Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Marine Animals

Marine Animals

Published by khanittha_230, 2018-02-22 12:21:17

Description: อันตรายจากสัตว์ทะเล

Search

Read the Text Version

อนั ตรายจากสตั วท์ ะเลแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 กลุ่มดงั น้ี1.อันตรายจากสัตว์ทะเลท่ีมีพิษ กัด ท่ิมแทง หรือต่อย (venomous animals) และปล่อยสารพิษเข้าส่รู ่างกายตรงบริเวณบาดแผลนนั้ พิษของสตั ว์ทะเลอาจอยู่ท่ีเงี่ยง ก้าน ครีบ เขีย้ วและมีเข็มพิษที่เรียกว่า นีมาโตศีย์สต์ (nematocyst) ตวั อย่างได้แก่ ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน งูทะเล ปลาสงิ โต และเมน่ ทะเล2.อนั ตรายจากสัตว์ทะเลท่ที าให้การเกดิ บาดแผล (injurious animals) เนอ่ื งจากถกู อวยั วะท่ีแหลมคม เช่น ฟัน หนาม ก้านครีบ หรือเงี่ยง รวมทงั้ การปลอ่ ยกระแสไฟฟ้าออกมาของสตั ว์ทะเลบางชนิด ตวั อยา่ งเชน่ ฉลามกดั ปหู นีบ เพรียงหินบาด และเปลอื กหินทิ่มตา เป็นต้น สตั ว์เหลา่ นีม้ กั มีฟัน ครีบ และเงี่ยงที่แหลมคมไว้ใช้ในการป้องกนั ตวั และลา่ เหยื่อเท่านนั้ หาได้มีไว้เพอ่ื โจมตี หรือทาร้ายมนษุ ย์แตอ่ ยา่ งไร

3.อันตรายจากการบริโภคเนือ้ และอวัยวะของสัตว์ทะเลท่ีมีพิษ (poisonous animals) สัตว์ทะเลบางชนิดมีการสะสมสารพิษในบริเวณเนือ้ เยื่ออวยั วะภายใน และรังไข่ เม่ือมนษุ ย์นาเอาสัตว์ทะเลนนั้ มาบริโภค จะได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย อาจเป็นอนั ตรายถึงชีวิต เช่น แมงดาทะเล ปบู างชนิด และปลาปักเป้า เป็นต้น สัตว์บางชนิดมีสารพิษสะสมอยู่ในเนือ้ เย่ือเป็นบางช่วงฤดูกาล เช่นหอยแมลงภู่ หอยนางรม ท่ีเพาะเลีย้ งอยู่ตามชายฝ่ังท่ีมักเกิดปรากฏการณ์นา้ เปล่ียนสีเป็นประจาในช่วงฤดูฝน หรืออาจได้รับสารพิษจากไดโนแฟลกเจลเลตท่ีเป็นสาเหตุของปรากฏดังกล่าวเข้าไปเมื่อมนษุ ย์นาสตั ว์มาบริโภคทาให้ได้รับสารพิษนนั้ ได้ ในทานองเดยี วกนั หากดนิ ตะกอนบริเวณชายฝั่งมีการสะสมโลหะหนกั และยาฆา่ แมลง ท่ีพดั พามาจากแผ่นดนิ สตั ว์ทะเลที่อาศยั อย่ใู นบริเวณนนั้ อาจมีการสะสมของสารพิษดงั กล่าวด้วยเช่น หอยสองกาบที่อาศยั อยู่ตามพืน้ ท้องทะเล ได้แก่ หอยลายหอยแครง เป็นต้น ท ความร้อนจากการปรุงอาหารไม่สามารถทาให้สลายไปได้ เชน่ พิษของไข่แมงดาทะเล เนือ้ และอวยั วะภายในของปลาปักเปา้ เป็นต้น

1.ฟองนา้ (Sponge)ฟองนา้ เป็นสตั ว์เกาะน่ิงอย่กู ับที่ มีลาตวั เป็นรูพรุนดารงชีวิตได้โดยอาศยั ระบบท่อให้นา้ ไหลผา่ นลาตวั มีโครงคา้ จนุ ร่างกายเป็นหนามทเี่ รียกวา่ สปิคลุ (Spicule) หรือเส้นใยออ่ นนมุ่การป้องกันและรักษา หลีกเลี่ยงจากการสมั ผสั ฟองนา้ ขนาดใหญ่ตามแนวปะการัง เช่นฟองนา้ ครก หากเป็นความบงั เอิญท่ีไม่ได้ระวงั ตวั การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นนนั้ คือ การทาให้สปิคุลของฟองนา้ หลดุ ออกไป โดยทาการล้างแผลบริเวณท่ีสมั ผัสด้วยนา้ สะอาด หรือนา้ กรดนา้ ส้ม 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15-30 นาที ยาจาพวกแอนติฮิสตามีน ใช้ทาบรรเทาอาการผน่ื คนั



2.ขนนกทะเล (Sea feather)ขนนกทะเลเป็นสตั ว์ที่มีลกั ษณะคล้ายพืชและมีอยู่หลายชนิด แต่ละตวั มีรูปร่างเป็นโพลิปขนาดเลก็ อาศยั อยรู่ วมกนั เป็นกลมุ่ หรือนิคม มกั พบตามแนวปะการังเกาะกบั หลกั ที่ปักอย่รู ิมชายฝั่ง เสาสะพานท่าเรือ ตลอดจนเศษวสั ดทุ ่ีลอยในทะเล บางชนิดมีลกั ษณะคล้ายขนนกและบางชนดิ ลกั ษณะคล้ายเฟิ ร์น เมื่อผวิ หนงั สมั ผสั กบั นิคมของขนนกทะเล โพลปิ จะปลอ่ ยนีมาโตศีย์สต์ ทมี่ ีพิษแทรกเข้าสผู่ วิ หนงั ทาให้เกิดอาการคนั ปวดแสบปวดร้อนการป้ องกันและรักษา หลีกเล่ียงการสัมผัสขนนกทะเลโดยตรง การใส่เสือ้ ผ้าป้องกันอนั ตรายได้ ล้างบริเวณท่ีถกู พิษด้วยแอลกอฮอล์ปะคบด้ วยนา้ แข็งหรือนา้ เย็น หากมีอาการรุนแรงต้องสง่ แพทย์ทนั ที



3.ปะการัง (Corals)ปะการังเป็นสตั ว์ทะเลกล่มุ ใหญ่ท่ีมีมากกว่า 750 ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอย่แู บบเด่ียว ปะการังมีฐานรองรับโพลปิ หรือตวั ปะการังเป็นหินปนู บางชนดิ มหี นามหรือแง่ยืน่ ท่ีแหลมคม และบางชนดิ มีนีมาโตศยี ์สต์ท่มี ีนา้ พิษ ทาให้ระคายเคอื งตอ่ ผวิ หนงั ปะการังทอ่ี าจทาให้เกิดบาดแผล ได้แก่ ปะการังเขากวาง (Acropora) ปะการังแกแลคซ่ี (Galaxea) ปะการังลกู โป่ ง(Plerogyra) ปะการังดอกจอก(Pec-tinea) ปะการังสมองหยาบ(Symphyllia) เป็นต้น มรี ายงานวา่ ปะการังเห็ดบางชนดิ ผลติ นมี าโตศยี ์สต์ที่มีพษิ ทาให้เกิดอาการบวมแดงและผน่ื คนั ได้การป้องกันและรักษา หินปูนของปะการังมีความแข็งและแหลมคม การเดินเหยียบย่าไปบนปะการัง หรือดานา้ ผ่านแนวปะการัง อาจทาให้เกิดบาดแผล เนอ่ื งจากปะการังมกั มีพวกแบคทีเรียอาศยั อยเู่ ป็นสาเหตทุ าให้บาดแผลหายช้าจึงต้องล้างด้วยนา้ สะอาด หรือ แอลกอฮอล์โดยเร็ว และตรวจดวู า่ ไมม่ เี ศษปะการังตดิ ค้างอยู่ ใสย่ าฆา่ เชือ้ ถ้าแผลมขี นาดกว้างและลกึ ควรรีบนาสง่ แพทย์



4.ปะการังไฟ (Fire coral)ปะการังไฟ ไม่ใช่ปะการังแท้จริง แต่เป็นสตั ว์ทะเลพวกเดียวกบั ขนนกทะเลและมีพิษเช่นเดียวกนัโพลิปมีขนาดเล็กอาศัยอยู่รวมกันเป็นนิคม โดยสร้ างหินปูนฐานรองรับโพลิปจึงมีลกั ษณะคล้ายคลงึ กบั ปะการังมาก ปะการังไฟมีรูปร่าง 3 แบบใหญ่คือ แบบแผน่ แบบก้อน และแบบแขนงโดยทวั่ ไปมกั มีสีเหลอื งอ่อนหรือนา้ ตาล พบปะปนอยกู่ บั สตั ว์อื่นในแนวปะการังทวั่ ไป หากสมั ผสักบั ปะการังไฟ จะทาให้เกิดรอยไหม้ บวมแดงและปวดแสบบริเวณผวิ หนงั ทีส่ มั ผสัการรักษาการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น คอื การล้างแผลด้วยนา้ ส้มสายชหู รือล้างด้วยอะลมู ิเนยี มซลั เฟตอกี ครัง้ หนงึ่ สงิ่ ท่คี วรระมดั ระวงั คือ หากสว่ นที่สมั ผสั ปะการังเป็นมอื ก็อยา่ ได้นามาเช็ดหน้าหรือให้เข้าตาโดยเดด็ ขาด เพราะนา้ พิษจากนมี าโตศยี ์สต์ของปะการังไฟท่ียงั เหลอื อยู่ จะทาให้เกดิระคายเคืองได้ สาหรับครีมที่เป็นยาปฏิชีวนะนนั้ ใช้ป้องกันการติดเชือ้ จากแบคทีเรีย ไม่ใช่การรักษาสารพิษจากนมี าโตศยี ์สต์ โดยตรง



5.แมงกะพรุน (Jelly fish)แมงกะพรุนทว่ั ไปมีรูปร่างคล้ายร่ม หรือ กระด่ิงคว่า (medusa) ลาตวั โปร่งแสงประกอบด้วยว้นุ เป็นส่วนใหญ่ ดารงชีวิตโดยการว่ายเวียนและล่องลอยไปตามกระแสนา้ และแรงพัดพาของคลื่นลม อาหารที่แมงกะพรุนกินได้แก่ ปลา ครัสเตเซยี น และแพลงค์ตอนอ่ืนๆ บริเวณหนวดและแขนงท่ีย่ืนออกมารอบปากมีเขม็ พิษนีมาโตศีย์สต์ ใช้ฆา่ เหย่ือหรือทาให้เหยื่อสลบก่อนจบั กินเป็นอาหาร ปริมาณของนีมาโตศยี ์สต์อาจมีจานวนถงึ 80,000 เซลล์ใน 1 ตารางเซนตเิ มตรเทา่ นนั้ ภายในนีมาโตศีย์สต์ มีนา้ พิษที่เป็นอนั ตรายทาให้เกิดอาการคนั เป็นผื่นบวมแดงเป็นรอยไหม้ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลเรือ้ รังได้ ขนึ ้ อย่กู บั แมงกะพรุนแตล่ ะชนดิ บางรายทาให้เกิดอาการจุกแน่นหน้าอก หายใจไมอ่ อก กระสบั กระสา่ ย นอนไม่หลบั ออ่ นเพลียเป็นไข้ บางรายถงึ เสียชีวติ โดยทว่ั ไปเรียกแมงกะพรุนมีพิษวา่ แมงกะพรุนไฟการป้องกันและรักษา การป้องกันการถูกแมงกะพรุน คือ การหลีกเลี่ยงลงเล่นนา้ ทะเลบริเวณที่มีแมงกะพรุนชุกชมุ หรือ ช่วงหลังพายุฝน เพราะจะมีกระเปาะพิษของแมงกะพรุนหลุดลอยไปในนา้ ทะเลแม้จะไมไ่ ด้สมั ผสั กบั แมงกะพรุนโดยตรงกต็ ามการเกิดพิษเมอื่ ถกู แมงกะพรุน กระทาได้โดยใช้นา้ ส้มสายชลู ้างแผลเพ่ือไมใ่ ห้นีมาโตศยี ์สตป์ ลอ่ ยนา้ พษิ ภายใน



6.ดอกไม้ทะเล (Sea anemone)ดอกไม้ทะเลเป็นสตั ว์ทะเลที่มีลาตวั อ่อนน่มุ ด้านปากมีหนวดเรียงรายอย่รู อบปาก ด้านล่างเป็นฐานยึดเกาะอยู่กับก้อนหิน ก้อนปะการัง หรือฝังตวั ลงในพืน้ ทะเลบริเวณดินเลนหรือดินทรายดอกไม้ทะเลเป็นสตั ว์ท่ีดารงชีวิตแบบเดี่ยว ไม่มีการสร้ างหินปูนเป็นฐานรองรับโพลิปเหมือนปะการัง โพลปิ ดอกไม้ทะเลมกั มขี นาดใหญ่ บางชนดิ มีขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางถงึ 30 เซนติเมตรมกั พบอาศยั อยตู่ ามแนวปะการัง เมื่อสมั ผสั หนวดของดอกไม้ทะเล นีมาโตศีย์สต์จากหนวดของดอกไม้ทะเล จะทาให้เกิดผ่ืนแดงและคนั บริเวณท่ีสมั ผสั ถ้าอาการรุนแรงมากจะทาให้เกิดอาการบวมแดง มนึ งง คลนื่ ไส้ อาเจียน ทงั้ นขี ้ นึ ้ อยกู่ บั ภมู ิต้านทานของแตล่ ะคนการรักษาการปฐมพยาบาลในเบือ้ งต้น ให้ใช้นา้ ส้มสายชลู ้างแผล และพยายามล้างเอาเมือกและชิน้ สว่ นของหนวดดอกไม้ทะเลออกให้หมด ถ้าผ้ปู ่ วยมีอาการทรุดลงให้นาสง่ แพทย์โดยดว่ น



7.บุ้งทะเล (Fire worms)บ้งุ ทะเลเป็นหนอนปล้องจาพวกเดียวกบั แม่เพรียงหรือไส้เดือนทะเล แต่มีลาตวั สนั้ กว่า เป็นสตั ว์ทะเลพวกโพลยี ์ฆีต (polychaete) ตามลาตวั มีขนยาวมาก และมสี ว่ นยนื่ ของร่างกายออกไปเป็นคู่ด้านข้าง ช่วยในการว่ายนา้ ขนที่มีลกั ษณะเป็นเส้นแข็งนีจ้ ะหลดุ จากตวั บ้งุ ได้ง่ายและแทงเข้าสู่ผิวหนัง ทาให้เกิดอาการคัน ในธรรมชาติ บุ้งทะเลอาศัยอยู่ตามพืน้ ทะเลใต้ก้อนหินใต้ซอกปะการัง ตามลาคลองในเขตป่ าชายเลน หรือตามพนื ้ ทะเลและถกู จบั มาโดยอวนหน้าดิน ตวั อยา่ งของบ้งุ ทะเลจึงพบปะปนอยกู่ บั สตั ว์นา้ อื่นๆท่ถี กู นาไปทาอาหารสตั ว์การป้องกันและรักษา ต้องระมดั ระวงั ไมใ่ ห้บ้งุ ทะเลสมั ผสั กบั ผิวหนงั หรือใช้มือเปลา่ หยิบจบั บ้งุทะเล หากถูกบุ้งทะเล ทาการแก้ไขได้โดยหยิบขนบ้งุ ออกให้หมด แล้วใช้ครีม หรือ ยานา้ คาลาไมน์ ทาเพ่ือบรรเทาอาการคนั และปอ้ งกนั การติดเชือ้ ทอี่ าจเกิดตามมาได้



8.เพรียงหิน (Rock Barnacle)เพรียงหินเป็นสตั ว์จาพวกเดียวกบั ก้งุ และปู ที่มีการปรับตวั เปล่ยี นแปลงไปจากพวกก้งุ มาก โดยสร้างเปลอื กหินปนุ ออกมาช่วยยดึ ติดอย่กู บั ท่ี และหอ่ ห้มุ ร่างกายเอาไว้ ทาให้สามารถอาศยั อยู่บนบกได้เป็นเวลานาน เพรียงหินอาศยั อยู่ตามโขดหิน เสาสะพานท่าเรือ หลกั โป๊ ะ หลกั เลีย้ งหอยแมลงภู่ ฟาร์มหอยนางรม หรืออาจพบเกาะอย่บู นสตั ว์มีเปลือก เช่น หอย แมงดาทะเล ปูเป็นต้น เป็นสตั ว์ทพี่ บบอ่ ย และพบชกุ ชมุ ตามริมชายฝั่งทะเลทวั่ ไปการป้องกนั และรักษา อนั ตรายที่อาจได้รับจากเพรียงหนิ คือการถกู บาดจากเปลอื กทแี่ หลมคมขณะเดินไปตามโขดหินหรือจากการดานา้ เก็บหอยแมลงภู่ เป็นต้น หากถกู เพรียงหินบาดให้ทาความสะอาดบาดแผล และใสย่ าฆ่าเชือ้ เช่น ยาแดง และเสียเลอื ดมากให้นาสง่ แพทย์เพ่ือเย็บบาดแผลนนั้ ทนั ที



9.ปู (Crab)ปูเป็นสัตว์ท่ีวิวัฒนาการจากกุ้ง โดยมีส่วนท้องลดขนาดลง และพับอยู่ใต้อก ปูมีขาเดิน 5 คู่ คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใช้หนีบจบั เหยื่อและป้องกนั ตวั ปสู ่วนใหญ่มีก้ามแข็งแรง การจบั ปเู หล่านีจ้ งึ ต้องระมดั ระวงั โดยเฉพาะปทู ยี่ งั มีชีวติ และถกู แก้มดั ออกแล้ว ปใู บ้มีเปลือกแข็ง ก้ามแข็งแรงมาก เมื่อหนีบแล้วไม่ยอมปล่อยง่ายๆ อย่างไรก็ตาม อันตรายจากปูหนีบนัน้ ยังไม่ร้ ายแรงเท่ากับการบริโภคปูมีพิษเชน่ เดียวกบั แมงดาไฟ ซง่ึ อาจทาให้เสียชีวิตได้ ตวั อยา่ งปมู ีพิษได้แก่ ปใู บ้แดง และปใู บ้ลายเป็นต้นพิษอนัเกิดจากปทู ี่นามาบริโภค บางครัง้ อาจเกิดจากปุม้าหรือปทู ะเลก็ได้ เช่น ปมู ้าท่ีไม่สด หรือปทู ่ีมีดินตะกอนจากพืน้ ทะเลติดอยู่ตามลาตวั โดยเฉพาะบริเวณเหงือกปู เมื่อนามาปรุงอาหาร แบคทีเรียจากปูท่ีไม่สดและดินตะกอนจะทาให้เกิดอาการท้องเดินได้เช่นกัน บางคนอาจไม่สามารถบริโภคปไู ด้เลยเนื่องจากแพ้อาหารทะเล หากบริโภคเข้าไปจะทาให้เกิดเป็นผืนคนั หรือ บวมทใี่ บหน้าและลาคอกไ็ ด้การบริโภคปูมีพษิ ในไม่กี่ชวั่ โมงจะเกิดอาการบวมท่ีริมฝีปาก ลิน้ ปาก ลาคอและใบหน้า ถ่ายท้อง ปวดท้อง และชอ็ ค



10.แมงดาทะเล (Horse-shoe crab)แมงดาทะเลเป็นสตั ว์ทะเลโบราณที่ยงั คงเหลืออย่ใู นโลกปัจจุบนั เพียง 4 ชนิด ท่ีพบในทะเลไทยมีอยู่ 2 ชนิดคือแมงดาจานหรือแมงดาหางเหลี่ยม (Tachypleus gigas) และ แมงดาถ้ วยหรือแมงดาหางกลม(Carcinoscorpius rotundicauda) ทงั้ สองชนิดมีความเป็นอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างกัน แมงดาจานอาศยัอย่ตู ามพืน้ ทะเล วางไข่ตามริมชายฝ่ังที่เป็นดินทราย ส่วนแมงดาถ้วยอาสยั อย่ตู ามพืน้ ทะเลท่ีเป็นดินโคลนและตามลาคลองในป่ าชายเลน เทา่ ท่ีมีรายงานในประเทศไทย เฉพาะแมงดาหางกลมเทา่ นนั้ ที่อาจเป็นพิษและมกั เรียกชื่อแมงดาที่เป็นพิษวา่ แมงดาไฟ หรือ เหรา จนบางครัง้ ทาให้เข้าใจสบั สนวา่ เหรา เป็นแมงดาชนิดท่ีสาม อาการของคนท่ีบริโภคแมงดาถ้วยท่ีมีสารพิษเข้าไป จะทาให้เกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะคลื่นไส้ อาเจียน หวั ใจเต้นเร็ว ปากชาพูดไม่ได้ แขนขาอ่อนเปลีย้ กล้ามเนือ้ ไม่ทางาน หมดความรู้สึกและอาจเสียชีวติ ได้ ขนึ ้ อย่กู บั ปริมาณทบ่ี ริโภคเข้าไปมากหรือน้อยการรักษา เมื่อพบผู้ท่ีบริโภคแมงดาทะเลแล้วเกิดเป็นพิษ ให้ทาการล้างท้อง ทาให้อาเจียน และรีบนาส่งโรงพยาบาลโดยเร็วท่ีสดุ



11.หอยเต้าปูน (Cone shell)หอยเต้าปนู เป็นหอยกาบเด่ียวพวกหนึ่งที่ล่าจบั สตั ว์อ่ืนกินเป็นอาหาร ลกั ษณะเปลือกเป็นรูปกรวยคล้ายถ้วยไอศกรีมโคน (cone) สว่ นใหญ่มีเปลือกหนา ด้านหน้าของลาตวั มีท่อนา้ ยื่นออกไปยาว และมีงวงย่ืนอย่ทู างด้านใต้ของไซฟอนด้วย ตรงปลายงวงหอยเต้าปูนนีเ้ องมีฟันแหลมคล้ายลกู ธนูซึ่งหอยใช้แทงเหย่ือ หอยเต้าปูนมีจานวนราว 500 ชนิด บางชนิดมีตอ่ มนา้ พิษร้ายแรง เท่าท่ีมีรายงานในต่างประเทศมีไม่น้อยกว่า 10 ชนิดที่เคยต่อยคนทาให้เสียชีวิตมาแล้ว ตามปกติแล้วหอยเต้าปูนที่อาศยั อย่ใู นธรรมชาติ จะใช้นา้ พิษเพ่ือฆ่าเหย่ือ และโอกาสทห่ี อยจะทาอนั ตรายให้คนนนั้ น้อยมาก นอกจากคนไปเก็บจบั หอยเหลา่ นีด้ ้วยมอื เปลา่ และถือเอาไว้ หอยจึงป้องกันตัวโดยใช้งวงท่ีมีฟันพิษแทงพิษที่เกิดจากหอยเต้าปูนต่อย จะทาให้เกิดอาการบวมแดง ตาพร่ามัวหายใจตดิ ขดั หรือ เสยี ชีวิตได้การรักษาการปฐมพยาบาล เม่ือถกู หอยเต้าปตู ่อย คือ การปฏิบตั ิเชน่ เดียวกับถกู งกู ดั โดยใช้สายยางรัดแขนเพ่ือไมใ่ ห้พิษไหลเข้าสหู่ วั ใจ ให้ผ้ปู ่ วยนอนและเคลื่อนไหวน้อยท่ีสดุ แล้วรีบนาส่งโรงพยาบาลโดยนาหอยไปด้วยแม้ว่าทางโรงพยาบาลจะไม่มีเซรุ่มแก้พิษของหอยเต้าปูนโดยตรง แต่แพทย์ก็อาจใช้เซรุ่มแก้พิษงู ที่อาจมีประสิทธิภาพคล้ายคลงึ กนั ชว่ ยรักษา



12.หมึก (Cephalopod)หมึกเป็นมอลลสั พวกหน่งึ ที่มวี ิวฒั นาการสงู กว่าหอยโดยสามารถเคลอื่ นทีได้รวดเร็ว สามารถไล่ลา่ สตั ว์อื่นกินได้ ลาตวั ไมม่ ีเปลอื กด้านนอก แต่มีแกนคา้ จนุ อยภู่ ายใน หนวดของหมึกจานวน 8เส้นได้เปล่ียนแปลงมาจากเท้าของหอย ภายในปากของหมึกมีขากรรไกรแข็ง ซึ่งหมึกใช้ขบกัดเหย่ือ ย่ิงไปกว่านนั้ หมึกสายบางชนิด เช่น หมึกสายวงหมึก (Hapalochlaena naculosa) ซึ่งอาศยั อยตู่ ามแนวปะการังของออสเตรเลยี แตไ่ มพ่ บในนา่ นนา้ ไทย มตี อ่ มพิษทสี่ ามารถทาให้เกิดอนั ตรายถึงแก่ชีวิตได้การรักษา เมอ่ื ถกู หมกึ กดั ควรรีบห้ามเลอื ด ทาความสะอาดบาดแผล ใสย่ าฆา่ เชือ้ ถ้าบาดแผลมีขนาดใหญ่ควรรีบพบแพทย์ และถกู อวยั วะทรงกลมสาหรับใช้ดดู บนหนวดหมกึ (suction cub)ดดู อาจทาให้เกิดอาการห้อเลอื ด ควรใช้นา้ เย็นปะคบ ดงั นนั้ การจบั ด้วยมือขณะท่ีหมึกยงั มีชีวิตอยู่ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ หมกึ สาย อาจถกู กดั ทาให้บาดเจ็บได้



13.ดาวหนาม (Clown-of-thorn sea star)ดาวหนามหรือดาวมงกุฎหนามเป็นดาวทะเลชนิดหนึ่งที่มีแขนจานวนมาก ตามผิวลาตวั มีหนามยาวประมาณ 1 นิว้ อาศยั อยู่ตามแนวปะการังโดยกินโพลิปปะการังเป็นอาหาร นกัอนรุ ักษ์ธรรมชาติถือวา่ ดาวหนามเป็นตวั ทาลายแนวปะการัง และพยายามควบคมุ ปริมาณดาวหนามให้ลดลงนอกจากผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศในแนวปะการังแล้ว ดาวหนามยงั เป็นอนั ตรายตอ่ นกั ดานา้และชาวประมงท่ีดานา้ อยบู่ ริเวณปะการังด้วย เพราะหากเหยียบลงไปบนตวั ดาวหนามแล้วจะทาให้เกิดบาดแผล และได้รับความเจ็บปวดการรักษา เม่ือถกู หนามของดาวทะเลนตี ้ า แผลจะบวมแดง ถ้าหนามหกั คาต้องผ่าหรือถอนออก ทาความสะอาดแผลด้วยนา้ สะอาด แช่สว่ นท่ีถกู ตาด้วยนา้ ร้อน 50-60 องศาเซลเซียสใช้ยาฆา่ เชือ้ ใสบ่ ริเวณบาดแผล เพอื่ ปอ้ งกนั การอกั เสบ



14.เม่นทะเล (Sea urchin)เม่นทะเลเป็นสตั ว์มีหนามตามผิวลาตวั เช่นเดียวกับดาวทะเล แต่เม่นทะเลมีหนามยาวจานวนมาก ชนิดที่พบชุกชุมในแนวปะการังของชายฝั่งทะเลไทยคือเม่นดาหนามยาว (Diadema setosum) มีหนามขนาดยาวอย่รู อบตวั การเล่นนา้ ดานา้ ในบริเวณท่ีมีเมน่ ทะเล คล่ืนอาจซดั ให้โยนตวั ไปเหยียบย่าหรือนง่ั ทบั เม่นทะเลได้ หนามของเม่นทะเลมกั เปราะหกั ง่าย เมื่อฝังอยู่ในเนือ้ ไม่สามารถบ่งออกได้อย่างเสยี ้ นหรือหนามจากพืช เม่นทะเลบางชนิดมีตอ่ มนา้ พิษด้วยเม่ือถหู นามเม่นตาแล้ว นา้ พิษยงัอาจเข้าสู่ร่างกายทาให้เกิดอาการอักเสบ บวมแดง เจ็บปวดและเป็นไข้ได้ นอกจากหนามท่ีแหลมคมแล้วเม่นทะเลยังมีโครงสร้างพิเศษท่ีเรียกว่า เพดิเศลลาเรีย (อี) (pedicellariae) กระจดั กระจายแทรกอย่รู ะหว่างหนามตรงปลายมกั มี 3 แฉกคล้ายคีม ซง่ึ ทาหน้าที่เก็บเศษอินทรีย์และจุลนิ ทรีย์ออกจากผิวลาตวั เพดเิ ศลลาเรียในเม่นทะเลบางชนิดมีตอ่ มนา้ พิษอย่ดู ้วยดงั นนั้ อนั ตรายจากเม่นทะเลจึงไม่เฉพาะหนามเพียงอย่างเดียว หนามของเม่นทะเลจะทาให้เกิดอาการบวมแดง ชา เป็นอยู่นานประมาณ 30 นาที จนถงึ 4-6 ชว่ั โมง และหนามจะย่อยสลายไปภายใน 24 ชว่ั โมงการป้องกันและรักษา โดยปกตเิ ม่นทะเลมกั ไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ นกั ดานา้ ถ้าไมเ่ ข้าไปใกล้ หรือ จบั ต้อง เมื่อถกู หนามเมน่ ทะเลตาให้ถอนหนามออก ถ้าทาได้ หากถอนไม่ออกให้พยายามทาให้หนามบริเวณนนั้ แตกเป็นชนิ ้ เลก็ ๆ โดยการบดิ ผิวหนงั บริเวณนนั้ ไปมา หรือ แช่แผลในนา้ ร้อนประมาณ 50 องศาเซลเซยี ส เพื่อช่วยให้หนามย่อยสลายได้เร็วขนึ ้ แตห่ นามบางชนิดอาจไม่ยอ่ ยสลาย ต้องผ่าออก



15.ปลากระเบน (Ray)ปลากระเบนเป็นปลากระดกู ออ่ น ลาตวั แบนด้านบนด้านลา่ ง รูปร่างคอ่ นข้างกลมและมีหางยาว ปากของปลากระเบนอยทู่ างด้านลา่ ง อาหารของปลากระเบนสว่ นใหญ่เป็นสตั ว์หน้าดินตา่ งๆ ปลากระเบนมีการป้องกนั ตวั ด้วยการมีเงี่ยงแหลมคมอย่บู ริเวณโคนหาง ผ้ทู ่ีเดินลยุ นา้อยรู่ ิมชายฝั่งทะเล จงึ อาจเหยียบไปบนตวั ปลากระเบนท่หี มกตวั อยตู่ ามพนื ้ ทะเล และถกู เง่ียงตาได้รับความเจ็บปวด ในแนวปะการังของไทย มีปลากระเบนทอง (Taeniura lymna) อาศยัอยู่ตามแนวปะการังทั่วไป ผู้ท่ีดานา้ ลงไปในบริเวณดังกล่าว จึงมีโอกาสถูกเง่ียงของปลากระเบนทองตาได้เช่นเดียวกนัเม่อื ถกู เง่ยี งของปลากระเบน ตาจะได้รับพิษทาให้เกิดอาการปวดอยา่ งแรง บางครัง้ อาจทาให้เกิดอาการช็อค หมดสติ และเสยี ชีวติ ได้การรักษา การปฐมพยาบาลในขนั้ แรก คือ ห้ามเลือดทีบ่ าดแผล แล้วตรวจดวู า่ มีเศษของเง่ยี งพิษตกค้างอยรู่ ึไม่ เน่ืองจากพิษของเงย่ี งปลากระเบน เป็นสารพวกโปรตีนย่อยสลายในความร้อน ดงั นนั้ ควรแช่บาดแผลใน



16.ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric ray)ปลากระเบนไฟฟ้ามลี าตวั แบนค่อนข้างกลม มีอวยั วะผลติ กระแสไฟฟา้ ประกอบด้วยเซลลร์ ูปหกเหล่ยี ม เรียงซ้อนกนั เป็นกลมุ่ ตงั้ อย่ทู างด้านข้างของตาถดั ไปถงึ ครีบอก ภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายว้นุ ทาหน้าที่เป็นตวั ผลติ กระแสไฟฟา้ จะวิ่งจากด้านล้างขนึ ้ ไปด้านบนภายใต้การควบคุมของสมอง การปล่อยกระแสไฟฟ้าเกิดขึน้ เม่ือได้รับการกระตุ้น หรือถูกรบกวนตามปกตใิ ช้เพอื่ ลา่ เหยื่อหรือทาร้ายศตั รู หากคนไปเหยยี บปลากระเบนไฟฟา้ ที่หมกตวั อาศยัอย่ตู ามธรรมชาติ กระแสไฟฟ้าท่ีปลอ่ ยออกมามกั มีกาลงั ไฟประมาณ 40-100 โวลต์ ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการชา จนอาจจมนา้ ได้การป้ องกันและรักษา หากทราบว่าในบริเวณใดมีปลากระเบนไฟฟ้าอาศัยอยู่ ควรหลกี เลย่ี งในการลงเลน่ นา้ ในบริเวณดงั กลา่ ว เน่อื งจากกระแสไฟฟ้าทีป่ ลอ่ ยออกมาอาจทาให้หมดสติ เมื่อนาผ้ปู ่ วยขนึ ้ บนผวิ นา้ และช่วยให้ผ้ปู ่ วยหายใจ (CPR) แล้วนาสง่ โรงพยาบาล



17.ปลาสิงโต (Lion fish)ปลาสิงโตเป็นปลาที่อาศยั อย่ตู ามแนวปะการัง ว่ายนา้ เชื่องชา มกั ถกู จับมาเลีย้ งเป็นปลาตู้สวยงาม จึงมกั พบปลาชนดิ นเี ้ลยี ้ งเป็นปลาต้สู วยงาม นา้ เคม็ แทบทกุ แห่ง ปลาสงิ โตมีครีบหลงัและครีบอกยาว ประกอบด้วยก้านครีบแข็งขนาดยาวหลายเซนติเมตร ก้ านครีบแข็งนีม้ ีอนั ตรายมาก สามารถท่มิ แทงเข้าสผู่ วิ หนงั ของคนได้ลกึ และมตี อ่ มนา้ พิษท่ีทาให้เจบ็ ปวดรุนแรงการป้องกันและรักษา ระวงั อย่าจับปลาชนิดนีค้ วรปล่อยให้ตาย หรือไม่ควรไปเลน่ กบั มันการรักษาเชน่ เดียวกบั การถกู เง่ียงปลากระเบน



18.ปลากะรังหวั โขน (Stonefish)ปลาชนิดนีม้ ีลกั ษณะใกล้เคียงกบั ปลาสิงโตและปลาแมงป่ อง มีหวั ขนาดใหญ่ ปากกว้าง มกันอนสงบน่ิงอย่ตู ามพืน้ ทะเล เพื่อรอให้เหย่ือว่ายผ่านมา ปลาจะพ่งุ ตวั ฮบุ เหง่ือกินทงั้ ตวั ปลาชนดิ นแี ้ ม้วา่ ยถกู จบั มาได้ก็ไมน่ ยิ มนามาบริโภคปลากะรังหวั โขน มีรูปร่างคล้ายคลงึ กบั ก้อนหินมองดกู ลมกลนื กับสภาพแวดล้อมท่ีอาศยั อย่ทู าให้มองไม่เห็น จึงไม่เพียงทาให้เกิดบาดแผลเทา่ นนั้ ที่ก้านครีบของปลาชนิดนยี ้ งั มพี ิษทีเ่ ป็นอนั ตรายรุนแรงอาจทาให้ถงึ แกช่ ีวติ ได้การป้ องกันและรักษา ระวังอย่าจับปลาชนิดนี ้ หรือไม่ควรไปเล่นกับมัน การรักษาเช่นเดยี วกบั การถเู งี่ยงปลากระเบน



19.ฉลาม (Shark)ปลาฉลามเป็นปลาท่ีคนโดยทว่ั ไปเข้าใจว่าเป็นสตั ว์ดรุ ้ าย หรือเป็นปลากินคน ความจริงแล้วปลาฉลามเป็นสตั ว์กินเนอื ้ พวกหนง่ึ ซึ่งมฟี ันแหลมคมไว้ช้ลา่ เหยื่อเป็นอาหารแตก่ ็มีบอ่ ยครัง้ ทปี่ ลาฉลามขนาดใหญ่เข้าจ่โู จมกดั นกั ดานา้ หรือผ้คุ นท่ีเลน่ นา้ อยตู่ ามชายหาด ด้วยเข้าใจผิดคิดวา่ เป็นอาหารส่วนใหญ่แล้วข่าวเก่ียวกับปลาฉลามกินคนหรือกัดนักประดานา้ นักท่องเท่ียว ที่เล่นนา้ ตามชายหาด เกิดเฉพาะในต่างประเทศ เช่น ออสเตรเลยี ฮ่องกง ตวั อย่างฉลามที่มีความดรุ ้ายและมีรายงานกดั คนได้การป้องกันและรักษา ควรหลีกเลย่ี งการเลน่ นา้ หรือ ดานา้ ในบริเวณท่ีมฉี ลามชกุ ชมุ และไมค่ วรแสดงอาการต่ืนกลวั เม่ือพบฉลาม หลีกเล่ียงการกระต้นุ ความสนใจของฉลามเช่น ยิงปลา เพราะเลือดและการดิน้ ของปลาจะกระต้นุ ความสนใจของปลาฉลาม หากถกู ฉลามกดั ต้องพยายามห้ามเลือดทกุ วิธี นาผ้บู าดเจ็บขนึ ้ จากนา้ หากหมดสติให้ออกซิเจนสว่ นมากผ้ปู ่ วยเสียชีวิตเน่ืองจากเสยีเลอื ด ดงั นนั้ การห้ามเลอื ดได้ดจี ะสามารถช่วยชีวิตผ้ปู ่ วยได้ดีท่สี ดุ แล้วนาสง่ โรงพยาบาล



20.ปลาไหลมอร์เลย์ (Morley eel)ปลาทะเลในแนวปะการังหลายชนิดเป็นสตั ว์กินเนือ้ และมีฟันแหลมคม โดยเฉพาะปลาไหลมอร์เลย์ซึง่ ซอ่ นตวั อย่ตู ามโพรงหินปะการังและโผลห่ วั ออกมาเฝา้ ระวงั เหย่ือหรือศตั รู หากนกัดานา้ หรือผ้ทู ่วี า่ ยนา้ ผา่ นบริเวณที่ปลาอาศยั อยู่ ปลาก็อาจพงุ่ ตวั ออกมาฉกกดั คล้ายงไู ด้ แม้วา่ปลาไหลมอร์เลย์จะไมม่ ีเขยี ้ วพษิ อยา่ งงทู ะเล แตเ่ มอื กในปากของปลาก็เป็นพิษออ่ นๆการป้องกันและรักษา ถ้าพบปลาไหลอยา่ เข้าใกล้ อยา่ ล้วงมือเข้าไปในโพรงหิน หรือซากเรือจม อย่าเล่นกับปลาไหลที่ไม่คุ้นเคย เมื่อถูกกัดจะเกิดบาดแผลลึกจากเขีย้ วของปลา ทาให้เลือดออกมาก และอาจหมดสติได้ ต้องนาผ้ปู ่ วยขึน้ จากนา้ ห้ามเลือด และรีบนาผู้ป่ วยส่งแพทย์โดยเร็ว แผลท่ีถกู กดั มกั มขั นาดลกึ ต้องรีบทาความสะอาดแผลให้ทว่ั ถึง



21ปลาปักเป้า (Puffer fishes)ปลาปักเป้าเป็นปลาท่ีรู้จกั กนั ดีวา่ มีพิษโดยเฉพาะอย่างไข่ ตบั ลาไส้ ผิวหนงั ส่วนเนือ้ ปลามีพิษน้อยการนาปลาปักเป้ามาบริโภค ถ้าการเตรียมก่อนนาไปปรุงไม่รู้วิธีที่ถูกต้อง ทาให้พิษที่อยู่ในอวยั วะภายในปนเปือ้ นเนือ้ ปลา ทาให้ผ้บู ริโภคได้รับสารพิษเกิดอาการชาท่ีริมฝีปาก มีอาการคนั แสบร้อนที่ผิวหนังและตา คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน ขาอ่อนแรง หรือเกิดอัมพาต กลืนลาบาก หวัใจเต้นเร็ว เจ็บอก ความดนั เลือดสูง จนถึงขนั้ หยุดหายใจและเสียชีวติ พิษของปลาปักเปา้ เป็นสารเตโตรโดทอกซนิ (tetrodotoxin) ตวั อย่างปลาปักเปา้ ทีม่ ีพษิ ได้แก่ ปักเปา้ ดา ปักเปา้ หนามทเุ รียนการป้องกันและรักษา งดบริโภคอาหารแปลกๆ ถ้าไม่แน่ใจให้ถามชาวประมง หรือคนในท้องถ่ินถ้าหากได้รับสารพิษพยายามให้ผ้ปู ่ วยอาเจียน โดยวิธีล้วงคอ หรือให้ผ้ปู ่ วยดื่มผงถ่านกมั มนั ต์ ผสมนา้ อตั ราส่วน 10 กรัม ตอ่ นา้ 100 มล. เพ่ือดดู ซบั สารพษิ ทตี่ กค้างอย่ใู นกระเพาะอาหาร ไม่ให้ดดู ซมึเข้าร่างกาย แล้วรีบนาสง่ แพทย์



22.งทู ะเล (Sea snake)งทู ะเลมีลกั ษณะตา่ งจากงบู กคือ ลกั ษณะลาตวั สว่ นท้ายค่อนข้างแบนทางด้านข้างจนถึงปลายหางคล้ายใบพายเพื่อใช้สาหรับว่ายนา้ งทู ะเลทกุ ชนิดมีพิษอยทู่ ่ีเขีย้ วที่ปาก บางชนิดว่ายนา้ เหมือนอย่างปลา และบางชนิดขึน้ มาวางไข่บนชายฝั่งเชน่ เดียวกบั เตา่ ทะเล พิษของงทู ะเลมีอนั ตรายร้ายแรงมาก แม้จะถกู นาขนึ ้ มาบนบกแล้วก็ไมค่ วรใช้มือจบั การเดินไปตามแนวปะการังควรใสร่ องเท้ายางห้มุ ข้อ งทู ่ีตายแล้วก็ยังต้องระวงั พิษจากเขีย้ วท่ีสามารถออกฤทธ์ิได้ นา้ จากพิษงทู ะเลมีผลโดยตรงต่อระบบกล้ามเนือ้ ทาให้ปัสสาวะของผู้ป่ วยจะเปล่ียนเป็นสีนา้ ตาลภายในเวลา 3-5 ชว่ั โมง เนื่องจากเม็ดสีถกู ปลอ่ ยออกมาจากเซลล์กล้ามเนือ้ ทถี่ กู ทาลาย มกี ารหายใจขดั หรือการทางานของหวั ใจล้มเหลว งทู ะเลทีพ่ บในน่านนา้ ไทยมอี ยหู่ ลายชนิด บางชนิดมพี ษิ บางชนิดท่ีพษิ ออ่ นหรือไมม่ ีพิษตวั อยา่ งเชน่ งแู สมบงั งแู สมรัง งคู อออ่ น งผู ้าขีร้ ิว้ งชู ายธง เป็นต้น รายละเอียดดไู ด้จากบทความเรื่องของงูการป้องกันและรักษา ควรหลีกเลย่ี งการลงเลน่ นา้ ในบริเวณท่ีมีงชู กุ ชมุ หากมผี ้ถู กู งทู ะเลกดั ควรให้ผ้ปู ่ วยนอนนิ่งๆ และไมค่ วรให้บาดแผลท่ีถกู กดั เพอ่ื ชะลอการไหลของเลือกพยายามอยา่ ให้ผ้ปู ่ วยเคล่ือนไหว ทาความสะอาดแผลและรีบนาสง่ แพทย์โดยเร็วท่ีสดุ ในประเทศไทยยงั ไม่มีเซรุ่มใช้กับงทู ะเล แต่อาจใช้เซรุ่มสาหรับผ้ปุ ่ วยท่ีถกู งูสามเหลยี่ มกดั แทนได้



23.แมงกะพรุนลอดช่องลาตวั ใส สีฟ้า ขาว ชมพู หรือ ม่วงคราม ผิวนอกของร่มมีรยางค์คล้ายว้นุ เป็นเส้นตรงเหมือนเส้นลอดช่องสิงคโปร์ รยางค์ที่อยู่ตรงกลางใต้ร่มมีขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางร่ม ท่ีพบวา่ นามาใช้ทาแมงกะพรุนแห้งอยรู่ ะหวา่ ง 20-50 เซนตเิ มตรการป้องกนั และรักษา การปอ้ งกนั การถกู แมงกะพรุน คอื การหลกี เลย่ี งลงเลน่ นา้ ทะเลบริเวณทม่ี ีแมงกะพรุนชกุ ชุม หรือ ช่วงหลงั พายฝุ น เพราะจะมกี ระเปาะพษิ ของแมงกะพรุนหลดุ ลอยไปในนา้ ทะเลแม้จะไมไ่ ด้สมั ผสั กบั แมงกะพรุนโดยตรงก็ตาม



24. แมงกะพรุนหนังแมงกะพรุนหนงั เป็นสตั ว์นา้ ไม่มีกระดูกสนั หลัง จาพวกแมงกะพรุนสกุลหนึ่ง เป็นแมงกะพรุนแท้ คือแมงกะพรุนที่จดั อยู่ในชนั้ ไซโฟซวั มีร่างกายเป็นก้อนคล้ายว้นุ โปร่งใส ไม่มีสี มีรูปร่างคล้ายร่ม ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 30 เซนติเมตร บริเวณขอบร่มเป็นริว้ ตรงกลางด้านเว้ามีส่วนยื่นออกไปเป็นชอ่ คล้ายดอกกะหล่าท่ีมีปากอยตู่ รงกลาง โดยแมงกะพรุนหนงั จดั เป็นแมงกะพรุนทสี่ ามารถรับประทานได้ ชาวประมงจะจับกนั ในเวลากลางคืน ด้วยการล่อด้วยแสงไฟสีเขียว เม่ือได้แล้วจะนาไปล้างด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนตและสารส้ม เพื่อให้เมือกหลดุ จากตวั แมงกะพรุนและทาให้มีเนือ้ ที่แข็งขนึ ้ ก่อนจะนาไปพกั ไว้ เพ่ือปรุงหรือเป็นส่วนผสมในอาหารประเภทตา่ ง ๆ เชน่ ยา เยน็ ตาโฟ หรือสกุ ี ้การป้องกันและรักษา คือ การหลีกเล่ียงลงเล่นนา้ ทะเลบริเวณท่ีมีแมงกะพรุนชุกชุม หรือ ช่วงหลังพายุฝน เพราะจะมีกระเปาะพษิ ของแมงกะพรุนหลดุ ลอยไปในนา้ ทะเลแม้จะไม่ได้สมั ผสั กบั แมงกะพรุนโดยตรงก็ตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook