Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ บสต.ฉบับปรับปรุง2020

คู่มือ บสต.ฉบับปรับปรุง2020

Published by Ubon Sriprasert, 2021-10-08 09:42:35

Description: คู่มือ บสต.ฉบับปรับปรุง2020

Search

Read the Text Version

4) ยาเสพตดิ ท่ใี ชปจจุบัน สัมภาษณการใชยาเสพติดตัวหลักที่ใชในปจจุบัน เปน ยาเสพตดิ ประเภทใด ระบไุ ดเ พียง 1 ประเภทเทา นนั้ - ตวั ยาหลกั ย า เ ส พ ต ิ ด ห ล ั ก ท ี ่ ผ ิ ด ก ฎ ห ม า ย ท ี ่ ใช ก  อ น เข  า ร ั บ ก า ร บำบัดรักษาโดยเปนยาเสพติดทีใ่ ชป ระจำหรือใชบ อยท่ีสดุ - ระยะเวลาท่ีใช ผูป วยมกี ารใชย าเสพตดิ ตัวหลักมาจำนวนกป่ี  กี่เดอื น ก่ีวัน 5) วนั ทใี่ ชย าเสพตดิ (ตวั ยาหลัก)คร้ังสุดทาย วนั ทใ่ี ชยาเสพตดิ ซ่งึ เปน ตวั ยาหลัก ในครง้ั สุดทา ยเม่ือไร - วัน เดอื น ป ระบวุ นั ที/่ เดอื น/ป พ.ศ. ท่ใี ชย าเสพติดตัวหลักคร้ังสดุ ทาย - ระบุ ยาเสพตดิ ระบุประเภทยาเสพตดิ ตัวหลกั ท่ใี ชในครั้งสุดทาย 6) เคยเขารับการบำบัดรักษามากอ นหรือไม ผูปวยเคยเขารับการรักษาเกี่ยวกับยาเสพติดกอนทีเ่ ขารับ การรกั ษาในคร้งั น้หี รอื ไม - ไมเคย ครั้งนเี้ ปน การบำบัดคร้งั แรกไมรวมทเี่ ลิกเสพดว ยตนเอง - เคย ผูป ว ยเคยบำบัดรกั ษารกั ษามาแลว ไมรวมท่ีเลกิ เสพดวย ตนเอง o จำนวนครง้ั จำนวนครั้งที่เขารับการบำบัดรักษาทั้งหมดที่เคยรักษา มาแลว ไมร วมการรักษาครัง้ น้ี o วันทีเ่ ขา รับการบำบดั ครั้งสุดทา ย ระบุวัน เดือน ป เขารบั การบำบดั ครัง้ สุดทา ย o สถานท่บี ำบดั ระบุสถานท่ีบำบดั ทีเ่ ขา บำบัดครัง้ สดุ ทา ย 7) หลงั จากบำบัดรักษาครั้งสดุ ทาย ระยะเวลาที่หยุดเสพยาเสพติดภายหลงั จากการหยุดเสพ ไดนานเทาไหร บำบัดรักษาครั้งสุดทายไดนานเทาไรสามารถเลือกได 2 กรณี ดังน้ี (ตอบเฉพาะกรณีเคยเขารบั การบำบัด) - นอ ยกวา 1 เดอื น ภายหลังจากบำบัดรักษาครั้งสุดทายหยุดเสพไดนาน นอยกวา 1 เดอื น เชน กรณีที่ผูเ สพ/ผูตดิ หยดุ เสพไดนาน 10 วัน ใหเ ลอื กระบนุ อยกวา 1 เดือน - 1 เดือนขน้ึ ไป ระบุ ... เดือน ... ป ภายหลังจากการบำบัดรักษาครั้งสุดทายผูปวยหยุดเสพ ไดนาน 1 เดือนข้นึ ไป เชน กรณีทผ่ี ปู ว ยหยุดเสพไดน าน 3 เดอื น 7 วนั ใหระบุ 3 เดอื น 8) เหตุผลสำคัญทเ่ี ขารบั การบำบัดรักษาครง้ั น้ี ผูปวยเขารับการบำบดั รักษาครงั้ นี้ดวยเหตุผลสำคัญ โดย ใหระบุเหตผุ ลขอ สำคัญท่ีสุดเพียงขอ เดียวเทาน้นั สมัครใจ - มีปญหาดา นสขุ ภาพกาย การเจ็บปวยทางรางกาย ที่มีผลกระทบมาจากการใช ยาเสพติด คมู ือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบดั รักษาและฟนฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 200

- มปี ญหาดานสขุ ภาพจติ มีอาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ ความคิด ความจำ สติปญญา ประสาทรับรูหรือ การรเู วลา สถานที่ หรอื บคุ คล - ไมมีเงนิ ซอ้ื ยาเสพติด ไมมที นุ ทรัพยในการซ้อื ยาเสพตดิ - หาซ้อื ยาเสพติดยาก การหาซ้ือยาเสพตดิ ไมสะดวกเหมอื นเดมิ - ทางบา นบังคบั หรือขอรอง บุคคลในครอบครัว ญาติพี่นอง บังคับ/ขอรอง อยากให บำบัดรักษา เชน พอ แม ภรรยา เพื่อนบาน ผูนำชุมชน ขอรองใหเ ขาบำบัดรักษา - โรงเรียน ถูกโรงเรียนบงั คบั หรือสง มาใหบ ำบดั รกั ษา - เงือ่ นไขของสถานประกอบการ สถานประกอบการมีมาตรการควบคุมการใชยาเสพติด หากพบผูเสพผูติดยาเสพติดใหสงเขารบั การบำบัดรักษา เชน โครงการโรงงานสีขาว หรอื สถานประกอบที่เขารว ม มาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดใน สถานประกอบกิจการ (มยส.) - อยากเลิก ผูเ ขา รบั การบำบดั มีความตอ งการอยากเลิก - โครงการ TOBE NUMBER ONE โครงการรณรงคปองกันและแกไขปญหายาเสพติด เชน โครงการใครติดยายกมอื ข้นึ เปนตน - กลัวถูกจับ เกรงวาจะถูกตำรวจหรอื เจาหนา ทีข่ องรฐั จับ - ตงั้ ดา น/ตรวจคน ถูกจับโดยการตั้งดาน/ตรวจคนของเจาหนาที่ตาม กฎหมาย - จัดระเบียบสงั คม นำสงตัวมาจากการจัดระเบียบสังคมโดยเจาหนาที่ตาม กฎหมาย - ประชาคมหมบู าน ถูกสงตัวมาโดยวิธีการประชาคมหมูบาน โดยความ รวมมอื จากผูนำชุมชน กำนนั ผูใหญบา น และเจาหนาท่ี ตามกฎหมาย - สมคั รใจตามประกาศ คสช. ฉบบั ที่ เปนผยู นิ ยอมสมคั รใจเขารับการบำบัดรกั ษาตามประกาศ 108/2557 คสช. ฉบบั ท่ี 108/2557 - พ.ร.บ.สขุ ภาพจิต พ.ศ.2551 เปนผูที่เขารับการบำบัดฟนฟูฯ ตามเงื่อนไขของ พ.ร.บ. สขุ ภาพจติ พ.ศ.2551 - สมัครใจระหวางรอการพิจารณาของศาล/ เปน ผูที่เขารับการบำบัดฟนฟูฯตามเง่ือนไขของศาลหรือ ศาลเยาวชนฯ ศาลเยาวชนและครอบครัว ในระหวางรอการพิจารณา ลงโทษ คมู ือการใชงาน ระบบขอ มูลการบำบดั รกั ษาและฟน ฟูผตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 201

- สมคั รใจตามประมวลกฎหมาย เปน ผูที่เขารับการบำบดั ฟน ฟูฯตามเงื่อนไขเพื่อคุมความ อาญา ม.56 ประพฤติของผูกระทำผิดโดยพิพากษาจากประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 56 ในความรับผิดชอบของ - อืน่ ๆ ระบุ กรมคมุ ประพฤติ บังคบั บำบดั เหตผุ ลอนื่ ระบุนอกเหนือจากท่กี ลาวขางตน - พ.ร.บ.ฟนฟูสมรรถภาพผตู ิดยาเสพตดิ พ.ศ.2545 ผูเขารับการบำบัดที่ถูกดำเนินการควบคุมและจับกมุ ตาม พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ. ตองโทษ 2545 เขาสูกระบวนการบำบัดรักษาระบบบังคับบำบัด - พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ ทษ พ.ศ.2522 ตามโปรแกรมบำบดั ฟน ฟูของกรมคุมประพฤติ มาตรา 57,91 ผูเขารับการบำบัดรักษาถูกดำเนินการควบคุมและจับกุม - พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัว ตามกฎหมายอื่น เพื่อเขา สูระบบบำบดั แบบตอ งโทษ เชน พ.ศ.2553ระบุคดี ถกู จับในคดียาเสพติด หรอื คดีอ่ืนทีไ่ มไดเ กีย่ วกบั ยาเสพตดิ - อื่นๆ ระบุ ผูเขารับการบำบัดรักษาถูกดำเนินคดีอาญาที่เด็กและ 9) ชนดิ ยาเสพตดิ ทใี่ ชก อ นมารกั ษา เยาวชนที่ตองหาวากระทำความผิดตามพ.ร.บ.ศาล - ช่อื ยาเสพติด เยาวชนและครอบครัวในครัง้ นี้ ระบุนอกเหนือจากท่ีกลา วขางตน - วธิ ใี ช ยาเสพติด/สารเสพติดที่ผิดกฎหมายที่ใชกอนเขารับการ บำบัดรักษา โดยเรียงลำดับยาเสพติดที่ใชบอยจากมาก ไปนอ ย ประเภทยาเสพติดที่ใชกอนมารับการบำบัดรกั ษา ซึ่งเปน ยาเสพติดที่ผิดกฎหมายซึ่งใชบอยที่สุดเปนลำดับแรก และยาเสพติดท่ใี ชร องลงมาตามลำดับ วธิ ใี ชยาเสพตดิ แตล ะชนดิ ดังน้ี 1) กนิ เชน อม เคย้ี ว อมไวใ ตล ิ้น ซุกไวตามซอกเหงือก ดื่ม 2) ดม/สูด เชน สดู นัตถุ 3) สูบ เชน คลุกบหุ รส่ี บู สบู เปน บอ ง สบู ควัน 4) ฉดี เชน ฉดี ใตผ วิ หนงั ฉีดกลาม หรอื ฉีดเขาเสน 5) อืน่ ๆ เชน สอดทางทวาร ซกุ ใตหนังตา ทำเปนลปิ สติก คูม อื การใชงาน ระบบขอมลู การบำบัดรักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 202

- จำนวนปริมาณยาเสพติดท่ีใช/สัปดาห ปรมิ าณยาเสพติดแตละชนิดที่ใชต อสัปดาห เชน ใชยาบา 1 เม็ด/วัน ใหระบุเปน 7 เม็ด/สัปดาห สามารถคำนวณ - จำนวนครงั้ ที่ใช/ สปั ดาห เปน จุดทศนิยมได เชน 1 เมด็ เทากับ 4 ขา หากใช 1 ขา คิดเปน 0.25 เม็ด 10) รูปแบบ(สถานท/่ี บรบิ ท) ของการ จำนวนครั้งที่ใชยาเสพติดแตละชนิดตอสัปดาห เชน ใช ฟนฟูสมรรถภาพ ยาบา 1ครั้ง/วัน ใหระบุเปน 7 ครั้ง/สัปดาห สามารถ สมคั รใจ คำนวณเปนจุดทศนิยมได เชน 1 ครั้ง ตอเดือน คิดเปน - ผปู วยนอก (out patient) 0.25 ครัง้ /สปั ดาห ในสถานพยาบาล เลือกรูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพ ขอใหคำนึงถึงวิธีการ/ - ผปู ว ยใน ระยะบำบัดในสถานพยาบาล รูปแบบทใี่ ชก ับผปู ว ยเปนหลกั ในการบำบัดรกั ษา - ผูป ว ยใน ระยะฟน ฟูสมรรถภาพใน สถานพยาบาล การบำบัดรักษาผูปวยแบบไป – กลบั ไมพักคางในหนวย บำบัดลักษณะผูปวยนอกเชน MATRIX - Program, - ฟนฟสู มรรถภาพในศาสนสถาน FRESH Model การบำบัดรักษาในหนวยบำบัดฯ โดยแพทยสั่งใหอยูพัก - ฟน ฟูสมรรถภาพในชุมชน รักษาในหนว ยบำบัดฯและลงทะเบยี นเปนผูปวยใน การบำบัดรักษาผูปวยยาเสพติดในหนวยบำบัดฯแบบ ผูปวยใน (คางคืน) เชน FAST Model, ชุมชนบำบัด(TC) รวมทั้งการรักษาดวยยาหรืออื่นๆที่พักคางคืนในหนวย บำบัด การบำบัดฟนฟูผูปวยในวัด มัสยิด หรือสถานที่ทาง ศาสนาโดยการนำหลักธรรมศาสนามาชวยจะทำใหผูที่ เสพยาเสพติดมีจิตใจที่เขมแข็งขึ้นรูจักแกไขปญหาได อยางเหมาะสม การบำบัดฟนฟูผูปวยในชุมชน หมูบานเปนรูปแบบการ รักษาในเชิงบรู ณาการโดยเฉพาะตอผูใชยาเสพติดและติด ยาในชุมชนเพื่อใหเ กิดการรักษาอยางตอเนื่อง ตั้งแตการ รักษาในระยะเริ่มตนถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและ สรางความเสถียรภาพจนถึงการติดตามผลการรักษาและ การคืนผูปวยสูสังคม โดยเกี่ยวของถึงการประสานงาน รวมกับหลายหนวยงานที่ใหบริการทางดานสุขภาพสังคม และการบริการอ่ืน ๆ คมู ือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบดั รักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 203

- ฟน ฟูสมรรถภาพในคา ยปรับเปลี่ยน การบำบัดฟนฟูในรูปแบบคา ยปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม เชน พฤติกรรม หลักสูตรคายปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมผูเสพ/ผูตดิ ยาเสพตดิ กระทรวงสาธารณสุขหลักสตู รวทิ ยาลัยลูกผูชาย โรงเรียน - อื่นๆ ระบุ ววิ ัฒนพ ลเมืองของกรมการปกครองหลักสูตรคายจิราสา บังคบั บำบัด และคา ยศนู ยขวัญแผน ดิน เปน ตน - ควบคุมตัวแบบเขมงวด รูปแบบการฟน ฟฯู อ่ืนระบนุ อกเหนือจากทก่ี ลาวขา งตน - ควบคมุ ตวั แบบไมเขมงวด การเขารับการบำบัดโดยมีการควบคุมตัวอยางเขมงวด เขารับการบำบัดรักษาในหนวยบำบัดที่มีระบบการ - ไมค วบคมุ ตวั ควบคุมตัวไมใหหลบหนีพรอมระบุสถานที่ฟนฟู และ จำนวนวันที่บำบดั ฟน ฟู o ฟน ฟแู บบผูปวยใน การเขารับการบำบัด โดยมีการควบคุมตัวแตไมเขมงวด โดยเขารับการบำบัดในสถานที่ที่เหมาะสม และกำหนด o ฟน ฟแู บบผูป ว ยนอก เงื่อนไขใหผูปวยอยูภายในเขตที่กำหนดในระหวาง o บำบดั ในชมุ ชน บำบัดรักษา พรอมระบุสถานที่ฟนฟู และจำนวนวันที่ บำบดั ฟนฟู การเขา รับการบำบัด โดยไมมกี ารควบคมุ ตัวแตอยูภายใต การดูแลของพนักงานคุมประพฤติ พรอมระบุสถานที่ ฟนฟู และจำนวนวันที่บำบัดฟนฟูในแตละรูปแบบของ การฟน ฟูแบบไมค วบคุมตัว การเขารับการบำบัด กรณีมีความเจ็บปวยทางกายหรือ ทางจิตรวมกันโดยบำบัดฟนฟูแบบผูปวยใน ตาม โรงพยาบาลของรัฐเชนเดียวกับระบบสมัครใจ ภายใน ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด พรอมระบุสถานที่ฟนฟูและ จำนวนวนั ทีบ่ ำบดั ฟนฟู การบำบดั ฟน ฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดแบบผปู ว ยนอก ตามโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชน เชนเดียวกับระบบ สมัครใจ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด พรอมระบุ สถานท่ีฟนฟแู ละจำนวนวนั ทีบ่ ำบัดฟน ฟู ผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดเขารับการ บำบัดในสถานที่ที่บุคคลอาศัยอยูในบริเวณเดียวกัน มีความสนใจรวมกัน มีกฎขอบังคับเดียวกัน มีการทำ กิจกรรมรวมกัน และมีความสัมพันธระหวางบุคคลใน คมู ือการใชงาน ระบบขอมูลการบำบัดรกั ษาและฟนฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 204

ทองถิ่นเดียวกัน เชน ชุมชน หมูบาน เปนตน และมี ความสามารถในการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพทางดาน รางกาย จิตใจ อารมณ สังคมการศกึ ษาและอาชีพ รวมทัง้ ส า ม า ร ถ ด ู แ ล ต ิ ด ต า ม ผ ล ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ติ ด ยาเสพติด พรอมระบุสถานที่ฟนฟูและจำนวนวันที่บำบัด ฟน ฟู o ฟนฟใู นโปรแกรมคมุ ประพฤติ ผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดเขารับการ บำบัด โดยสำนักงานคุมประพฤติดำเนินกิจกรรมให สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของผูเขารับ การฟนฟูสมรรถภาพภายใตการดูแลของพนักงาน คุมประพฤติ พรอมระบุสถานท่ีฟนฟูและจำนวนวันที่ บำบดั ฟน ฟู o โปรแกรมปรบั ตวั สสู ังคม การดำเนินการของสำนักงานคุมประพฤติเพ่ือเตรียมความ พรอมในการกลับสูสังคมปกติ โดยไมตองพึ่งพายาเสพติด ส ำ ห ร ั บ ผ ู  ท ี ่ ผ  า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ติ ด ยาเสพติดแบบควบคุมตัว (เขมงวด/ไมเขมงวด) หรือผาน การฟนฟูแบบไมควบคุมตัว (แบบผูปวยในหรือผูปวยนอก) พรอ มระบุสถานที่ฟน ฟแู ละจำนวนวันทบี่ ำบัดฟน ฟู ตองโทษ - โครงการโรงเรียนววิ ัฒนพ ลเมืองราชทณั ฑ เปนโครงการฟนฟูสมรรถภาพผูต องขังคดียาเสพติดแบบ เขมขน ใชระยะเวลา 90-120 วัน เพ่ือเตรียมความพรอม ของผูตองขังดานรางกาย จิตใจ คุณภาพชีวิต อาชีพท่ี เหมาะสม กอ นพกั โทษกรณพี เิ ศษแบบมีเงือ่ นไข - โปรแกรมการบำบดั ฟนฟขู อง เปนโปรแกรมสำหรับผูตองขังแยกประเภท เชน กรมราชทัณฑในเรือนจำ/ทัณฑสถาน โปรแกรมสำหรับผูตองขังเตรียมปลอย โปรแกรมสำหรับ ผูตองขังคดีตองโทษซ้ำ โปรแกรมสำหรับผูตองขังคดี เกี่ยวกับเพศ โปรแกรมสำหรับผูตองขังผิดวินยั โปรแกรม สำหรับผูตองขังเสพยาเสพติด ไดแก โปรแกรมชุมชน บำบดั (TC) ที่มีระยะเวลาปกติที่ 4 เดอื น เนน กระบวนการ ฟนฟูสมรรถภาพดว ยกลุมผตู องขังดว ยกันเอง เพ่ือพัฒนา พฤติกรรม สติปญญา จิตใจ อารมณ ความรูสึกและการ อยูรวมกันในสังคมอยางปลอดยาเสพติด โดยมีคูมือ แนวทางในการปฏิบัติงานให คมู ือการใชงาน ระบบขอ มูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟูผตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 205

- โปรแกรมการบำบดั ฟนฟฯู ในสถานพนิ จิ โปรแกรมการแกไขบำบัดฟนฟูเด็กและเยาวชนท่ีและ คมุ ครองเด็กและเยาวชน เกี่ยวของกับยาเสพติด กรมพินิจและคุมครองเด็กและ เยาวชน - โปรแกรมการบำบัดฟน ฟฯู ในศนู ยฝ ก โปรแกรมการแกไขบำบดั ฟน ฟูเด็กและเยาวชนท่ีเก่ยี วของ และอบรมเด็กและเยาวชน กับยาเสพตดิ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน - อืน่ ๆ ระบุ รปู แบบการฟน ฟอู น่ื ทนี่ อกจากท่กี ลาวขางตน 11) การใหยา ประเภทการใหยาผูปวยยาเสพติดในการบำบัดและฟนฟู สมรรถภาพ - ใหย า มีการใหย าในระหวางการบำบดั รกั ษาผปู วยยาเสพตดิ o รักษาเพือ่ ถอนพิษยา มกี ารใหย าเพือ่ ถอนพิษหรือลดอาการพิษของยาเสพติดใน (Detoxification) ระยะบำบดั ดว ยยา o รกั ษาตามอาการ-ประคบั ประคอง การใหยาเพื่อรักษาใหอาการผิดปกติตางๆของผูปวย (Symtomato-supportive บรรเทาลง เชน การลดไขการรกั ษาอาการปวดการรกั ษา treatment) อาการคลนื่ ไสอาเจียนเปน ตน o รักษาโรครวมทางกาย การรักษาอาการโรครว มทางกาย รวมทัง้ การรักษาตอ เนื่อง (Treatment of Physical ระยะยาว diseases) o รกั ษาโรครว มทางจิตเวช การรักษาอาการโรครวมทางจิตเวช รวมทั้งการรักษา (Treatment of psychiatric ตอเนื่องระยะยาว disorders) o การใหเมทาโดนระยะยาว วิธกี ารใหเ มทาโดนระยะยาวตอเน่อื งแกผูท ่ตี ิดยาเสพติด (Methadone Maintenance กลุมโอปออยด ซ่งึ สวนใหญมักเปน การใหในผูท ่ีตดิ เฮโรอีน Therapy) ชนิดฉีดเขาเสน โดยมีจุดมุงหมายใหผูปวยหยุดเสพ เฮโรอีน เพื่อลดความเสี่ยงของการติดเชื้อโรคเอดส ไวรัส ตับอักเสบบี ไวรัสตับอกั เสบซี จากการใชเขม็ ฉีดยา - ไมม กี ารใหย า ในขั้นตอนการบำบัดรักษาและฟนฟูฯ นี้ไมมีการใหยา ผปู วย - อื่นๆ ระบุ มีการใหย าอื่น ๆ ระบุนอกเหนือจากทกี่ ลา วขา งตน 12) เทคนิคการบำบัดฟน ฟูสมรรถภาพ เทคนิควิธีการสำหรับการบำบัดฟนฟูสมรรถภาพที่ใชกับ ผูปวยยาเสพติดในขณะนั้น คมู ือการใชง าน ระบบขอมูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 206

- การใหค ำแนะนำแบบสัน้ การใหขอมูลแกผูปวยเพื่อใหเกิดความรูและเกิดแรงจูงใจ (Brief Advice : BA) ในการเลิกใชยาเสพติด โดยใชเวลาในการสนทนา ประมาณ5 – 10 นาที - การบำบัดแบบส้ัน การใหขอมูลสำหรับผูใชยาเสพติดแบบเสี่ยงปานกลาง (Brief Intervention : BI) เพื่อสรางแรงจูงใจในการบำบัด และใหมีพฤติกรรมท่ี คาดหวัง เชนการเขารวมการรักษา มีความคิดในการ เลิกยา ใชเวลาในการบำบัด เปนเวลาสั้นๆ ต้ังแต 4 – 6คร้ัง คร้ังละ 10 – 15 นาที - การสัมภาษณเพื่อสรางแรงจงู ใจ แนวทางการใหคำปรึกษาแบบยึดผูปวยเปนหลัก เพ่ือ (Motivational Interviewing : MI) มุงหวังใหผูปวยเกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมกระบวนการเรียนรูท ี่เกิดขึ้นในผูปวยเปนไปใน แนวทางการรบั รูตนเอง เทคนิคการใหคำปรกึ ษาที่ตอ งใช บอยครั้ง คือ การตั้งคำถามปลายเปด การยืนยันรับรอง การฟง อยางตงั้ ใจและสะทอนความ การสรุปความ เปน ตน - การบำบดั ทางความคดิ และพฤติกรรม เปนจิตบำบัดระยะส้ันสาขาหน่ึงซงึ่ เนน การบำบดั ท่ีอาการ (Cognitive Behavioral Therapy : เฉพาะบางอาการ โดยมสี มมติฐานวา สว นใหญของปญหา CBT) ทางจิตใจและพฤติกรรมเปนผลมาจากกระบวนการคิดที่ ผิดปกติ หรือคิดในแงลบ โดยมีความสัมพันธของ ความคิด อารมณ และพฤติกรรมในลักษณะที่มีผลตอกัน และกัน - การบำบดั โดยการเพ่มิ แรงจูงใจ เปนรูปแบบของการบำบัดที่เปนระบบ และเปนการ (Motivational Enhancement กระตนุ ผูปว ยใหเกิดแรงจงู ใจ โดยมอี งคป ระกอบของการ Therapy : MET) บำบัด คือการประเมิน การสะทอนกลับ และการใช หลักการสัมภาษณเ พ่ือเสริมสรา งแรงจูงใจ - การใหความรูทางสขุ ภาพจติ และโรครว ม ใหความรูความตระหนักทางดานสุขภาพจิตและโรครวม ทางจิตเวช ทางจิตเวชท่ีสามารถเกิดขึ้นได เพื่อสรางความรวมมือใน (Co-morbidity Psycho-education) การรักษามีการรับรู และยอมรับอาการทางจิต มีทัศนคติ ที่เหมาะสมตอความเจ็บปวย มีความตระหนักถึงความ จำเปนในการรักษาและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความรวมมอื ในการรกั ษา - กจิ กรรมชว ยเหลอื ครอบครวั มีบทบาทหนา ท่ใี นการประสานและสรางความตระหนัก คูมือการใชงาน ระบบขอ มลู การบำบดั รักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 207

(Family Intervention) ในการสงเสริมสถาบันครอบครัวใหเกิดขึ้นทั้งในบุคคล ชุมชนและสังคม ดวยการนำเสนอรูปแบบกิจกรรม - การวางเงือ่ นไขเพื่อสรางผลกรรม ครอบครัวที่ชวยสงเสริมพัฒนาสถาบันครอบครัวไทยให ท่ีพึงประสงค เขมแข็ง ดวยกระบวนการรวมกลุมครอบครัวตางๆ เขา (Contingency Management) เปนเครือขายเพื่อใหความเหลือกันและกัน ชวยเหลือ - การบำบัดฟน ฟแู บบชว ยเหลอื กนั เอง สังคม และเรียกรอ งตอสิทธิอันพึงมขี องครอบครัว (Self-help Recovery วิธีการปรับพฤติกรรมที่นิยมมากที่สุด โดยมีทั้งการให Group Therapy) และการถอดถอนผลกรรม ซง่ึ ผลกรรมน้นั มที ง้ั การเสรมิ แรงทางบวกและการลงโทษ - กลมุ ผูต ิดยาเสพตดิ นริ นาม การบำบัดที่เกิดจากการรวมตัวของบุคคลที่มีปญหา (Narcotic Anonymous : NA) คลายคลึงกัน มารวมกันดวยความสมัครใจและใช ประสบการณที่ผานมาชวยกันแกปญหาซึ่งกันและกัน - การบำบัดโดยการวางเงือ่ นไขเพอ่ื กลุมเปนของสมาชิก กิจกรรมตางๆ ดำเนินโดยสมาชิก ลดพฤตกิ รรมทีไ่ มพงึ ประสงค เพือ่ สมาชกิ (Aversion Therapy) เปนกลุมของบุคคลทุกเพศทุกวัยที่มีปญหาจากการใช - การบำบดั แบบ 12 ขน้ั ตอน ยาเสพติด และไดทำการฟนฟูสมรรถภาพจากการใช (Twelve-Step Facilitation) ยาเสพติดโดยการมาพบปะเปนประจำเพื่อชวยเหลือซึ่ง กันและกัน ใหแตละคนหยุดใชยาเสพติดดวยการปฏิบัติ ตามโปรแกรมฟนฟูสมรรถภาพใน “กลุมผูติดยาเสพติด นิรนาม” สมาชิกของกลุมจะมีวิถีชีวิตที่ปลอดภัยจาก ยาเสพติดทกุ ชนิด การบำบัดแบบลงโทษ (Punishment) เพ่ือลดพฤติกรรม ไมพ งึ ประสงค การบำบัดเพื่อเสริมใหพัฒนาตามหลัก 12 ขั้นตอน ซึ่งเปนหลักการพนสภาพเปนลำดับขั้นทางดานจิต วิญญาณหรือความดีงามในใจของผูที่มีปญหาดานสุรา หรอื ยาเสพตดิ - การปองกนั การกลบั ไปตดิ ซำ้ เปนกระบวนการใหความรูดานการปรับตัวทางจิตสังคม (Relapse Prevention : RP) เพื่อปองกันไมใหผูเสพสารเสพติดกลับไปเสพซ้ำ โดยให คมู ือการใชงาน ระบบขอ มูลการบำบัดรักษาและฟน ฟูผตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 208

- อนื่ ๆ ระบุ กำลังใจใหการยอมรบั ในสิ่งที่เกิดขึ้น เนนความคิดเห็นท่ี 13) โปรแกรมการบำบดั ฟน ฟสู มรรถภาพ เปนประโยชนสนับสนุนใหเกิดความเชื่อม่ันในตนเอง ชื่นชมสวนดีที่คนพบใหขอมูลวาหากวามีความตั้งใจ - ไมเ ขา รบั การฟน ฟู มีความพยายามจะสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให - โปรแกรมการบำบัดจติ สงั คม ดีข้ึนได (psychosocial intervention) เทคนิคการบำบัดฟนฟูสมรรถภาพอื่น ๆ นอกเหนือจาก - โปรแกรมการบำบดั ทางศาสนา ขางตน - โปรแกรมกายจติ สงั คมบำบัด เลือกโปรแกรมสำหรบั การบำบัดฟน ฟูสมรรถภาพท่ีใชก บั (Matrixprogram) ผปู วยยาเสพติดในขณะนนั้ - โปรแกรมชมุ ชนบำบัด (Therapeutic community) ผูใหการบำบัดฟนฟูพิจารณาหรือวนิ ิจฉัยแลววา ผูป วยไม จำเปน ตองไดร บั โปรแกรมการฟน ฟสู มรรถภาพ โปรแกรมการบำบัดรักษาผูปวยการใหคำปรึกษาใน รูปแบบกายจิตสังคม สามารถทำไดที่สถานพยาบาล หรือในโรงเรียน/สถานศึกษาเชนการทำ Matrix แก นักเรียนเคยใชยาเสพติดในโรงเรียนโปรแกรม PMK Model เปนตน เปนการจัดใหไดรับการขัดเกลาจิตใจดวยหลักธรรม คำสอนทางศาสนาตามที่ตนนับถือ ใหไดรับการสั่งสอน อบรมดวยหลักธรรมทางศาสนา เพื่อใหมีแนวทางในการ ดำรงชีวิตที่ถูกตอง สามารถดำรงตนในสังคมในฐานะ พลเมืองที่ดีโดยจะจัดใหมีการบรรยายหลักธรรมะหรือ ฝกปฏิบัติธรรม จะแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับ สภาพแวดลอมและบริบทที่เกี่ยวของ ครอบคลุม สาระสำคัญของหลักธรรมะท่ีจะชวยใหสามารถนำไปใช ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ได เปนโปรแกรมบำบัดรักษาผูติดสารแอมเฟตามนี (ยาบา) แบบผูปวยนอก เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไมใหผูติด สารแอมเฟตามีน หวนกลับไปใชแอมเฟตามีนอีกและคง สภาพนอ้ี ยางตอเนอื่ งใหย าวนานท่ีสดุ การสนับสนุนใหบุคคลเกิดการเจริญเติบโตและ เปลี่ยนแปลงโดยใช การผสมผสานระหวา งกัน ใหคำปรึกษา (Counseling)กลุมบำบัด (Grouptherapy) คมู อื การใชง าน ระบบขอ มลู การบำบดั รกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 209

และแรงกดดันจากกลุมเพื่อน (Peer pressure) เพื่อฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติด และชวยเหลือใหพวกเขาเปลี่ยน ทางชีวติ ไปสูเปาหมายในเชงิ บวกท่ีชัดเจน โปรแกรมเหลา น้ี จะกอใหเกิดบรรยากาศแบบครอบครัวที่เนนความ ซื่อสัตย ความไววางใจ และการชวยเหลือตนเอง ใน ขณะเดียวกันก็มีระเบียบที่เขมงวดและการยึดมั่นใน กฎเกณฑ รวมทั้งความจริงจังกับงานทีต่ นเองรับผิดชอบ อกี ดวย - โปรแกรมการบำบดั ฟน ฟูฯแบบจิราสา เปนรูปแบบของการบำบัดรักษาผูติดยาเสพติด โดยให ความรูดานการปองกันยาเสพติด หัวใจอยูที่การปองกัน ปญ หายาเสพติดในเยาวชน เนนการปรบั เปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมซึ่งใชหลักการของการดำเนินชีวิตตามวิถี ของไทยรวมกับอิงหลักปฏิบัติทางศาสนา ตามแนวทาง พุทธของ อ.นพ. ทรงเกียรติปยะกะ เพื่อใหผูปว ยเลิกการ ใชสารเสพตดิ ไดอยา งยั่งยนื - โปรแกรมการลดอนั ตรายจากการ โปรแกรมชวยใหผูติดยาเสพติด (สวนใหญเปนชนิดฉีด) ใชย าเสพติด(Harm Reduction) สามารถดำรงชีวิตอยูได โดยยังคงใชยาเสพติดหรือ สารทดแทนในขณะที่ยังไมสามารถหยุดใชยาเสพติดได ทันที โดยดำเนินการแบบเปนกลางตอการใชยา คือไมได ใหอภัยเรื่องการใชยา ขณะเดียวกันก็ไมรังเกียจการใชยา แตเนน อนั ตรายที่เกดิ ขน้ึ จริงจากการใชยาเสพติด - โปรแกรมการบำบดั ฟนฟูฯ แบบเขม ขน เปน กระบวนการท่ีนำองคประกอบ 4 ดา น มาใชรวมกัน ทางสายใหม(FASTModel) เพื่อฟนฟูผูเสพยาเสพติดใหสามารถกลับคืนสภาพ รางกายและจิตใจที่เขมแข็ง และมั่นคง โดยมีครอบครัว เปนหลักสำคญั โดยมีระยะเวลาบำบดั 4 เดอื น - โปรแกรมการบำบดั ฟน ฟูฯ ตามแนว โปรแกรมการบำบัดรักษาผูปว ยโดยใชหลักการปรับเปล่ียน คายปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม พฤติกรรมซึ่งใหผูปวยมาพักคางในสถานที่ที่จัดไวเชน คายเยาวชนตนกลาคายชุมชนคายฟนฟูฯคายญาลันนัน คมู อื การใชงาน ระบบขอ มลู การบำบัดรกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 210

บารูคายกาวใหมคายศูนยขวัญแผนดินคายวิวัฒน พลเมอื งเปนตน - โปรแกรมการบำบัดฟน ฟูฯของกรมพนิ ิจ โปรแกรมการแกไขบำบัดฟนฟูเด็กและเยาวชนท่ี และคุมครองเด็กและเยาวชน เกี่ยวของกับยาเสพติด ซ่ึงใชในการบำบัดแกไขฟนฟูเด็ก และเยาวชนที่เกี่ยวของกับยาเสพติด เพื่อใหเด็กและ เยาวชนเลิกใชยาเสพติดและสามารถกลับไปอยูใน ครอบครวั และสังคมไดอ ยางปกติสุข - โปรแกรมการบำบัดฟน ฟูฯของ เปนโปรแกรมสำหรับผูตองขังแยกประเภท เชน กรมราชทณั ฑ โปรแกรมสำหรับผูตองขงั เตรียมปลอย โปรแกรมสำหรับ ผูตองขังคดีตองโทษซ้ำ โปรแกรมสำหรับผูตองขังคดี เกี่ยวกบั เพศ โปรแกรมสำหรับผูตองขังผิดวินยั โปรแกรม สำหรับผูตองขังเสพยาเสพติด ไดแก โปรแกรมชุมชน บำบัด (TC) ที่มีระยะเวลาปกติที่ 4 เดือน เนน กระบวนการฟนฟูสมรรถภาพดวยกลุมผูตองขังดวย กันเอง เพื่อพัฒนาพฤติกรรม สติปญญา จิตใจ อารมณ ความรูสึกและการอยูรวมกันในสังคมอยางปลอด ยาเสพตดิ โดยมีคูม ือแนวทางในการปฏิบตั งิ านให - โปรแกรมการบำบัดฟน ฟฯู ตามหลกั สูตร โปรแกรมการบำบัดฟนฟูฯที่สถานที่ฟนฟูสมรรถภาพผู มาตรฐานแกนกลาง ติดยาเสพติดแบบควบคุมตัวนำมาใชในการฟนฟูฯ สำหรบั ผูเ ขา รบั การฟน ฟสู มรรถภาพผตู ิดยาเสพติด - โปรแกรมฟน ฟขู องกรมคมุ ประพฤติ โปรแกรมการบำบัดฟนฟูที่สำนักงานคุมประพฤติ ดำเนินการจัดกิจกรรมเองใหกับผูเขารับการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดที่เขารับการฟนฟูฯแบบไม ควบคุมตัว - อืน่ ๆ ระบุ โปรแกรมอ่นื ทน่ี อกจากทก่ี ลา วขา งตน 14) กรณที ่เี ปน ผูป วยนอก (สมคั รใจ) กรณีผูปวยระบบสมัครใจไดร บั การบำบัดรักษาแบบ ผปู วยนอก ทำการประเมนิ ผลบำบดั รกั ษาในแตละครั้ง - ครัง้ ที่ระบุครง้ั ท่มี าบำบัดรกั ษาในรอบนี้ - วนั ที่ ระบุวันทม่ี าพบผใู หก ารบำบดั ในครง้ั นี้ - ผลการประเมิน ประเมินผลการบำบัดรักษาผูปวยในการมาครั้งน้ีผูปวย ยงั เสพยาอยู หรือไมเสพ คมู ือการใชงาน ระบบขอมูลการบำบดั รักษาและฟน ฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 211

15) สงตอ ระหวา งการบำบัดฟน ฟูฯ(refer) การสงตอระหวางหนวยงานที่ใหบริการดานการบำบัด ระบุ แกไขฟนฟู เพื่อใหการบำบัด แกไข ฟนฟูผูเขาสู - วันท่ีสง ตอ วัน....เดอื น...ป. ... - เหตุผลในการสง ตอ กระบวนการบำบัด โดยระบุชื่อหนวยบำบัดที่ตอ งการสง ผูปวยไปบำบัดฟนฟูตอ 16) การประเมนิ ผลการบำบัดรักษา/ ระบุวันทีท่ ำการสงตอ ผูปว ย ฟน ฟูสมรรถภาพ เลอื กเหตผุ ลในการสง ตอ ดังน้ี สมคั รใจ 1) ผูปวยตอ งการยา ยสถานท่บี ำบัดฟน ฟู - ผลประเมนิ การบำบดั ฟน ฟูสมรรถภาพ 2) เปลย่ี นรูปแบบโปรแกรมบำบดั ฟนฟู ตามโปรแกรม 3) เกินศกั ยภาพของหนว ยงาน - วนั ท่ีประเมนิ ผล วนั ...เดอื น....ป.... 4) อ่ืนๆ ระบุ - ครบโปรแกรม การประเมินผลหลังจากใหการบำบัดรักษาและฟนฟู ผปู ว ย - ไมครบโปรแกรม (หยดุ รบั การบำบดั ฟนฟู : Drop out) ผูใหการบำบัดฟนฟูทำการประเมินผลการบำบัดฟนฟู ตามโปรแกรมทใ่ี หก บั ผูป วย บงั คับบำบัด วนั ทคี่ รบกำหนดการประเมนิ ผลการฟนฟูฯ ตามทก่ี ำหนด - วนั ทีป่ ระเมนิ ผล วัน...เดือน....ป. ... ผูปวยไดรับการบำบัดรักษาจนครบโปรแกรมที่กำหนด - ชวงการฟน ฟสู มรรถภาพ หรือหนวยบำบัดฯพิจารณาเห็นสมควรใหออกจากการ บำบดั เน่อื งจากสามารถดำรงชวี ิตในสังคมไดต ามปกติ กฎหมายกำหนด ผูปวยบำบัดยังไมครบตามโปรแกรมไมวาดวยสาเหตุใดก็ ตามเชน ติดตามไมได ถูกจบั เสียชีวิต ไมสมัครใจรักษาตอ หลบหนี หรอื อ่นื ๆ ระบุสาเหตุน้นั ๆ ว ั น ท ี ่ ค ร บ ก ำ ห น ด ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร ฟ   น ฟ ู ฯ ต า ม ท่ี กฎหมายกำหนด ระยะเวลาตั้งแตผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติด ยาเสพติดเขารับการบำบัดฟนฟูจนครบระยะเวลาตามที่ - ปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมในทางทีด่ ีขึน้ ผ ู  เ ข  า ร ั บ ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ต ิ ด ย า เ ส พ ต ิ ด ไ ม  มี พฤติการณเกี่ยวของกับยาเสพตดิ และในระหวางการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดตรวจไมพบสารเสพติดใน คูมือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 212

ปสสาวะหรือไดคะแนนจากการประเมินพฤติกรรม ระหวางการฟน ฟสู มรรถภาพผูติดยาเสพตดิ อยูในระดับดี - ไมสามารถปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมได ผเู ขารับการฟนฟสู มรรถภาพผูติดยาเสพติดมีพฤติการณ ตองขยายระยะเวลาการฟน ฟฯู เกี่ยวของกับยาเสพติดหรือตรวจพบสารเสพติดใน ปส สาวะระหวางการฟนฟูสมรรถภาพผูตดิ ยาเสพติดหรือ ไดคะแนนจากการประเมินพฤติกรรมระหวางการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดในระดับตองปรับปรุงหรือไม ผานเกณฑการประเมินหรือการจงใจไมปฏิบัติตาม แผนการฟน ฟสู มรรถภาพผตู ิดยาเสพตดิ - ไมเ ขารบั การฟน ฟฯู (loss) ผเู ขารับการฟน ฟสู มรรถภาพผตู ดิ ยาเสพตดิ ไมป ฏิบตั ติ าม แผนทคี่ ณะอนกุ รรมการฯกำหนด ตอ งโทษ - วนั ที่ประเมินผล วนั ...เดอื น....ป.... วันที่ครบกำหนดการประเมินผลการฟนฟูฯตามท่ี กฎหมาย - จบโปรแกรม ระบุเหตุผลท่จี บโปรแกรมบำบดั ฟน ฟู o ยังอยใู นเรือนจำ/ทณั ฑสถาน ผูเขารับการบำบัดฟนฟูจบโปรแกรมแลว แตยังอยูใน เรือนจำ/ทัณฑสถาน o ออกจากเรอื นจำ/ทัณฑสถาน ผูเขารับการบำบัดฟนฟูจบโปรแกรมแลว และไดออกจาก เรอื นจำ/ทณั ฑสถาน o ยังอยูในสถานพนิ จิ และคมุ ครองเดก็ เด็กและเยาวชนทไ่ี ดรับการบำบัดครบตามโปรแกรมและ และเยาวชน ยังคงถูกควบคุมตัวอยูในสถานพินิจและคุมครองเด็กและ เยาวชน o ยงั อยูในศูนยฝกและอบรมเดก็ เด็กและเยาวชนท่ีไดรับการบำบัดครบตามโปรแกรมและ และเยาวชน ยังคงถูกควบคุมตัวอยูในศูนยฝกและอบรมเด็กและ เยาวชน - ไมจ บโปรแกรม ระบุเหตุผลที่เปนสาเหตุใหไมจบโปรแกรมการบำบัด ฟน ฟู ดงั นี้ 1) ไมยอมรับโปรแกรม 2) พนคมุ ประพฤติ 3) พักการลงโทษ 4) พน โทษ/พน การฝก อบรม 5) ปลอ ยตวั จากสถานพนิ ิจฯ 6) ยายเรือนจำ คูมือการใชงาน ระบบขอมลู การบำบัดรกั ษาและฟนฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 213

7) ยา ยสถานควบคุม 8) เสยี ชวี ิต 9) อ่นื ๆ ระบุ 17) ผลการบำบดั ฟน ฟูรปู แบบคา ยปรบั เปล่ียน สรุปผลการบำบัดฟนฟูรูปแบบคายปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรม พฤตกิ รรม - วันทีป่ ระเมินผล วัน...เดอื น....ป.... ระบุวันที่ไดรับการประเมินผลการเขาคายปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรม - ครบโปรแกรม ผูปวยเขา คายปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไดรับการบำบดั ฟน ฟู จนครบโปรแกรมที่กำหนด - ไมครบโปรแกรม ผูเขาคายปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ไมส ามารถรับการบำบัด ฟนฟูใหครบตามโปรแกรมทกี่ ำหนด โดยมสี าเหตุ ดงั น้ี 1) มอี าการทางจิต หรือเปนผตู ิดรุนแรง ใหสง ตอเขาฟน ฟู ในสถานพยาบาล พรอ มระบุชอ่ื สถานพยาบาล 2) ออกจากการบำบัดฟนฟูกอ นครบกำหนดเชน กลับไป ทำงาน ยา ยท่ีอยู ผปู กครองมารบั ตวั เปน ตน 3) หลบหนี 4) ตรวจสอบภายหลงั พบวาเปนผอู ยูระหวางดำเนินคดี อ่ืน 5) เสยี ชีวิต 6) อื่นๆ ระบุ นอกเหนือจากเหตุผลขา งตน 18) ผลการฟน ฟูฯ ตามคำสง่ั ผลการฟนฟูตามผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการฯ มาตรา 33 ดงั น้ี 1) กรณผี ลการฟน ฟเู ปนทพี่ อใจ ใหถอื วาผรู บั การฟน ฟู “พน” ขอหา 2) กรณผี ลการฟนฟูไมเปนทพี่ อใจ และมกี ารดำเนนิ คดี ศาลจะลงโทษนอยกวาท่ีกฎหมายกำหนดหรอื ไม ลงโทษเลยกไ็ ด โดยคำนึงถึงระยะเวลาทไ่ี ดร บั การ ฟน ฟูสมรรถภาพมาประกอบการพิจารณา - พอใจ ผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดเขารับการ ฟ   น ฟู ค ร บ ถ  ว น ต า ม แ ผ น ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ติ ด ยาเสพติดและระยะเวลาที่คณะอนุกรรมการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดกำหนดไว และผลการฟนฟูฯ คูม ือการใชง าน ระบบขอมูลการบำบดั รกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 214

- ไมพอใจ เปนที่พอใจ ใหถือวาผูนั้นพนจากความผิดที่ถูกกลาวหา - ยตุ กิ ารฟนฟู และคณะอนกุ รรมการฟนฟูสมรรถภาพผูตดิ ยาเสพติดแจง - อ่ืนๆ ระบุ ใหพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการทราบตอไป ตามมาตรา 33 วรรคแรกแหงพระราชบัญญัติฟนฟู สมรรถภาพผตู ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. 2545 ผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด เขารับการ ฟ   น ฟู ค ร บ ถ  ว น ต า ม แ ผ น ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ติ ด ยาเสพติด และระยะเวลาที่คณะอนุกรรมการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดกำหนดไว แตผลการฟนฟฯู ไม เปนที่พอใจ ใหคณะอนุกรรมการฟนฟูสมรรถภาพผูติด ยาเสพติดรายงานความเห็นไปยังพนักงานสอบสวนหรือ พนักงานอัยการ เพื่อพิจารณาดำเนินคดีกับผูนั้นตอไป ตามมาตรา 33 วรรคสองแหงพระราชบัญญัติฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติดพ.ศ. 2545 ผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดอยูระหวาง การฟนฟูตามคำวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการฟนฟู สมรรถภาพผตู ิดยาเสพตดิ และปรากฏวาผูเขารับการฟนฟู สมรรถภาพผูต ิดยาเสพติดน้ันตองหาหรือถูกดำเนินคดีใน ความผิดฐานอืน่ ซึ่งเปนความผิดที่มีโทษจำคุกหรือตองคำ พิพากษาใหจำคุก ตามมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติ ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 และ คณะอนุกรรมการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดหรือ ศาลมีคำส่ังใหสงตัวไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดี ตอไป หรือผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด เสียชวี ติ หรือคดขี าดอายคุ วาม ผลการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด ตาม ที่ ค ณ ะ อ น ุ ก ร ร ม ก า ร ฟ   น ฟ ู ส ม ร ร ถ ภ า พ ผ ู  ต ิ ด ย า เ ส พ ติ ด พจิ ารณานอกเหนือจากขางตน คมู ือการใชงาน ระบบขอมลู การบำบดั รักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 215

19) ผลการรกั ษาอาการทางจิตเวช ประเมินผลการรักษาอาการทางจิตเวชของผูปวย วามี 20) ผลการรักษาอาการทางสุขภาพกาย สุขภาพจิตสงบ/ดีขึ้น คงเดิม แยลง หรือแยลงมากจน 21) สรปุ รายงานเมอื่ ส้นิ สดุ การบำบัดฟน ฟู ตอ งนอนโรงพยาบาลซำ้ - สงคนื หนวยตนสังกัดระบุ ประเมินผลการรักษาอาการทางสุขภาพกายของผูปวย วามีสุขภาพกายดีขึ้น คงเดิม แยลง หรือแยลงมากจน - สง ติดตามดูแลชวยเหลือ ตองนอนโรงพยาบาลซำ้ o สงในหนวยบำบัดของตนเอง o สง ใหห นว ยงานอน่ื ตดิ ตาม ผูปวยสิ้นสุดการบำบัดฟน ฟูครบตามโปรแกรมที่กำหนด ระบุหนว ย หรอื ครบตามเกณฑ - จำหนาย (discharge) กรณีผูปวยไดรับการบำบัดฟนฟูครบตามโปรแกรมท่ี กำหนดโดยตองการสงคืนใหกับหนวยงานอื่นๆ หรือ หนวยงานเดิมตนสังกัด เพื่อใหการบำบัดฟนฟูตอหรือ ติดตามดแู ลตอ เชน สงกลับคืนกรมคุมประพฤติ เปน ตน ผูปวยไดรับการบำบัดฟนฟูครบตามโปรแกรมที่กำหนด ใหสงติดตาม ดูแล ชว ยเหลอื อยา งเหมาะสม เมื่อสิ้นสุดการบำบัดฟนฟูในรูปแบบใดแบบหนึ่งแลว มี ความจำเปน ตองไดร ับการบำบัดรกั ษาตอ ตอ งการทีจ่ ะสง ตอไปบำบดั ภายในของหนวยงานตนเอง กรณที ี่สงตอ ใหห นวยงานอืน่ ตดิ ตามตอ ดังนี้ 1) ระบบสมัครใจ : หยุดเสพ ลดการเสพ 2) ระบบบังคบั บำบดั : ผลการฟนฟูฯ จากคณะอนุกรรมการ ฟนฟูฯ เปนทีน่ าพอใจ 3) ตอ งโทษ : จบโปรแกรมการฟนฟูฯ ดำเนินการจำหนายผูปวยออกจากการบำบัดฟนฟู ใน สาเหตดุ งั น้ี 1) ระบบสมคั รใจ:ติดตามไมได ถูกจบั เสียชวี ิต 2) ระบบบังคบั บำบัด: กรณี ตอบ “ไมพ อใจ” และ “ยตุ ิ การฟน ฟ”ู จากผลการฟน ฟูฯ ตามคำสงั่ คณะอนุกรรมการ 3) ระบบตอ งโทษ: ของกรมราชทณั ฑ ไดแ ก พนคุมความ ประพฤติ พักการลงโทษพน โทษเสียชีวติ สว นของกรม พินิจฯ ไดแก ปลอยตวั เสียชีวติ อื่นๆ คูมือการใชงาน ระบบขอมูลการบำบดั รกั ษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 216

รายงานการติดตามดูแลรกั ษาตอเนอื่ ง (After care) - วนั ที่ ลงทะเบยี นการตดิ ตามรักษา ระบุวันที่/เดือน/ปที่ทำการบันทึกการติดตามในแตละคร้ัง ตอ เนอ่ื ง สวนท่ี 1 ขอมูลสว นบุคคล 1) – 7) ขอ มลู อตั โนมตั ิจากรายงานการบำบัด ขอมูลอัตโนมัติจากรายงานการบำบัดรักษาและฟนฟู รักษาและฟนฟสู มรรถภาพผูต ดิ สมรรถภาพผูติดยาเสพติด ไดแ ก ชื่อ-สกุล เพศ สัญชาติ ยาเสพตดิ ศาสนา เลขที่บัตรประชาชน วันเดือนปเกิด อายุ ที่อยู ภูมิลำเนา ที่อยูตามทะเบียนราษฎร ที่อยูปจจุบัน เบอร โทรศัพทติดตอ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได อาศัยอยูกับ ความสัมพันธระหวางบิดามารดา ระบบการบำบัดรักษา ยาเสพติดหลักที่ใชและผลการ บำบัดฟน ฟู สวนท่ี 2ขอ มูลการติดตามดแู ลรกั ษาตอ เนอ่ื ง - ผลการติดตาม ครง้ั ที่ ระบุครั้งที่ติดตามในแตละครั้งโดยติดตามภายใน 1 ป หลงั จากผานการบำบดั - ระบุ วนั ที่/เดอื น/ป ระบุวนั ท/่ี เดอื น/ปท ีต่ ิดตามในแตละครั้ง - การติดตามคร้งั สดุ ทาย เมื่อทำการติดตาม ดูแล ชวยเหลือผูผานการบำบัดเปน คร้งั สดุ ทา ย หรอื มเี หตุตองจำหนา ยการตดิ ตาม 1) สถานะของผผู านการบำบดั ฟน ฟู ตรวจสอบสถานะของผูปวยในระหวางการติดตาม ดูแล ชวยเหลือ - พบ ในการติดตามครั้งนั้นพบวา พบผูปวย ใหสำรวจ สถานการณใ ชย าเสพตดิ o ไมเ สพ ผปู วยไมใชย าเสพติด ในระหวา งการติดตามหลังการรักษา คร้งั นนั้ o เสพ ในการติดตามในครั้งนั้นพบวาผูปวยมีการใชยาเสพติด หรือผูปวยกลบั ไปใชยาเสพติดในระหวางการติดตามหลัง การรักษาครง้ั น้นั ใช 1-2 ครั้งตอ สปั ดาห สอบถามลักษณะการเสพ ปรมิ าณและชนดิ รวมทงั้ อาการ ผดิ ปกตทิ างกายและจติ ใจ และใหคำปรกึ ษาชวยเหลือ ใชมากกวา 2 คร้งั ตอ สัปดาห สอบถามลกั ษณะการเสพ ปรมิ าณและชนดิ รวมทัง้ อาการ ผิดปกติทางกายและจิตใจ และใหคำปรึกษาชวยเหลือ จูงใจในการเลิกเบ้ืองตน คูมอื การใชง าน ระบบขอ มูลการบำบัดรักษาและฟนฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 217

- ไมพ บ ในการติดตามครั้งนั้นพบวา ไมพบผูปวย ใหระบุสาเหตุ o ยา ยท่อี ยู ของการไมพบ o เปล่ยี นทที่ ำงาน ผูปวยยา ยทอ่ี ยเู ดิมไปอยูท ใ่ี หม ใหระบุที่อยใู หมใหช ัดเจน o ถกู จบั ผปู ว ยยา ยที่อยูเน่อื งจากมีการเปล่ยี นทีท่ ำงานใหม ใหระบุ o เสียชวี ิต ท่อี ยูใ หมใหชัดเจน o ติดตามไมไ ด ผูปวยถูกควบคุม จับกุมโดยเจา หนาที่ตำรวจ ผูป ว ยถึงแกกรรม o อ่ืนๆ ระบ.ุ ..... ผูปวยขาดการติดตอ หรือเจาหนาที่ไมสามารถติดตาม 2) ภาวะสขุ ภาพกาย ผูปวยได ขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูตามวา ระยะเวลานาน เทา ไรทีจ่ ะหยุดการติดตาม เชน คร้ังที่ 1 ออกติดตามแลว - แข็งแรง ไมพบผูปวย ใหรอการติดตามครั้งถัดไปจึงออกติดตามอีก ครั้งไปเรื่อย ๆ จนแนใจวา ไมสามารถติดตามไดแลวจรงิ ๆ - ออ นแอ จงึ จำหนา ยการติดตาม - เจ็บปวย/ทรุดโทรม ระบุสาเหตุท่ไี มพ บนอกเหนอื จากที่กลาวขางตน 3) ภาวะสุขภาพจติ และจติ เวช ดจู ากการสมั ภาษณ และการสงั เกต - ปกติ - ซึมเศรา/แยกตัว สภาวะของรางกายที่มีความสมบูรณ แข็งแรง - กาวรา ว - หวาดระแวงโดยไมมีเหตุผล เจริญเติบโตอยางปกติระบบตางๆของรางกายสามารถ ทำงานไดเปนปกติและมีประสิทธิภาพ รางกายมีความ ตานทานโรคไดดีปราศจากโรคภัยไขเจ็บและความ ทุพพลภาพ สภาวะรา งกายมอี าการออนแรง กำลงั นอ ย ไมส ดชืน่ สภาพรา งกายมีอาการเจ็บปว ย ออ นเพลีย และทรุดโทรม ไมสามารถดำรงชวี ิตไดปกติ ดจู ากการสมั ภาษณ/ สงั เกตผูป วยหรอื คนใกลช ดิ ผปู ว ยปกติจนถงึ สดชนื่ รา เรงิ แจม ใส ผูปวยเก็บตัวชอบอยูคนเดียวแยกตัวไมคอยพูดกับผูอ่ืน ซง่ึ ผดิ ไปจากเดิม ผปู ว ยมีลักษณะกาวรา วรุนแรง ผปู วยมพี ฤตกิ รรมขอใดขอหน่งึ ดังตอไปน้ีอยางชดั เจนโดย ไมม ีเหตผุ ลถือวา มีอาการหวาดระแวง 1)หวาดระแวงกลวั คนจะมาปองรา ยหรอื ทำราย 2)คดิ วาตนเองถูกกลนั่ แกลง หรอื ถูกจบั ผดิ คมู อื การใชงาน ระบบขอมูลการบำบัดรักษาและฟนฟูผตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 218

3)ระแวงวามีคนคอยติดตาม 4) มีความคดิ วามีอำนาจบางอยางมาบังคบั หรือควบคุม 5) คดิ วาคนรอบขา งมักนนิ ทาหรือพดู ถงึ ตนเอง 6) มคี วามเชื่อหรือมีความคิดทไ่ี มมเี หตผุ ลและไม สอดคลองกบั วฒั นธรรม 7) สะสมอาวุธใชป อ งกันตวั จากความระแวง - หูแววหรอื เหน็ ภาพหลอน สัมภาษณผูปวยภายใน 1 เดือนจนถึงปจจุบันมีอาการ เหลานี้ขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ถือวา มีภาวะหูแววหรือเห็น ภาพหลอน 1) ไดยินเสียงโดยไมเห็นตัวคนพูดหรือไดยินเสียงเพียง คนเดยี ว 2) พูดคนเดียวเหมอื นกบั โตตอบกับใคร 3) ทำตามเสยี งแวว ท่ีสัง่ - มีความคิดฆา ตวั ตาย มคี วามคิดวาไมสามารถทนตอภาวะเชน นี้ไดหาทางออก ไมไ ดและหรอื ตัดสนิ ใจอยากฆา ตวั ตาย 4) วธิ กี ารติดตามรักษาตอ เนอ่ื งหลังการบำบัด วิธีการติดตามดูแลใหความชวยเหลือผูผานการบำบัดให ฟน ฟูสมรรถภาพ สามารถกลับมาดำรงชวี ิตไดตามปกติทั้งในดานการศึกษา และการประกอบอาชีพโดยประสานงานกับองคกรที่ เกี่ยวของรวมทั้งภาคประชาชนและองคกรชุมชนได เขา มามีสวนรว ม - นัดตดิ ตามการรกั ษาในสถานบำบดั นดั ผูปวยมารายงานตวั ติดตามผลทหี่ นวยงานทต่ี ดิ ตาม - นดั ใหมารายงานตัวในสถานทก่ี ำหนด นัดผูปวยมารายงานตัวติดตามผล ณ สถานที่ที่กำหนด เชน ศาลาประชาคมหมูบาน ท่วี าการอำเภอ เปนตน - การติดตามภายในสถานท่คี วบคุมตวั ใชวิธีการติดตามในสถานที่ปด เชน เรือนจำ ศูนย ฝกอบรมเด็กและเยาวชน ศนู ยฟนฟูแบบปด เปน ตน - การตดิ ตามเย่ยี มบา นในชุมชน ใชวิธีติดตามผูปวยโดยออกเยี่ยมบานผูปวยเพื่อติดตาม ผลการบำบดั รักษา - การตดิ ตามโดยอาสาสมัครในชมุ ชน ใชวิธกี ารติดตามโดยอาศัยอาสาสมัครในชุมชน ในการไป เยี่ยมบาน พบปะตามหมูบา น หรือสถานที่ท่ีอาจพบเจอ เปนประจำ - อ่นื ๆ ระบุ หนวยงานติดตามใชวิธีติดตามผูปวยโดยสงจดหมายหรือ โทรศพั ทสำหรับตดิ ตามผลการบำบดั รักษา คูมือการใชงาน ระบบขอมลู การบำบัดรกั ษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 219

5) รูปแบบติดตามรกั ษาตอ เนื่อง รูปแบบการติดตามดูแลชวยเหลือผูผานการบำบัดรักษา อยางตอเนื่อง ขึ้นอยูกับบริบทของการทำงานแตละ หนว ยงาน - การตดิ ตามทางการแพทย การติดตามการรักษาตามแนวทางของแพทยหรือผูให การบำบัดฟนฟู โดยแบงรูปแบบการติดตามออกเปน 2 ประเภท ดงั น้ี 1)การติดตามเปน รายบุคคล โดยวธิ ดี งั น้ี - พบแพทย/ รับยา - ใหคำปรึกษา - จิตบำบัด - การใหบ ริการลดอันตรายจากการใชยาเสพตดิ - อื่นๆ ใหร ะบุนอกเหนือจากขางตน 2)การติดตามเปนรายกลมุ โดยวิธี ดงั นี้ - กลุมปองกันการเสพซ้ำ (relapse prevention) เชน กลุมปญญาสังคม - กลุมชว ยเหลอื กันเอง (self help group) - อืน่ ๆ ใหระบุนอกเหนอื จากขางตน - การติดตามทางสงั คม (social support) การติดตาม ดูแล ชวยเหลือผูผานการบำบัดทางดาน สังคม โดยแบงรูปแบบการติดตามออกเปน 2 ประเภท ดังน้ี 1) การติดตามเปนรายบคุ คล 2) การติดตามเปนรายกลมุ โดยวธิ ดี งั น้ี - กิจกรรมการฝกทักษะอาชีพ - กจิ กรรมดา นกฬี า - กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน - กิจกรรมการศึกษา - กิจกรรมชมรม - กิจกรรมระยะติดตามผลการบำบัดและกิจกรรม เ ส ร ิ ม ส ร  า ง ภ ู ม ิ ต  า น ท า น ส ำ ห ร ั บ เ ด ็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ท่ี เกย่ี วขอ งกับยาเสพติด (กรมพนิ ิจฯ) คมู อื การใชง าน ระบบขอมูลการบำบัดรักษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 220

- อนื่ ๆ ระบุ อื่น ๆ ใหระบุรูปแบบการติดตามนอกเหนือจากขางตน 6) การใหย า มีการใหยาระหวางการติดตามดูแลรักษา หลังจากผาน - ไมมี การบำบดั ฟน ฟู - รักษาอาการโรคทางกาย ไมมกี ารใหย าระหวา งการตดิ ตามดูแลรักษาตอ เนอื่ ง - รกั ษาอาการทางจิตเวช มีการใหย าเพ่ือรกั ษาโรคทางกาย ดงั น้ี - รักษาดว ยเมทาโดน - อนื่ ๆ ระบุ 1) ยาแกปวด 7) พฤตกิ รรมสรา งสรรค 2) ยารักษาวัณโรค 3) อื่น ๆ นอกเหนอื จากขา งตน - ไมมี - จิตอาสา มีการใหยาเพื่อรกั ษาโรคทางจติ เวช ดังน้ี - เรยี นหนังสอื ตอได - มงี านทำ 1) ยารกั ษาโรคจิต - รายไดพอเลย้ี งชพี 2) ยารกั ษาซึมเศรา /วิตกกงั วล 3) ยาปรับสภาพอารมณ/ยากนั ชัก 4) ยานอนหลบั 5) สารกระตนุ เชน ยารกั ษาโรคสมาธสิ น้ั 6) ยาลดภาวะแทรกซอนจากยาโรคจติ 7) อื่นๆ นอกเหนือจากขางตน มีการใหสารทดแทนหรือเมทาโดน เพอ่ื รกั ษาตอเนือ่ ง อื่น ๆ ใหระบุการใหย านอกเหนอื จากขา งตน การกระทำของบุคคลในการคิดริเริ่มทีแ่ ปลกใหมแตกตาง กับสิ่งอื่นมีคุณคาหรือมีประโยชนตอสังคมประกอบดวย การสรา งความรูสึกการสรางแรงจูงใจรวมทั้งตองมีความรู และความสามารถ ไมมีพฤติกรรมสรางสรรค หรือไมมีพฤติกรรมที่เปน ประโยชน มีพฤติกรรมเอื้อเฟอ ชวยเหลือเกื้อกูล โดยมีจิตอาสาทำ เพือ่ ประโยชนส วนรวม มีพฤติกรรมที่สามารถปรับตัวได และสามารถเรียน หนงั สอื ไดต ามปกติ สามารถทำงานไดอ ยา งปกติ ไมตกงาน สามารถทำงานจนมีรายไดพอเลี้ยงชีพตนเอง หรือ ครอบครัว คูมือการใชงาน ระบบขอมลู การบำบัดรักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 221

- อืน่ ๆ ระบุ อ่ืน ๆ ใหระบพุ ฤติกรรมสรา งสรรคนอกเหนอื จากขางตน 8) พฤติกรรมความเสีย่ ง สังเกตจากการประเมินทั้งดวยวาจา ความคิด อารมณ - ไมพบพฤตกิ รรมเส่ียง พฤติกรรม ทั้งที่แสดงออกหรือคำบอกเลาหรือประวัติ จากญาตแิ ละผใู กลชดิ - มแี นวโนมใชยาเสพตดิ มากขึน้ - ทะเลาะววิ าทกบั คนในครอบครวั จากการสัมภาษณและการสังเกต ไมพบพฤติกรรมเส่ียงท่ี มีลักษณะผิดปกติ หรือพฤติกรรมที่อาจเปนอันตรายตอ - ขาดเรียน/หยุดงาน ตนเองและผอู ่ืน - กอ อาชญากรรม จปี้ ลน ชิงทรัพย จากการสัมภาษณและการสังเกตพบขอมูลทีแ่ สดงวาอาจ - พฤติกรรมเสย่ี งตอ โรคตดิ ตอ ทาง มกี ารใชยาเสพตดิ หรือสารทดแทนเพม่ิ ขนึ้ เพศสมั พันธ - อนื่ ๆ ระบุ การทะเลาะวิวาทหรือการกระทำใดๆโดยมุงประสงคให 9) สมั พนั ธภาพในครอบครวั เกิดอันตรายแกรางกายจิตใจหรอื สุขภาพหรือกระทำโดย - ยอมรบั /ชว ยเหลือ เจตนาในลักษณะที่นาจะกอใหเกิดอันตรายแกรางกาย - อยรู วมกนั ได จติ ใจหรอื สุขภาพของบุคคลในครอบครวั - ไมม ญี าติ - ไมยอมรับ มีพฤติกรรมขาดเรยี น หรือหยุดงาน บอ ยครั้ง 10) สมั พันธภาพในชมุ ชน มีพฤติกรรมที่เสี่ยงอันตรายหรือกระทำโดยรุนแรงตอ ผูอื่น ทำรายรางกายผูอื่น โดยมีลักษณะที่ผิดกฎหมาย เชน กออาชญากรรม จี้ปลน ชิงทรัพย ทำรายรางกาย ผอู นื่ เปนตน มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการติดตอโรคทางเพศสัมพันธ เชน เอดส หนองใน ซฟิ ลสิ เปนตน อน่ื ๆ ใหร ะบพุ ฤติกรรมเสย่ี งนอกเหนอื จากขา งตน สังเกตจากการสัมภาษณผ ปู ว ยหรอื บคุ คลในครอบครัว ครอบครัวมีการยอมรับผูปวย ยอมรับไดกับสภาพแบบน้ี และพรอ มท่จี ะชวยเหลอื เมื่อมโี อกาส ผปู ว ยและครอบครัวหรือญาติ สามารถอยรู วมกันได ไมมี ปญหา ผูปวยไรครอบครัว หรือญาติ ไมมีคนคอยใหคำปรึกษา หรือชว ยเหลอื ครอบครัวหรือญาติไมใหการยอมรับผูปวย และไม ชว ยเหลือ สังเกตจากการสัมภาษณผูปวยหรือบุคคลในครอบครัว หรือบคุ คลในชุมชน คูมอื การใชง าน ระบบขอมูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 222

- ยอมรับและชวยเหลือ บคุ คลในสงั คมชุมชนใหการยอมรับผูปวย และพรอมท่ีจะ ชวยเหลือเมือ่ มีโอกาส - อยูรว มกนั ได ผปู ว ยสามารถอยูรวมกบั สงั คมชุมชนได โดยไมมปี ญ หา - ไมย อมรบั ชมุ ชนไมใ หการยอมรบั ผปู ว ย และไมช ว ยเหลือ 11) การขอรบั ความชวยเหลอื การสำรวจความตอ งการความชว ยเหลือของผปู ว ย - ไมต อ งการ กรณีท่ีไมตองการ ใหระบุสาเหตุท่ีไมตองการ เชน มีงาน ทำ กำลังเรียนหรือศึกษาตอ ไมประสงครับความ ชวยเหลือใด ๆ หรืออื่น ๆ ใหระบุเหตุผลที่ไมตองการ ความ ชว ยเหลือ - ตองการ กรณีที่ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือ ใหระบุ ความตองการชวยเหลือประเภทตาง ๆ โดยสามารถ เลือกความตองการไดมากกวา 1 ประเภท และ เรียงลำดบั ความตองการชว ยเหลือมากทีส่ ุด ลำดับที่ 1 , 2,3 o การศกึ ษา ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือดานการเรียน การศึกษาตอ ทั้งการศึกษาในระบบ หรือการศึกษานอก ระบบ o ฝกอาชีพ ผูผา นการบำบดั ตองการความชว ยเหลือดานการฝกทกั ษะ อาชีพ ที่คาดวาจะสามารถนำไปตอยอดเพื่อประกอบ อาชีพได โดยขอใหหนวยงานของรัฐเปนผูประสานสงตอ เพื่อขอรับการสงเสริมแนะนำการศึกษาฝกหัดอาชีพ มีท้ัง หลักสตู รระยะสน้ั และระยะยาว o จัดหางานใหท ำ ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือที่จะทำงานหรือ ประกอบอาชีพโดยขอใหหนวยงานของรัฐเปนผูประสาน สง ตอและหรือจดั หางานท่เี หมาะสมให o ทุนประกอบอาชีพ ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือที่จะขอรับเงิน ทุนอุดหนุนในการประกอบอาชีพอิสระตางๆ เชนคาขาย ชา งยนต อปุ กรณป ระกอบอาชีพ เปนตน o สงตอ เขารับการรักษาโรคทางกาย/ ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือที่จะขอรับการ ทางจิตเวช บำบัดรักษาอาการเจ็บปวย โรคประจำตัว โดยขอให หนว ยงานของรฐั เปน ผปู ระสานสงตอ คูมือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบัดรักษาและฟนฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 223

o ท่พี กั อาศัย ผูผานการบำบัดตองการความชวยเหลือที่อยูอาศัย o อ่ืนๆ ใหระบุ ทพี่ กั พงิ ชัว่ คราวหรือถาวร - ระบหุ นว ยงานชวยเหลือ ผูผานการบำบัดรักษาตองการความชวยเหลืออื่นๆ ให ระบุความตอ งการชวยเหลอื น้ัน ๆ o หนว ยงานใหความชว ยเหลือเอง ในกรณีที่เปนผูปวยมาจากระบบสมัครใจซึ่งผานการ o สง ตอชว ยเหลอื ไปยังศนู ยเพ่ือ บำบัดจากสถานพยาบาลหรือศูนยฟนฟูสมรรถภาพ ประสานการดูแลผผู านการบำบดั ตอ งการความชว ยเหลอื หลังจากผา นการบำบัด ฟน ฟู หนวยงานท่ีใหการบำบัดรักษา สามารถใหความชวยเหลอื - ขอ เสนอแนะของผทู ำหนา ท่ตี ดิ ตาม ผูปวยที่ตองการความชวยเหลือไดเอง หรือประสาน สง ตอหนว ยงานภาคีใหความชวยเหลือตอ ได 12) สรปุ รายงาน(ครั้งท่ี .....) หนวยงานที่ใหการบำบัดรักษา ไมสามารถใหความ - ตดิ ตามตอ เนื่อง ชวยเหลือผูปวยได เมื่อผูปวยตองการความชวยเหลือมา - สงตอ (refer) ระบุ โดยหนวยงานที่ใหก ารบำบัดตองการสงตอไปยังศูนยเพื่อ ประสานการดูแลผูผานการบำบัดฟนฟู ในระดับอำเภอ หรือเขต พรอมทั้งระบุที่ตั้งของอำเภอหรือเขตนั้นๆ เพ่อื ใหศูนยร ับดแู ลเรอ่ื งการใหค วามชว ยเหลอื ตอ ไป ผูที่ทำหนาที่ติดตาม พิจารณาแลวเห็นวา ผูผานการ บำบัดรักษาควรไดรับการชวยเหลือในสิ่งที่เหมาะสม อาทิเชน ขึ้นทะเบียนผูพิการ สนับสนุนการศึกษา ฝก อาชีพ จัดหางานใหทำ ใหทุนประกอบอาชีพ สงตอเขา รับการรักษาโรคทางกาย/ทางจิตเวช หรืออื่นๆ โปรด ระบุความตองการชวยเหลอื นน้ั ๆ ในการสรุปผลการตดิ ตามในแตละครัง้ ขึน้ อยูกบั ดลุ ยพินิจ ของผตู ดิ ตาม ผูทำหนาทีต่ ิดตามครั้งนี้ ทำการติดตามผูผานการบำบัด ตอ ในครง้ั ถัดไป จนครบตามเกณฑ ผูทำหนาที่ติดตาม ดูแล ชวยเหลือในปจจุบันทราบวา ผูผานการบำบัดมีการยายที่อยูใหม เปลี่ยนที่ทำงาน ยายเรอื นจำ หรอื ยา ยสถานที่ควบคุม ตองการสง ตอไปยงั หนวยงานในสังกัดหรือหนวยงานอื่น เพื่อทำการติดตาม ตอ ในครั้งถัดไป คมู ือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบัดรกั ษาและฟนฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 224

13) สรุปรายงานเมือ่ สน้ิ สดุ การติดตาม เมื่อติดตามครบตามมาตรฐานการติดตามของกระทรวง สาธารณสุข หรือติดตามไมครบตามมาตรฐานมีเหตุที่ตอง - จำหนายติดตามครบตามเกณฑ สรุปผลการติดตาม เมื่อสิ้นสุดการติดตามในรอบการ o ไมเสพ บำบัดฟนฟนู ้ัน ๆ o เสพซ้ำ เมื่อทำการติดตาม ดูแล ชวยเหลอื ผูผานการบำบัด ครบ - จำหนายตดิ ตามไมครบตามเกณฑ จำนวนครั้งและระยะเวลาที่กำหนด ใหสรุปผลการ ติดตามผูผานการบำบดั กลบั ไปเสพยาเสพติดซำ้ หรือไม o เสพซ้ำ o ตดิ ตามไมไ ด ผผู า นการบำบัดไดร ับการติดตามครบตามเกณฑท ี่กำหนด o ถกู จบั โดยไมก ลบั ไปเสพยาเสพตดิ อีก o เสยี ชีวิต ผผู านการบำบดั ไดร บั การตดิ ตามครบตามเกณฑท ี่กำหนด แตม ีกลบั ไปเสพยาเสพติดอีกในระหวางการติดตาม เมื่อทำการติดตาม ดูแล ชวยเหลือผูผานการบำบัดไป ระยะหนึ่ง พบวา กลับไปเสพซ้ำ ติดตามไมได ถูกจับ หรือเสียชีวิต กอนท่ีจะครบจำนวนครั้งและระยะเวลาท่ี กำหนดโดยใหสรปุ ผลการติดตาม ตามสาเหตขุ างตน ผูผานการบำบัดไดรับการติดตามไมครบตามเกณฑที่ กำหนด เนื่องจากมีการกลับไปเสพซ้ำ มากกวา2 คร้ัง ตอ เน่อื งกัน ผูปวยขาดการติดตอ หรือเจาหนาที่ไมสามารถติดตาม ผปู วยได ผูปวยถูกควบคุม จับกุมโดยเจาหนาที่ตำรวจ และทำให ไมสามารถตดิ ตามได ผปู ว ยถึงแกกรรม คูม ือการใชงาน ระบบขอ มูลการบำบดั รักษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 225

รายงานการใหความชว ยเหลอื ผผู านการบำบดั ฟนฟู สว นที่ 1 ขอ มลู สวนบุคคล 1) – 4) ขอมลู อตั โนมัติจากรายงานการ ขอมูลอัตโนมัติจากรายงานการติดตามดูแลรักษาติดตาม ดูแลรกั ษาตอเน่อื ง ตอเนื่องไดแก ชื่อ-สกุล เพศ สัญชาติ ศาสนา เลขที่บัตร ประชาชน วันเดือนปเกดิ อายุ ท่ีอยูภูมิลำเนา ที่อยูตาม ทะเบียนราษฎร ที่อยูปจจุบัน เบอรโทรศัพทติดตอ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได อาศัยอยูกับ และความสัมพันธร ะหวา งบดิ ามารดา 5) หนว ยบำบดั เบอรโทร หนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟูผูเสพผูติดยาเสพติด และ เบอรโ ทรศัพทติดตอ 6) การใหย า ขอมูลการใหยาจากรายงานการบำบัดรักษาและฟนฟู สมรรถภาพผตู ดิ ยาเสพติด 7) การขอรับความชวยเหลือ ขอมูลการขอรับความชวยเหลือจากรายงานการติดตาม ดแู ลรักษาตอเน่ือง สวนท่ี 2 ขอมูลการใหความชวยเหลือ 1) การใหค วามชว ยเหลอื ระดับอำเภอ/ หนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟู หรือหนวยงานท่ี หนวยงาน รับผิดชอบในการติดตาม ดูแล ชวยเหลอื ในระดับอำเภอ ใหความชวยเหลือในกรณีที่ผูผานการบำบัดตองการ ความชวยเหลือ - ไมสามารถใหความชวยเหลือไดเน่ืองจาก หนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟู หรือหนวยงานท่ี รับผิดชอบในการติดตาม ดูแล ชวยเหลอื ในระดับอำเภอ ไมสามารถใหความชวยเหลือได ใหระบุสาเหตุที่ไม สามารถชวยเหลือได o สงตอ ชวยเหลอื ไปยังระดับจงั หวัด กรณีที่ไมสามารถใหความชวยเหลือได ใหพิจารณาสงตอ การใหค วามชว ยเหลือไปยังระดับจงั หวดั (กรณีกรมพินิจฯ และกรมราชทัณฑ ติดตามเองไมสามารถสงตอระดับ จงั หวดั ได) - อยูระหวา งการพิจารณาใหค วาม หนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟู หรือหนวยงานท่ี ชวยเหลือ รับผิดชอบในการติดตาม ดูแล ชวยเหลือในระดับอำเภอ กำลังอยูระหวางการพิจารณาการใหความชวยเหลือแกผ ู ผานการบำบัด คมู ือการใชงาน ระบบขอมูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 226

- สามารถใหค วามชวยเหลอื ประเภท หนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟู หรือหนวยงานที่ รับผิดชอบในการติดตาม ดูแล ชวยเหลอื ในระดับอำเภอ 2) กรณรี ะดบั อำเภอ/หนวยงานไมส ามารถ สามารถใหความชวยเหลือได โดยระบุประเภทการให ใหความชว ยเหลอื ได ความชว ยเหลอื ไดมากกวา 1 ขอ ดงั น้ี 3) การใหค วามชวยเหลือของหนวยงาน 1) การศกึ ษา ระดบั จังหวัด 2) ฝกอาชพี - ประเภทการใหความชว ยเหลอื 3) จัดหางานใหทำ 4) ใหท นุ ประกอบอาชพี - หนว ยงาน 5) สง ตอเขารบั การรกั ษาโรคทางกาย/ทางจติ เวช - ใหค วามชวยเหลอื 6) ท่ีพกั อาศยั 7) อืน่ ๆ ใหระบุการใหค วามชว ยเหลือนอกเหนือจาก ขางตน ในกรณีหนวยงานที่ใหการบำบัดฟนฟู หรือหนวยงานที่ รับผดิ ชอบในการติดตาม ดูแล ชวยเหลอื ในระดับอำเภอ ไมสามารถใหความชวยเหลือได ใหสงตอการใหความ ชวยเหลือไปยังระดับจังหวัด โดยจังหวัดประสานความ รวมมอื ไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของในจังหวดั เพื่อใหความ ชว ยเหลอื ตอไป จังหวัดสรุปผลการใหความชวยเหลือผูผานการบำบัด ระดบั จังหวัด ระบุประเภทการใหความชวยเหลอื ดังนี้ 1) การศกึ ษา 2) ฝก อาชีพ 3) จัดหางานใหทำ 4) ใหทนุ ประกอบอาชีพ 5) สงตอเขารับการรักษาโรคทางกาย/ทางจติ เวช 6) ที่พกั อาศยั 7) อ่นื ๆ ใหระบุการใหความชวยเหลอื นอกเหนือจาก ขา งตน ระบุหนวยงาน องคก รที่ใหค วามชวยเหลอื ส า ม า ร ถ ใ ห  ค ว า ม ช  ว ย เ ห ล ื อ ต า ม ท ี ่ ผ ู  ผ  า น ก า ร บ ำ บั ด ประสงค คมู ือการใชงาน ระบบขอ มูลการบำบดั รกั ษาและฟนฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 227

- ไมส ามารถใหค วามชวยเหลือเน่ืองจาก กรณที ี่ไมสามารถใหค วามชว ยเหลอื ได ระบสุ าเหตุ ดงั น้ี 1) เกินขีดความสามารถของหนว ยงาน 2) ไมมีแหลง สนับสนนุ ชว ยเหลือ 3) ผขู อความชว ยเหลอื ไมต องการความชว ยเหลอื แลว 4) หนวยงานที่ประสานใหค วามชว ยเหลอื ไมด ำเนนิ การ ตอ 5) อนื่ ๆ ใหระบุสาเหตุนอกเหนือจากขา งตน ****************************** คมู อื การใชงาน ระบบขอมูลการบำบัดรกั ษาและฟนฟูผตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 228

ภาคผนวก ฉ. มาตรฐานการตดิ ตามของกระทรวงสาธารณสขุ คมู ือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบัดรกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 229

มาตรฐานการตดิ ตามของกระทรวงสาธารณสุข การตดิ ตามผผู านการบำบัดฟน ฟู เพอ่ื ติดตามดแู ลผูที่ผานการบำบัดฟนฟูสมรรถภาพตามกำหนด เรียบรอ ยแลว ใหส ามารถเลิกใชยาเสพ ตดิ ไดตลอดไป การรักษาขั้นตอนติดตามนี้ มีความสำคัญที่จะชวยใหผลของการเลิกยาเสพตดิ คงอยู และปองกันการ กลบั ไปเสพติดใหม ผูใหการบำบัดในขั้นนี้เปรียบพี่เล้ียงคอยชวยเหลอื แนะนำ เสริมสรางและเปนกำลังใจใหผู ผานการบำบดั รกั ษาและครอบครัว โดยมีวิธกี ารตดิ ตาม ดังน้ี 1. การติดตามทางตรง โดยผูใหการบำบัดพบกับผูเ ลิกยาเสพติด หรือ ผูเกี่ยวของดวยตนเองโดยมี วิธีการตางๆ คือ 1.1 การเย่ยี มบา น เพ่อื ใหไ ดข อมูลท่ีถูกตอ ง และสามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดอยางเหมาะสม 1.2 การเยี่ยมที่ทำงานของผูเลิกยาเสพติด ซึ่งไดจ ากขอมูลการทำงานและไดพบปะกับนายจางหรือ ผูรวมงาน 1.3 การนัดใหมาพบที่สถานพยาบาล หรือสำนักงานสาขาหรือสำนักงานชว่ั คราว เพื่อทดสอบความ รว มมอื ของผเู ลิกยาเสพตดิ โดยการนัดหมายใหม ารายงานตัวกับเจา หนาที่ผบู ำบัด 2. การติดตามทางออม โดยผูใหก ารบำบัดติดตอกับผูเลกิ ยาเสพตดิ โดยผานบุคคลหรอื สื่อกลางอ่นื ๆ ดงั นี้ 2.1 การติดตอผา นบคุ คลอน่ื เชน ตดิ ตอ ผา นนายจาง ครู ผูใหญบ าน อสม. ผปู กครอง ฯลฯ ซึ่งบุคคล อื่นหรือบุคคลที่ ๓ นี้ ควรมีคุณลักษณะที่เหมาะสม เพื่อทำหนาที่ชวยเหลือ แนะนำ สงเสรมิ และ เปนกำลงั ใจใหผูเลิกยาไดอยางมีคุณภาพ โดยมีหลักการพิจารณาบุคคลที่จะเปนสื่อกลาง ดงั น้ี - เปนผูทน่ี า เชื่อถือ และไวว างใจได - ไมเ ปนผตู ิดยาเสพติด หรอื เคยตดิ ยาเสพติดมากอ น - เปนผสู นใจ และเขา ใจการติดตามดแู ลผูเ ลกิ ยาเสพตดิ - ความเหมาะสมอ่นื ๆ เชน การมคี วามรู อานออกเขียนได ฯลฯ 2.2 การตดิ ตอทางไปรษณยี  2.3 การตดิ ตอ ทางโทรศัพท ไมวาจะติดตามดวยวิธีใดก็ตาม ควรจะดำเนินการเปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม เชน ติดตามทุก เดอื นท่ี ๑ , ๓ , ๖ , และ ๑๒ หากพบวามปี ญหาอาจจะเพิม่ ความถ่ีในการตดิ ตามไดต ามความจำเปน คมู ือการใชงาน ระบบขอมูลการบำบดั รักษาและฟนฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 230

๓. กิจกรรมการตดิ ตาม ประกอบดว ยกิจกรรมตา ง ๆ ไดแ ก - การสัมภาษณ หรอื สอบขอ มลู - ใหคำปรกึ ษา แนะนำ แกไขปญหา - เสริมกำลงั ใจ แนะแนว - ติดตามผล - ปอ งกันการติดยาเสพติดซ้ำอีก แนวทางการดำเนินงานตดิ ตามผผู านการบำบดั ฟน ฟูฯ ในระบบสาธารณสุข ตามระดับ การเสพตดิ มรี ายละเอียด ดงั น้ี ๑. กลุมผใู ช ตดิ ตาม ๑ คร้งั ใน ๓๐ วนั หลังจากผา นการบำบัดฟน ฟูฯ ๒. กลมุ ผูเสพ กลมุ ผตู ดิ ตดิ ตามอยา งนอ ย ๔-7 ครง้ั เปน เวลา ๑ ป และสมุ ตรวจปส สาวะ อยา งนอ ย ๔ ครง้ั หลงั จากผานการบำบัดฟน ฟูฯ โปรแกรมการตดิ ตาม 4 ครงั้ ตาราง ตวั อยา งโปรแกรมการตดิ ตาม 4 ครั้ง ครง้ั ท่ี 1 ระยะเวลาที่ทำการตดิ ตาม 2 1 เดอื นหลังการบำบัดฟน ฟฯู 3 3 เดอื นหลงั การบำบดั ฟน ฟฯู 4 6 เดือนหลังการบำบดั ฟน ฟฯู 12 เดอื นหลังการบำบดั ฟน ฟฯู โปรแกรมการติดตาม 7 คร้ัง ตาราง ตัวอยา งโปรแกรมการตดิ ตาม 7 คร้ัง ครง้ั ท่ี 1 ระยะเวลาท่ที ำการติดตาม 2 2 สัปดาหหลังการบำบัดฟน ฟูฯ 3 4 สัปดาหหลงั การบำบัดฟน ฟูฯ 4 2 เดอื นหลงั การบำบดั ฟน ฟฯู 5 3 เดอื นหลงั การบำบัดฟนฟูฯ 6 6 เดอื นหลงั การบำบดั ฟน ฟฯู 7 9 เดือนหลงั การบำบัดฟน ฟฯู 12 เดอื นหลงั การบำบดั ฟนฟูฯ คูมือการใชง าน ระบบขอมลู การบำบดั รกั ษาและฟน ฟผู ตู ิดยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 231

คมู ือการใชง าน ระบบขอ มูลการบำบดั รักษาและฟน ฟผู ตู ดิ ยาเสพตดิ ของประเทศ (บสต.) 232


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook