Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ต.บ้านคา อ.บ้านคา จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ต.บ้านคา อ.บ้านคา จ.ราชบุรี

Published by kl_1270100000, 2020-10-07 02:08:08

Description: แบบฟอร์มคลังปัญญาตำบลบ้านคา

Search

Read the Text Version

ทาเนยี บคลังปญั ญา ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ประจาเดอื น พฤศจกิ ายน 2562 กศน.ตาบลบา้ นคา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นคา สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา ด้วย กศน.ตาบลบ้านคา ได้ดาเนินการจัดทาภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพ้ืนท่ีอาเภอ บ้านคา เพ่ือเพิ่มพูนความรู้ซ่ึงความรู้และทักษะการในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และ ฝึกฝนได้ท้ังจากการศึกษาด้วยตนเองและรับการถ่ายทอดจากคนอ่ืน การนาภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพ้ืนที่ได้นาไปใช้และเรียนรู้เพ่ือเพ่ิมอาชีพและประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัว ให้มี การเจริญเติบโตอย่างต่อเน่ืองและเก้ือกูลในการผลิตซ่ึงกันและกัน โดยการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และไม่มีสารพิษ เช่น ดิน น้า แสงแดดอย่างเหมาะสมเกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลย์ ของ สภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ธรรมชาติด้วย กศน.ตาบลบ้านคา ได้จัดทารายงานรูปเล่มเพ่ือแสดงผลการจัดกิจกรรมให้ผู้ที่สนใจได้เห็นผลสัมฤทธิ์อย่าง ชดั เจน และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ กศน.ตาบลบ้านคา พฤศจกิ ายน 2562

สารบญั หนา้ คานา 1 สารบัญ 7 กศน.ตาบลบา้ นคา 10 13 - คลังปญั ญา เกษตรปลอดสารพษิ : คุณจานอง บญุ เลิศฟ้า - คลังปญั ญา เกษตรผสมผสาน : คณุ ระดม แสนชมพู - คลงั ปัญญา ผา้ ทอลายกะเหร่ียง : คณุ อารีย์ กงจก คณะผจู้ ดั ทา

1 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมลู คลงั ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ตาบล บา้ นคา อาเภอ บา้ นคา จงั หวดั ราชบุรี ชือ่ ภมู ปิ ญั ญา เกษตรปลอดสารพษิ ข้อมลู พนื้ ฐาน รายบคุ คล เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ /บคุ คลคลงั ปญั ญา ชอื่ นายจานอง นามสกลุ บุญเลิศฟ้า วันเดือนปเี กิด 23 พฤศจิกายน 2500 ท่อี ยปู่ ัจจบุ ัน (ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้) บา้ นเลขที่ 16 หมทู่ ี่ 10 ตาบล/แขวง บา้ นคา อาเภอ/เขต บ้านคา จังหวัด ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70180 โทรศพั ท์ 082-2429949 โทรสาร - Line ID - E-mail address: - Facebook - ความเป็นมาของภมู ปิ ญั ญา เกษตรกรชาว อ.บา้ นคา จ.ราชบรุ ี รวมกลุ่มปลกู องุน่ ไรเ้ มลด็ สาเร็จใช้พื้นที่เล็กน้อยที่มีอยู่ใกล้บ้าน ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาพ้ืนท่ีสูงแบบโครงการหลวงให้คาแนะนา ดูแลง่าย ราคาดีชว น นกั ท่องเทยี่ วชมิ สด ๆ จากสวน ดว้ ยสภาพพนื้ ทอี่ าเภอบา้ นคา จ.ราชบุรี อยตู่ ิดชายแดนไทย - เมียนมา ภูมิ ประเทศเป็นหุบเขา ป่าไม้ ที่อุดมสมบูรณ์ ช่วงหน้าหนาวอากาศท่ีค่อนข้างหนาวเย็น เกษตรกรส่วนใหญ่ ปลูกสับปะรดที่ขึ้นชื่อ คือ สับปะรดหวานบ้านคา ด้วยสภาพอากาศเป็นผลดีทาให้เกษตรกรในพื้นท่ี มี แนวคิดหันมารวมกลุ่มกันทดลองปลูกองุ่นพันธุ์ไร้เมล็ด สายพันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ( BEAUTY SEEDLESS) ทดลองปลูกเป็นคร้ังแรก ข้อดีคือคือ ใช้เงินลงทุนไม่มาก มีโรครบกวนน้อย ดูแลง่าย แถมราคาดีเป็นที่ ตอ้ งการของตลาดและผบู้ ริโภค กาลงั จะเตรียมเก็บผลผลิตขายได้ในเดือนธันวาคม อย่างท่ีเห็นผลแล้วของ นายสนิท แจ้งจัด อายุ 63 ปี อยู่บ้านเลขที่ 31/2 หมู่ 6 บ้านห้วยสวนพลู ต.บ้านบึง อ.บ้านคา หนึ่งใน สมาชกิ ทไี่ ด้ใชพ้ ืน้ ท่ีอยูเ่ พยี ง ประมาณ 30 ตารางเมตร ปลูกองุ่นดาไร้เมล็ดเพียง 10 ตัน จนลูกดกออกเป็น พวงห้วยระยา้ ดสู วยงาม นายจานอง บุญเลิศฟา้ ประธานกลุ่มปลูกพืชผักผลไม้ปลอดภัย เปิดเผยว่า เคยไป ศึกษาดูงานโครงการหลวงทางภาค เหนือมา จึงมีแนวคิดรวบรวมเพื่อนเกษตรกรในพื้นที่ ประมาณ 17 ราย มาเป็นสมาชิก สร้างโรงเรือนประมาณกว่า 20 โรง คิดว่า องุ่นปัจจุบันค่อนข้างเหลือน้อยแล้ว ส่วน ใหญ่อยู่แถวต่างจังหวัด แต่พ้ืนที่ อ.บ้านคา ยังเหลือพ้ืนท่ีว่างอยู่และมีความเหมาะสมที่จะปลูกองุ่นสาย พนั ธ์ุน้ไี ด้ อีกทงั้ ไดป้ ระสานงานกบั เจา้ หนา้ ทส่ี ถาบนั พัฒนาพ้ืนท่สี ูงแบบโครงการหลวงมาให้องค์ความรู้ตาม ศาสตร์ของพระราชาและคอยแนะนาวิธีการปลูกตลอดจนการดูแลรักษาต้นองุ่น จนประสบความสาเร็จ ปลกู องนุ่ ไรเ้ มล็ดมผี ลผลิตออกเตม็

2 ต้นอนาคตมีแนวคิดอยากส่งเสริมให้พ้ืนท่ีอาเภอบ้านคาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร เนื่องจากมี ทัศนยี ภาพทิวทศั นท์ ่ามกลางภเู ขาป่าไม้ท่สี วยงามเหมาะแกก่ ารท่องเที่ยวเชือ่ มโยงกับแหล่งท่องเทย่ี ว ในพ้ืนที่ได้ หลายแห่ง มีผัก ผลไม้ปลอดสารที่เป็นของดีมากมาย ซึ่งหากมีเกษตรกรปลูกองุ่นท่ัวพ้ืนที่บ้าน คาก็จะกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ สามารถกระจายรายได้สู่ชุมชนในท้องถิ่นข้ึน เพราะไม่ต้อง เดินทางไปไกล ถึงภาคเหนือ แค่มาราชบุรีใช้ระยะเวลาเดินทางจากตัวเมืองราชบุรีเพียงประมาณ 100 กิโลเมตรเศษกส็ ามารถมาชิมองุน่ ไร้เมล็ดท่มี ีรสชาติหวานกรอบ ปลอดภัยสด ๆ จากสวนเกษตรกรโดยตรง นายสนิท แจ้งจัด เจ้าของแปลงองุ่น เปิดเผยว่า ครั้งแรกได้ไปอบรมกับประธานกลุ่มปลูกพืชผักผลไม้ ปลอดภยั บ้านคา ทางเจ้าหน้าท่ีโครงการหลวงฯ แนะนาให้ปลูกพืชผักและองุ่น พร้อมกับบอกวิธีการสร้าง โรงเรือนท่ีมีขนาดกว้าง 3 เมตร ยาว 30 เมตร ปลูกได้ 10 ต้น หลังคาใช้พลาสติกสีขาวประมาณ 3.80 เมตร ใชเ้ สาปนู ไมใ่ หญ่มากนัก สาหรับโรงเรือนใช้ทุนประมาณ12,000 บาท ค่ากิ่งพันธ์ุอีก 10 ก่ิง เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 15,000 บาท ส่วนการปลูกให้ขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 30 เซนตเิ มตร ปลูกหา่ งกนั ระหว่างต้นกวา้ ง 1.5 เมตร ยาว 6 เมตร โรงเรียนยาว 30 เมตร ปลูกได้ 10 ต้นต่อ 1 โรงเรียน และใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ผสมใบก้ามปูแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากันท้ิงไว้ระยะหนึ่ง นาต้นพันธ์ุปลูก แล้วจะรดน้าวันละ 1 คร้ัง ใช้ฝักบัวเดินรดไปก่อนช่วงแรก พอเริ่มเจริญเติบโตจึงใช้ระบบน้าพุ่งท่ีไม่แรง มาก ทสี่ าคัญรดน้าโดยท่ีไม่ให้โดนผลองุ่น เพราะจะทาให้ผลองุ่นเสียได้ ขณะที่ลักษณะของช่อจะใหญ่ ติด ผลง่าย รสชาติอร่อย หวาน กรอบ มีสารอาหารจาพวกกรดอินทรีย์ วิตามินซี เหล็ก แคลเซียม ช่วยบารุง สมอง บารงุ หวั ใจ สว่ นการใชย้ าในการดูแลรักษาคอ่ นขา้ งน้อยมาก จะมแี ค่ช่วงปลกู ใหม่ ๆ จะใช้สารฉีดพ่น ไล่แมลงเล็กน้อย หากใช้ยาเข้มข้นเกินไปจะทาให้เกิดใบไหม้เสียหายได้ส่วนข้อดีสาหรับการใช้พลาสติก คลุมหลังคามีประโยชน์ช่วยลดต้นทุนการซื้อปุ๋ย และใช้ยากันเชื้อราลงไปประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ เพราะ ช่วงที่เกดิ ฝนตกลงมาและมีน้าค้างจะมาโดนใบทาให้เกิดเช้ือราขึ้นได้ง่าย ข้อดีของต้นองุ่นไร้เมล็ดที่ปลูกจะ มีอายุยาวนานปลกู คร้งั เดียวอย่ไู ดป้ ระมาณ 20 ปขี ้ึนไป ซงึ่ แปลงท่ีเพ่ิงทดลองปลูกเป็นคร้ังแรกได้ประมาณ 9 เดือนแล้ว และจะเร่ิมเก็บเก่ียวได้ประมาณเดือนธันวาคมของทุกปี คาดว่าน่าจะได้ผลผลิตปีแรก ประมาณ 200 กิโลกรัม ว่าจะขายสด ๆ จากสวนกิโลกรัมละ 200 บาท หลังจากท่ีเคยไปเที่ยวดูการปลูก องุน่ สายพนั ธน์ุ ้มี าแล้วท่จี ังหวดั เชียงใหม่ และยงั เคยซื้อรับประทาน กิโลกรัมละ 200 -250 บาท ถือว่าเป็น ผลไม้เศรษฐกิจตัวใหม่ของพื้นที่ราชบุรีท่ีน่าสนใจที่ช่วยทาเงินสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรสาหรับ นักท่องเทีย่ วท่ีสนใจสามารถ เขา้ ไปทอ่ งเท่ียวได้ทีส่ วนของเกษตรกรบางแห่งอยู่ริมถนนท่ามกลางธรรมชาติ ป่าเขาแถมยงั ไดแ้ ชะถา่ ยภาพกับพวงองนุ่ ละลานตาเปน็ ท่รี ะลึก ซง่ึ อนาคตอันใกลน้ ี้จะได้มกี ารพฒั นา

3 เส้นทาง พร้อมทัง้ ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ด้านการท่องเที่ยวชมสวนองุ่นไร้เมล็ดของกลุ่มเกษตรกรในพื้นท่ี เพื่อ เผยแพร่ให้นักท่องเท่ียวไดร้ จู้ ักเสน้ ทางแหล่งท่องเท่ียวท่ี สาคัญแห่งใหม่ด้วย หรือสนใจอยากสอบถามเส้นทางเข้าชิม ชม แวะ สวนองุ่นไร้เมล็ด ได้ที่ นายจานอง บุญเลศิ ฟ้า ประธานกลมุ่ ปลูกพืชผักผลไม้ปลอดภยั 082-2429949 จดุ เดน่ ของภมู ปิ ญั ญา จุดเด่นคือ ใช้เงินลงทุนไม่มาก มีโรครบกวนน้อย ดูแลง่าย แถมราคาดีเป็นท่ีต้องการของตลาด และผูบ้ ริโภค กาลงั จะเตรียมเกบ็ ผลผลิตขายได้ในเดือนธันวาคม อย่างที่เห็นผลแล้วของ นายสนิท แจ้งจัด อายุ 63 ปี อยู่บ้านเลขท่ี 31 / 2 หมู่ 6 บ้านห้วยสวนพลู ต.บ้านบึง อ.บ้านคา หนึ่งในสมาชิกที่ได้ใช้พ้ืนท่ี อยู่เพียง ประมาณ 30 ตารางเมตร ปลูกองุ่นดาไร้เมล็ดเพียง 10 ตัน จนลูกดกออกเป็นพวงห้วยระย้าดู สวยงาม นายจานอง บุญเลิศฟ้า ประธานกลุ่มปลูกพืชผักผลไม้ปลอดภัย เปิดเผยว่า เคยไปศึกษาดูงาน โครงการหลวงทางภาค เหนือมา จึงมีแนวคิดรวบรวมเพื่อนเกษตรกรในพื้นท่ี ประมาณ 17 ราย มาเป็น สมาชิก สร้างโรงเรือนประมาณกว่า 20 โรง คิดว่า องุ่นปัจจุบันค่อนข้างเหลือน้อยแล้ว ส่วนใหญ่อยู่แถว ตา่ งจังหวัด แต่พน้ื ที่ อ.บ้านคา ยงั เหลือพนื้ ทีว่ ่างอยู่และมีความเหมาะสมท่ีจะปลูกองุ่นสายพันธ์ุนี้ได้ อีกท้ัง ได้ประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีสถาบันพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงมาให้องค์ความรู้ตามศาสตร์ของ พระราชาและคอยแนะนาวิธีการปลูกตลอดจนการดูแลรักษาต้นองุ่น จนประสบความสาเร็จปลูกองุ่นไร้ เมล็ดมีผลผลิตออกเต็มต้นอนาคตมีแนวคิดอยากส่งเสริมให้พ้ืนที่อาเภอบ้านคาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร เน่ืองจากมีทัศนียภาพทิวทัศน์ท่ามกลางภูเขาป่าไม้ที่สวยงามเหมาะแก่การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับ แหล่งท่องเท่ียวในพื้นที่ได้ หลายแห่ง มีผัก ผลไม้ปลอดสารที่เป็นของดีมากมาย ซึ่งหากมีเกษตรกรปลูก องุ่นทั่วพื้นที่บ้านคาก็จะกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ สามารถกระจายรายได้สู่ชุมชนในท้องถ่ินข้ึน เพราะไม่ต้องเดินทางไปไกล ถึงภาคเหนือ แค่มาราชบุรีใช้ระยะเวลาเดินทางจากตัวเมืองราชบุรีเพีย ง ประมาณ 100 กิโลเมตรเศษก็สามารถมาชิมองุ่นไร้เมล็ดที่มีรสชาติหวานกรอบ ปลอดภัยสด ๆ จากสวน เกษตรกรโดยตรง นายสนิท แจ้งจัด เจ้าของแปลงองุ่น เปิดเผยว่า ครั้งแรกได้ไปอบรมกับประธานกลุ่ม ปลูกพืชผักผลไม้ปลอดภัยบ้านคา ทางเจ้าหน้าที่โครงการหลวงฯ แนะนาให้ปลูกพืชผักและองุ่น พร้อมกับ บอกวิธีการสร้างโรงเรือนท่ีมีขนาดกว้าง 3 เมตร ยาว 30 เมตร ปลูกได้ 10 ต้น หลังคาใช้พลาสติกสีขาว ประมาณ 3.80 เมตร ใช้เสาปูนไม่ใหญ่มากนัก สาหรับโรงเรือนใช้ทุนประมาณ12,000 บาท ค่าก่ิงพันธ์ุอีก 10 ก่งิ เปน็ เงนิ 3,000 บาท รวมเป็นเงนิ 15,000 บาท ส่วนการปลูกให้ขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 30 เซนติเมตร ปลกู ห่างกันระหวา่ งต้นกวา้ ง 1.5 เมตร ยาว 6 เมตร โรงเรยี นยาว 30 เมตร ปลูกได้ 10

4 ต้นต่อ 1 โรงเรียน และใสป่ ุ๋ยคอก ปุ๋ยหมกั ผสมใบกา้ มปแู ล้วคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กันท้ิงไว้ระยะหน่ึง นาต้นพันธ์ุ ปลูกแล้วจะรดน้าวันละ 1 คร้ัง ใช้ฝักบัวเดินรดไปก่อนช่วงแรก พอเริ่มเจริญเติบโตจึงใช้ระบบน้า พุ่งที่ไม่ แรงมาก ทสี่ าคัญรดนา้ โดยทีไ่ มใ่ หโ้ ดนผลอง่นุ เพราะจะทาให้ผลองุ่นเสียได้ ขณะที่ลักษณะของช่อจะใหญ่ ติดผลง่าย รสชาติอร่อย หวาน กรอบ มี สารอาหารจาพวกกรดอินทรยี ์ วติ ามนิ ซี เหล็ก แคลเซยี ม ชว่ ยบารงุ สมอง บารุงหัวใจ ส่วนการใช้ยาในการ ดูแลรักษาค่อนข้างน้อยมาก จะมีแค่ช่วงปลูกใหม่ ๆ จะใช้สารฉีดพ่นไล่แมลงเล็กน้อย หากใช้ยาเข้มข้น เกินไปจะทาใหเ้ กดิ ใบไหม้เสียหายได้ส่วนข้อดีสาหรับการใช้พลาสติกคลุมหลังคามีประโยชน์ช่วยลดต้นทุน การซ้อื ปยุ๋ และใช้ยากัน เช้อื ราลงไปประมาณ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ เพราะชว่ งที่เกิดฝนตกลงมาและมีน้าค้างจะมาโดนใบทาให้เกิดเชื้อรา ข้ึนได้ง่าย ข้อดีของต้นองุ่นไร้เมล็ดท่ีปลูกจะมีอายุยาวนานปลูกครั้งเดียวอยู่ได้ประมาณ 20 ปีขึ้นไป ซ่ึง แปลงท่ีเพ่ิงทดลองปลูกเป็นครั้งแรกได้ประมาณ 9 เดือนแล้ว และจะเริ่มเก็บเก่ียวได้ประมาณเดือน ธันวาคมของทุกปี คาดว่าน่าจะได้ผลผลิตปีแรกประมาณ 200 กิโลกรัม ว่าจะขายสด ๆ จากสวนกิโลกรัม ละ 200 บาท หลังจากท่ีเคยไปเที่ยวดูการปลูกองุ่นสายพันธ์ุน้ีมาแล้วที่จังหวัดเชียงใหม่ และยังเคยซื้อ รับประทาน กโิ ลกรัมละ 200 -250 บาท

5 รปู ภูมปิ ญั ญา เกษตรปลอดสารพษิ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ เกษตรปลอดสารพษิ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ เกษตรปลอดสารพษิ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้

6 รปู ภาพภมู ิปญั ญา เกษตรปลอดสารพษิ เกษตรปลอดสารพษิ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ เกษตรปลอดสารพษิ เกษตรปลอดสารพษิ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ นายจานอง บญุ เลศิ ฟา้ ขนั้ ตอนการทาเกษตรปลอดสารพษิ จะต้องเตรยี มดนิ ใหอ้ ดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยแรธ่ าตุดว้ ยไส้เดอื น แลว้ กน็ าพืช ที่ต้องการมาปลูก แล้วก็เตรียมปุ๋ยแบบชีวภาพท่ีหมักขึ้นเองตามกรรมวิธีของเกษตรอาเภอและเตรียมยา กาจัดแมลงจดั ทาขึน้ จากธรรมชาติ บวกดว้ ยการดแู ลเอาใจใส่เท่าน้ีกร็ ผลผลดิ ตามต้องการครับ

7 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมลู คลงั ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบล บ้านคา อาเภอ บา้ นคา จงั หวดั ราชบุรี ชอื่ ภมู ปิ ญั ญา เกษตรผสมผสาน ขอ้ มลู พน้ื ฐาน รายบุคคล เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ /บคุ คลคลังปญั ญา ช่ือ นายระดม นามสกุล แสนชมพู วนั เดอื นปีเกิด 26 กรกฎาคม 2503 ทอี่ ยปู่ จั จุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่ 23 หมทู่ ี่ 10 ตาบล/แขวง บ้านคา อาเภอ/เขต บ้านคา จงั หวัด ราชบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 70180 โทรศพั ท์ 092-2543533 โทรสาร - Line ID - E-mail address: - Facebook - ความเปน็ มาของภมู ปิ ัญญา ไร่แสนชมพู ต.บ้านคา เป็นจุดแรกท่ีกรมการท่องเที่ยวได้แวะเยือน ปัจจุบันไร่แสนชมพูเปิดเป็น แหล่งเรียนรู้การทาเกษตรธรรมชาติผสมผสานแก่นักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ได้ร่วมเรียนและทา กิจกรรมตา่ ง ๆ อาทิ การปลูกผักปลอดสารพิษ การทาปุ๋ยหมักอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์ศัตรูพืช \"ทาง ชมุ ชนบ้านคา มีความคิดตรงกันที่อยากเปิดบ้านคาให้เป็นการท่องเท่ียวเชิงเกษตรธรรมชาติ” ระดม แสน ชมพู เจา้ ของไร่แสนชมพูกล่าว พร้อมแนะว่า อยากให้นักท่องเท่ียวแจ้งเร่ืองที่อยากศึกษามาก่อนล่วงหน้า เพราะทางชุมชนมีเครือข่ายกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจะจัดให้เหมาะกับความตรงการให้ตรงจุด เน่ืองจากการ ทอ่ งเทยี่ วจะเปน็ แหล่งสรา้ งรายได้เสริมแก่เกษตรกรในพื้นท่ี แต่สิ่งท่ีเขาอยากให้นักท่องเที่ยวได้ติดกลับไป จรงิ ๆ คือความรแู้ ละวธิ กี ารที่นากลบั ไปใช้งานได้จริง นาไปประกอบอาชีพได้ ไม่เพียงเท่าน้ันชาวชุมชนยัง เห็นโอกาสที่จะพัฒนาป่าชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทาเส้นทางศึกษาพรรณไม้ กิจกรรมดูนก ตลอดจนชักชวนนักท่องเท่ียวมาเท่ียวในฤดูตัดหน่อไม้ในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงปลายเดือนตุลาคม หรือจะมาร่วมปลูกป่าที่ชุมชนช่วยกันปลูกเพ่ิมได้ตลอดทั้งปี ชุมชนบ้านคา อ.บ้านคา จ.ราชบุรี ก็นับเป็น อีกเสน้ ทางท่องเทีย่ วเชงิ นเิ วศตามรอยพอ่ อย่างพอเพียงทร่ี อคอยให้ทุกคนไปสัมผสั จดุ เดน่ ของภมู ปิ ญั ญา เป็นการทาเกษตรธรรมชาติผสมผสานแก่นักท่องเท่ียวและผู้สนใจท่ัวไป ได้ร่วมเรียนและทา กิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การปลูกผักปลอดสารพิษ การทาปุ๋ยหมักอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์ศัตรูพืช \"ทาง ชุมชนบ้านคา มคี วามคิดตรงกันทอี่ ยากเปิดบ้านคาใหเ้ ป็นการท่องเท่ียวเชงิ เกษตรธรรมชาติ

8 รปู ภาพภมู ิปญั ญา เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน นายระดม แสนชมพู นายระดม แสนชมพู เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน นายระดม แสนชมพู นายระดม แสนชมพู

9 รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน นายระดม แสนชมพู นายระดม แสนชมพู เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน นายระดม แสนชมพู นายระดม แสนชมพู ข้นั ตอนการทาเกษตรผสมผสาน เป็นการปลูกพืชหลายชนดิ ตามความต้องการของฤดูการมที ัง้ พืชยนื ต้นพืช ลม้ ลกุ และผกั สวนครวั โดยใชแนวคิดตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ ฐานเริ่มจากปลูกไว้ทานเองก่อน และแบ่งปันเพ่ือนบ้านทานและค่อยขายออกสู่ตลาดพ่อคนรู้จักมากข้ึน ทางเกษตรอาเภอบ้านคาจึงจัดให้ เปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี วแบบเกษตรธรรมชาตผิ สมผสานแกน่ กั ทอ่ งเทย่ี วและผสู้ นใจทว่ั ไป

10 แบบบนั ทกึ ชดุ ขอ้ มลู คลงั ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบล บา้ นคา อาเภอ บ้านคา จงั หวดั ราชบุรี ชอื่ ภมู ปิ ญั ญา ผ้าทอลายกะเหร่ยี งบ้านคา ข้อมลู พืน้ ฐาน รายบุคคล เจา้ ของภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น/บคุ คลคลังปญั ญา ชือ่ นางอารีย์ นามสกลุ กงจก วันเดือนปเี กดิ 23 พฤษภาคม 2513 ทอี่ ย่ปู จั จุบนั (ท่สี ามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี 18 หมู่ท่ี 6 ตาบล/แขวง บ้านคา อาเภอ/เขต บ้านคา จงั หวัด ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70180 โทรศพั ท์ 081-9436667 โทรสาร - Line ID - E-mail address: - Facebook - ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปญั ญา เมื่อปี พ.ศ. 2541 ผู้ใหญ่บ้านคือ นายเช้า ทองกง ได้เห็นว่าแม่บ้านในหมู่บ้านมีความ สนใจเร่อื งการทอผา้ และมฝี มี อื อย่บู า้ ง แต่ยงั ขาดการออกแบบลวดลายผ้าใหม่ ๆ และการทอแบบสมัยใหม่ จึงทาหนังสือถึงพัฒนาชุมชนจังหวัดและอุตสาหกรรมจังหวัด เพ่ือขอรับการสนับสนุนและส่งเสริมการทอ ผา้ ก่กี ระตกุ จดุ เดน่ ของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ จุดเดน่ คอื มีการพัฒนาเป็นผา้ ทอแบบเส้นใยสบั ปะรด มีการพัฒนามาเป็นกระเป๋า และนาเส้นใย กลว้ ยมาทอผา้ มาถักเป็นกระเปา๋ และใส่ลายกะเหรี่ยงพื้นบา้ นเข้าไป

11 รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา ผา้ ทอลายกะเหรี่ยง ผา้ ทอลายกะเหรีย่ ง นางอารยี ์ กงจก นางอารยี ์ กงจก ผา้ ทอลายกะเหรย่ี ง ผา้ ทอลายกะเหรยี่ ง นางอารยี ์ กงจก นางอารยี ์ กงจก

12 รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา ผา้ ทอลายกะเหรีย่ ง ผา้ ทอลายกะเหรย่ี ง นางอารยี ์ กงจก นางอารยี ์ กงจก ผา้ ทอลายกะเหรย่ี ง ผา้ ทอลายกะเหรย่ี ง นางอารยี ์ กงจก นางอารยี ์ กงจก วธิ ีการทา ใช้ผา้ ฝา้ ยผสมด้วยการตเี กียวด้วยเส้นใยสัปปะรด ผ้าฝา้ ยผสมเส้นกล้วยสอดใสเ้ สน้ ดา้ ย แลว้ สามารถนามาทาผลิตภัณฑส์ ิ่งทอได้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ

13 คณะผจู้ ดั ทา ท่ีปรกึ ษา นายชยั ศิริ จริ อนนั ตอ์ นวชั ผอ.กศน.อาเภอบ้านคา ครูผชู้ ว่ ย นางสาวผกาพรรณ จนั ทะแสง ครู อาสาสมัคร นายปรีชา โพธ์ศิ รีทอง คณะทางาน ร่าง/เรียบเรยี งและจัดพิมพ์ นายกุลวฒั น์ สมโสม ครู ศรช.หนองพันจันทร์ ครู กศน.ตาบลบ้านคา นายศภุ ากร ประชุมสาร ครู กศน.ตาบลบา้ นบึง ครู กศน.ตาบลหนองพนั จนั ทร์ นางสาวสุวรรณา พริ ิยะพล ครู ศรช.บา้ นบึง บรรณารกั ษ์ นายสุพดั สว่างวงษ์ นางสาวชนติ า อาวรณจ์ ติ ร นางสาวนสิ า เมอื งอู่มงคล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook