Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ปี่การศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ปี่การศึกษา 2564

Published by สํานัก กิจการ, 2021-07-08 08:45:57

Description: คู่มือนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ปี่การศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

4.7 อาจารยฝา ยกจิ การนักศึกษา กรรมการ 187 4.8 อาจารยเวรประจาํ วัน กรรมการ หนา ที่ ฝา ยคัดกรอง ตรวจวัดไข การสวมหนากากปอ งกัน คัดแยกผมู ีไขสูงสง ตอฝายพยาบาล 5. ฝายควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน 5.1 อาจารยว ีณา พวงเพ็ง หัวหนาระดับ ปวช. 3 ประธาน 5.2 อาจารยป ราณี ฟองทอง หวั หนาระดบั ปวช. 2 รองประธาน 5.3 อาจารยตะวัน ออนนอ ม หวั หนา ระดบั ปวช.1 กรรมการ 5.4 อาจารยตตยิ าภรณ นิลเหม หัวหนา ระดับ ปวส. 1 กรรมการ 5.5 อาจารยสุธารัตน ทองใหม หัวหนา ระดับ ปวส. 2 กรรมการ 5.6 อาจารยยุพิน รอดไผลอม หัวหนา ระดับรอบวนั อาทติ ย กรรมการ 5.7 อาจารยฝา ยกิจการนกั ศึกษา กรรมการ 5.8 อาจารยเวรประจําจุดทีก่ ําหนด 5.9 อาจารยทปี่ รกึ ษาทกุ ระดบั หนาท่ี ตรวจตามอาคารเรยี น โรงอาหาร จุดพกั ผอน หองน้ํา ใหน ักศกึ ษาสวมหนากาก อนามยั ใสเครื่องปองกันและปฏบิ ตั ติ ามหลักเวนระยะหางทางสังคม 6. ฝา ยพยาบาล 6.1 นางสาวพรทพิ ย ทอกบญุ มา ประธาน 6.2 เจาหนาท่ีทมี่ อบหมาย 6.3 ตัวแทนกรรมการนกั ศกึ ษาทม่ี อบหมาย หนาที่ ใหความรูและประชาสัมพันธ ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของในการสนับสนุนสงเสริมการ ปอ งกนั และแกไขเกี่ยวกบั โรคระบาด ท้งั นใ้ี หค ณะกรรมการที่แตงต้งั ประชุมวางแผนและปฏิบัติใหบังเกิดผลสําเร็จและเปนประโยชนตอ วิทยาลยั ในการปอ งกันและแกไ ขปญหาโรคระบาดใหด ีทส่ี ดุ เกดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สดุ สงั่ ณ วันท่ี 10 มิถนุ ายน 2563 ลงชอื่ (ดร. สมศกั ดิ์ รุง เรือง) ผอู าํ นวยการ

188 ระเบยี บปฏิบัติเกี่ยวกบั การกูเงนิ กองทนุ เงนิ ใหกยู ืมเพ่อื การศึกษา (สาํ หรบั สถานศกึ ษา)

189 วัตถุประสงค เพื่อใหนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพยไดกูยืมเงิน เพื่อเปนคาเลาเรียน คาใชจายท่ีเกีย่ วเน่ืองกับการศึกษา และคาใชจายท่ีจําเปนในการครองชีพระหวางศึกษา ไดมีโอกาสศึกษาตอ ในระดับทสี่ งู กวามัธยมศึกษาตอนตน ไมว า จะเปนการศึกษาในระบบหรอื นอกระบบจนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี หลักเกณฑการใหก ูย ืมเงนิ ของกองทุนเงินใหก ยู มื เพือ่ การศึกษา หลักเกณฑและคุณสมบัติของผูกูยืมเงิน ตาม “ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อ การศึกษา” เรื่อง “หลักเกณฑเก่ียวกับการเปนผูขาดแคลนทุนทรัพยและคุณสมบัติของผูกูยืมเงิน พ.ศ. 2544” และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2546 นักเรียน/นักศึกษาผูมีสิทธิขอกูยืมเงินจากกองทุนฯ ผูกูยืมรายใหม และรายเกา (ตอเน่ือง) นอกจากเปนผูมี “สัญชาติไทย” แลว จะตองอยูในหลักเกณฑและมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. เปนผูขาดแคลนทุนทรัพย หมายความวา มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน 360,000 บาท ตอป รายไดตอครอบครวั ดงั กลาวพจิ ารณาตามหลกั เกณฑข อใดขอ หนึง่ ดังตอไปนี้ (1) รายไดรวมของนกั เรยี น/นกั ศึกษา ผขู อกยู มื รวมกับรายไดของบดิ าและมารดา ในกรณีท่ี บิดา มารดา เปน ผูใ ชอาํ นาจปกครอง (2) รายไดรวมของนักเรียน/นักศึกษา ผูขอกูยืม รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผใู ชอ ํานาจปกครองมิใชบ ิดา มารดา (3) รายไดรวมของนักเรียน/นักศึกษา ผูขอกูยืม รวมกับรายไดของคูสมรสในกรณีท่ีผูขอ กยู ืม ไดทาํ การสมรสแลว 2. เปน ผูท่ีมีผลการเรียนดหี รอื ผานเกณฑการวัดและประเมนิ ผลของสถาบนั การศกึ ษา 3. เปน ผทู ีมีความประพฤติดี ไมฝ า ฝน ระเบยี บขอบงั คับของสถานศกึ ษาข้นั รายแรง หรือไมเปนผูที่มี ความประพฤติเส่ือมเสีย เชน หมกมุนในการพนัน เสพยาเสพติดใหโทษ ดื่มสุราเปนอาจิณหรือเที่ยวเตรใน สถานบันเทิงเรงิ รมยเ ปนอาจิณ เปน ตน 4. เปนผูที่มีคุณสมบัติครบถวนตามระเบียบหรือประกาศการสอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาใน โรงเรียนสถานศึกษาหรือสถานศึกษาท่ีอยูในสังกัดการควบคุม หรือกํากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงหรอื สวนราชการอน่ื ๆ รัฐวสิ าหกิจ 5. ไมเคยเปน ผสู ําเรจ็ การศึกษาระดับปรญิ ญาตรใี นสาขาใดๆ มากอน 6. ไมเปนผทู ีท่ าํ งานประจําในระหวางศึกษา 7. ไมเ ปนบคุ คลลม ละลาย 8.ไมเปนหรือเคยเปนผูไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับ ความผิดท่ีไดกระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ 9. ตอ งมีอายุในขณะที่ขอกู โดยเมือ่ นบั รวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ป และระยะเวลาผอนชําระอีก 15 ป รวมกนั แลว ตองไมเ กนิ 60 ป

190 สาํ หรับผูกรู ายเกาที่พนสภาพจากสถานศึกษาหนง่ึ เนอื่ งจากผลการเรียน เมือ่ สมคั รเขาเรียนใน สถานศกึ ษา เดิมหรือสถานศึกษาใหม ใหสถานศกึ ษาท่ีจะรับเขา ใหมม ีอาํ นาจในการวินิจฉัยวาจะกูยืมได หรอื ไมและใหพิจารณาเปนราย ๆ โดยใชเ กณฑเ ดียวกับผูกูรายใหมแตใชว งเงินผูก ูต อเนอ่ื ง ปการศึกษา 2563 กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศกึ ษากําหนดใหเงนิ กูเพ่ือการศกึ ษามี 2 ลักษณะ ดังตอ ไปน้ี ลักษณะท่ี 1 เงนิ กยู มื เพ่อื การศึกษา ใหแ กน ักศกึ ษาหรอื นักศกึ ษาท่ีขาดแคลนทนุ ทรัพย ขอบเขตการใหกยู มื เงนิ ระดบั การศึกษา/สาขาวิชา คา เลาเรยี นและคาใชจ า ยที่ คาครองชีพ รวม เกีย่ วเนื่องกับการศึกษา บาท/ราย/ป บาท/ราย/ป บาท/ราย/ป 1. มธั ยมศึกษาตอนปลาย 14,000 21,600 35,600 2. ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) 21,000 36,000 57,000 3. ปวท./ปวส. หรือเทยี บเทา 3.1) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ คหกรรม และ 25,000 36,000 61,000 อตุ สาหกรรมทอ งเท่ียว ลักษณะท่ี 2 เงนิ กูยืมเพอ่ื การศกึ ษา ใหแ กนักศึกษา ที่ศึกษาในสาขาทีเ่ ปนความตองการหลกั ซ่งึ มี ความชดั เจนของการผลิตกาํ ลงั คนและมีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศ ขอบเขตการใหกยู ืมเงิน ระดบั ช้ันการศึกษา/ประเภทวชิ า ทกุ สาขา คา เลา เรียนและคาใชจ ายที่ ทกุ สาขาวชิ า เก่ยี วเน่ืองกบั การศึกษาบาท/ราย/ป 1.ปวท/ปวส. 1.1 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ศลิ ปกรรม คหกรรมและ 25,000 อุตสาหกรรมการทองเท่ียว หลักเกณฑและเงอื่ นไขการจายเงินกูยืมเพือ่ การศึกษา 1. เงินกูยืมทีจ่ า ยเขาบัญชขี องสถานศึกษา ไดแ ก คา เลาเรียนและคาใชจา ยทเ่ี กีย่ วเนอ่ื งกบั การศกึ ษา 2. เงนิ กูยืมท่ีจายเขาบญั ชขี องนกั เรียน นกั ศกึ ษาผูก ูยมื ไดแก คาครองชพี (คา ที่พกั และคาใชจา ย สวนตัว) หลกั เกณฑก ารคดั กรองผกู ยู ืม (ผกู ูรายเกาเลอื่ นช้ันป) - เปนผทู ่ีมผี ลการเรยี นดหี รอื ผานเกณฑการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา

- ผูกยู ืมตอ งแสดงหลักฐานการเขารวมโครงการท่ีมีประโยชนตอสงั คมและสาธารณะ 36 ชัว่ โมงใน 191 ปการศกึ ษากอนหนาท่ีจะขอกยู มื ซง่ึ โครงการฯ ทีผ่ ขู อกยู ืมเขา รวมจะตอ งไมเปนสวนหนง่ึ ของผลการเรียน และตอ งไมไ ดร บั คา ตอบแทนในการเขา รว มโครงการ แนวปฏบิ ัติในการคดั กรองผูกูยืม ประจาํ ปก ารศึกษา 2563 ปวช. และปวส. (ผูก ูรายเกา เลื่อนชนั้ ป) - เปน ผูที่มีผลการเรียนดีผา นเกณฑการวัดและประเมนิ ผลของสถานศึกษา - มหี ลกั ฐาน / เอกสาร การเขารว มโครงการ จิตอาสาไมน อยกวา 36 ช่วั โมง ในปการศึกษากอน หนา ทจ่ี ะขอกูย มื ผกู ยู ืมสามารถเขารวมโครงการท่ีสถานศึกษาจัด หนว ยงานราชการ องคกรการกศุ ล หรือ สถานสงเคราะหต า งๆ ขน้ั ตอนการขอกเู งิน กยศ. นักเรียน นกั ศกึ ษา ตอ งดาํ เนินการขอกูยืมผา นระบบ e-Studentloan ท่ี เว็บไซต www.studentloan.or.th โดยใหป ฏบิ ัติตามขน้ั ตอน ดังน้ี 1. ลงทะเบยี นเพื่อขอรหสั ผา นเขาสูร ะบบ โดยรอผลการตรวจสอบทะเบยี นราษฎร 1 ชั่วโมง 2. นักศกึ ษากรอกแบบคําขอกูยืมผา นระบบ e-Studentloan 3. รอสถานศึกษาเรยี กสมั ภาษณเพอ่ื คัดเลอื กผมู สี ิทธิ์กยู ืม กยศ. โดยสถานศึกษาจะเปน ผูพิจารณา คณุ สมบตั ขิ องผกู ูย ืมเปนรายป ภายในกรอบวงเงินทจ่ี ัดสรรให 4. ผทู ีผ่ า นการคดั เลือกจากสถานศึกษาตอ งเปดบัญชีออมทรพั ยกับธนาคารกรงุ ไทยสาขาใดก็ได เพอ่ื รับโอนเงินคา ครองชพี 5. ผไู ดรับสิทธิกยู มื เงินเขา มาทาํ สัญญากยู มื เงนิ ผานระบบ โดยตองสง่ั พมิ พส ญั ญาจํานวน 2 ชดุ (ตน ฉบับและคฉู บับ) ดาํ เนินการใหผ คู ํ้าประกัน พยาน และผแู ทนของสถานศกึ ษารว มลงนามในสญั ญาท้งั 2 ฉบบั พรอ มจัดเตรยี มเอกสารประกอบสญั ญาและสัญญาเพ่อื สงใหสถานศกึ ษา 6. ติดตอสถานศึกษา เพ่ือลงนามและตรวจสอบจํานวนเงินขอกู ในแบบลงทะเบียน / แบบยืนยัน จาํ นวนเงนิ คา เลา เรียน และคา ครองชีพโดยสถานศึกษาเปน ผยู นื ยันความสมบูรณครบถว นผานระบบ 7. นักเรยี น นักศึกษา รอรบั เงินคา ครองชพี เม่ือเปดเทอม ทางบัญชีธนาคารกรุงไทย ผูค ํา้ ประกันในสัญญากูยมื เงิน (ขอใดขอหนึง่ ) 1. บดิ า มารดา หรือผปู กครอง 2. กรณบี ดิ ามารดาเสียชีวิต ใหผปู กครองที่รบั อปุ การะเลี้ยงดูลงนามแทน 3. บุคคลที่ประกอบอาชพี มีรายไดน า เช่อื ถือ 4. กรณคี ูสมรสของผูค ้าํ ประกันไมใหค วามยินยอมใหผ คู าํ้ ประกันลงนามฝายเดียวได 5. กรณีไมมบี ุคคลคํา้ ประกนั ใหใชห ลักทรัพยแ ทน

192 การรับรองรายไดของครอบครัวใหบคุ คล ดงั ตอไปนเี้ ปนผูรับรอง 1. เจาหนาที่ของรัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐผูรับบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบัตรประจําตัว เจาหนา ท่ขี องรฐั พ.ศ. 2542 2. สมาชกิ สภาเขต สมาชกิ สภากรงุ เทพมหานคร หรือผวู า ราชการกรุงเทพมหานคร 3. หัวหนาสถานศึกษาทผี่ ูข อกูยมื ศกึ ษาอยู การชําระเงนิ คืน กอ นถงึ กาํ หนดระยะเวลาชาํ ระหนี้ ผูก ูยมื ตอ งรายงานขอ มูลพรอมเอกสารของตนเองตอ นาคารกรงุ ไทย ทุกสาขา กอ นส้ินเดือนพฤษภาคมของปถ ัดไปจากปท ีส่ ําเรจ็ การศึกษา หรอื เลกิ การศกึ ษา โดยผกู ูย ืมตอ งชําระหน้คี ืน หลังสาํ เร็จการศึกษา หรือ เลิกการศึกษาแลว 2 ป ภายในวันท่ี 5 กรกฏาคม ของปทคี่ รบกาํ หนดชําระหนี้ หลกั เกณฑก ารชาํ ระเงินคนื 1. ชําระงวดแรก เม่ือครบกาํ หนดชาํ ระหนีง้ วดแรก จะตอ งเริ่มชําระเงินตน ในอตั รารอยละ 1.5 ของวงเงินทกี่ ยู มื ไป ภายในวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2. ชําระงวดตอไป ในการชําระหน้ีงวดตอไป เงินตนจะเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ ตามอัตราเงินตนตามท่ี กยศ. กาํ หนดไวในแต ละปพรอ มดอกเบ้ียรอยละ 1 ตอป ของเงินตนในสัญญา ใหเสร็จสิ้นภายใน 15 ป นับจาก วนั ครบกําหนดชําระหนีง้ วดแรก 3. ระวังเบี้ยปรับ หากเกิดผิดนัดชําระหนี้หลังวันที่ 5 กรกฎาคม จะตองเสียเบ้ียปรับในอัตรารอยละ 12 ตอ ป ของเงินตนท่ีคา งชาํ ระในงวดน้ัน และหากคางชําระหน้เี กิน 12 เดอื น เสียเบยี้ ปรบั รอ ยละ 18 ตอป 4. สทิ ธปิ ระโยชน หากชําระหน้ีคืนบางสวนกอนวันครบกําหนดเร่ิมผอนชําระเงินงวดแรก (ชวงปลอด หน)้ี ไมต องเสยี ดอกเบย้ี วิธีการชาํ ระหน้ี 1. การติดตอในครั้งแรก ผูกูยืมทุกรายการตองติดตอแสดงตนในการชําระหน้ีที่ บมจ. ธนาคารกรงุ ไทยไดทกุ สาขา 1.1 กรอกแบบฟอรม การติดตอขอแสดงตนในการชําระหน้ี และเก็บไวเปนหลกั ฐาน 1.2 ผูกูยืมสามารถเปลี่ยนวิธีการชําระหน้ีจากรายปเปนรายเดือนก็ได โดยมีระยะเวลาผอน ชาํ ระหนต้ี ั้งแต 1 ป เปน ตนไป แตไ มเกิน 15 ป 1.3 ผูก ูยืมจะไดรบั ตามรายการผอ นชําระหนี้จากธนาคารเพอื่ ผกู ูยมื จะไดน าํ เงินเขาบัญชีกอนวัน ครบกาํ หนดชาํ ระของทกุ ป 1.4 ผูกูตองมีบัญชีออมทรัพยของธนาคารกรุงไทย เพ่ือใชในการหักบัญชีการชําระหนี้โดย อตั โนมตั ซิ ่งึ อาจเปน บญั ชเี ดมิ ทผี่ กู ูเปดไวในขณะทําสัญญา 1.5 หากประสงคเปลี่ยนเลขที่บัญชีออมทรัพยโดยขอเปดบัญชีใหมพรอมกับแจงสาขาใหทํา การเปลีย่ นแปลงเลขทบี่ ญั ชีใหมด ว ย 1.6 ผกู ยู ืมจะตองเสยี คาธรรมเนยี มธนาคารครั้งละ 10 บาท

193 2. การชําระหนีค้ รั้งตอ ไปสามารถดําเนนิ การไดโ ดย 2.1 แจงความประสงคหักบัญชีอัตโนมัติจากบัญชีออมทรัพยของผูกู โดยตองนําเงินเขาบัญชี กอนวันท่ี 5 กรกฎาคมของทุกป (กรณีชําระหน้ีเปนรายป) หรือกอนวันที่ 5 ของทุก เดือน (กรณีชําระหนี้เปนรายเดือน) ท้ังนี้ ผูกูตองมีเงินในบัญชีมากพอกับเงินตนท่ีตอง ชําระกบั งวดทค่ี า งชาํ ระ (หากม)ี และดอกเบี้ยหรือเบี้ยปรับ (หากมี) 2.2 ชําระท่ีหนาเคานเตอรธนาคารกรุงไทย ผูกูยืมชําระเงินมากกวา หรือเทากับ หรือนอยกวา จํานวนเงินงวดที่ตองชําระก็ได หรือ กรณีชําระเงินไมตรงตามกําหนดเวลา ผูกูยืมจะ ไดรับเงินเพอื่ ชําระหนีก้ องทุนฯ ไวเปนหลักฐาน 3. การชําระหน้ีกอนกําหนด ผูกูยืมสามารถชําระหน้ีคืนกองทุนฯท้ังหมดหรือบางสวนในชวง กอ นสาํ เรจ็ การศึกษา หรอื ชวงระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ป ได โดยไมเสียดอกเบ้ีย Hot Line และการสอบถามยอดหน้ี 1. ทาง Internet http://www.studentloan.ktb.co.th โดยปอนรหัสผานเปนเลขบัตรประจําตัว ประชาชนและวัน/เดือน/ปเ กิด (พ.ศ.) ของตนเอง 2. ทางศูนยลกู คาสัมพันธ หมายเลข 1551 3. ทางตู ATM ของ บมจ. ธนาคารกรุงไทย 4. ทาง HELP DESK หมายเลข 0-2208-8699 5. สาขา บมจ. ธนาคารกรุงไทยทกุ แหง

194 บรกิ ารและสวัสดกิ าร 1. ทนุ การศกึ ษา ตอ 115 วิทยาลยั เทคโนโลยีอรรถวิทยพ ณชิ ยการไดตระหนกั ถงึ ความสําคญั ของการศกึ ษา และตระหนักดีถึง ปญหาสําหรับนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนดี และมีความตั้งใจจริงในการศึกษา จึงไดมีการจัดสรรกองทุน สําหรบั แตล ะปการศึกษาดงั น้ี 1. ทนุ การศึกษาท่วี ทิ ยาลยั เทคโนโลยีอรรถวทิ ยพ ณชิ ยการจดั สรรสําหรบั นกั ศกึ ษาดงั นี้ - ทุนเรียนดีเยีย่ ม สาํ หรับนกั ศกึ ษาทุกสาขา ทุกระดบั ชนั้ ป - ทุนเรียนดแี ตขาดแคลนทุนทรัพย - ทุนความสามารถพิเศษ (ฟุตบอล, Cheer Leader, ดนตรี) 2. เงินกองทนุ กูย ืมเพ่ือการศกึ ษาจากรัฐบาล เพอื่ จัดใหสําหรบั นักศกึ ษาท่เี รยี นดี มคี วามประพฤติดี แตขาดแคลนทุนทรัพยเมื่อไดรับมอบทุนการศึกษา ทางวิทยาลัยฯ มีการดูแลทั้งดานการเรียน และดานจรยิ ธรรมใหนักศกึ ษาไดพฒั นาตนเองใหเหมาะสมมีระเบยี บวนิ ัยทด่ี ีตอไป 2. การประกนั อบุ ตั เิ หตุ ตอ 107 นักศึกษาจะไดรับการคุมครองอุบัติเหตุ โดยวิทยาลัยฯ ไดทําสัญญากับ บริษัท ไทยไพบูลย โดยไดรับความคุมครองต้งั แต 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2564 ของปถ ดั ไป นักศึกษาจะไดรับคาสินไหมทดแทน คารักษาพยาบาล ของการประสบอุบัติเหตุแตละครั้ง ในวงเงิน ไมเกิน 10,000 บาท และในกรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจะไดรับคาตอบแทนในวงเงินไมเกิน 100,000 บาท กรณีเสียชีวิตจากลอบทํารายจะไดรับคาตอบแทนในวงเงินไมเกิน 100,000 บาท กรณีเสียชีวิตจาก มอเตอรไซคจะไดรับคาตอบแทนในวงเงินไมเกิน 100,000 บาท โดยผูมีสิทธ์ิจะตองยื่นคําขอคาสินไหม ทดแทนตามระเบียบที่สํานักบุคคลของวิทยาลัยฯซึง่ สามารถเขา รบั การรักษา ณ โรงพยาบาลสําโรงการแพทย โรงพยาบาลศิครินทร และโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ กรณีที่เขารับการรักษาพยาบาลของ สถานพยาบาลอ่ืน และนักศึกษาไดชําระคารักษาพยาบาลไปกอนลวงหนาใหนําเอกสาร และหลักฐาน ใบเสร็จคารักษาพยาบาล ใบรับรองจากสถานพยาบาล ติดตอที่สํานักงานบุคคล เพ่ือดําเนินการแจงบริษัท ประกันขอรับคา สินไหมทดแทนตอ ไป หมายเหตุ : นักศึกษาจะสามารถเขารับการรักษาพยาบาลไดโดยไมตอง สํารองจาย แตตองมีบัตรประกัน อุบัต้ิหตุและบัตรประชาชน ตัวจริงแสดงตอโรงพยาบาลทั้ง 3 โรงพยาบาลที่ระบุไวบนหนาบัตรประกัน อุบตั เิ หตุ

195 3. สํานักวชิ าการ ตอ 126 , 127 , 128 ที่ตั้งอาคารรุงเรือง 1 ชั้น 2 ใหบริการนักศึกษา เร่ืองการจัดการเรียนเสริมในตาราง เรียนซอมเสริม ภาคฤดรู อน และแนะนําแกไ ขปญ หาทเี่ กดิ จากการเรยี นของนกั ศึกษา เพ่ือใหเรียนจบตามหลักสูตร ในเวลาท่ี กําหนด 4. สํานกั กิจการนกั ศึกษา ตอ 122 , 123 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง 1 ช้ัน 1 ใหบริการนักศึกษาดานการจัดกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนกับ นักศึกษาดูแลความเรียบรอย ระเบียบวินัย และความปลอดภัยตลอดระยะเวลาที่นักศึกษา ศึกษาตลอด หลักสตู ร 5. สํานักการคลงั ตอ 109 , 110, 111 , 112 ที่ตั้งอาคาร รุงเรือง 2 ชั้น 1 หอง 214 ใหบริการนักศึกษา ทางดานการรับชําระคาธรรมเนียมการ เรียนตาง ๆ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) นักศึกษาสามารถติดตอขอรับบริการไดทุกวัน ตั้งแต เวลา 07.00 – 19.00 น. 6. สาํ นักเลขานุการ ตอ 108 ท่ีตั้งอาคาร รุงเรือง 2 ช้ัน 1 หอง 213 ใหบริการในเรื่องของงานเอกสารจดหมายถึงนักศึกษาจาก บุคคลภายนอก จัดทําระเบียบวาระการประชุม ดูแลงานโตตอบจดหมายเขา-ออกภายนอกวิทยาลัยฯ และดูแล นดั หมายการประชมุ

196 7. สาํ นักกจิ การพิเศษ ตอ 160 ต้ังที่อาคารรุงเรือง 2 ช้ัน 1 ใหการสนับสนุนงานประชาสัมพันธภายในและภายนอก และดานอนุรักษ ศิลปะวัฒนธรรมไทย ศูนยดุริยางคศิลป เชียรลีดเดอร อีกทั้งยังใหบริการเร่ืองอาคารสถานที่ และ สาธารณปู โภคตาง ๆ 8. สาํ นกั งานบคุ คล ตอ 107 ที่ตั้งอาคาร รุงเรือง 2 ชั้น 1 หอง 212 ใหบริการแกนักศึกษาในเร่ืองการประกันอุบัติเหตุ สงใบเคลม ประกันกับบริษทั และการเบกิ เงินคา อบุ ัติเหตุ การผอ นผันทหาร 9. สํานักประชาสมั พันธ – การตลาด ตอ 101,102,103,104,105 ท่ีตั้งอาคาร รุงเรือง 2 ช้ัน 1 หอง 211 ใหบริการแนะแนวการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ กบั นักเรียน นกั ศึกษาและชุมชน งานประชาสัมพันธภายในและภายนอก งานสื่อประชาสัมพันธหนังสือ อนุสรณ วารสารเพ่ือเผยแพรขาวสารช่ือเสียงดานวิชาการ กิจกรรม กีฬา และความพรอมในการจัด การศกึ ษาของวิทยาลัยฯ ใหบคุ คลภายในและภายนอกไดร บั ทราบ 10. สํานกั ทะเบยี น ตอ 114 , 115 ที่ต้ังอาคาร รุงเรือง 2 ช้ัน 1 ใหบริการแกนักศึกษา เรื่องการขอเอกสารสําคัญทางการศึกษาของ นักศึกษา เชน ใบระเบียน ใบแจงผลการเรียน การตรวจสอบวุฒิการศึกษา ใบรับรองการเปนนักศึกษา ใบรับรองจบการศึกษา การรับลงทะเบียน การย่ืนคํารองขอแกไขผลการเรียน กองทุนกูยืมเพ่ือการศึกษา โดยประสานกบั สาํ นักการคลัง

197 11. สาํ นกั บริการ ตอ 145 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง 4 ดานหลังโรงอาหาร ใหบริการเร่ือง สาธารณูปโภคตาง ๆ แกนักศึกษา เชน ไฟฟา ประปา และการรักษาความสะอาด การจัดภูมิทัศน ใหเพียงพอ และเหมาะสมกับ สภาพปจจุบันของ นักศึกษาและสถานศกึ ษา 12. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ ตอ 149 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง 4 ช้ัน 2 เปนแหลงรวบรวมขอมูลทางดานวิชาการคอมพิวเตอร ดูแลและ ใหบ รกิ ารนักศึกษาเรื่องการใชหองปฏิบตั ิการตา ง ๆ ในการฝก ปฏิบตั ิทัง้ ในเวลาและนอกเวลาเรียน 13. ศูนย Internet ตอ 150 ที่ตั้งอาคาร รุงเรือง 4 ชั้น 2 วิทยาลัยฯ ไดนําระบบ Internet มาใชในการบริหารการเรียนการสอน ทาํ ใหน กั ศกึ ษารูจกั การใช Internet เปนอยางดี ซ่งึ จะเปนประโยชนสาํ หรับนกั ศกึ ษาอยางมากในอนาคต และ นกั ศึกษาสามารถใช Internet ในการตรวจสอบผลการเรียน และรับทราบขา วสารของวิทยาลัยฯ โดยผานทาง web site ชื่อ www.atc.ac.th 14. ศนู ยศิลปวฒั นธรรมไทย ตอ 139 ท่ีตั้งอาคาร รุงเรือง 3 ชั้น 2 หอง 324 เพื่อสนองนโยบาย ของวิทยาลัยฯ ดานอนุรักษศิลปะ และ วัฒนธรรมไทย ไดจัดตั้งศูนยศิลปวัฒนธรรมขึ้น มีการจัดการฝกซอมใหกับนักศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. ที่สนใจ ศิลปะดานการรําไทย ดนตรีไทย ฝกและนําออกแสดงตามงานตาง ๆ รวมกับชุมชน และ ปลกู ฝง ใหเยาวชนอนุรกั ษ และรว มสบื สานศลิ ปะวฒั นธรรมไทย 15. ศูนยแนะแนวและจดั หางาน ตอ 134 ที่ต้ังอาคาร รุงเรือง 1ชั้น 3 ใหบริการนักศึกษาดานการใหคําปรึกษา และแนวทางแกไขปญหา ดาน การเรียน และบริการจัดหางานใหกับนักศึกษาที่ตองการทํางานหรือหารายไดพิเศษชวงปดภาคการศึกษา ติดตอกับหนวยงานสถานประกอบการท่ีตองการรับนักศึกษาเขาทํางานเปนพนักงาน และอบรมดูแล นกั ศกึ ษาระหวางฝกงานกับสถานประกอบการ

198 16. ศูนยก ีฬา ตอ 144 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง ชั้น ลอย ติดบันไดทางขึ้นชั้น 2 ใหการสนับสนุนกีฬาของวิทยาลัยฯ ทุก ประเภท เพื่อเผยแพรชื่อเสียงของวิทยาลัยฯ ใหบุคคลภายนอกไดรับทราบและสงเสริมใหเยาวชนไดมี สขุ ภาพพลานามัยแขง็ แรง 17. ศนู ยดุริยางคศิลป ตอ 138 ท่ตี ั้งอาคาร รุงเรอื ง 3 ชนั้ 1 ใหการสนับสนุนดนตรีของวิทยาลัยฯ เพ่ือสรางช่ือเสียงใหกับวิทยาลัย ฯเพ่อื เขารวมกจิ กรรมของ ภาครัฐและเอกชน และสงเสริมใหเ ยาวชนใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 18.ศูนยก ารศกึ ษานานาชาติ (International Program Center) ตอ 155 ท่ีตั้งอาคารรุงเรือง 4 ช้ัน 6 หองพักอาจารยชาวตางประเทศนักศึกษาสามารถเขามาปรึกษาพบปะ สนทนา เพื่อฝก การใชภาษาตา งประเทศ กบั เจาของภาษาโดยตรงได 19. ศนู ยวิศวกรรมคอมพวิ เตอร ตอ 149 ท่ีตั้งอาคารรุงเรือง 4 ช้ัน 2 ใหบริการซอมบํารุง พัฒนา ดูแลรักษา Hardware และ Software ของ วิทยาลยั ฯ ใหอ ยใู นสภาพพรอมใชงานไดตลอดเวลา 20. หองสมดุ ตอ 150 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง 4 ช้ัน 2 หอง 4210 ใหบริการหนังสือประเภทตาง ๆ เชน หนังสือ CD-ROM โครงงาน ตําราเรียน นิตยสาร วารสาร จุลสาร กฤตภาค หนังสือพิมพ สื่อส่ิงพิมพตาง ๆ ใชในการ ประกอบการเรยี น คนควาหาความรรู อบตวั หรอื สนั ทนาการ 21. หองพยาบาล ตอ 137 ที่ต้ังอาคาร รุงเรือง 3 ชั้น 1 ใหบริการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน และใหยาสามัญประจําบาน รักษาอาการปว ยเบ้อื งตน และนํานกั ศกึ ษาสง โรงพยาบาล ในกรณีอาการรนุ แรง เหนือวิสยั ที่จะดแู ลได

199 22. การศกึ ษาวิชาทหาร นักศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. สามารถสมัครเรียนวิชาทหารรักษาดินแดน โดยตองมีคะแนน เฉล่ียสะสมตัง้ แต 1.00 ขึ้นไป และผา นการทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ ใชเ วลาเรียน 3 ป จะไดรับการนําปลดจากพล ประจําการ เปน ทหารกองหนนุ หากเรยี นครบ 5 ป จะไดร บั การแตงตั้งเปนวาท่ีรอยตรี ติดตอสอบถามท่ีผู กํากับนักศกึ ษาวิชาทหารของวทิ ยาลยั 23. สหกรณร านคา ตอ 117 ท่ีต้ังอาคาร รุงเรือง 2 ชั้น 1 เปนสถานท่ีขายสินคาประเภทอุปโภค บริโภค เชน อุปกรณการเรียน ขนมขบเค้ียว เครื่องดื่ม เคร่ืองแบบนักศึกษา หนังสือเรียน ใหกับนักศึกษาในราคาประหยัด และใชเปน สถานทฝี่ กปฏิบตั ิงาน ของนักศกึ ษาสาขาวชิ าการขาย ระดบั ปวช. และการตลาด ระดับ ปวส. 24. จัดซ้อื ตอ 159 ทตี่ ง้ั อาคารรุงเรือง 3 ชน้ั 1 เปน สถานท่ีใหบรกิ ารดา นการเบิก - จาย เกย่ี วกับอุปกรณ และครุ ุภัณฑ 25. ศนู ยวจิ ยั และพฒั นา 133 ท่ีตง้ั อาคารรงุ เรือง 1 ช้ัน 3 เปนหองสําหรับรวบรวมขอมูลวิจัยของวิทยาลัยฯ และใหคําปรึกษาดาน การวจิ ยั *************************************

200 คณะกรรมการผจู ัดทาํ คูมอื ท่ปี รกึ ษา 1. ดร.สมศกั ด์ิ รุงเรือง ผูอาํ นวยการ 2. อาจารยสรยศ รงุ เรอื ง ผูจดั การ 3. อาจารยกัลยา รงุ เรือง รองผูอาํ นวยการฝา ยบุคลากร 4. อาจารยผ าสขุ พูลวัฒนะ รองผูอาํ นวยการฝายบรหิ าร 5. อาจารยเลอพงษ วชั รมยั รองผูอํานวยการฝายกจิ การนักศึกษา 6. อาจารยศ ิริ ซํามาซา รองผูอาํ นวยการฝายวิชาการ 7. ดร.ภัทรดา รงุ เรือง รองผูอาํ นวยการฝา ยกจิ การพิเศษ 8. อาจารยชนภา ปนสมบูรณ รองผูอาํ นวยการฝายวางแผนและพัฒนา คณะบรรณาธิการ หงษบ ิน หวั หนา สาํ นกั วชิ าการ 1. อาจารยว ชิ าญ เผน โผน หวั หนา สํานักกจิ การนักศึกษา 2. อาจารยส ภุ าภรณ 3. อาจารยล ะออ อุบลแยม หวั หนาสํานักประชาสัมพนั ธและการตลาด 4. อาจารยกันตชาติ 5. อาจารยกมลวรรณ เมธาโชตมิ ณีกุล หัวหนา ศูนยว ิจัย 6. อาจารยจินตนา 7. อาจารยส ธุ ารัตน บุญสาย หวั หนางานหอ งสมดุ 8. นางสาวพรทพิ ย 9. นางสาวศรัญญา สิทธิพลวรเวช หวั หนาสาขาวชิ าพ้ืนฐานทัว่ ไป 10. อาจารยฟ องคํา ทองใหม หวั หนาระดับ ปวส. 2 ทอกบุญมา บุคลากรทางการศกึ ษาสํานักกิจการ (หองพยาบาล) เจริญสุข บุคลากรทางการศึกษาสาํ นกั กิจการ พุมพวง ผูช ว ยสาํ นักกจิ การนักศกึ ษา