Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข

แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข

Published by Ubon Sriprasert, 2021-12-09 06:05:58

Description: แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2563-2565

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัติการดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 1 แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

แผนปฏิบัติการด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 2 แผนปฏบิ ัติการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 คณะที่ปรึกษา 1. นายแพทยเ์ กียรติภมู ิ วงศ์รจติ ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 2. นายแพทยธ์ งชยั กีรติหัตถยากร รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข 3. นายแพทยธ์ งธน เพิม่ บถศรี ผู้อานวยการกลมุ่ ป.ย.ป. กระทรวงสาธารณสขุ บรรณาธิการ นายแพทยว์ ทิ ูรย์ อนนั กุล ผ้อู านวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้ชว่ ยบรรณาธิการ 1. นายแพทย์ประกิจ สาระเทพ รองผอู้ านวยการกองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ 2. แพทยห์ ญิงอลิสา ยาณะสาร รองผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ 3. นางสรุ ีรัตน์ ใจดี รองผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉุกเฉิน 4. นายสกล ลิจตุ ิภมู ิ รองผู้อานวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน 5. นายสาทิตย์ คงสอน เจ้าหน้าทป่ี ระสานงานบรหิ ารจดั การฯ คณะผู้จัดทา นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั ิการ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ 1. นางสาวพณดิ า นาถนอม นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน 2. นางสาวปารฉิ ัตร หมืน่ จ้ี นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน 3. นางสาววรารตั น์ ทุนทรัพย์ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน 4. นายอคั รเดช เป็งจนั ตา นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน 5. นางวิจิตตรา จันทะคุณ ISBN กรกฎาคม 2564 3,000 เล่ม พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 กล่มุ ยุทธศาสตร์การจดั การภาวะฉุกเฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ จานวน สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ผูจ้ ัดทา อาคาร 7 ช้ัน 7 ตึกสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทรศพั ท์ 0 – 2590 - 1353 โทรสาร 0 – 2590 – 1771

แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 3 คานา แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 ฉบับนี้ จดั ทาขึน้ เพือ่ เป็นแนวทางในการดาเนินงานด้านการสร้างระบบการจัดการภาวะ ฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการ และมีความสอดคล้องกับแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ กรอบยทุ ธศาสตร์การดาเนินงานเพ่ือลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction: DRR) การดาเนินงานด้านสาธารณ สุขตามหลักการกรุงเทพ (Bangkok Principles) ตามกรอบปฏิญญาเซ็นไดเพ่ือการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ และแผนปฏิบัติการเพ่ือการพัฒนา ท่ยี ่ังยืน (SDGs) ซงึ่ จะเป็นกรอบแนวทางทห่ี นว่ ยงานด้านสาธารณสุขในระดับพ้ืนท่ีรวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้อง สามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการวางแผนดาเนินงาน จัดสรรทรัพยากร งบประมาณด้านสุขภาพสาหรับการ จัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายให้ประชาชน ผปู้ ระสบสาธารณภัยสามารถดารงชวี ติ อย่างปลอดภัยและมีคณุ ภาพชีวติ ที่ดีข้นึ สาหรับการจัดทาแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์ และการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 แบบบูรณาการ ท่ีครบวงจรและมีเอกภาพ ในครั้งนี้ อาศัยกระบวนการการมีส่วนร่วมจากเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณภัย ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ท้ังในระดับกรมและระดับจังหวัด โดยบูรณาการให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) กระทรวงสาธารณสุข หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 ฉบับน้ี จะเป็นแนวทางสาคัญ ท่ีจะสนับสนุนการสร้างระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขให้มีความเข้มแข็ง และย่งั ยืน กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข มีนาคม 2564

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 4 สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป หนา้ 1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพปัญหาท่สี าคัญในการบริหารจดั การภาวะฉกุ เฉิน 6 และสาธารณภยั 9 1.2 โรคและภัยสขุ ภาพของประเทศไทย 13 1.3 แนวคิดการจัดทากลยุทธ์ภายใต้ระบบการจัดการความเส่ียงในภาวะภยั พบิ ัติ กลยุทธ์การลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั ด้านการแพทย์และการสาธารณสขุ 14 1.4 กรอบความเชื่อมโยงในการจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ ฯ 20 1.5 ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก SWOT Analysis ส่วนที่ 2 แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 2.1 วสิ ยั ทัศน์ 23 2.2 เป้าหมาย 23 2.3 พันธกิจ 23 2.4 กรอบประเดน็ ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ 25 ส่วนที่ 3 การขับเคลื่อนแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 36 3.1 การขับเคล่ือนแผนปฏิบัตกิ ารฯ 39 3.2 กระบวนการขบั เคล่ือนแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิ 3.2 การตดิ ตามและประเมนิ ผล 40 ภาคผนวก 42 ๑. การสอ่ื สารและการขับเคล่อื นนโยบาย ๒. นิยามคาศัพท์ 43 ๓. กรอบแผนงานภายใตแ้ ผนปฏิบัติการด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 48 ทางการแพทย์และการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 54 ๔. คาสง่ั คณะกรรมการอานวยการแผนดา้ นการสร้างระบบการจัดการภาวะฉกุ เฉิน ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 58 ๕. คาสง่ั คณะทางานจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5

แผนปฏิบตั กิ ารด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 5 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป

แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 6 1.1 การวเิ คราะหส์ ถานการณ์และสภาพปัญหาที่สาคญั ในการบริหารจดั การภาวะฉุกเฉนิ และสาธารณภัย ใน ช่วงท ศ วรรษ ท่ี ผ่ าน ม าป ระเท ศ ไท ย ได้เผชิ ญ กับ โรค แล ะภั ยธรรม ชาติห ลายรูป แบ บ ที่มีความรุนแรงและบ่อยคร้ังขึ้น ส่งผลกระทบต่อประชากรจานวนมาก โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมือง ซ่ึงมีประชากรหนาแน่นมากขึ้น โดยภัยพิบัติที่เกิดข้ึน ได้แก่ ภัยจากแผ่นดินไหวและคล่ืนยักษ์สึนามิ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ ส่งผลกระทบต่อ ๖ จังหวัดชายฝ่ังทะเลอันดามัน คือ จังหวัดพังงา กระบ่ี ระนอง ภูเก็ต ตรัง และสตูล มีผู้เสียชีวิตท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศรวม ๕,๔๐๑ คน สูญหาย ๒,๙๒๑ คน และทาให้ มีเด็กกาพร้ามากกว่า ๑,๒๑๕ คน มูลค่าความเสียหายกว่า ๑๔,๔๙๑ ล้านบาท และมหาอุทกภัยในประเทศ ไทยในปี ๒๕๕๔ ก็ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประชาชนราว ๒,๘๔๐,๐๐๐ คน ในกรุงเทพมหานคร และ จังหวัดปริมณฑลโดยรอบอย่างกวา้ งขวาง จนอาจกล่าวได้วา่ ภยั พิบัติเหล่านี้เปน็ ปญั หาภัยคุกคามทางธรรมชาติ ต่อความมั่นคง (Natural Threats to Security) ซ่ึงถือเป็นปัญหาสังคมและการเมืองของประเทศด้วย จึงมีความจาเป็น อย่างย่ิงที่กระทรวงสาธารณ สุขต้องให้ ความร่วมมือล ด ความเส่ียงของการเกิดภัยพิบั ติ ซึ่งมีความเสี่ยงสูงจากปัญหาของการบริหารจัดการในภาวะภัยพิบัติ และความขาดแคลนของทรัพยากร ท่ีจะรับมือต่อสถานการณ์ภัยพิบัติให้เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีมาตรการท่ีเข้มแข็งในการเตรียม ความพร้อมตอบโต้ภัยพิบัติด้านการแพทย์และสาธารณสุข ท่ีสามารถตอบสนองต่อการให้ความช่วยเหลือ ด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ผู้ประสบภัย และการฟื้นฟูบูรณะหลังเกิดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเกิดสถานการณ์ภัยพิบัติขึ้นอีกในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นอุทกภัยจากอิทธิพลของมรสุมหรือพายุไต้ฝุ่น รวมถึงเหตุการณ์แผ่นดนิ ไหวในระดับที่รุนแรง เป็นต้น และจากข้อมูลขององคก์ ารอนามัยโลกพบว่าความเส่ียง ด้านการสาธารณสุขในภาวะภัยพิบัติมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยหน่วยบริการสาธารณสุขต้องรับผิดชอบต่อชุมชน ท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดภัยพิบัติเพิ่มมากข้ึน ด้วยเหตุน้ีจึงมีความจาเป็นต้องมีมาตรการท่ีเข้มแข็ง และมีประสิทธิภาพ ในการเตรียมความพร้อมสูงสุดในด้านการแพทย์และการสาธารณสุขเพ่ือรองรับ สถานการณ์ฉุกเฉิน และพิบัติภัยทางธรรมชาติ ตลอดจนการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ทีม่ คี วามเส่ียงสงู ต่อสภาวะสขุ ภาพอนามยั ของประชาชนอีกด้วย ในวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2561 กรณีนักฟุตบอลเยาวชน ทีม \"หมูป่า ทีน ทอล์ค อะคาเดมี\" สูญหายในวนอุทยานถ้าหลวง-ขุนน้านางนอน ตาบลโป่งผา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย โดยในช่วงวันที่ ๑๙-๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ มีปริมาณน้าฝนสะสม ๙๐ มม. จึงทาให้น้าไหลเข้าท่วมในพ้ืนที่ดังกล่าว

แผนปฏบิ ัติการด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 7 ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ในฐานะผู้อานวยการจังหวัด ได้ประกาศเขต พ้ืนที่ประสบสาธารณภัย (อุทกภัย) ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 และการ ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในกรณีฉุกเฉิน (กรณีอุทกภัย) และได้จัดต้ังจัดตั้งศูนย์ บัญชาการเหตุการณ์อย่างบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นศูนย์กลางปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ เป็นโครงสร้างการจัดการตามระบบบัญชาการ เหตุการณ์ โดยสถานการณ์ในคร้ังนี้ได้รับความร่วมมือจากองค์กรระหว่างประเทศอย่างมาก จึงทาให้สามารถ ค้นหาและช่วยเหลือนาผู้สูญหายออกจากถ้าได้โดยเร็ว ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักในการ ปฏบิ ัติการด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ทง้ั ดา้ นการดแู ล รักษา ฟื้นฟูสภาพจิตใจของผูท้ ี่ไดร้ ับผลกระทบ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้มีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างของไวรัสอุบัติใหม่ “โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)” โดยพบผ้ตู ิดเชื้อรายแรกที่มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน หลังจากนั้นองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) ข้อมูล ณ วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๓ มีรายงานผู้ป่วยใน ๑๙๖ ประเทศ ๒ เขตบริหารพิเศษ ๑ นครรัฐ ๒ เรือสาราญ เป็นผู้ป่วยท่ียืนยัน ๕๙๗,๔๕๘ ราย และเสียชีวิต ๒๗,๓๗๐ ราย หลังจากน้ันในเดือนมกราคม ๒๕๖๓ ประเทศไทยได้จัดทาและดาเนินมาตรการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค ภายหลังพบผู้ป่วยรายแรกในประเทศไทยและรายต่อๆ มา จนพบผู้ ติ ดเชื้ อเพ่ิ มจานวนมากขึ้นอย่ างรวดเร็วจนมี การประกาศโรคติ ดเชื้ อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และประกาศเป็นสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยประกาศข้อกาหนด และข้อปฏิบัติแก่ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานสาคัญในการดาเนินงาน บูรณาการร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆ รวมถึงจัดทาคาแนะนาและมาตรการ ส่ือสารไปยังประชาชนเพื่อแก้ไข สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ให้ยุตไิ ด้โดยเรว็ แม้ว่าในแผนการดาเนินงานของหน่วยงานด้านสาธารณสุขได้มีการกาหนดถึงวัตถุประสงค์ ท่ีชัดเจนเพื่อให้ทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขมีการเตรียมการ และมีการดาเนินงานเพ่ือเตรียม

แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 8 ความพร้อมในการระดมทรัพยากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ให้สามารถรองรับกับความต้องการ ของประเทศในสถานการณ์ฉุกเฉิน และสามารถนาไปปรับใช้ได้กับสถานการณ์ในการป้องกัน ช่วยเหลือ และบรรเทาสาธารณภยั ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยมีการเตรยี มบุคลากรและหน่วยงานด้านสาธารณสุข ให้มีความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน สาธารณภัยและภัยพิบัติ แต่ปัญหาท่ีเกิดข้ึนและพบได้เสมอ คือแนวทางในการดาเนินงานด้านสถานการณ์ฉุกเฉิน สาธารณภัยและภัยพิบัติที่ยังขาดความชัดเจน และไม่มีการบูรณาการการรับมือกับภัยพิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน นอกจากน้ี ยังพบว่ายังขาด ความเป็นเอกภาพในการจัดการสาธารณภัยท้ังในระดับชาติจนถึงระดับท้องถ่ิน ทาให้การประสานงาน และการสนธิกาลังจากส่วนราชการและหน่วยงานเอกชนขาดประสิทธิภาพ การระดมทรัพยากรเข้าสู่พื้นท่ี ประสบภัยยังขาดแนวทางปฏิบัติท่ีเป็นมาตรฐาน ทาให้ขาดความพร้อมในการปฏิบัติงาน เน่ืองจาก ทุกหน่วยงานมุ่งเน้นให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยเป็นลาดับแรกแต่กลับไม่มีการวางแผนในภาพรวม ต่างหน่วยต่างปฏิบัติตามแนวทางของตนเอง ทาให้หน่วยเผชิญเหตุในพื้นที่ไม่สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ รวมถึงการวิจัยและพัฒนาการจัดการสาธารณภัยในประเทศไทย ยังไม่มีความชัดเจนในด้านยุทธศาสตร์ ทิศทางและรูปแบบการจัดการยังไม่เหมาะสมกับบริบทของประเทศ รวมถงึ ขาดการให้ความสาคญั ของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ดังนน้ั จงึ เห็นความสาคัญและความจาเป็น ที่จะต้องสร้างระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการท่ีครบวงจร และมีเอกภาพ ในประเด็นสาคัญๆ ได้แก่ การประเมินความเสี่ยงหรือความเปราะบางของพื้นท่ีในการรับมือ กับภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย การประสานงานและการส่ือสารแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขกับหน่วยงานทุกระดับ การจัดทาแผนปฏิบัติการที่มีมาตรฐาน และการฝึกซ้อมในการรับมือกับสาธารณภัยตามระดับความรุนแรง การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติ ในภาวะสาธารณภัย กลไกการจัดสรรงบประมาณและทรพั ยากรในการเตรยี มรบั สาธารณภยั และการฝกึ อบรม พฒั นาบุคลากรดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขดา้ นการบริหารจัดการสาธารณภัยและการลดความเสีย่ งจากภยั พิบัติ

แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 9 1.2 โรคและภัยสุขภาพของประเทศไทย 1.2.1 โรคระบาด โรคติดต่อหรือโรคท่ียังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัด ซึ่งอาจะแพร่ไปสู่ผู้อ่ืนได้อย่าง รวดเร็วและกว้างขวาง หรือมีภาวะของการเกิดโรคมากผิดปกติกว่าที่เคยเป็นมา (พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558) วันที่ 11 มีนาคม 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยกระดับการแพร่ระบาดของไวรัส โคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 จากโรคระบาด (Epidermic) เป็นโรคระบาดใหญ่ (Pandemic) หลังจากมี การแพร่ระบาดไปทั่วโลก สาหรับการประกาศโรคระบาดของประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรา 9 แห่ง พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซ่ึงการระบาดของโรคสาคัญในประเทศไทย ได้แก่ โรคไข้หวัดนก พ.ศ. 2547, โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 (2009) พ.ศ. 2552, โรคไข้ปวดข้อยุงลาย พ.ศ. 2551 -2552, โรคไข้เลือดออก พ.ศ.2555, โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน (MERS-Cov) พ.ศ. 2556, โรคตดิ เชือไ้ วรัสอีโบลา พ.ศ. 2557 และโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) พ.ศ.2563 1.2.2 เหตุการณท์ ก่ี ่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บและอบุ ัติภยั เป็นเหตุการณ์ภัยสุขภาพท่ีส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตได้ เช่น ตึกถล่ม อุบัติเหตุ จากการขนส่งและโดยสาร การจราจล สงคราม และอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสขุ สาเหตุการตายหลักของคนไทยท่ีอยู่ใน 5 ลาดับแรก คือการตายจากอุบัติเหตุบนท้องถนน คนไทยหลายสิบล้านคนต้องเส่ียงภัยกับภัยร้ายใกล้ตัวนี้ นับตั้งแต่ก้าวออกจากประตูบ้านของตนเอง ในปี พ.ศ. 2561 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดอันดับให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีอัตราการเกิด อบุ ัติเหตสุ ูงสุดเป็นอบั ดับ 9 ของโลก ผเู้ สียชวี ติ ปีละประมาณ 22,491 ราย คิดเปน็ 32.7 คนตอ่ ประชากร 1 แสนคน ยิ่งไปกว่าน้ัน ประเทศไทยยังเป็นประเทศที่มีผู้เสียชีวิตสูงท่ีสุดเป็นอันดับหนึ่งของเอเชีย (รายงานสุขภาพคนไทย สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563) 1.2.3 โรคและภัยสุขภาพท่ีมากับภยั ธรรมชาติ ภัยที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สิน โดยส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมท้ังในระยะสั้น และระยะยาว ประกอบด้วย อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม คลนื่ สนึ ามิ แผ่นดนิ ไหว ภยั แลง้ ภยั หนาว อัคคภี ัย หมอกควนั

แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 10 อุทกภัย เป็นสาธารณภัยท่ีเกิดจากฝนตกหนักเป็นระยะเวลานาน ทาให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน น้าท่วมขัง ประชาชนได้รับผลกระทบความเดือดร้อนท้ังด้านสุขภาพและทรัพย์สิน โดยมีสาเหตุมาจาก มรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพักปกคลุมทะเลอันดามันในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคกลาง รวมถึงหย่อมความกดอากาศต่า และพายุหมุนเขตร้อน (ดีเปรสชั่น โซนร้อน และไต้ฝ่นุ ) (แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 ,2558) วาตภัย เป็นสาธารณภัยท่ีมีสาเหตุจากพายุลมแรง จนทาให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน รวมถึงชีวิตของประชาชน โดยมีสาเหตุจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือพายุฝนฟ้าคะนอง พายุฤดูร้อน และพายุหมุนเขตร้อน (ดีเปรสช่ัน โซนร้อน ไต้ฝุ่น) โดยเฉพาะพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อพ้ืนที่เป็น บริเวณกว้างนับร้อยตารางกิโลเมตร (บริเวณที่ศูนย์กลางของพายุเคลื่อนที่ผ่านจะได้รับผลกระทบมากท่ีสุด) เมื่อพายุมีกาลังแรงในชั้นดีเปรสชั่นจะทาให้เกิดฝนตกหนักและมักมีอุทกภัยตามมา) (แผนการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ,2558) ดินโคลนถล่ม มกั เกิดข้นึ พรอ้ มกันหรือเกดิ ตามมาหลังจากเกิดน้าป่าไหลหลากอนั เนื่องมาจาก พายุฝนที่ทาให้เกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องรุนแรง เม่ือมีฝนตกในบริเวณดังกลาวจนดินเกิดการอ่ิมตัวและไม สามารถอุมน้าได้ จึงทาใหเกิดความเสียหายท้ังชีวิตและทรัพยสิน (แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 ,2558) คล่ืนสึนามิ เป็นคลื่นตามยาวเกิดจากแผ่นดินไหวและสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง เช่น รอยแยก เปลือกโลกเคล่ือนตัว แผ่นดินถล่มใต้น้า หรือภูเขาไฟชายฝั่งหรือใต้น้าระเบิด ทาให้เกิดการกระเพ่ือมของน้า อย่างรุนแรง และเกิดการเคล่ือนที่ของมวลน้า ซ่ึงถูกผลักดันโดยแรงกระทามหาศาลที่สามารถต่อต้านน้าหนัก ของมวลน้าทาให้เคล่ือนท่ีออกไปจากตาแหน่งเดิมเรียกว่าเป็น Gravity Wave ท่ีแผ่กระจายออกมาจาก แผน่ ดินไหว กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายอย่างใหญ่หลวงตอ่ ชวี ิตและทรัพย์สินของผคู้ นท่ีอาศัยอยตู่ ามบริเวณชายฝั่ง ดงั ทเ่ี คยเกดิ ขึ้นบริเวณภาคใต้ฝ่งั ทะเลอนั ดามนั ในปี พ.ศ. 2547 ซ่ึงทาให้มผี ้เู สียชีวติ ถึง 5,395 ราย (สถาบัน ค้นคว้าและพัฒนาระบบนเิ วศเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2548) แผ่นดินไหว สาเหตุเกิดจากการเคล่ือนตัวโดยฉับพลันของเปลือกโลก ส่วนใหญ่แผ่นดินไหว มักเกิดตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกเป็นแนวแผ่นดินไหวของโลก การเคล่ือนตัวดังกล่าว เกิดข้ึน เน่อื งจากช้ันหนิ หลอมละลาย ท่ีอยภู่ ายใต้เปลือกโลก ได้รับพลงั งานความร้อนจากแกนโลก และลอยตัวผลักดัน ให้เปลือกโลกตอนบนตลอดเวลา ทาให้เปลือกโลกแต่ละช้ินมีการเคล่ือนที่ในทิศทางต่าง ๆ กันพร้อมกับสะสม พลังงานไว้ภายใน บริเวณขอบของชิ้นเปลือกโลกจึงเป็นส่วนท่ีชนกันเสียดสีกัน หรือแยกจากกัน ทาให้ ก่อให้เกิดคความเสียหายอย่างรุนแรงต่อชีวิตและทรัพย์สิน (สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2548)

แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 11 ภัยแล้ง ภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าในพื้นที่ใดพื้นท่ีหนึ่งเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความ แห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชนสาเหตุของการเกิดจากธรรมชาติ คือการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของระดับน้าทะเล ภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย แผ่นดินไหว และเกิดจากการกระทาของมนุษย์ การทาลายช้ันโอโซน ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก การพัฒนาด้าน อตุ สาหกรรม และการตดั ไมท้ าลายปา่ (กรมอุตุนิยมวทิ ยา) หมอกควัน จัดว่าเป็นมลพษิ ทางอากาศที่สาคัญ เป็นผลของกระบวนการเผาไหม้ท่ีไมส่ มบูรณ์ ทาให้เป็นต้นกาเนิดของสารมิลพิษทางอากาศที่ฝังตัวอยู่กับอนุภาคฝุ่นลละอองขนาดเล็กท่ีเมื่อเข้าไปในปอด แล้วไม่สามารถขับออกมาได้ สาเหตุหลักเกิดจากไฟป่า และการเผาเศษวัตถุทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ซ่ึงส่งผลให้ประชาชนในพ้ืนท่ีมีความเส่ียงต่อสุขภาพอนามัย ทั้งด้านการมองเห็น การระคายเคืองตา โรคที่เก่ียวข้องกับระบบทางเดินหายใจ และการดารงชีวิตของประชาชนเป็นวงกว้าง (สานักป้องกันรักษาป่า และควบคมุ ไฟปา่ กรมป่าไม้) อัคคีภัย เกิดจากไฟท่ีขาดการควบคุมดูแล ทาให้เกิดการติดต่อลุกลามไปตามบริเวณ ที่มีเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหม้ต่อเน่ือง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากข้ึนถ้าการลุกไหม้ท่ีมีเช้ือเพลิงหนุน หรือมีไอของเช้ือเพลิงถูกขับออกมามากความร้อนแรงก็จะมากย่ิงขึ้น สิ่งท่ีทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย ได้แก่ เชื้อเพลิง สารเคมี หรือวัตถุใด ๆ ที่มีสถานะเป็นของแข็งของเหลว หรือก๊าซที่อยู่ในภาวะพร้อมจะเกิดการ สันดาปจากการจุดติด หรือ จากการสันดาปเอง โดยมีการสร้างความสูญเสียให้ทรัพย์สินและชีวิต (สมาคม สง่ เสริมความปลอดภยั และอนามัยในการทางาน ( ประเทศไทย ) ในพระราชปู ถมั ภ์) 1.2.4 ภัยสุขภาพท่ีเกิดจากสารเคมี เปนภัยที่เกิดจากสารเคมีท่ีมีอยูในธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น เชน ในกระบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษา การจาหนาย การขนสง และการบาบัดกาจัดทาลาย เปนตน ซึ่งมีผลกระทบตอมนุษย และส่ิงมีชีวิตที่เก่ียวของ โดยอาจเกิดเนื่องจากการทางานในภาคอุตสาหกรรม เมื่อมีการไดรับสัมผัสสารเคมี เข้าสูรางกายอาจกอใหเกิดโรคจากสารเคมีแบบเฉียบพลัน หรือแบบเรื้อรังมีท้ังเกิดข้ึนเปนแบบเฉพาะ รายบุคคลหรือขยายวงกวางเปนกลุมประชากร (แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558,2558) 1.2.5 ภัยสขุ ภาพท่ีเกิดจากกมั มันตรังภาพรงั สแี ละนวิ เคลียร์ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) ให้คานิยามของอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ และอุบัติเหตุการแผ่รังสีนิวเคลียร์/ภัยพิบัติทางนิวเคลียร์ ไว้ดังน้ีคือ “เหตุการณ์ท่ีนาไปสู่ผลกระทบอย่าง มีนัยสาคัญต่อผู้คน สภาพแวดล้อม หรือสถานที่ ตัวอย่างรวมถึงผลกระทบร้ายแรงต่อเฉพาะบุคคล การปลดปล่อยกัมมันตภาพรังสีจานวนมากออกมาสู่สภาวะแวดล้อม หรือแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หลอม ละลาย” ไม่ว่าจะเปน็ กรณีอุบัติเหตุ หรือได้มีการต้ังใจวางแผนไว้แล้วไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบใด และสาเหตุอาจ

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 12 ก่อให้เกิดภัยพิบัติทางนิวเคลียร์ ซ่ึงภัยพิบัติที่มีผลต่อร่างกายของคน จิตใจ อารมณ์ เศรษฐกิจ และทางด้าน พันธุกรรม การผันแปรหรือการก่อให้เกิดความเสียหายต่อ “หน่วยพันธุกรรม (gene)” ท่ีทาให้เกิดผลกระทบ อย่างร้ายแรงต่อรุ่นลูกหลานเป็นเหตุการณ์ที่ส่งผลถึงการบาดเจ็บและการเสียชีวิตของบุคคลจานวนมาก ซ่ึงเกิดจากการร่ัวไหลของกัมตรังสี และนิวเคลียร์ซ่ึงอาจเกิดได้จากการกระทาของมนุษย์หรือเกิดขึ้นภายหลัง ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ (สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน),2555)

กลยุท ์ธที่ 1 แผนปฏบิ ตั ิการด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 สร้างระบบประเ ิมนความเส่ียงจากสาธารณ 13 ัภยด้านการแพทย์และสาธารณ ุสขใ ้ห ีม1.3 แนวคิดการจดั ทากลยุทธภ์ ายใตร้ ะบบการจัดการความเสี่ยงในภาวะภัยพิบัตกิ ลยุทธก์ ารลดความเสี่ยง มาตรฐาน จากสาธารณภยั ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข กล ุยทธ์ ีท่ 2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ ัพฒนามาตรการลดความเส่ียงจาก สาธารณภัย ้ดานการแพท ์ยและ 1. ประเมินสถานการณป์ ัจจบุ ันและข้อมลู ท่มี ีอยู่ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ 2. ประเมนิ ภยั อันตราย สาธารณสุข 3. ประเมนิ ความลอ่ แหลม 4. วเิ คราะห์ความเปราะบาง กลยุท ์ธที่ 3 5. วเิ คราะห์ความสญู เสยี และผลกระทบตอ่ ประชาชน สุขภาพอนามยั การดารงชวี ิต ่สงเสริมใ ้ห ุทกภาค ่สวนและ ุทก ระ ัดบสร้างแนวทางปฏิ ับติในการลด และส่งิ แวดลอ้ ม ความเสี่ยง ้ดานการแพท ์ยและ 6. จัดทาขอ้ มูลสถานะความเส่ยี งและประเมินผลการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั สาธารณ ุสข ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 7. วางแผนปฏบิ ัตกิ ารและทบทวนกลยุทธ์ในการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 1. ดาเนนิ การปอ้ งกันโดยเนน้ ช่วงก่อนเกดิ ภัย ทัง้ ส่ิงแวดลอ้ ม ท่อี ยู่อาศัย สิ่งปลกู สรา้ งต่างๆ 2. ฝึกการปอ้ งกนั ภยั ภายในชุมชนทัง้ เชงิ อภปิ ราย และ เชิงปฏิบัติการ 3. จัดตัง้ ศูนย์อพยพและศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว 4. จัดทาระบบขอ้ มูลและสารสนเทศสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ที่มีมาตรฐาน 5. จดั ตง้ั คลังสารองทรัพยากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข 6. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารด้านสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข 7. พัฒนาระบบเฝา้ ระวงั เตอื นภัยดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขใหส้ ามารถใช้ไดจ้ ริง เพ่ือความเตรยี มพร้อมตลอดเวลา 1. จดั สรรงบประมาณสาหรับการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัยด้านการแพทย์ และสาธารณสุข 2. จดั ทาโครงการบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตใิ นหนว่ ยงานและสถานบรกิ ารสาธารณสุข 3. ทกุ หน่วยงานรองรับจัดทาแผนการใหบ้ รกิ ารด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุขแกป่ ระชาชนเม่อื เกดิ สาธารณภยั 4. ให้แกนนา/อาสาสมคั รสาธารณสุขจดั ลาดบั ความเสี่ยงสาธารณภัยของตนเอง 5. แต่ละกรม/เขต/สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั แตง่ ตงั้ ผปู้ ระสานการลดความเส่ยี ง จากสาธารณภัยดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 6. มสี ่วนสนบั สนนุ การดาเนินงานกองทนุ การจดั การความเสย่ี งสาธารณภัย ที่มกี ระทรวงการคลงั เปน็ หน่วยหลกั 7. สนับสนุนและใหข้ อ้ มูลดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขในสมชั ชาการจัดการสาธารณภัยในทกุ ระดับ

แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 14 1.4 กรอบความเช่ือมโยงในการจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทาง การแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 ก ร ะ บ ว น ก า รจั ด ท า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ด้ า น ก าร ป้ อ งกั น แ ล ะ บ ร รเท า ส าธ า ร ณ ภั ย ท างก า ร แ พ ท ย์ และการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 มีการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ระดับชาติ และนโยบายท่ีเก่ียวข้อง อาทิเช่น นโยบายรัฐบาลยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ กรอบการดาเนินงานเซนไดเพอ่ื ลดความเสี่ยงจากภัยพบิ ัติ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๗๓ เปน็ ตน้ ตารางที่ ๑ ความเช่อื มโยงของแผนยุทธศาสตร์ระดบั ชาติ นโยบายรัฐบาล และแผนยุทธศาสตร์ที่เก่ยี วขอ้ ง ช่ือแผนยุทธศาสตร์ รายละเอียด ยุทธศาสตรร์ ะดบั ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ่ีเก่ียวข้อง มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ รับทราบแนวทาง การจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติและกรอบแนวทางการปฏิรูปประเทศไทย ในระยะ ๒๐ ปี โดยระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง และยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณ ภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับส่ิงแวดล้อม แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (๑) ประเด็น ความมัน่ คง (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนย่อยการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบ ต่อความม่ันคงของชาติ เป็นการยกระดับขีดความสามารถของกองทัพและ หน่วยงานด้านความมั่นคงท้ังระบบของประเทศ รวมท้ังสามารถติดตาม แจ้งเตือน ป้องกัน แก้ไขปัญหา และรับมือกับภัยคุกคาม ตลอดจนปัญหาท่ีมี ผลกระทบต่อความม่ันคงในทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ท้งั ในปจั จบุ นั และอนาคตไดอ้ ย่างบรู ณาการและมีประสิทธภิ าพ แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (๑๓) ประเดน็ การเสรมิ สร้างให้คน ไทยมสี ขุ ภาวะท่ีดี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)

แผนปฏิบัติการดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 15 ช่ือแผนยุทธศาสตร์ รายละเอยี ด แผนย่อยการกระจายบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ เป็นแนวทางการพัฒนาที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงบริการ ทางสาธารณสุข ด้วยการพัฒนาสถานพยาบาลให้เพ่ิมบุคลากร ทางการแพทย์ให้เพียงพอและนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการขยาย การใหบ้ รกิ าร รวมท้ังยกระดบั คุณภาพการให้บริการตามมาตรฐานสากล ทั่วทกุ พืน้ ที่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ได้ให้ความสาคัญกับประเด็นการเตรียมพร้อมเพ่ือรับมือกับความม่ันคง ทุกรูปแบบไว้ในยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคงและยั่งยืน มีเป้าหมายเพ่ือให้เกิด ความม่ันคงในการพัฒนาประเทศระยะยาวตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ท่ีมีความสาคัญ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และการทหาร สามารถรับมือกับภัยจากการก่อการร้าย ภัยความมั่นคง ทางไซเบอร์ และสาธารณภัยท่ีเกิดขน้ึ แผนเตรยี มพรอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การเสริมสร้างความเช่ือม่ัน ภูมิคุ้มกัน และศักยภาพของทุกภาคส่วนให้มีความตระหนัก และความเข้มแข็ง ร่วมกันในลักษณะประชารัฐ เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากร ของหน่วยงาน ภ าครัฐ และภ าคเอกช น ตลอดจน ภ าคป ระช าช น มีความ รู้ ความตระหนัก และความเข้าใจในระบบการเฝ้าระวัง การแจ้งเตือน และการบัญชาการเหตุการณจ์ ากภัยคกุ คามทุกรูปแบบ แผนยุทธศาสตรค์ วามมั่นคงแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มีความสอดรับกับนโยบายความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔) คณ ะรัฐม น ต รีมีม ติเมื่ อวัน ที่ ๒ ๗ มี น าคม ๒ ๕ ๕ ๘ โดยระบ บ การเตรียมพร้อมแห่งชาติสอดคล้องกับหมวดนโยบายความม่ันคงทั่วไป นโยบายท่ี ๑๓ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติเพ่ือเสริมสร้าง ความมั่นคงแห่งชาติ เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเตรียมความพร้อมของชาติ

แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 16 ชอ่ื แผนยุทธศาสตร์ รายละเอยี ด ใน ก าร เผ ชิ ญ กั บ ภ า ว ะ ส ง ค ร า ม แ ล ะ วิ ก ฤ ติ ก า ร ณ์ ค ว า ม ม่ั น ค ง อ ย่ า ง มีเอกภาพและประสิทธิภาพ และนโยบายที่ ๑๔ เสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพการป้องกันประเทศ เพ่ือให้กองทัพมี โครงสร้างกาลัง ยุทโธปกรณ์ ที่เหมาะสม ทันสมัย มีการผนึกกาลังทุกภาคส่วน ในการป้องกันประเทศและสนับสนุนการดาเนินการกองทัพตั้งแต่ ในภาวะปกติ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘) เป็นกรอบและทิศทาง ให้หน่วยงานทุกภาคส่วนตั้งแต่ระดับท้องถ่ินถึงระดับประเทศสามารถ ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต้ังแต่ระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยอย่างเป็นระบบ มีทิศทางเดยี วกัน และเสริม กาลังกนั อย่างบูรณาการ และเพื่อจัดระบบการดาเนนิ งานและการเตรียม ความพร้อมในด้านต่าง ๆ ไว้รองรบั สถานการณ์สาธารณภัย ตามลักษณะ ความเสี่ยงภัยให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน โดยมีขอบเขตสาธารณภัย เป็นไปตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ คือ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัย อื่น ๆ อันมีผลกระทบต่อ สาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มี ผู้กระทาให้เกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต รา่ งกายของประชาชน หรือความเสยี หายแก่ทรัพย์สนิ ของประชาชนหรือ ของรัฐ และให้ความหมายรวมถึงภัยทางอากาศและก่อวินาศกรรมด้วย และมีแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน (สปฉ.) ๑๘ ส่วนงาน ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบในส่วนงานการแพทย์และสาธารณสุข (สปฉ. ๘)

แผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 17 ช่อื แผนยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ด แผนสนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ าน ในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) ๑๘ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นเคร่ืองมือสนับสนุนภารกิจของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (บกปภ.ช.) ท่ีเป็นกลุ่มของส่วนงาน (Function) ประกอบด้วยหน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมา ประสานการปฏิบัติร่วมกัน เพ่ือลดความซ้าซ้อนในการดาเนินการ โดย กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยหลักในการงานรับผิดชอบส่วนงาน การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ผ้บู ญั ชาการ/ผู้อานวยการ ศูนย์ขอ้ มลู ประชาสมั พนั ธร์ ว่ ม ทปี่ รึกษา/ผเู้ ชย่ี วชาญ ศนู ยป์ ระสานการปฏบิ ตั ิ ส่วนปฏบิ ตั กิ าร ส่วนอานวยการ สว่ นสนบั สนุน สปฉ.1 คมนาคม สปฉ.7 การสนบั สนนุ สปฉ.15 สปฉ.5 สปฉ.2เทคโนโลยี สปฉ.14 การฟ้ืนฟู ทรพั ยากรทางทหาร การตา่ งประเทศ การจดั การ สารสนเทศและการสือ่ สาร เศรษฐกจิ สปฉ.4 ผจญเพลงิ สปฉ.8 การแพทย์ กฎหมาย สปฉ.3 สาธารณุปโภค สปฉ.12 พลงั งาน และ สาธารณสขุ และโครงสรา้ งพื้นฐาน สปฉ.9 การค้นหา สปฉ.17 ทรัพยากรธรรมชาติ และกู้ภัย สปฉ.10 สารเคมี สปฉ.11 และสิง่ แวดลอ้ ม วตั ถุ อนั ตราย สปฉ.6 สวัสดิการสงั คม สปฉ.18 งบประมาณและ และความม่ันคงของมนษุ ย์ การบริจาค สปฉ.13 รักษาความสงบเรียบรอ้ ย สปฉ.8 : ส่วนงานการแพทย์และสาธารณสขุ มีขอบเขตหนา้ ที่ ดังนี้ 1.จัดเตรียมและจัดหาทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสุข รวมท้ัง ประสานการระดมสรรพกาลังด้านการแพทย์และสาธารณสขุ 2.จัดทาระบบฐานข้อมูลผู้เช่ียวชาญทางการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งเครอ่ื งมือทางการแพทย์ในด้านตา่ งๆ ของรฐั และเอกชน เพื่อให้ พรอ้ มตอ่ การปฏิบตั ิเมอื่ เกิดสาธารณภยั 3.พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Service : EMS) หน่วยปฏิบัติการกู้ชีพ และทีมตอบสนองด้านการแพทย์ ได้แก่ ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ในภาวะฉุกเฉินระดับอาเภอ (Mini MERT) ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ระดับตติยภูมิใน

แผนปฏิบตั กิ ารด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 18 ช่อื แผนยทุ ธศาสตร์ รายละเอียด ภ าวะฉุก เฉิ น (MERT: Medical Emergency Response Team) ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT: Surveillance Rapid Response Team) ทีมปฏิบัติการด้านจิตเวช (MCATT: Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team) ท่ีพร้อมออก ปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง จัดระบบเครือข่ายสาธารณสุขให้บริการและสนับสนุนการปฏิบัติงาน ทว่ั ประเทศ โดยร่วมมอื กบั หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งเพอื่ เตรยี มความพร้อม ให้สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ทนั ทีเม่อื เกิดสาธารณภยั 4.จัดให้มีการพัฒนาระบบสื่อสาร เพื่อประสานงานและสั่งการภายใน หนว่ ยงานสาธารณสุข และหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งใหม้ ีประสิทธิภาพ 5.จดั ใหม้ ีการเตรยี มพรอ้ มทางห้องปฏิบตั กิ ารที่ทนั สมยั และไดม้ าตรฐาน 6.จัดให้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลความเสียหายทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงการรายงานผลอย่างถกู ต้องและรวดเร็ว 7.พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัคร ให้มีความรู้และทักษะพร้อม ท่ีจะปฏิบัติงานเมื่อเกิดสาธารณภัย และป้องกันตนเองจากภัยท่ีเกิดขึ้น ขณะปฏิบัตงิ าน 8.ให้ความรูแ้ ก่ประชาชนและชุมชนในด้านการรักษาพยาบบาลเบ้ืองต้น การสุขาภิบาล และอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถช่วยเหลือ ตนเองและผ้อู นื่ ได้เมอื่ ประสบภัย 9.เฝ้าระวัง ควบคุม และติดตามโรคติดต่อ พร้อมทั้งจัดให้มีการ รักษาพยาบาล การอนามัย การสุขาภิบาล และการป้องกันโรคแก่ ผปู้ ระสบภัย 10.ฟืน้ ฟสู ภาพจิตใจของผปู้ ระสบภัยให้กลบั มาดารงชีวิตไดต้ ามปกติ กรอบการดาเนินงานเซนไดเพ่ือลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๗๓ มีแนวคิดหลักในการเข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การเสริมสร้าง ศักยภาพในการบริหารจัดการความเส่ียงจากภัยพิบัติ การลงทุน

แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 19 ชื่อแผนยุทธศาสตร์ รายละเอยี ด ในด้านความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพ่ือให้พร้อมรับมือและฟื้นคืนกลับ ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการฟ้ืนสภาพการซ่อม สร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ เพ่ือเป้าหมาย ในการป้องกันไม่ให้เกิดความเส่ียงใหม่และลดความเส่ียงท่ีมีอยู่เดิมด้วย มาตรการทางเศรษฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้อม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการ เชิงสถาบันท่ีมีการบูรณาการลดความเหล่ือมล้า เพื่อป้องกันและทาให้ ความล่อแหลม และความเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจน ช่วยให้มีการเตรียมพร้อมสาหรับการเผชิญเหตุและฟ้ืนฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนาไปสู่ความสามารถท่ีจะรับมือและฟ้ืนคืนกลับได้ในระยะเวลา ที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสู่ผลลัพธ์เพ่ือลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ และลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพ ตลอดจนความสูญเสีย ต่อสินทรัพย์ทางเศรษฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบคุ คล ธรุ กจิ ชุมชนและประเทศอยา่ งเป็นรูปธรรม แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นสาธารณสขุ พ.ศ 2561-2565 เรื่องและประเด็นการปฏิรูปที่ ๖ : ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เป้าหมาย หรือผลอันพึงประสงค์และผลสัมฤทธิ์ ทุกคนบนแผ่นดินไทยเข้าถึง และได้รับบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างเท่าเทียม ท่ัวถึง ทันเวลา และมีมาตรฐาน เป้าหมายรวม (๑) เพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงระบบ การแพทย์ฉุกเฉินอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง ทันเวลาและมีมาตรฐาน (๒) เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตและภาวะทุพพลภาพท่ีป้องกันได้จากโรค/ ภาวะฉุกเฉิน (๓) เพื่อพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินท่ีมีคุณภาพและ มาตรฐาน และแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข (ฉบับปรุบ ปรุง) มีกิจกรรมท่ีส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมี นัยสาคัญ กิจกรรมท่ี 1 การปฏิรูปการจัดการภาวะฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขรวมถึงโรคระบาดระดับชาติและโรคอุบัติใหม่ เพ่ือความ มัน่ คงแห่งชาติด้านสุขภาพ

แผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 20 1.5 ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) ต่อการบริหารจดั การ ภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข จดุ แข็ง (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses) 1. มีทมี ทเ่ี ข้มแขง็ 1. งบประมาณในการดาเนินงานมจี ากัด 2. บคุ ลากรมสี ัมพนั ธภ์ าพท่ดี ีตอ่ กนั และทางานเปน็ 2. บุคลากรขาดทักษะในการป้องกันและบรรเทาภัย เครือข่าย พิบัติ 3. มีระบบสารสนเทศสนับสนุน 3. บุคลากรบางคนมขี อ้ จากดั ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. บคุ ลากรสามารถใช้สารสนเทศช่วยในการ 4. ปัญหาการส่ังการต่อการปฏิบตั ิในระยะฉุกเฉิน ปฏบิ ตั ิงาน 5. มีสถานทแี่ ละอปุ กรณ์ทเ่ี หมาะสมต่อการปฏบิ ตั ิงาน โอกาส (Opportunities) ผลกระทบ (Threats) 1. ผบู้ งั คบั บญั ชาเหน็ ความสาคญั ของภารกจิ 1. ภยั พิบตั ใิ นปจั จบุ นั เกดิ ขนึ้ บ่อยและมีความรุนแรง ต่อสาธารณภยั ข้ึน 2. ไดร้ ับความรว่ มมือจากหนว่ ยงานในภูมิภาค 2. ขาดกาลังในการปฏิบัตงิ านเน่ืองจากเจ้าหน้าทก่ี ็ สนบั สนุนการดาเนินงานในภาวะฉกุ เฉนิ ประสบภัยพบิ ตั ดิ ว้ ย 3.ความรว่ มมอื การดาเนนิ งานอย่างดจี ากองค์กร 3. ประชาชนยังขาดความรเู้ ก่ยี วกบั ภัยพิบัตแิ ละการ ภายนอก ปฏิบัติทเ่ี หมาะสม 4. มีการประชุมอบรมพัฒนาความรู้เสมอ การประเมินสถานภาพปัจจุบนั ของกระทรวงสาธารณสขุ (Position Analysis) ๓.๑ แนวคิดการประเมินสถานภาพขององค์กรตามหลัก SWOT Analysis มีความเป็นไปได้ท่ีองค์กร จะต้องตกอยู่ในสถานการณ์อย่างน้อย ๔ สถานการณ์ และแต่ละสถานการณ์จะมีแนวกลยุทธ์ โดยภาพรวม ทค่ี วรดาเนนิ การแตกต่างกนั ดงั นี้ สถานการณท์ ี่ ๑ สภาพแวดล้อมภายนอกมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบในเชิงท่ีเป็นโอกาสค่อนข้างมาก และองค์กร มขี ดี สมรรถนะที่เป็นจุดแข็งเปน็ ส่วนใหญ่ องค์กรทีต่ กอยูส่ ภาพการณ์ดังกล่าว ควรวางกลยทุ ธก์ ารทางานเชิงรุก

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 21 ซ่ึงต้องเร่งรัดพัฒนาระบบดาเนินงานหลักขององค์กรให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ รองรับการ แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ได้เปน็ อยา่ งดี สถานการณ์ท่ี ๒ สภาพแวดล้อมภายนอกมีแนวโน้มส่งผลกระทบที่เป็นอุปสรรคแต่องค์กรยังมีขีดสมรรถนะท่ีเป็น จุดแข็งเป็นส่วนใหญ่ องค์กรที่ตกอยู่ในสภาพการณ์ดังกล่าว ควรมีการปรับเปล่ียนภารกิจในลักษณะต่างๆ เพอื่ รกั ษาสถานภาพของหนว่ ยงานไว้ โดยคงสภาพของการปฏิบตั ิการไวด้ งั เดมิ สถานการณท์ ี่ ๓ สภาพแวดล้อมภายนอกมีแนวโน้มท่ีจะส่งผลกระทบต่อองค์กรในเชิงท่ีเป็นภัยอุปสรรคและองค์กร เองก็มีขีดสมรรถนะในลักษณะที่เป็นจุดอ่อนเป็นส่วนใหญ่ องค์กรท่ีตกอยู่ในสถานการณ์นี้จาเป็นต้องเร่ง ปรับเปล่ียนภารกิจหลักในลักษณะการป้องกันตัว กล่าวคือควรเร่งปรับปรุงขีดสมรรถนะภายใน ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ลมากข้นึ เพอ่ื สรา้ งความอยู่รอดให้กบั องค์กร สถานการณ์ท่ี ๔ สภาพแวดล้อมภายนอกมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบในเชิงที่เป็นโอกาสแต่องค์กรมีขีดสมรรถนะ ท่ีเป็นจุดอ่อน องค์กรที่ตกอยู่สถานการณ์น้ีควรจะต้องปรับเปลี่ยนภารกิจ โดยเน้นท่ีการเร่งปรั บปรุง ขีดสมรรถนะภายในอย่างเร่งด่วน พร้อมกับวางแผนที่จะรุกไปข้างหน้า ด้วยการเตรียมขยายงานที่หน่วยงาน มคี วามชานาญการให้ครอบคลมุ ทั่วพน้ื ท่ีให้มากขนึ้ ๓.๒ สรุปสถานภาพปัจจุบันของกระทรวงสาธารณสุข เม่ือพิจารณาถึงการประเมินสถานสภาพ ขององคก์ รตามแตล่ ะสถานการณ์แลว้ พบวา่ หากต้องมกี ารปรับกลยทุ ธ์อาจจาแนกได้ ดงั นี้ ๑) กลยุทธ์เชิงรุก (SO) คือ การป้องกันล่วงหน้าและการเฝ้าระวังภัย โดยจะต้องมีการพัฒนาระบบ การจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขเพื่อรองรับสาธารณภัย และระบบสั่งการ รวมถึง การพัฒนาระบบการเผยแพร่และแลกเปล่ยี นองค์ความรู้ผา่ นระบบสารสนเทศ ๒) กลยุทธ์เชิงรับ (ST) คือ การเตรียมพร้อมเผชิญเหตุ โดยจะต้องมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในการดาเนินการตอบโต้ภัยพิบัติ ได้แก่ ทีมกู้ชีพ DMAT MERT Mini-MERT DMERT SRRT MSERT MCATT และหน่วยปฏิบัติการเคลื่อนที่เฉพาะกิจต่างๆ รวมถึงการพัฒนาระบบ สนับสนนุ (Logistics) ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และสร้างความตระหนกั ในการปฏบิ ตั ติ นทีเ่ หมาะสมแกป่ ระชาชน ๓) กลยุทธ์เชิงพัฒนา (WO) คือ การฟื้นฟูสถานบริการสาธารณสุขและสภาวะสุขภาพของประชาชน โดยการจัดตั้งหนว่ ยงานเพ่ือใหม้ กี ารประสานการดาเนนิ งาน มีระดับการบงั คบั บญั ชาท่สี ะดวกขน้ึ ๔) กลยุทธ์พลิกแพลง (WT) คือ การป้องกันล่วงหน้าและการเฝ้าระวังภัยพิบัติ โดยมีการพัฒนา การจัดทาแผนเผชิญภัยพิบัติท้ังของส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมถึงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการตอบโตต้ ่อภาวะภัยพิบตั ิต่างๆ เพื่อลดผลกระทบตอ่ ระบบการแพทย์และการสาธารณสุข

แผนปฏิบตั กิ ารด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 22 ส่วนที่ 2 แผนปฏบิ ัติการด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565

แผนปฏบิ ตั ิการด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 23 แผนปฏิบัติการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทย์และการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – 2565 ๑.วิสยั ทัศน์ ประชาชนในพื้นที่ประสบภัย ได้รับบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัย และมีความมัน่ ใจในระบบบรกิ ารสาธารณสขุ ทุกระยะของการเกดิ ภัย อย่างทนั ท่วงทใี นทกุ สถานการณ์ที่เกิดข้นึ ๒. เปา้ หมาย เพื่อพัฒนาระบบบูรณาการ และการปฏิบตั ิการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทย์ และการสาธารณสุขต้ังแต่ระดับชุมชน ท้องถิ่น และระดับประเทศ ให้เป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ ด้วยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีเครือข่ายท้ังในและต่างประเทศ สามารถลดความสูญเสีย ของประชาชนในพ้ืนที่ประสบภัยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 3.ตวั ช้วี ัด 1. ร้อยละของการจัดทาและดาเนินการตามแผนการเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ทกุ ระดบั สาหรับทุกประเภทภัย 2. อตั ราการบาดเจบ็ และเสยี ชีวติ ของประชาชนในพน้ื ที่ประสบภยั 3. ระดบั ความสาเรจ็ ของการปฏบิ ัตกิ ารฟ้ืนฟดู า้ นการแพทย์และสาธารณสุขหลงั เหตุการณส์ ารณภัย 4. จานวนกลไกและระดับการบูรณาการของภาคสว่ นต่างๆในการดาเนินงาน 4. พนั ธกิจ ๑. ทุกภาคส่วนด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ได้มีการเตรียมความพร้อมในการป้องกัน และลดผลกระทบ การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการจัดการหลังเกิดภัยให้พร้อมเผชิญกับสาธารณภัย ภัยดา้ นความม่ันคง และสถานการณ์ฉุกเฉนิ ๒. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานทุกภาคส่วน ในการประสานงานและสนับสนุน แผนเตรียมพร้อมด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขแห่งชาติ ๓. สร้างระบบบริหารจัดการในการเตรียมความพรอ้ มด้านการแพทย์และการสาธารณสุขที่มีเอกภาพ ประสทิ ธภิ าพ และทนั ท่วงทีในทุกสถานการณท์ ่ีเกิดข้ึน

แผนปฏบิ ัติการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 24 ๔. ให้หน่วยงานและสถานบริการสาธารณสุขมีระบบการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย โดยมีการบูรณาการร่วมกันในระดับจังหวัด เขตบริการสุขภาพและส่วนกลาง เพ่ือให้พร้อมรับสถานการณ์ ฉกุ เฉนิ ได้อยา่ งรวดเร็ว และสามารถฟ้นื ฟสู ภาพหลงั ประสบภยั ได้อยา่ งท่ัวถึงและเปน็ ธรรม ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติการด้านการป้องกันสาธารณภัยในระดับ ท้องถิ่น ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคส่วนต่าง ๆ ให้มีส่วนร่วมในการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ๖. ส่งเสริมให้บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีความตระหนักถึงความปลอดภัย มีการสร้าง วฒั นธรรมความปลอดภยั รวมถึงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร และอาสาสมัครสาธารณสขุ มุง่ เขา้ สู่ การรบั รู้ -ปรับตวั -ฟ้ืนเรว็ ทัว่ - อย่างย่งั ยืน (Resilience)

แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 25 แผนปฏบิ ตั ิการด้านการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – 2565 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 สง่ เสริมการลดความเสยี่ ง บูรณาการระบบและให้บริการทางการ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการฟนื้ ฟู พัฒนาศกั ยภาพและกลไกการบรหิ ารจดั การ ตอ่ สาธารณภัยทางการแพทย์ แพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข เชิงบูรณาการทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ และการสาธารณสขุ ทม่ี ีมาตรฐาน และสาธารณภัยอยา่ งครอบคลุมและมี หลงั เกิดสาธารณภยั ระหว่างประเทศในภาวะฉกุ เฉนิ ประสทิ ธภิ าพ และสาธารณภยั ด้วยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เปา้ ประสงค์ เป้าประสงค์ เพือ่ พฒั นาขดี ความสามารถในการ เพ่อื พัฒนาระบบปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการแพทย์ เพ่ื อให้ ผู้ป ระสบ ภั ยได้รับ ก ารฟื้ น ฟู เพ่ือพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและ และสาธารณสุขให้สามารถจัดการภาวะ ทางการแพทย์และการสาธารณสุขอย่าง นวตั กรรมการบริหารจัดการและบรู ณาการ บรหิ ารความเสี่ยง มาตรการและ ฉุ ก เฉิ น แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ภั ย ได้ ทุ ก มิ ติ เท่าเทียม ทั่วถึง ทันเวลา มีคุณภาพ ทุกภาคส่วน ในการให้ความช่วยเหลือใน แนวทางปฏบิ ตั ิ ในการป้องกนั การลด ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง มาตรฐานและความปลอดภยั อย่างย่งั ยืน ภ าวะฉุก เฉิน ท างก ารแ พ ท ย์แ ละการ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากภาวะฉกุ เฉินและ เปน็ เอกภาพ และมีประสิทธิภาพ ลดอตั รา สาธารณสุข ระดับประเทศและระหว่าง การเสียชีวิตและภาวะทุพพลภาพที่เกิด กลยทุ ธ์ ประเทศให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน สาธารณภยั การเตรียมความพร้อม จากภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยได้อย่าง ๓.๑ พฒั นากลไกดา้ นการแพทยแ์ ละการ รองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางการแพทยแ์ ละ มีประสิทธผิ ล สาธารณสขุ ภายหลงั เหตกุ ารณ์สาธารณภัย กลยุทธ์ การสาธารณสขุ ทีม่ คี ณุ ภาพและ (Post Disaster Needs Assessment: ๔.๑ พฒั นาขีดความสามารถ เทคโนโลยีและ กลยทุ ธ์ PDNA) ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย นวตั กรรมในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มาตรฐาน ในระดับปฏบิ ตั กิ ารพื้นที่ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข 2.1 พัฒนาสมรรถนะระบบและกลไกการบริหาร 3.2 พัฒนาระบบปฏบิ ตั กิ ารฟน้ื ฟดู ้าน 4.๒ เสริมสร้างทกั ษะและความชานาญของ กลยทุ ธ์ จัดการภาวะฉกุ เฉินทางการแพทย์และการ การแพทยแ์ ละการสาธารณสุขให้สอดคล้องกบั เครอื ข่ายด้านการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉนิ สาธารณสุข (Emergency Operation Center: แนวทางการฟ้ืนฟูหลงั ภัยพบิ ตั ิ (Disaster ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข และ 1.1 จัดต้ังและพัฒนาโครงสร้าง กฎหมาย EOC:3’S) ร่วมกับภาคีเครือข่ายปฏบิ ัติการ Recovery Framework: DRF) ส่งเสริมมาตรฐานความร่วมมือระหวา่ งประเทศ ระเบียบ มาตรการ กลไกการส่ังการประสานงาน (Emergency Support Function: ESFs) ในการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั เชื่อมโยงบูรณาการหน่วยงาน สอดรับกับการ 2.2 พัฒนาระบบสอื่ สารในภาวะฉุกเฉินและเชอ่ื มโยง ๔.๓ พัฒนาระบบสารสนเทศสาหรบั สนบั สนนุ จัดการภาวะฉกุ เฉินทีม่ ีประสิทธิภาพและเป็น ระบบฐานข้อมูล ระบบจดั การขอ้ มูล และการติดตาม ระบบการบริการด้านการแพทยแ์ ละ เอกภาพ ประเมินสถานการณ์ท่ีรวดเร็ว เป็นปัจจบุ ัน ถูกตอ้ ง สาธารณสขุ ฉุกเฉนิ ระบบการแพทย์ฉุกเฉินท่ี ๑.๒ สร้างความเขม้ แข็งของสังคมชมุ ชน และ เหมาะสม เชอ่ื ถอื ได้ เพอ่ื ให้มีระบบแจง้ เตือนและเฝ้า บรู ณาการด้านการแพทยฉ์ กุ เฉินนอก เครือข่ายความร่วมมือทกุ ภาคสว่ นทงั้ ในประเทศ ระวัง ท่ีสนับสนนุ การการตัดสนิ ใจ จัดการ โรงพยาบาล ระบบการรบั -ส่งระหวา่ ง และระหว่างประเทศ ในการเตรียมความพร้อม สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โรงพยาบาล การบริการในหอ้ งฉกุ เฉนิ การส่ง รวมถึงสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทยแ์ ละ 2.๓ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการทรัพยากร ในการ ต่อผปู้ ว่ ยและการจดั การสาธารณภยั ด้าน สาธารณสขุ ในภาวะฉุกเฉินและสาธารณภยั จัดการภาวะฉุกเฉินและสาธารณภยั ระบบบริการทาง การแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ (National 1.๓ จัดทาระบบบริหารความต่อเนื่อง การแพทยท์ ี่มมี าตรฐาน Emergency Care Information System) ของภารกิจ (Business Continuity ๒.๔ การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ๔.๔ พัฒนาศักยภาพด้านการสอ่ื สารความเส่ียง Management System : BCMS) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข และการประชาสัมพนั ธท์ ีไ่ ด้มาตรฐานสากล ทสี่ ามารถสนับสนุนบุคลากรและทรัพยากรอ่ืน และทมี ปฏิบัติการเฉพาะกิจใหม้ ีมาตรฐาน เพือ่ แก่การจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ รองรับการปฏบิ ัติการด้านการแพทยแ์ ละ การสาธารณสุขอยา่ งย่ังยืน สาธารณสุขในภาวะฉุกเฉินและภาวะปกติ 1.4 ยกระดับหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉนิ และการ ปฏบิ ัติการทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขท่มี ี มาตรฐาน 1.5 พัฒนาขีดความสามารถระบบเฝ้าระวัง ระบบการวิเคราะห์ความเสีย่ ง ระบบการแจ้งเตอื นภัย และกลไกการจัดการ ภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข ตามมาตรฐานที่กาหนด

แผนปฏิบตั ิการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 26 ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ สง่ เสรมิ การลดความเสี่ยงต่อสาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสุข ที่มีมาตรฐาน เปา้ ประสงค์ เพอื่ พัฒนาขีดความสามารถในการบรหิ ารความเส่ยี ง มาตรการและแนวทางปฏบิ ตั ิ ในการปอ้ งกัน การลดผลกระทบที่เกิดจากภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ ทีม่ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน กลยุทธ์ ๑. จัดตั้งและพัฒนาโครงสร้าง กฎหมาย ระเบียบ มาตรการ กลไกการสั่งการประสานงาน เช่ือมโยงบรู ณาการหน่วยงาน สอดรบั กับการจัดการภาวะฉุกเฉินท่ีมีประสิทธภิ าพและเปน็ เอกภาพ มาตรการ กาหนดและปรับปรุงโครงสร้างเชิงสถาบัน กฎหมาย ระเบียบและมาตรการในการจัดการภาวะ ฉุกเฉินแบบบูรณาการ เพือ่ ลดโอกาสท่ีจะเกดิ ผลกระทบตอ่ บุคคล ชมุ ชนหรือสงั คม ตัวชี้วดั - หน่วยงานทางการแพทย์และการสาธารณสุขด้านการจัดการความเสี่ยงมีรปู แบบโครงสร้าง บทบาทอานาจหน้าท่ีและการประสานงานที่เก่ียวข้องกัน (มีเอกสารอธิบายรายละเอียดรูปแบบโครงสร้าง บทบาทอานาจหนา้ ทฯี่ ) - ความสาเร็จของการปรับปรุงสถานะและกฎระเบียบในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการ แพทย์และสาธารณสุข - หนว่ ยงานสาธารณสขุ ท่มี ีแผนปฏิบัติการทกุ ประเภทภยั ในทุกระดับ - ความสาเร็จของการจัดตั้งโครงสร้างและกลไกการประสานงานด้านการแพทย์ และการสาธารณสุขในภาวะโรค/ภัยสุขภาพระดับประเทศและระหว่างประเทศในการจัดการความเสี่ยง ด้านสาธารณสุขจากสาธารณภัย - ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนินการจดั ทาแผนยุทธศาสตรก์ ารจัดการภาวะฉุกเฉินทางการ แพทยแ์ ละการสาธารณสขุ - ระดับความสาเร็จการกาหนดมาตรฐานอาคารสถานที่ห้องฉุกเฉิน - รอ้ ยละ 80 ของกฎหมายทค่ี วรปรบั ปรงุ ได้รบั การแกไ้ ขและมกี ารบังคับใช้ กลยุทธ์ ๒ สร้างความเข้มแข็งของสังคมชุมชน และเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและระหว่าง ประเทศในการเตรียมความพร้อม รวมถึงสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทย์และสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย มาตรการที่ 2.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ด้วยการสร้าง องคค์ วามรูเ้ พอื่ บรรเทาผลกระทบเมอื่ เกดิ ภาวะฉุกเฉนิ และสาธารณภัย

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 27 ตัวช้วี ัด - ร้อยละของประชาชนและภาคประชาสังคมที่มีความรู้ด้านการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ - รอ้ ยละของอัตราการเสียชีวิตจากอบุ ตั เิ หตุทางถนนลดลง - ร้อ ยล ะข องก ลุ่ ม เค รือ ข่ายค ว าม ร่วม มื อ ด้ าน การจั ด ก ารค วาม เสี่ ยงภั ย พิ บั ติ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข มาตรการท่ี 2.2 บูรณาการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งสว่ นกลางและสว่ นพื้นท่ี โดยเช่อื มโยงกับ กลไกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับ ประเทศและกลไกท่ีมีอยู่ในพ้ืนที่ซึ่งเป็นเครือข่าย ทด่ี าเนนิ งานด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ในชมุ ชน ตวั ชวี้ ัด ระดับความสาเรจ็ ของการบูรณาการกลไกการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทุกระดบั มาตรการที่ 2.3 พัฒนาการบรหิ ารจดั การด้านบคุ ลากรในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ตัวช้ีวัด ระดับความสาเร็จของการบริหารจัดการบุคลากรในภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสขุ มาตรการท่ี 2.4 เสริมสร้างองค์ความรู้เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสขุ ผา่ นการพฒั นาส่ือเพ่ือสง่ เสรมิ และเผยแพร่องค์ความรใู้ ห้กับประชาชน นักเรียน นักศึกษา ตวั ช้ีวดั รอ้ ยละของส่อื ความรู้เพือ่ สง่ เสริมและเผยแพร่องค์ความร้ใู ห้กบั ประชาชน นกั เรียน นกั ศึกษา กลยุทธ์ ๓ จัดทาระบบบริหารความต่อเนอ่ื งของภารกจิ (Business Continuity Management System : BCMS) ที่สามารถสนับสนุนบุคลากรและทรัพยากรอื่นแก่การจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการ สาธารณสุขอยา่ งยั่งยืน มาตรการ บริหารความต่อเน่ืองของภารกิจเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานของบุคลากรและรองรับ การจดั สรรทรัพยากรเพื่อลดความเสีย่ งขณะเกดิ และหลงั เกิดภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย ตัวชีว้ ดั - หน่วยงานท่มี ีแผนความตอ่ เนือ่ งของภารกิจ (BCP) ทุกระดับ - หน่วยงานมีระบบบรหิ ารความต่อเนอ่ื งของภารกิจ กลยุทธ์ ๔ ยกระดับหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินและการปฏิบัติการทางการแพทย์และการสาธารณสุขท่ีมี มาตรฐาน มาตรการ กาหนดมาตรฐานสาหรับ หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน และการปฏิบัติการทางการแพทย์ และการสาธารณสุขทง้ั ในภาวะปกตแิ ละภาวะฉุกเฉิน ตวั ชีว้ ดั - ความสาเร็จของการปรับปรงุ ระบบปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข - ระดับความสาเรจ็ ของการพฒั นาระบบความปลอดภัยทางถนน

แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 28 - ร้อยละของหน่วยปฏิบัตกิ ารฉุกเฉนิ ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุขมมี าตรฐาน - ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) - ร้อ ย ล ะ ข อ งศู น ย์ ส่ั งก ารแ ล ะอ าน วย ก ารรับ แ จ้ งเห ตุ ฉุ ก เฉิ น ด้ าน ก ารแ พ ท ย์ และสาธารณสุขมีมาตรฐาน - ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) ทีส่ ามารถปฏิบัตงิ านไดจ้ ริง กลยุทธ์ ๕ พัฒนาขีดความสามารถระบบเฝ้าระวัง ระบบการวิเคราะห์ความเส่ียงระบบการแจ้งเตือนภัย และกลไกการจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทย์และการสาธารณสุขตามมาตรฐานที่กาหนด มาตรการ พัฒนามาตรฐานระบบเฝ้าระวัง ระบบการแจ้งเตือนภัย และกลไกการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการ แพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ในสถานการณฉ์ ุกเฉินตลอดจนเขา้ สู่สถานการณ์ปกติ ตัวชี้วัด - ระดับความสาเร็จของจังหวัดในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทมี ตระหนกั รู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัตงิ านไดจ้ รงิ - ระดับความสาเร็จของการดาเนนิ งานทีมตระหนกั รู้สถานการณ์ (SAT) - ความสาเร็จของหน่วยงานสาธารณ สุขได้รับการพัฒ นาระบบเฝ้าระวัง ติดตาม การพยากรณ์ แจ้งเตอื นโรคและภยั สุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ บูรณาการระบบและให้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภยั อย่างครอบคลุมและมปี ระสิทธิภาพ เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้สามารถจัดการภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัยได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง เป็นเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ ลดอัตรา การเสียชวี ติ และภาวะทุพพลภาพท่เี กิดจากภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยได้อยา่ งมีประสทิ ธผิ ล กลยุทธ์ ๑ พัฒนาสมรรถนะระบบและกลไกการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการ ส าธารณ สุ ข (Emergency Operation Center: EOC:3’S) ร่วม กั บ ภ าคี เค รือ ข่ าย ป ฏิ บั ติ ก าร (Emergency Support Function: ESFs) มาตรการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขร่วมกับ ภาคเี ครอื ขา่ ยปฏบิ ตั ิการใหเ้ ปน็ มาตรฐานเด่ียวกัน ตัวชี้วัด - ร้อยละของ EOCs ท่ีได้มาตรฐานในหนว่ ยงานระดบั กระทรวง เขต และจังหวดั

แผนปฏิบัตกิ ารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 29 - ความสาเร็จของการสรา้ งระบบ ESF8 - ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสขุ เพอ่ื การบรหิ ารจัดการเมือ่ เกิดภาวะฉุกเฉนิ ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กลยุทธ์ ๒ พัฒนาระบบส่ือสารในภาวะฉุกเฉินและเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล ระบบจัดการข้อมูล และการ ติดตามประเมินสถานการณ์ท่ีรวดเร็ว เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง เหมาะสม เชื่อถือได้ เพื่อให้มีระบบแจ้งเตือน และเฝ้าระวัง ที่สนับสนุนการการตัดสินใจ จัดการสถานการณ์ ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการ พัฒ นาระบบฐานข้อมูลและระบบจัดการข้อมูลและการติดตามประเมินสถานการณ์ ให้มีความเชือ่ มโยงและมปี ระสิทธิภาพ ตัวชี้วัด - ความสาเร็จของระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อ ช่วยในการตัดสินใจบริหารจัดการโรคและภัยสขุ ภาพ - ร้อยละของหน่วยงานทางการแพทย์และสาธารณสุขมีระบบจัดการข้อมูลและการติดตาม ประเมนิ สถานการณ์ท่ีมีประสิทธิภาพ กลยทุ ธ์ ๓ พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรในการจัดการภาวะฉุกเฉนิ และสาธารณภัย มาตรการ พัฒนาระบบบริหารจดั การทรพั ยากร ในการจัดการภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย ระบบบริการทางการแพทย์ ท่ีมีมาตรฐาน ตัวชีว้ ดั - รอ้ ยละของจังหวัดมที ีมปฏิบตั ิการในการตอบสนองตอ่ ภยั พบิ ัติตามมาตรฐานท่ีกาหนด - ร้อยละของโรงพยาบาลในพืน้ ท่ีท่ีสามารถปฏิบตั ิการเผชญิ เหตไุ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ - ค วามส าเร็จขอ งการส ร้างระบ บ คลั งท รัพ ยากรส ารองฉุกเฉิน แล ะโล จิส ติ ก ทางการแพทย์และการสาธารณสุข - ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขมีระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนการพัฒนา คุณภาพระบบการแพทย์ฉกุ เฉินแบบบรู ณาการ - ความสาเร็จของระบบสารสนเทศในหน่วยงานด้านการแพทยฉ์ ุกเฉินนอกโรงพยาบาล การ บรกิ ารในห้องฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ปว่ ยและการจัดการสาธารณภยั ดา้ นการแพทย์และการสาธารณสุข กลยทุ ธ์ ๔ พฒั นาขดี ความสามารถของบคุ ลากรด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ และทีมปฏบิ ัติการเฉพาะกิจ ให้มมี าตรฐาน เพือ่ รองรบั การปฏิบัตกิ ารด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุขในภาวะปกติและภาวะฉกุ เฉนิ มาตรการ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขและทีมปฏิบัติการเฉพาะกิจ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน ตัวช้ีวดั - ความสาเร็จของระบบการบริการดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน

แผนปฏบิ ัติการด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 30 - ความสาเร็จของระบบการรบั -สง่ ระหวา่ งโรงพยาบาล - ความสาเรจ็ ของการจัดทามาตรฐานศนู ยอ์ านวยการ หรอื ศนู ยส์ ่งั การ หรือศูนยป์ ระสานงาน - รอ้ ยละของศนู ย์อานวยการ หรอื ศนู ยส์ ั่งการ หรอื ศนู ย์ประสานงานมมี าตรฐานการดาเนินงาน - ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ภายใต้โครงการการจัดทาแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan : IAP) เพ่ือรองรับการตอบโต้ ตอ่ ภาวะฉกุ เฉิน - รอ้ ยละ 100 ของสถานพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานทีก่ ฎหมายกาหนด ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ เพิ่มประสิทธภิ าพการฟน้ื ฟูด้านการแพทย์และสาธารณสุขหลังเกดิ สาธารณภัย เป้าประสงค์ เพ่ือให้ผู้ประสบภัยได้รับการฟ้ืนฟูทางการแพทย์และการสาธารณสุข อย่างเท่าเทียม ท่ัวถึง ทนั เวลา มีคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภยั อย่างยั่งยืน กลยุทธ์ ๑ พัฒนากลไกด้านการแพทย์และสาธารณสุขภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) รว่ มกับหน่วยงานภาคีเครือขา่ ยในระดบั ปฏิบตั ิการพืน้ ที่ มาตรการ พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลการดาเนินงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขภายหลัง เหตกุ ารณส์ าธารณภัยร่วมกับหนว่ ยงานภาคเี ครอื ข่ายในระดับจังหวัด ตัวชี้วัด - ร้อยละของทีม Public Health - DANA (Damage and Need Assessment) มีระบบประเมนิ ความตอ้ งการทางการแพทย์และการสาธารณสขุ ในทุกระดบั - ความสาเร็จของระบบ PDNA (สร้างทีม ให้ความรู้ ออกแบบข้ันตอน ฝึก ซ้อม และสนธิกาลงั กับ DANA Team ในพ้ืนทีเ่ ตม็ รูปแบบ) - ร้อ ย ล ะข อ งที ม แ พ ท ย์ EM T มี ระบ บ ป ระเมิ น ค วาม ต้ อ งก าร ท างก ารแพ ท ย์ และการสาธารณสขุ ในทุกระดับ - ความสาเรจ็ ของระบบ EMT (สรา้ งทมี ให้ความรู้ ออกแบบขน้ั ตอน ฝกึ ซอ้ ม ในพ้ืนท่ีเตม็ รปู แบบ) กลยุทธ์ 2 พัฒนาระบบปฏิบัติการฟ้ืนฟูด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้สอดคล้องกับแนวทาง การฟน้ื ฟหู ลังภัยพบิ ตั ิ (Disaster Recovery Framework: DRF) มาตรการ 2.1 พฒั นาระบบปฏิบัตกิ ารฟื้นฟูดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ หลงั เหตกุ ารณ์สาธารณภยั ตัวช้ีวัด - ร้อยละของโรงพยาบาลที่ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติสามารถเปิดให้บริการ ได้ตามปกตภิ ายในระยะเวลาท่กี าหนด - ความสาเร็จของการปฏิบัติการฟื้นฟูระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ท่หี ยุดชะงักท่มี สี าเหตุมาจากภยั พบิ ัติ

แผนปฏิบตั ิการดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 31 มาตรการท่ี 2.3 พัฒ นาประสิทธิภ าพการฟ้ืนฟูสภาวะป่วยทางจิตใจ เมื่อเผชิญ กับเหตุการณ์ ทีก่ ระทบกระเทือนจิตใจอย่างรา้ ยแรง (Post-Traumatic Stress Disorder : PTSD) ตัวช้วี ัด - ร้อยละของประชาการทไ่ี ด้รบั การฟ้ืนฟสู ภาวะป่วยทางจติ ภายหลงั เหตุการณภ์ ยั พิบัติ - ความสาเร็จของการปฏบิ ัติการฟน้ื ฟสู ภาวะปว่ ยทางจติ ภายหลังเหตกุ ารณ์ภัยพิบตั ิ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๔ พัฒนาศักยภาพและกลไกการบริหารจัดการเชิงบูรณาการทางการแพทย์และ การสาธารณสุขระหว่างประเทศในภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการบริหารจัดการและบูรณาการทุกภาคส่วน ในการให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์และการสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย ระดับประเทศ และระหวา่ งประเทศให้มีคุณภาพและมาตรฐาน กลยุทธ์ ๑ พัฒนาขีดความสามารถ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทย์และการสาธารณสุข มาตรการ เสริมสร้างขีดความสามารถ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทาง การแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ให้มมี าตรฐาน ตัวช้ีวดั - ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนาประสทิ ธิภาพระบบ WEB EOC (Emergency Operation Center) เพอ่ื รองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข - สถาน ป ระกอบ การเพื่ อสุขภ าพ ได้รับ การส่งเสริมพั ฒ น าให้ ได้มาตรฐาน ตาม ทก่ี ฎหมายกาหนด กลยุทธ์ 2 เสริมสร้างทักษะและความชานาญของเครือข่ายด้านการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ และการสาธารณสุข และส่งเสริมมาตรฐานความร่วมมือระหว่างประเทศในการบริหารจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัย มาตรการท่ี 2.1พฒั นาทกั ษะทีมปฏิบตั ิงานบริหารจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข และ ความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศในการบริหารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ตัวชว้ี ัด - รอ้ ยละของทีมเครือข่ายฉุกเฉนิ ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขผ่านมาตรฐาน WHO - ความสาเร็จของระบบการประสานงานเครือข่ายระหว่างประเทศของหน่วยงาน ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข มาตรการท่ี 2.2 พฒั นากลไกความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการให้ความช่วยเหลอื พื้นทีป่ ระสบภัยอย่างมปี ระสิทธิภาพ เป็นเอกภาพ

แผนปฏบิ ัติการด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 32 ตวั ชว้ี ัด ความสาเร็จของการประสานงานของหนว่ ยงานให้ความช่วยเหลือประชาชนในพน้ื ท่ีประสบภัย กลยุทธ์ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนระบบการบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขในภาวะ ฉุกเฉินและสาธารณภัย ระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่บูรณาการด้านการแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล ระบบ การรับ-ส่งระหว่างโรงพยาบาล การบริการในห้องฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ป่วยและการจัดการสาธารณภัย ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข (National Emergency Care Information System) มาตรการ พัฒนาโครงสร้างระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนระบบการบริการด้านการแพทย์ และสาธารณสุขในการจดั การสาธารณภัย ตัวช้ีวัด - ระดับความสาเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิต และพัฒนากาลังคน ผ่านเกณฑ์ระดบั 4 ทงั้ 5 องคป์ ระกอบ - ร้อยละของบุคลากรทีไ่ ด้รบั การพฒั นาตามเกณฑ์ทีก่ าหนด - ผู้รับบริการสุขภาพจากหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ สังกัดสานักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสุข เขา้ ถงึ ขอ้ มูลสขุ ภาพตนเองได้ - ความสาเร็จของ Infrastructure ท่ี เชื่อมต่อ Service platform ระหว่างหน่ วยงาน การวิจยั และพฒั นา Health information data analytics - ความสาเร็จของการวิจยั และพัฒนา Health information data analytics - หน่วยบริการ Intermediate care (IMC) มีระบบตดิ ตามประเมินผลและเชื่อมโยงแผนการ รักษากบั ระบบบริการสุขภาพทกุ ระดบั ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 30 - ระดับความสาเรจ็ ในการพัฒนาข้อมูลและสารสนเทศ ECS - รอ้ ยละการสง่ ต่อผูป้ ว่ ยนอกเขตสขุ ภาพลดลง กลยุทธ์ ๔ พัฒนาศักยภาพดา้ นการสื่อสารความเส่ียงและการประชาสมั พันธ์ที่ไดม้ าตรฐานสากล มาตรการ พัฒนาโครงสร้างและกลไกการส่ือสารความเส่ียงและการประชาสัมพันธ์ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล ตัวชีว้ ัด - ความสาเร็จของเครือขา่ ยการสื่อสารความเสีย่ งและประชาสมั พนั ธ์ระดบั จังหวัด ในสานกั งานสาธารณสุขทุกจังหวัด - รอ้ ยละของทีมการส่ือสารความเส่ียงและประชาสัมพันธผ์ ่านเกณฑ์การประเมนิ ผลสมรรถนะ หลกั ในการปฏบิ ัติตามกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ (JEEIHR 2005) ของ WHO

แผนปฏบิ ัติการดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธ โครงสรา้ งศนู ย์ปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉิน ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน (Emergency Op ผู้บญั ชาการเหตุการณ์ ศนู ย์ปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ดา้ น ขอ้ มูลและยุทธศาสตร์ (Public Health Emergency Operat ผปู้ ฏบิ ัติ ผ้บู ญั ชากา (Incident Co กลุ่มภารกจิ ตระหนกั รูส้ ถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) กลมุ่ ภารกิจประสานงานและเลขานุการ (Liaison) กลมุ่ ภารกิจด้านกฎหมาย (Law Support and Enforcement) กลุ่มภารกิจดา้ นการปฏบิ ัติการ กลุม่ ภารกจิ ดา่ นระหวา่ งประเทศ กล (Operation) (Point of Entry: POE)

ธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 33 นด้านการแพทย์และสาธารณสขุ peration Center : EOC) ระดับประเทศ การแพทย์และสาธารณสขุ tion Center; PHEOC) ระดับกระทรวง ารเหตุการณ์ ommander: IC) กลมุ่ ภารกจิ ยุทธศาสตรแ์ ละวชิ าการ (Strategic and Technical Advisory Group: STAG) กล่มุ ภารกจิ สือ่ สารความเส่ียง (Public Information Officer: PIO/ Risk communication: RC) ลมุ่ ภารกจิ สารองเวชภณั ฑแ์ ละสง่ กาลังบารงุ กล่มุ ภารกจิ การเงนิ และงบประมาณ (Logistics and Stockpiling) (Finance and Administration)

แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธ โครงสร้างศูนยป์ ฏิบัติการฉุกเฉนิ ด้านการแพทยแ์ ละ INCIDENT COMM สาธารณสขุ ระดบั กระทรวง เขตสุขภาพ และจงั หวัด SAT Inter-agency Coordination Intra-agency Coordination LIAISON LAW SUPPORT & ENFORCEMEN T OPERATION POE EMTCC DISEASE CONTROL TEAM SERVICE ENVIRONMENTAL TEAM COMMUNICATIO OPERATION STA MENTAL HEALTH TEAM TUS TRACKING MEDICAL EMERGENCY TEAM VICE UNIT MEDICAL SERVIC UNIT FOOD SERVICE STAGING MANG LABORATORY MENT UNIT MSE RECEIVING & DE LIVER UNIT (RDC) SAT: Situation Awareness Team STAG: Strategic and Technical Advisory Group POE: Point O PIO: Public Information Officer RC: Risk Communication EMTCC: Emer Coordination

ธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 34 MANDER STAG HR DOCUMENTATION MEDICAL SPECIALIST PIO/RC SAFETY LOGISTICS & STOCKPILLING FINANCIAL & ADMINISTRATION E BRANCH SUPPORT BRANCH COST UNIT ON SER TRANSPORTATION T SUPPLIES PROCUREMENT UNIT CE UNIT FACILITIES TIME & ADMINISTRATOR E UNIT UNIT Y UNIT COMPENSATION UNIT ERT Not Applicable ระดบั จงั หวัด Coordinating partner Of Entry MSERT: Medical Service Emergency Response Team rgency Medical Team (อยใู่ นระดบั เขตสุขภาพ) Cell

แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธ โครงสร้างศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ระดบั อาเภอ INCIDENT CO Inter-agency Coordination SAT Intra-agency Coordination LIAISON LAW SUPPORT & ENFORCEMENT OPERATION POE EMTCC DISEASE CONTROL TEAM SER ENVIRONMENTAL TEAM COMMUNICA OPERATION STATUS MENTAL HEALTH TEAM TRACKING UNIT MEDICAL EMERGENCY TEAM U STAGING MANGMENT IN HOSPITAL/CASE MANAGEMENT MEDICAL S UNIT FOOD SE RECEIVING & DELIVER LABORAT UNIT : RDC OUT HOSPITAL PRE-HOSPITAL - ALS/BLS/FR PATIENT REGISTRATION FIELD MANAGEMENT - DMAT/ CASUALTY CARE HAZMAT/miniMERT/MCATT/ แดง เขยี ว เหลือง ดา FORE FORENSIC MEDICINE OUT PATIENT IN PATIENT FIELD-HOSPITAL – MERT/EMT OR ICU WARD ADVANCE MEDICAL TRANSPORT RC: Risk Communication POE: Point Of En SAT: Situation Awareness Team PIO: Public Information Officer STAG: Strategic and Technical Advisory Group EMTCC: Emergenc Cell

ธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 35 OMMANDER HR STAG SAFETY PIO/RC DOCUMENTATION MEDICAL SPECIALIST LOGISTICS & STOCKPILLING FINANCIAL & ADMINISTRATION RVICE BRANCH SUPPORT BRANCH COST UNIT ATION SERVICE TRANSPORTATIO UNIT PROCUREMENT UNI SERVICE UNIT SUPPLIES T ERVICE UNIT FACILITIES TIME & ADMINISTRATOR ATORY UNIT UNIT MSERT COMPENSATION UNI T ENSIC MEDICINE ntry Not Applicable cy Medical Team Coordination Coordinating partner Coordinating partner MSERT: Medical Service Emergency Response Team (อยู่ในระดับเขตสขุ ภาพ)

แผนปฏิบัตกิ ารด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธ การขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธาร ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารความเสี่ยง มาตรการแล แนวทางปฏิบตั ิ ในการป้องกัน การลดผลกระทบทีเ่ กดิ จากภาวะฉกุ เฉนิ แล ส่งเสรมิ การลดความเสี่ยงต่อสาธารณภัย สาธารณภัย การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์แล ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ ที่มี การสาธารณสุขทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน มาตรฐาน ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้สามาร จัดการภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระด บู รณ าก ารระบ บ แ ละให้ บ ริก าร ความรุนแรง เป็นเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ ลดอัตราการเสียชีวิตแล ทางการแพทย์และการสาธารณสุขใน ภ า ว ะ ทุ พ พ ล ภ า พ ที่ เกิ ด จ า ก ภ า ว ะ ฉุ ก เฉิ น แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ภั ย ได้ อ ย่ า ง ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยอย่าง ประสทิ ธผิ ล ครอบคลมุ และมีประสทิ ธิภาพ

ธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 36 รณภยั ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 กลยุทธ์ กลยทุ ธร์ ว่ ม ละ 1.1 จัดตั้งและพัฒนาโครงสร้าง กฎหมาย ระเบียบ มาตรการ กลไกการสั่งการ ละ ประสานงาน เชื่อมโยงบูรณาการหน่วยงาน สอดรับกับการจัดการภาวะฉุกเฉินท่ีมี ละ ประสทิ ธิภาพและเป็นเอกภาพ ๑.๒ สรา้ งความเข้มแขง็ ของสังคมชุมชน และเครือข่ายความรว่ มมือทุกภาคส่วนท้ัง 1 .ส ร้า งก ร ะ บ ว น ก า รบู รณ า ก า ร ในประเทศและระหว่างประเทศ ในการเตรียมความพร้อม รวมถึงสร้างองค์ความรู้ แนวปฏิบัติ ด้วยการพัฒนาศักยภาพและ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุขในภาวะฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และ หน่วยงานทุกภาคส่วน 1.๓ จัดทาระบบบริหารความต่อเน่ืองของภารกิจ (Business Continuity Management System : BCMS) ที่สามารถสนับสนุนบุคลากรและทรพั ยากรอนื่ แก่ การจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์และการสาธารณสขุ อยา่ งย่ังยนื 1.4 ยกระดับหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินและการปฏิบัติการทางการแพทย์และการ สาธารณสุขทม่ี ีมาตรฐาน 1.5 พัฒนาขดี ความสามารถระบบเฝา้ ระวัง ระบบการวเิ คราะห์ความเสี่ยงระบบการ แจ้งเตือนภัย และกลไกการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุข ตามมาตรฐานท่กี าหนด รถ 2.1 พัฒนาสมรรถนะระบบและกลไกการบรหิ ารจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ทางการ ดับ แพทย์และการสาธารณสุข (Emergency Operation Center: EOC:3’S) 2. สร้างระบบ กลไก การบรหิ ารจัดการ ท่ีมมี าตรฐานตง้ั แต่ก่อนเกิดภยั ขณะเกิด ละ ร่วมกบั ภาคีเครอื ขา่ ยปฏิบัติการ (Emergency Support Function: ESFs) ภยั และหลงั เกดิ ภัย อย่างย่งั ยืนในระดับ งมี 2.2 พัฒนาระบบสื่อสารในภาวะฉกุ เฉินและเช่ือมโยงระบบฐานขอ้ มลู ระบบ จังหวดั เขตสขุ ภาพ และประเทศ จัดการข้อมูล และการติดตามประเมินสถานการณ์ที่รวดเร็ว เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง เหมาะสม เช่ือถือได้ เพื่อให้มีระบบแจ้งเตือนและเฝ้าระวัง ท่ี สนับสนนุ การการตดั สนิ ใจ จัดการสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 2.๓ พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากร ในการจัดการภาวะฉุกเฉินและ สาธารณภัย ระบบบริการทางการแพทยท์ ม่ี ีมาตรฐาน

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธ ประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 เพ่ือให้ผู้ประสบภัยได้รับการฟ้ืนฟูทางการแพทย์และการสาธารณสุขอย่างเท เทยี ม ท่ัวถึง ทันเวลา มีคณุ ภาพมาตรฐานและความปลอดภัยอยา่ งยั่งยืน เพิ่ มป ระสิทธิภ าพ การฟ้ืนฟู ด้าน การแพทย์และสาธารณสุขหลังเกิด สาธารณภยั ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการบริหารจัดการแล บูรณาการทุกภาคส่วน ในการให้ความช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินทางก พัฒนาศักยภาพและกลไกการบริหาร แพทย์และการสาธารณสขุ ระดับประเทศและระหว่างประเทศให้มคี ณุ ภา จัดการเชิงบูรณาการทางการแพทย์ และมาตรฐาน และการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ในภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรม

ธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 37 กลยุทธ์ กลยุทธร์ ่วม ๒.๔ การพัฒนาขดี ความสามารถของบุคลากรด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข และทีมปฏิบัติการเฉพาะกิจให้มีมาตรฐาน เพ่ือรองรับการปฏิบัติการด้าน การแพทย์และสาธารณสขุ ในภาวะฉกุ เฉินและภาวะปกติ เท่า ๓.๑ พัฒนากลไกด้านการแพทย์และการสาธารณสุขภายหลังเหตุการณ์ ส า ธ า ร ณ ภั ย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) ร่ ว ม กั บ 3. สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ หน่วยงานภาคเี ครือขา่ ยในระดับปฏบิ ตั ิการพ้ืนที่ บริหารจัดการ ให้การชว่ ยเหลือในภาวะ 3.2 พัฒนาระบบปฏิบัติการฟ้ืนฟูด้านการแพทย์และการสาธารณสุขให้ ฉุ ก เฉิ น ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ ก า ร สอ ดคล้อ งกับ แ น วท างก ารฟื้ น ฟู ห ลังภัย พิ บั ติ (Disaster Recovery สาธารณสขุ Framework: DRF) ละ ๔.๑ พัฒนาขีดความสามารถ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการป้องกันและ การ บรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสขุ าพ 4.๒ เสริมสร้างทักษะและความชานาญของเครอื ข่ายด้านการบริหารจัดการ ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุข และส่งเสริมมาตรฐานความ รว่ มมอื ระหว่างประเทศในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย ๔.๓ พัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนระบบการบริการด้าน การแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินท่ีบูรณาการด้าน การแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล ระบบการรับ-ส่งระหว่างโรงพยาบาล การบริการในห้องฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ป่วยและการจัดการสาธารณภัยด้าน การแพทย์และการสาธารณสุข (National Emergency Care Information System) ๔.๔ พัฒนาศักยภาพด้านการส่ือสารความเส่ียงและการประชาสัมพันธ์ที่ ไดม้ าตรฐานสากล

แผนปฏิบตั ิการดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 38 ส่วนท่ี 3 การตดิ ตามและประเมนิ ผล

แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข พ.ศ. 256๓ – 2565 39 กระบวนการขับเคลือ่ นแผนไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ประเดน็ หลักการขบั เคลอ่ื น นโยบาย ยุทธศาสตร์ สกู่ ารปฏิบตั ิ เสริมสรา้ ง พฒั นาความ จัดประชุมสรา้ งความเข้าใจ ผลการขบั เคล่อื นแผน เข้าใจเกย่ี วกับแนวคิดและ ประชาสัมพันธผ์ ่านสื่อต่างๆ ๑.หนว่ ยงานมีความ สาระสาคัญ เขา้ ใจและขบั เคลอ่ื น แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการ ขบั เคลือ่ นแนวทางการ 1. จดั ทาแผนและการฝึกการจดั การภาวะฉุกเฉินทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ปอ้ งกันและบรรเทา ดาเนินงานเชงิ บูรณาการ 2. กาหนดตวั ชวี้ ดั ด้านแผนการจดั การภาวะฉกุ เฉินทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ในการจัดทาคารบั รอง สาธารณภยั ทางการแพทย์ อย่างมสี ว่ นรว่ มในแต่ละ ปฏิบัติราชการระดบั จังหวัด และการสาธารณสุขเชิง ระดบั ของทกุ ภาคสว่ น 3. กาหนดการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข เปน็ ยุทธศาสตรใ์ น บรู ณาการมากข้นึ แผนพฒั นาจงั หวัด . 2. ทกุ ภาคส่วนด้าน 1. แผนปฏบิ ตั กิ าร 2. แผนปฏบิ ตั กิ าร 3. แผนปฏบิ ัตกิ าร 4. แผนการ การแพทยแ์ ละ การจดั สรรทรพั ยากรเพื่อ ด้านการป้องกนั ด้านการป้องกัน ดา้ นการปอ้ งกนั และ สนบั สนนุ การ สาธารณสขุ มสี ว่ นร่วม ใช้ประโยชนร์ ่วมกนั และ และบรรเทา และบรรเทา บรรเทาสาธารณภัย ปฏบิ ัตงิ านในภาวะ อย่างจรงิ ใจ ปรบั วธิ กี ารทางานของ สาธารณภยั ทาง สาธารณภยั ทาง ทางการแพทย์และ ฉุกเฉนิ ทางการ หนว่ ยงานภาครัฐให้รว่ ม การแพทย์และการ การแพทยแ์ ละการ การสาธารณสขุ ของ แพทย์และการ 3. การเช่ือมโยงแผน ดาเนินการกบั หนว่ ย สาธารณสขุ ระดบั สาธารณสุข ปฏิบัติการดา้ นการ ตา่ งๆ สาธารณสุข อปท.ทอ้ งถ่นิ จังหวดั ปอ้ งกนั และบรรเทา จงั หวดั และอาเภอ สาธารณภยั ทาง การตดิ ตามและ และอาเภอ การแพทย์และการ ประเมนิ ผลการ สาธารณสุขระดบั ต่างๆมี ดาเนินงานการจัดการ หารือกบั หน่วยงานส่วนกลางในการปรับวธิ กี ารจดั สรรงบประมาณดา้ นการจดั การความเสี่ยง มากข้นึ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางการ สาธารณภยั ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ แพทย์และสาธารณสุข 4. แผนปฏบิ ัตกิ าร จดั ประชมุ หารอื สร้างความเข้าใจกบั หนว่ ยงานภาครัฐทเ่ี ก่ียวขอ้ งดา้ นการแพทยแ์ ละ ดา้ นการป้องกนั และ สาธารณสขุ ในการเปิดชอ่ งทางการบรู ณาการกบั แผนงานของหนว่ ยเพ่อื บรรลุเปา้ หมายท่ี บรรเทาสาธารณภยั กาหนดไว้ ทางการแพทย์และการ สาธารณสขุ ทุกระดับมี คณะอนุกรรมการจัดทา -ตดิ ตามความก้าวหน้าการ ปรับวธิ เี ช่ือมโยง การติดตาม การบูรณาการ แผนการจดั การภาวะ ทางาน การบรู ณาการงาน ประเมนิ ผล มากข้ึน ฉกุ เฉนิ ฯ -ติดตามความกา้ วหนา้ งาน ของหน่วยงานระดบั ภาพรวมและ -จดั ทาแผนตดิ ตามและ ภายใตแ้ ผนแตล่ ะระดับ ต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ ง จัดทารายงาน 5. มีตัวชว้ี ดั แผนปฏิบัติ ประเมนิ ผล -ปรบั วธิ ีดาเนนิ การ กัน เสนอ กปภช. การดา้ นการปอ้ งกนั -ช้ีแจงหนว่ ยงานท่ี ขับเคลอื่ นเชิงบูรณาการให้ และบรรเทาสาธารณภัย เก่ยี วขอ้ ง มีประสทิ ธภิ าพ ทางการแพทยแ์ ละการ สาธารณสขุ ในการจัดทา

ประเภทตวั ช้ีวดั แผนปฏิบัตกิ ารด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 40 ยุทธศาสตร์ท่ี กลยุทธท์ ี่ ปีงบประมาณ ๖2 ปีงบประมาณ ๖3 ปีงบประมาณ ๖4 ปีงบประมาณ ๖5 ระดับการวัด ช่อื ตวั ชีว้ ัดเป้าหมาย คานิยาม เกณฑ์เป้าหมาย ปงี บประมาณ ๖1 วตั ถปุ ระสงค์ รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น ประชากรกลุม่ เปา้ หมาย วิธีการจดั เก็บข้อมลู แหล่งขอ้ มูล รายการขอ้ มลู 1 รายการข้อมลู 2 สูตรคานวณควั ชว้ี ัด ระยะเวลาประเมินผล เกณฑ์การประเมนิ : รอบ 3 เดอื น วธิ ีการประเมินผล เอกสารสนบั สนนุ รายละเอียดข้อมลู พื้นฐาน Baseline data หน่วยวดั ผลการดาเนนิ งานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ..... 2558 2559 2560 หนว่ ยงานประมวลผลและ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ จัดทาขอ้ มูล (ระดับส่วนกลาง) หนว่ ยงานประมวลผลและ จดั ทาขอ้ มลู ผรู้ ับผิดชอบการรายงานผล การดาเนินงาน

แผนปฏิบตั กิ ารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 41 ภาคผนวก

แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 ก 42 การสอื่ สารและการขบั เคลอ่ื นนโยบายภายใตแ้ ผนปฏิบตั ิการดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทย์และการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์และการสาธารณสุข แบบบูรณาการ ที่ครบวงจรและมีเอกภาพ พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕๖5 เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงานด้านการสร้างระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการ ท่ีครบวงจรและมีเอกภาพสาหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยจังหวัดต้องจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือรองรับการดาเนินงานให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ รวมท้ังประเมินความสาเร็จ ตามตัวชี้วัด มีการบูรณาการงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรอย่างเหมาะสม โดยมีแนวทางการขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ลงสู่การปฏิบัติ ดงั นี้ ๑. การส่ือสารแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางการแพทย์ และการสาธารณสุขแบบบูรณาการท่ีครบวงจรและมีเอกภาพ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖5 ได้ดาเนินการต่อเนื่อง มาเป็นระยะๆ โดยมีการจัดการประชุมเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานในระดับจังหวัด เม่ือวันท่ี ๓๑ มีนาคม – ๑ เมษายน ๒๕๖๐ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสาระของยุทธศาสตร์ให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในระดับกรม/ สานัก กองในสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และได้จดั ประชุมผู้เกย่ี วข้องอยา่ งตอ่ เน่ือง ๒. การกาหนดบทบาทการจดั เตรยี มบคุ ลากรผู้ปฏิบัตงิ านตามแผนและการกาหนดมอบหมาย ผู้รับผิดชอบของผู้ดาเนินการตามแผน เพ่ือให้เกิดความชัดเจนของผู้ปฏิบัติ สร้างความเข้าใจให้ตรงกัน และผลกั ดันแผนไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม ๓. การจัดทาแผนในระดับต่าง ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกบั แผนยุทธศาสตร์ฯ โดยนาประเด็นวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์มาพิจารณาดาเนินงานให้ตรงกับประเด็นปัญหาและบริบทของแต่ละพ้ืนท่ี เพ่ือให้สามารถดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม และมีการจัดลาดับความสาคัญ ความเร่งด่วนของแผนงาน กจิ กรรมทตี่ อ้ งดาเนินการ ๔. การจัดเตรียมงบประมาณ ควรมีการกาหนดงบประมาณของแต่ละแผนงาน/กิจกรรม และแหล่งงบประมาณ รวมถึงพิจารณาจัดหาแหล่งงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานให้หน่วยงาน ปฏบิ ตั ิ ๕. การกาหนดตัวช้ีวัดตามแผนปฏิบัติการ เพ่ือกาหนดค่าเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ ของงานและใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการวดั ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานตามแผน 6. การสนับสนุนให้มีการดาเนินการตามแผนงานรวมถึงการพัฒนาเครือข่ายการดาเนินงาน ในระดับประเทศ และระหว่างประเทศ และจัดระบบช่องทางการสื่อสารสาหรับผู้ประสานงาน และการจัดระบบประชาสมั พนั ธ์และเผยแพร่เอกสารข้อมูล

แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 43 7. การกากับติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ โดยใช้กลไกการติดตาม ก และประเมนิ ผลร่วมกบั แผนงานปกติ 8. การรายงานผลการปฏิบัตงิ านตามแผนปฏบิ ตั กิ าร อย่างน้อยปลี ะ ๒ ครงั้ 9. การทบทวนและปรับปรุงแผนให้เหมาะสมเพื่อปรับแผนจากการใช้ยุทธศาสตร์ ให้เข้ากับ สถานการณ์ หรือสภาพปญั หาสาธารณภัยท่เี ปลีย่ นแปลงไป ท้งั น้ี ต้องมีการประเมนิ ความเส่ียงด้านยทุ ธศาสตร์ (Strategic Risk) เพือ่ ปอ้ งกนั มใิ ห้ยทุ ธศาสตรค์ ลาดเคล่ือนและไม่ตรงต่อสถานการณท์ เี่ ปลี่ยนแปลง นิยามศัพท์ โรคและภัยสุขภาพ (All Hazard) หมายถึง โรคหรือภัยท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างรุนแรง และสามารถแพร่ระบาดขยายวงกว้าง จึงต้องจากัดการเคลื่อนท่ีของผู้คนและสินค้า ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุขท่ีเป็นอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ นอกจากภัยธรรมชาติและอุบัติภัยแล้ว ยังมีอันตราย จากโรคติดเช้ือ โรคติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน อาหารที่ไม่ปลอดภัย อันตรายจากสารเคมี และอันตราย จากสารกมั มันตภาพรังสแี ละนิวเคลยี ร์ 5 ประเภท โรคติดตอ่ ภยั สุขภาพท่เี กดิ จากสารเคมี เหตทุ ่กี อ่ ให้ โรคและภัยสขุ ภาพ โรคและภยั สขุ ภาพ เกิดการบาดเจบ็ ๕ ประเภท ท่ีมากบั ภยั และอุบตั เิ หตุ ธรรมชาติ ภัยสุขภาพทเ่ี กิดจาก กมั มนั ตภาพรังสแี ละ นวิ เคลียร์

แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พ.ศ. 256๓ – 2565 44 1. โรคติดต่อ เป็นเหตุการณ์การแพร่ระบาดอย่างผิดปกติของโรคติดต่อเฉียบพลัน เช่น ไข้หวัดใหญ่ สายพันธ์ุใหม่ ไข้หวัดนก โรคซาร์ส โรคชิคุกุนยา โรคติดเช้ือไวรัสอีโบลา หรือแม้แต่โรคท่ีเกิดขึ้นตามฤดูกาล และโรคประจาถิ่นที่มีการแพร่ระบาดอย่างผิดปกติ เช่น ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ท้ังนี้รวมถึง โรคที่ประกาศไว้ในกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR) ให้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เปน็ ตน้ 2. เหตุการณ์ทีก่ ่อใหเ้ กดิ การบาดเจ็บและอุบัติภัย เปน็ เหตุการณ์ภัยสุขภาพที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ และเสียชีวิตได้ เช่น ตึกถล่ม อุบัติเหตุจากการขนส่งและโดยสาร การจลาจล สงคราม และอุบัติเหตุ จากการ ปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เปน็ ตน้ 3. โรคและภัยสุขภาพท่ีมากับภัยธรรมชาติ เม่ือเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม ลมพายุดินโคลนถล่ม หรือสึนามิ ผู้ประสบภัยจะเผชิญกับโรคระบาดและภัยสุขภาพ เช่น โรคฉี่หนู อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ ไฟฟ้าชอ็ ต/ไฟฟ้าดดู การเสียชีวิตจากการจมน้า การขาดยาหรอื การรักษาท่ีจาเป็นเน่อื งจากไม่สามารถเดินทาง ไปโรงพยาบาลได้ เปน็ ตน้ 4. ภัยสุขภาพท่ีเกิดจากสารเคมี เป็นเหตุการณ์ท่ีส่งผลถึงการบาดเจ็บและการเสียชีวิตของบุคคล ที่เกิดจากการมีสารเคมีท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพปนเปื้อนออกมาในส่ิงแวดล้อม ซึ่งอาจเกิดจากการกระทา ของมนุษย์ด้วยกัน เช่น การรั่วไหลออกจากโรงงานอุตสาหกรรม การก่อการร้ายด้วยอาวุธชีวภาพ/อาวุธเคมี การเกิดสงคราม เป็นต้น หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น การปนเป้ือนของสารหนูในธรรมชาติในพ้ืนท่ี จังหวดั นครศรีธรรมราช เป็นตน้ 5. ภัยสุขภาพที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสีและนิวเคลียร์ เป็นเหตุการณ์ท่ีส่งผลถึงการบาดเจ็บ และการเสียชีวิตของบุคคลจานวนมาก ซึ่งเกิดจากรั่วไหลของกัมมันตรังสี และนิวเคลียร์ ซึ่งอาจเกิด ไดจ้ ากการกระทาของมนุษย์หรือเกิดข้นึ ภายหลังภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ All Hazards Plan (AHP) หมายถึง แผนเตรียมความพร้อมที่เตรียมไว้เพ่ือตอบสนองต่อ สถานการณ์ฉุกเฉินทีค่ รอบคลุมทุกโรคและภัยสุขภาพ สาหรับหน่วยงานและเจา้ หน้าท่ีทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เพ่ือเปน็ แนว ทางการปฏิบัติเตรียมความพร้อม และนาไปใช้ในการจัดการภาวะฉุกเฉินได้ทันต่อสถานการณ์และมี ประสิทธภิ าพ Incident Action Plan (IAP) หมายถึง แผนเผชิญเหตุที่ถกู จัดทาในขณะเกดิ เหตกุ ารณ์ภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และสาธารณสุขสาหรับแต่ละห้วงเวลาปฏิบัติการ ซ่ึงประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การปฏิบัติการ ห้วงระยะเวลาปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ และกลวิธีการปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งหนว่ ยงานท่นี าไปปฏบิ ตั ิ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) หมายถึง การจัดระบบและบริหาร จัดการ ทรัพยากรและความรับผิดชอบเพื่อเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉินทุกรูปแบบ การซ่อมสร้าง (Reconstruction)