหมาะสม 4.32 0.48 5 8. นกั เรียนสามารถย้อนกลบั ทบทวนบทเรยี นได้ 4.48 0.51 มาก 6 9. การประเมินผลชว่ ยใหร้ ู้พัฒนาการของตนเอง 4.40 0.50 มาก 5 10. การเรยี นรู้โดยใชห้ นังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ สง่ เสรมิ 4.72 0.46 มาก 1 มาก ให้ นักเรียน เรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4.53 0.44 มากที่สุด เฉลยี่ มากท่สี ุด จากตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( m= 4.53 , s = 0.44) และเมื่อพิจารณาเป็น รายการ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจ ลาดับที่ 1 จานวน 2 รายการ ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนาเสนอเน้ือหา มีความชัดเจน เข้าใจ งา่ ย ซงึ่ อยู่ในระดับมากที่สุด ( m= 4.72 , s = 0.46) ลาดับท่ี 2 ความยากง่ายของเน้ือหา มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( m= 4.68 , s = 0.48) และลาดับที่ 3 ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจนและ เหมาะสม มีความพึงพอใจอย่ใู นระดับมากที่สดุ ( m= 4.64 , s = 0.49) สรุปผลการวจิ ยั จากการวิจัยการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ผลปรากฏเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ั้งไว้ ดังน้ี 1. หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีประสิทธิภาพ 84.88/82.27 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ท่กี าหนดไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านหนองเคด็ หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรยี นดว้ ยหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ รอ้ ยละ 23.87 183

ฉบบั มนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2557 3. ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ดหลัง เรยี นดว้ ยหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่อง การอา่ นออกเสยี งภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 25.16 อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี 4. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด อยู่ในระดบั มากท่สี ดุ ( m= 4.53 , s = 0.44) อภิปรายผลการวิจยั การวิจัยการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียน ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบ้านหนองเคด็ สามารถอภปิ รายผล ได้ดังนี้ 1. ผลการหาประสทิ ธิภาพหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียง ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.88/82.27 ซ่ึงมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ท่ีกาหนดไว้ ท้ังนี้เน่ืองจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ได้ดาเนินการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตามขนั้ ตอนการพัฒนา ไดม้ กี ารศกึ ษาเก็บข้อมูลจากผูเ้ ช่ียวชาญด้านเน้ือหาการอ่านออกเสียงภาษาไทย และด้าน การออกแบบหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยคานึงถึงความรู้พ้ืนฐานและความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน ซึ่ง นอกจากการใหน้ ักเรยี นได้เรียนรูภ้ ายในช่วงเวลาเรียนแล้ว นักเรียนยังสามารถนาไปใช้เรียนรู้นอกเวลาเรียนกับ คอมพวิ เตอรเ์ คร่อื งอนื่ ๆ ได้ ทาให้ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีเรียนช้าและเร็วแตกต่างกัน จึงเป็น ผลให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเป็นตาม เกณฑท์ ี่กาหนดไว้ ซงึ่ สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ วารณุ ี ไกรศร, สมเจตน์ พันธ์พรม และสุวิดา เนาว์แสง (2550 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพื้น บ้านเมืองเลย ท่ีส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการวิจัย พบว่า 1) หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพ้ืนบ้านเมืองเลย ที่ส่งเสริมทักษะการอ่าน ออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 ท่ีคณะผู้วิจัยสร้างข้ึนท้ังหมด 5 เล่ม ผู้เชี่ยวชาญ เห็นว่ามีความเหมาะสมในระดบั มากทสี่ ดุ และเมื่อนาไปทดลองใช้กบั นกั เรียนพบว่า มีประสิทธิภาพ 83.56/81.11 2) นักเรยี นที่เรียนดว้ ยวิธกี ารสอนประกอบการใช้หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชุดนิทานพ้ืน บ้านเมืองเลย ท่ีส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการ ประเมนิ ทักษะการอ่านออกเสยี งคาควบกลา้ สูงกว่านกั เรยี นท่เี รยี นดว้ ยวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนท่ีเรียนด้วยวิธีการสอนประกอบการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชุดนิทานพื้นบ้านเมืองเลย ที่ส่งเสริมทักษะการ อ่านออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพื้น บา้ นเมอื งเลย อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ สมชัย สัตตะนันท์ (2552 : บทคัดย่อ) เรื่อง ผล การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาภาษาไทย ท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิและเจตคติทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนบ้านทุ่งสว่าง จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชา ภาษาไทยมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80.58/81.25 เป็นไปตามเกณฑ์ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา ภาษาไทยโดยใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ 3) เจตคติทางการเรียนวิชาภาษาไทยโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง 184

วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2557 ฉบบั มนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ สถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของ อมรวรรณ จริตน้อม (2553 : บทคัดย่อ) การพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ือง การสรา้ งคา สาหรับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 89.50/86.15 2) ผู้เช่ียวชาญมีความ คิดเห็นต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในระดับมาก ( X = 4.49, S.D. = 0.50) 3) ผล สัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 4) ดัชนปี ระสิทธิผลของการเรียนรู้ ของกลุม่ ทดลองทีเ่ รยี นด้วยหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์มีค่าเท่ากับ 71.08 5) ความพึงพอใจของกลุ่มทดลองท่ีมีต่อ การเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.51, S.D.= 0.58) และ 6) ความคงทนทางการ เรียนร้ขู องกลุ่มทดลองท่เี รียนดว้ ยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( X =4.49, S.D.= 0.50) อยู่ในเกณฑ์ท่ีกาหนด เมื่อเวลา ผ่านไป 7 วนั และ 30 วัน และสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ ศริ พิ ร บญุ เรือง (2555 : บทคัดย่อ) ซึ่งได้ทาการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการอ่านจับใจความ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอน หวาย (นครรัฐประสาท) ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่องการอ่านจับใจความมี ประสิทธิภาพ 83.18/82.74 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80 2) ผลการเรียนรู้ของนักเรียนมีผลการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 3)ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เร่อื งการอา่ นจบั ใจความอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.54 , S.D = 0.66) 2. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่าน ออก เสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด มีความแตกต่างกัน โดยคะแนน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คิดเป็นร้อยละ 58.40 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.27 เมื่อนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น ก่อนเรียนและหลัง เรียนมาเปรยี บเทียบกัน พบวา่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน ร้อยละ 23.87 แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านออกเสียง ภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยหนังสือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ ทั้งน้ี เน่อื งจากการเรยี นการสอนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถยอ้ นกลับเพื่อทบทวนบทเรียนหากไม่เข้าใจและสามารถเลือกเรียนได้ มีการอธิบายเนื้อหา บทเรียนให้เข้าใจง่ายข้ึน พร้อมกับเรียนแล้วสนุกเพลิดเพลิน ไม่เบื่อง่าย และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง นักเรยี นมปี ฏิสัมพนั ธก์ บั บทเรยี น ซึ่งสอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของ จรัญญา จงวสุศรี (2551 : บทคัดย่อ) ได้ทาการ วจิ ัย การสรา้ งหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ พือ่ พฒั นาความพรอ้ มทางการอ่านของนกั เรียนภาวะเสีย่ งทางการเรยี นร้ดู ้าน ภาษา กรณีศึกษา โรงเรียนวัดสวนดอก อาเภอเมืองเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า กรณีศึกษามีพัฒนาการใน เร่ืองความพร้อมทางการอ่านดีขึ้น หลังจากได้รับการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษาได้ผลคะแนน จากการทดสอบความรหู้ ลังเรียนสูงกว่าการทดสอบความร้กู อ่ นเรียน คิดเป็นร้อยละ76 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ อยู่ในระดับพอใช้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมชัย สัตตะนันท์ (2552 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย เร่ือง ผล การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาภาษาไทย ท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิและเจตคติทางการเรียนของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนบ้านทุ่งสว่าง จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชา ภาษาไทยมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80.58/81.25 เป็นไปตามเกณฑ์ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา ภาษาไทยโดยใช้หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ หลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) 185

ฉบบั มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2557 เจตคตทิ างการเรียนวิชาภาษาไทยโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุวิดา ศรีนาค (2552 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย ผลสัมฤทธ์ิและ ความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจยั พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอา่ น เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึน มีประสิทธิภาพ 81.66/85.16 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่เรียน ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.73 และความ พึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธนวิตร์ พัฒนะ (2554 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฝึกการอ่านร้อยกรอง เร่ือง พระอภัยมณี สาหรับ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลการวิจัย พบว่า 1) หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ ฝึกการอ่านร้อยกรอง เร่ือง พระอภัย มณี มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ 82.34/81.15 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3) ค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวมเพิ่มข้ึนเท่ากับ 0.4764 และ 4) ความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ อยู่ในระดับมากท่สี ุด 3. ผลการประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียน บ้านหนองเค็ด พบว่า คะแนนเฉล่ียผลการประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนเท่ากับ 16.48 อยู่ในช่วง 14-19 คะแนน ซ่ึงระดับการอ่านอยู่ในระดับปรับปรุง และคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 หลัง เรียน เทา่ กับ 25.16 อยู่ในช่วง 25-30 คะแนน ซึ่งระดับการอ่านอยูใ่ นระดบั ดี เปน็ ไปตามสมมตฐิ านที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ อาจเนื่องจากการเรียนการสอนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีการอธิบายเนื้อหาบทเรียนให้เข้าใจได้ง่าย พร้อมทั้งมีเสียงคาอานที่ถูกต้องประกอบบทเรียน ทาให้มีเข้าใจการอ่านคามากขึ้น พร้อมกับเรียนแล้วสนุก เพลดิ เพลิน ไม่เบื่อง่าย ช่วยให้ผู้เรียนสามารถยอ้ นกลับเพือ่ ทบทวนบทเรียนหากไม่เข้าใจและสามารถเลือกเรียน ได้ และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ วารุณี ไกรศร, สมเจตน์ พันธ์พรม และสุวิดา เนาว์แสง (2550 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพื้นบ้านเมืองเลย ท่ีส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคา ควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการวิจัย พบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพื้นบ้านเมืองเลย ที่ส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้นทั้งหมด 5 เล่ม ผู้เช่ียวชาญเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และเม่ือนาไปทดลองใช้กับนักเรียน พบว่า มีประสิทธิภาพ 83.56/81.11 2) นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอน ประกอบการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพื้นบ้านเมืองเลย ที่ส่งเสริม ทักษะการอ่านออกเสียงคาควบกลา้ สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มผี ลการประเมินทกั ษะการอ่านออก เสียงคาควบกล้า สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นกั เรียนท่เี รียนด้วยวธิ ีการสอนประกอบการใช้หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชุดนทิ านพื้น 186

วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธันวาคม 2557 ฉบบั มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ บ้านเมอื งเลย ท่ีส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีความพึง พอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดนิทานพ้ืนบ้านเมืองเลย อยู่ในระดับมากที่สุด สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ ธนวิตร์ พัฒนะ (2554 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฝึกการอ่านร้อยกรอง เรื่อง พระอภัยมณี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ฝึกการอ่านร้อยกรอง เร่ือง พระอภัยมณี มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ 82.34/81.15 2) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนท่ีเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน 3) ค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวมเพิ่มข้ึนเท่ากับ 0.4764 และ 4) ความพึงพอใจของนักเรยี นที่มตี อ่ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ และสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ ศิริพร บุญเรือง (2555 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านจับ ใจความ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) ผลการวิจัย พบว่า 1) หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ วชิ าภาษาไทย เรือ่ งการอา่ นจับใจความ มีประสิทธิภาพ 83.18/82.74 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้ 80/80 2) ผลการเรยี นรู้ของนักเรียนมีผลการเรียนรหู้ ลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .01 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านจับใจความอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( X = 4.54, S.D = 0.66) 4. ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียง ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากที่สุด ( m= 4.53 , s = 0.44) และเมื่อพจิ ารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจ ลาดับท่ี 1 จานวน 2 รายการ ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนาเสนอเนื้อหา มีความชัดเจน เข้าใจง่าย ซึ่งอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( m= 4.72 , s = 0.46) ลาดับท่ี 2 ความยากง่ายของเน้ือหามีความเหมาะสม มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดับมากที่สุด ( m= 4.68 , s = 0.48) และลาดับท่ี 3 ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจนและเหมาะสม มีความ พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( m= 4.64 , s = 0.49) ทั้งน้ี เพราะว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นส่ือท่ีมีลักษณะ แบบมลั ตมิ เี ดยี มที งั้ ตัวอกั ษร ภาพกราฟกิ เสยี ง และภาพเคล่ือนไหว ซงึ่ เป็นการสร้างความสนใจใหก้ ับผ้เู รียน ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ทาให้ผู้เรยี นสบื ค้นขอ้ มูลได้อยา่ งเตม็ ที่ ผูเ้ รียน จะเรียนรไู้ ปตามความสามารถ โดยไม่ต้องเร่ง หรือรอผูอ้ นื่ หากมสี ่วนใดไม่เข้าใจก็สามารถย้อนกลบั มาเรียนรไู้ ดใ้ หม่ เรียนรูซ้ า้ ได้เร่ือยๆ และสามารถเรียนรู้ได้ ทุกเวลาตามทผ่ี เู้ รียนตอ้ งการ ซง่ึ สอดคล้องกบั ผลงานวิจัยของ สุวิดา ศรีนาค (2552 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง สาหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลการวิจัยพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เร่ือง เศรษฐกิจ พอเพียง สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.66/85.16 ผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียนทเี่ รยี นดว้ ยหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าดัชนีประสิทธิผล เทา่ กับ 0.73 และความพึงพอใจของผ้เู รยี นทม่ี ีต่อหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สส์ ง่ เสริมการอา่ น เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธนวิตร์ พัฒนะ (2554 : บทคัดยอ่ ) ไดท้ าการวิจัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฝึกการอ่านร้อยกรอง เรื่อง พระอภัย 187

ฉบบั มนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2557 มณี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฝึกการอ่านร้อยกรอง เรื่อง พระอภัยมณี มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ 82.34/81.15 2) ผลสัมฤทธ์ิทาง การ เรยี นของนักเรยี นท่ีเรียนดว้ ยหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ สงู กว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3) ค่าดัชนีประสิทธิผลของ การเรียนรดู้ ว้ ยหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยภาพรวมเพมิ่ ขึ้นเท่ากับ 0.4764 และ 4) ความ พึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิริพร บุญเรือง (2555 : บทคดั ย่อ) ไดท้ าการวจิ ยั การพัฒนาหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสเ์ ร่ืองการอ่านจบั ใจความ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 4 โรงเรยี นวัดดอนหวาย (นครรฐั ประสาท) ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เร่ือง การอ่านจับใจความมีประสิทธิภาพ 83.18/82.74 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ 80/80 2) ผลการเรียนรู้ของ นักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 3) ความพึงพอใจของ นกั เรยี นที่มตี อ่ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรือ่ งการอา่ นจับใจความอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ ( X = 4.54 , S.D = 0.66) ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การนาํ ไปใช้ จากการสรุปผลและการอภิปรายผลการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะสาหรับนาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ และขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวจิ ยั ในคร้งั ตอ่ ไป ดังน้ี 1. ควรจัดเตรียมและตรวจความพร้อมของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ให้ สามารถใชก้ ารไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดปัญหาในขณะเรียนรู้ 2. หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีไว้สาหรับให้ ครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการสอน ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน และให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ ตอ้ งการ แตค่ รผู สู้ อนไม่ควรละเลยที่จะทาการควบคุมการใช้งานในระหว่างเวลาเรียนเพราะนักเรียนบางคนอาจไม่มี ความรบั ผิดชอบเพยี งพอในการศึกด้วยตนเอง เชน่ เปิดดเู ฉลยคาตอบกอ่ นทาแบบทดสอบ 3. ควรจัดทาสาเนา (Copy) แผ่นซีดีรอมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การอ่านออกเสียงภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ให้นักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนได้นาไปใช้เรียนรู้จากคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่น หรือ คอมพิวเตอร์ท่บี ้านนกั เรยี นได้ ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป 1. ควรมีการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในเนื้อหาวิชาอ่ืนๆ และระดับชั้นอื่นๆ เพราะการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรไู้ ด้เปน็ อยา่ งดี 2. ควรพัฒนาหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทสี่ ามารถเลอื กเนอื้ หาหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับนักเรียน ที่มีสติปญั ญาแตกตา่ งกัน 3. ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นรูปแบบการสอนหรือวิธีการสอนแบบต่างๆ ร่วมกับการเรียนด้วยหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการนาไปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม ต่อไป 188

วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกันยายน – ธันวาคม 2557 ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . กานต์ จนั ทร์แดง. (2556). “การพัฒนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรือ่ ง การอา่ นออกเสยี ง สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ทมี่ คี วามสามารถในการอ่านต่า โรงเรยี นเทศบาล 4 (รัตนโกสนิ ทร์ 200 ป)ี จงั หวดั นครพนม”. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal Silpakorn University ปีท่ี 6, ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม - สิงหาคม : 273 - 286. จรญั ญา จงวสุศร.ี (2551). การสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกสเ์ พือ่ พฒั นาความพรอ้ มทางการอา่ นของนกั เรยี น ภาวะเสย่ี งทางการเรียนร้ดู า้ นภาษา : กรณีศกึ ษา โรงเรยี นวัดสวนดอก อําเภอเมืองเชียงใหม่. การคน้ ควา้ แบบอสิ ระการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. จติ เกษม พฒั นาศริ ิ. (2539). เรมิ่ สรา้ งโฮมเพจดว้ ย HTML. กรงุ เทพฯ : ธนาเพรสแอนดกราฟกิ . จินตนา ใบกาซูยี. (2534). การจดั ทําหนังสือสาํ หรบั เดก็ . กรงุ เทพฯ : สุวีริยาสาสน. ธนวติ ร์ พฒั นะ. (2554). การพัฒนาหนังสอื อิเล็กทรอนกิ สฝ์ ึกการอา่ นร้อยกรองเรอ่ื ง พระอภยั มณีสาํ หรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ ไพฑรู ย์ ศรฟี ้า. (2551). E-BOOK หนังสือพูดได.้ พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : บริษทั ฐานการพิมพ์ จากัด. วารณุ ี ไกรศร, สมเจตน์ พนั ธพ์ รม และสวุ ดิ า เนาวแ์ สง. (2550). การพฒั นาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์กล่มุ สาระ การเรยี นร้ภู าษาไทย ชุด นิทานพื้นบา้ นเมืองเลยท่สี ่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาํ ควบกลา้ํ สําหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6. สาระนิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. ศิริพร บุญเรือง. (2555). การพัฒนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์เร่อื งการอา่ นจบั ใจความ ของนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรฐั ประสาท). การศึกษาค้นควา้ อิสระ การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ศิริพร บญุ เรอื ง. (2556). “การพฒั นาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ งการอ่านจบั ใจความ ของนกั เรียนชั้น ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรฐั ประสาท)”. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal Silpakorn University ปที ่ี 6, ฉบบั ที่ 1 มกราคม - เมษายน : 770 - 881. สมชยั สตั ตะนนั ท.์ (2552). ผลการใช้หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์วชิ าภาษาไทย ท่มี ผี ลตอ่ ผลสัมฤทธแิ์ ละเจตคติ ทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นบ้านท่งุ สว่าง จังหวดั บุรรี มั ย์. วิทยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมมาธริ าช. สวุ ิดา ศรนี าค. (2552). ผลสัมฤทธ์แิ ละความพงึ พอใจในการเรียนรูด้ ว้ ยหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ง่ เสริม การอา่ น เรือ่ ง เศรษฐกจิ พอเพียง สําหรับนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4. วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยทักษิณ. สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4. (2553). รางงานผลการประเมินคณุ ภาพ การศึกษาข้นั พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา 2552 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 (เรยี นต่อช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2553). กาญจนบรุ ี : สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4. 189

ฉบบั มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2557 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน. (2553). คมู่ ือการเรยี นการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา ภาษาไทย สาระท่คี วรรู้. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . สานักงานสถิตแิ ห่งชาต.ิ (2552). สรปุ ผลท่สี ําคญั การสํารวจการอา่ นหนังสอื ของประชากร พ.ศ.2551. กรงุ เทพฯ : หจก.บางกอกบล๊อก. สานกั รับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ รมหาชน). (2547). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท พริกหวาน กราฟกิ จากัด. สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2551). ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการ เรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด. อมรวรรณ จริตนอ้ ม. (2553). การพัฒนาหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง การ สร้างคาํ สาํ หรบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1. การคน้ คว้าอิสระ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า คอมพิวเตอรศ์ ึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. อญั ญาพัชร ใจชนื่ และคณะ. (2548). การสร้างหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สิง่ แวดลอ้ ม สาํ หรบั นกั เรียนชว่ งชัน้ ที่ 3. สาระนพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี และการสอ่ื สารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. 190


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook