Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-3 (1).pptx

หน่วยที่-3 (1).pptx

Published by narin017.com1, 2020-01-22 21:47:08

Description: หน่วยที่-3 (1).pptx

Search

Read the Text Version

หนว ยที่ 3 โครงสรา งเครอื ขา ย

3.1 ลกั ษณะการเชื่อมตอ เครือขาย 3.1.1 การเชอื่ มโยงแบบจุดตอจดุ (Point to Point) การเชอื่ มโยงแบบจุดตอจดุ คอื วิธเี ช่ือมตอ ส่ือสารขอมลู ระหวา งอุปกรณ 2 อุปกรณ โดยมี เสนทางเพยี ง 1 เสนเทานัน้ เชน ลักษณะการเช่อื มตอ ระหวา งเคร่ืองคอมพิวเตอรพซี ีแตล ะเครอ่ื งมเี พียงสายเพยี ง 1 สายตอ เช่ือมโยงกันในการทํางาน หรือในเครือ่ งที่ทําหนา ท่ีเปน เครื่องปลายทาง 1 เครือ่ ง เชอ กับเครือ่ งเมนเฟรมโดยใชส าย 1 เสน หรอื ในอกี กรณีหน่ึงเคร่ืองคอมพวิ เตอร 2 เคร่อื ง สือ่ สารกันโดยใชการสงขอ มูลผาน คล่นื ไมโครเวฟ

3.1.2 การเชอ่ื มโยงแบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop) การเชอ่ื มโยงแบบหลายจุดเปนการเช่อื มโยงเครอื ขายท่ีใชเสนทางหรือลงิ กเ พื่อการส่อื สาร รว มกัน กลาวคือ อปุ กรณต าง ๆ สามารถส่อื สารระหวา งกนั ไดด วยการใชลิงกหรือสายสอ่ื สารเพียงเสน เดยี ว ดังนน้ั วิธกี ารเช่ือมโยงชนิดนที้ ําใหประหยดั สายสง ขอมลู กวาแบบแรกมาก โดยระบบเครอื ขายคอมพิวเตอร สว นใหญแลว จะใชวิธกี ารเชอื่ มโยงแบบหลายจุด

ขอดขี องการเชอื่ มโยงแบบหลายจุด 1 ประหยดั สายสง ขอ มลู 2. การเพิ่มโหนด สามารถเพมิ่ ไดงายดวยการเช่อื มตอ เขากับสายสง ท่ใี ชงานรวมกันไดทนั ที ขอเสยี ของการเช่อื มโยงแบบหลายจดุ 1 หากสายสง ขอมลู ขาด จะสง ผลกระทบตอระบบเครอื ขาย 2. เนอื่ งจากใชสายสงขอมลู รวมกัน ดงั นั้นตอ งมีกลไกเพอื่ ควบคุมการสง ขอ มูล 3. ไมเ หมาะสมกบั การสง ขอ มูลแบบตอ เนอ่ื ง ทีม่ ีขอมูลควาวละมากๆ

3.2 ลักษณะของโครงสรา งเครอื ขา ย 3.2.1 โครงสรางเครือขายแบบบัส (Bus Topology) โครงสรางเครอื ขายแบบบสั เปนการเช่อื มโยงกนั ในแบบเสนตรง (Linear Topology) ซึง่ จะใช ขอ มูลสือ่ กลางสายสญั ญาณเพียงเสนเดยี วสาํ หรับเปน เสน ทางการเชอ่ื มโยงหลกั (Backbone) ไปยังโหนดตา ง ๆ บนเครอื ขา ย โดยอปุ กรณใ นแตล ะโหนดจะเช่ือมตอ กับเสนทางการเชอ่ื มโยงหลกั โดยอปุ กรณท ี่เรียกวา Tap\" การติดตอ สื่อสารกันของ แตละโหนดจะใชทอ่ี ยู (Address) ประจําตวั ทไ่ี มซํา้ กันเพอ่ื แสดงตวั ตนของโหนดหรืออปุ กรณน น้ั

3.2.2 โครงสรา งเครือขา ยแบบดาว (Star Topology) ขอ ดีของโครงสรางเครือขายแบบดาว คอื การตดิ ตั้งเครือขายและการดูแลรักษาทาํ ไดงา ย หากมีเครอื่ งใดเกิดความเสียหาย สามารถตรวจสอบไดง าย และศนู ยกลางสามารถตดั เครอ่ื งทเี่ สยี หายนั้น ออกจากการสือ่ สารในเครอื ขายไดท ันที โดยไมมผี ลกระทบกับระบบเครอื ขา ย ขอ เสียของโครงสรา งเครอื ขายแบบดาว คอื เสยี คาใชจายมาก ทงั้ ในดานของเครอื่ งท่จี ะ ใชเปนเคร่ืองศูนยก ลาง หรือตัวฮับ (HUB) เอง และคา ใชจายในการติดตงั้ สายเคเบิลในเครือ่ งอื่น ๆ ตา เครื่อง การขยายระบบใหใ หญข น้ึ ทาํ ไดย าก เพราะการขยายแตล ะครัง้ จะตองเกย่ี วเนอื่ งกนั เคร่อื งอน่ื ๆทง้ั ระบบ

3.3 สวนประกอบของเครอื ขาย ในชวี ติ ประจําวนั ของเรานนั้ เก่ยี วขอ งกับเครือขา ยตลอดเวลา เพระทกุ การติดตอสอื่ สารนั้นตองผา น ระบบเครือขายมาแลวท้งั ส้นิ ไมวาจะเปน โทรศพั ท บรกิ ารสงขอ ความสั้น (SMS) เครอ่ื งรบั จายเงนิ อัตโนมตั ิ (ATM) วิทยุ โทรทศั น ลวนเปนระบบเครอื ขายท้งั สิน้ โดยทอี่ ินเทอรเ นต็ เปน ระบบเครือขายที่ใหญท ี่สดุ ในโลก ในที่น่จี ะกลา ว ถึงสวนประกอบของระบบเครอื ขา ย (Network Component) ซึง่ ประกอบดว ย 3.3.1 เคร่ืองบริการขอ มูล (Server) เครื่องบรกิ ารขอ มลู หรอื เรยี กวา เครอ่ื งเซริ ฟเวอร เปน คอมพวิ เตอรทที่ ําหนา ท่บี รกิ าร ทรัพยากรใหกบั เคร่ืองลูกขาย เชน การบรกิ ารไฟล การบริการงานพิมพ เปนตน เนอ่ื งจากเครอ่ื งเซริ ฟ เวอร มาตองรบั การกจิ หนักในระบบจงึ มกั ใชเ ครือ่ งท่ีมีขดี ความสามารถมาเปน เคร่ืองแมขาย

3.3.2 เครอื่ งลูกขา ยหรือสถานี (Client) เคร่ืองลูกขา ยเปน คอมพิวเตอรทีเ่ ช่อื มตอเขากับระบบเครอื ขาย ซึ่งอาจเรียกวา เราสาช้นั โดยมาเปน เคร่อื งของผูใชงานทั่วไปสําหรบั ตดิ ตอเพื่อขอใชบ รกิ ารจากเซิรฟ เวอร ซ่ึงสามารถรอหรือนํา ซอฟตแวรท ั้งขอมลู จากเครือ่ งแมขายมาประมวลผลใชงานไดและยังตดิ ตะส่ือสาร รับ-สง ขอมลู จาก คอมพวิ เตอรเ คร่ืองอ่นื ๆ ในเครือขายได 3.3.3 การด เครือขาย (Network Interface Cards) แผงวงจรสําหรบั ใชในการเชื่อมตอสายสญั ญาณของเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรท ุกเครอ่ื งใน เครือขา ยจะตองมีอปุ กรณน้ี และหนา ท่ขี องการต คือ แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอรซ ง่ึ ผานไปตาม สายสญั ญาณทาํ ใหค อมพวิ เตอรใ นเครอื ขายแลกเปล่ยี นขอ มูลกนั ได

3.4 รปู แบบของเครือขา ย รูปแบบของเครอื ขายแบงเปน 2 ประเภท ไดแ ก 3.4.1 เครือขายแบบ Client/Server เครอื ขา ยแบบ Client/Server เปนเครือขา ยท่มี คี อมพวิ เตอรเครื่องหนึ่งทําหนาทเ่ี ปนเซิรฟเวอร ไวค อยบรกิ ารขอมูลใหก ับลกู เครือขาย โดยมฮี บั หรอื สวติ ชเปนตวั กลาง โดยคอมพิวเตอรท ุกเคร่อื งจะถกู เชอ่ื มตอ กับฮบั เพ่ือทําหนาทเี่ ชือ่ มตอ ระหวางกนั และสามารถขอใชบ ริการ Web Server, Mail Server, File Server และ Print Server ได เครือขา ยประเภทน้ีอาจมีเซิรฟเวอรต วั หนงึ่ ทําหนาที่หลาย ๆ หนาท่ีบนเครื่อง เดยี วหรอื อาจทาํ หนาท่ีเฉพาะกไ็ ด

3.4.2 เครือขา ย Peer to Peer Peer to Peer คอื รูปแบบการเช่อื มตอ แลนแบบโครงขายโดยตรง ระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอร โดยเครอ่ื งคอมพิวเตอรแ ตละเคร่อื งน้ันจะมคี วามเทา เทียมกนั เครื่อง PC สามารถทาํ งานของตนเองและขอ ใชบ ริการเครือ่ ง PC อ่นื ได จงึ เหมาะสาํ หรบั นาํ มาใชง านเพอื่ จุดประสงคด านความรวดเร็วหรือติดตง้ั ได โดยงา ยเม่อื ไมม โี ครงสรางพืน้ ฐานที่จะรองรบั ตวั อยา งเชน ในศนู ยประชมุ หรอื การประชุมทจี่ ดั นอกสถานท่ี

3.5 อุปกรณท ใ่ี ชเชอื่ มตอ ระบบเครอื ขาย 3.5.1 รพี ตี เตอร (Repeater) รพี ตี เตอรใ นระบบ LAN โดยทวั่ ไปน้นั ยิ่งคอมพวิ เตอรแ ตล ะเครื่องอยูไ กลกนั มากเทา สัญญาณท่ีจะสือ่ ถึงกนั เร่มิ ผดิ พลาดและจะจางหายไปในทส่ี ุด จึงตอ งมีอุปกรณเสรมิ พิเศษท่เี รยี ก รีพีตเตอรขึ้นมาทาํ หนาทใ่ี นการเดินสัญญาณคอื ชว ยขยายสัญญาณไฟฟาทส่ี ง บนสาย LAN ใหแรงขน้ึ และ จัดรูปสัญญาณทผ่ี ดิ พลาดใหกลบั เปน เหมือนเดิม

3.5.2 ฮบั (Hub) อับทาํ หนา ทเี่ ปรยี บเสมือนศูนยกลางท่ีกระจายขอมลู ชวยใหค อมพวิ เตอรตา ง ๆ บนเครอื ขา ย สามารถสอ่ื สารถึงกันได คอมพิวเตอรแตละเครื่องจะตอ เขากบั ฮับโดยสายเคเบิลแลว สง ขอ มูลจาก คอมพวิ เตอรจ ากเคร่ืองหนง่ึ ไปยงั อกี เครื่องหนง่ึ โยงผา นอบั กบั ไมส ามารถระบุแหลงที่มาขอ มูลและ ปลายทางของขอมูลทีส่ งไปได ดังนั้นกับจะสงขอมูลไปใหกับเครอื่ งคอมพิวเตอรท ีเ่ ช่อื มตอกบั สับทุกเคร่อื ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook