Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตราฐานในงานเขียนแบบ

มาตราฐานในงานเขียนแบบ

Published by somsing2534, 2017-09-21 06:08:13

Description: มาตราฐานในงานเขียนแบบ

Search

Read the Text Version

มาตรฐานในงานเขียน

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 1/15 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 มาตรฐานในการเขยี นแบบ การเขียนแบบจดั เป็ นกลุ่มของผูเ้ ชี่ยวชาญช่างเทคนิคเป็ นอาชีพที่เก่ียวข้องกบั งานด้านทฤษฎีและปฏิบตั ิ ช่างเทคนิคที่เขียนแบบจะถ่ายทอดความคิด และการสเกตซ์ของวศิ วกรสถาปนิกมาเป็ นรายละเอียดในงานเขียนแบบ และการระบุรายการในงานเขียนแบบเพ่ือใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ งผสู้ ัง่ งานกบั ผปู้ ฏิบตั ิงาน จึงมีการกาหนดมาตรฐานในงานเขียนแบบข้ึนความหมายของมาตรฐาน มาตรฐาน หมายถึง ขอ้ กาหนดหรือขอ้ ตกลงกนั ระหว่างผูผ้ ลิต และผูใ้ ช้เพ่ือสร้างความเขา้ ใจให้ตรงกนั เกี่ยวกบั ขนาดรูปร่าง น้าหนกั และส่วนผสมของวสั ดุอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงท่ีทาการผลิตข้ึนจากแหล่งผลิตตา่ ง ๆ ใหม้ ีคุณสมบตั ิและคุณภาพเหมือนกนั สามารถนามาใชส้ ับเปล่ียนทดแทนกนั ได้2.1 กระดาษเขยี นแบบ กระดาษเขียนแบบมีหลายขนาด ผูเ้ ขียนสามารถเลือกใชข้ นาดของกระดาษเขียนแบบใหเ้ หมาะสมกบัขนาดของแบบท่ีตอ้ งการ ขนาดของกระดาษเขียนแบบในระบบ SI unit หรือระบบเมตริก ขนาดของกระดาษA0 จะมีรูปร่างเป็ นส่ีเหลี่ยมผืนผ้า โดยมีพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร มีความกว้าง : ความยาว คือ 1 : 2(1 : 1.141) ดงั แสดงในภาพท่ี 2.1

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 2/15ภาพที่ 2.1 แสดงวิธีการคานวณหาขนาดของกระดาษ A0กาหนดให้ x.y = 1 ม.2 จากทฤษฎีเรขาคณิตกล่าววา่ พ้ืนท่ีสี่เหลี่ยมจตั ุรัสของดา้ นตรงขา้ มมุมฉากจะเท่ากบั ผลบวกของพ้ืนที่ส่ีเหลี่ยมจตั ุรัสของดา้ นประกอบมุมฉาก ดงั น้นัy2  x 2  x2y 2x 2  x2นา y แทนคา่ ในสมการท่ี (1) x.x 2  1 Á.2 1 x2  1  1.414 0.841 Á. 2  x 1 1.189นา x แทนคา่ ในสมการท่ี (2) y  0.841 2 y  1.189 Á.ทาเป็ นมิลลิเมตรจะได้ 841 มม. x= 1,189 มม. Y=ดงั น้นั กระดาษเขียนแบบ A0 จึงมีความกวา้ ง 841 มม. และมีความยาว 1,189 มม.

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 3/15 กระดาษเขียนแบบ A0 ถา้ นาไปแบ่งคร่ึงออกไปเร่ือย ๆ กระดาษจะเล็กลงคร่ึงหน่ึง จากกระดาษมาตรฐาน A0 จะเปล่ียนเป็นขนาด A1, A2, A3 และ A4 ตามลาดบั โปรดสังเกตกระดาษ A1 จะมีพ้ืนท่ีนอ้ ยกวา่ กระดาษ A0 จานวน 1 เท่า และกระดาษ A2 จะมีพ้ืนที่นอ้ ยกวา่ กระดาษ A1 จานวน 1 เทา่ เป็นสัดส่วนลงไปเร่ือย ๆ ดงั แสดงในภาพที่ 2.2 ภาพที่ 2.2 แสดงสัดส่วนของกระดาษเขยี นแบบตามมาตรฐาน ระบบเมตริกซึ่งมอี ัตราส่วนความกว้าง : ความยาว คือ 1 : 2 เปรียบเทยี บขนาดของกระดาษเขยี นแบบระบบเมตริกและระบบองั กฤษ

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 4/152.2 การติดกระดาษ ในการติดกระดาษจะตอ้ งติดกระดาษลงบนกระดาษเขียนแบบให้สนิท โดยใช้เทปกาว ควรวางตาแหน่งของกระดาษเขียนแบบให้ใกลก้ บั ขอบซา้ ยมือของกระดานเขียนแบบ เพ่อื ใหเ้ กิดระยะผิดพลาดจากการเขียนแบบนอ้ ยท่ีสุด ภาพท่ี 2.3 การติดกระดาษเขยี นแบบ

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 5/152.3 ตารางรายการ เป็ นตารางบอกรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบ เช่น ชื่อของแบบงาน ชื่อผูเ้ ขียนแบบ มาตราส่วนช่ือบริษทั หรือสถานศึกษา วนั /เดือน/ปี ท่ีเขียนแบบและหมายเลขแบบ เป็นตน้ ตารางรายการน้ีถา้ ใชก้ ระดาษเขียนแบบขนาด A4 สามารถแสดงไวด้ า้ นล่างตลอดความยาวของกระดาษ แต่ถา้ ใชก้ ระดาษ A3 ซ่ึงมีความยาวมากอาจเขียนไวบ้ ริเวณมุมขวามือของกระดาษได้ ดงั แสดงในภาพท่ี 2.4 ภาพท่ี 2.4 แสดงลกั ษณะและขนาดของตารางรายการของแบบ

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 6/15ภาพที่ 2.5 แสดงลกั ษณะและขนาดของตารางรายการของแบบของกระดาษขนาด A3

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 7/153. เส้น เส้นร่างแบบใชเ้ พอ่ื ร่างแบบงานโดยเขียนอยา่ งเบาเพ่ือที่จะไดไ้ ม่ตอ้ งเขียนอีกหรือเป็นการเขา้ ใจผิดกนัเส้นอื่น ๆ ในการเขียนแบบ โดยทว่ั ๆ ไปชนิดของเส้นในงานวิศวกรรมมีอยูห่ ลายชนิด ดงั ตารางแสดงชนิดของเส้น ชื่อของเส้นและลกั ษณะการใชง้ าน ภาพที่ 2.6 ลักษณะของเส้นในการใช้งานเขยี นแบบ

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 8/153.1.1 แสดงชนิดของเส้นการใชง้ านและตวั อยา่ งการใชง้ าน

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 9/154. การเขยี นตวั อกั ษรและตวั เลข ขอ้ มูลในการเขียนแบบซ่ึงไม่สามารถแสดงเป็ นรูปทรงโดยเส้นอาจแสดงโดยกาหนดขนาดเป็ นตวั เลขตวั อกั ษร ซ่ึงจะให้รายละเอียดในแบบงานไดอ้ ย่างครบถว้ นและมีความหมายที่สมบูรณ์ การเขียนตวั เลขและตวั อกั ษรเขียนไดห้ ลาย ๆ วธิ ี การเขียนดว้ ยมือ การเขียนดว้ ยอุปกรณ์โดยใชแ้ ผน่ แมแ่ บบ เป็ นตน้ ตวั อกั ษรระบบโกติกใชว้ ธิ ีเขียนแบบซิงเกิลสโตรค (Single Stroke Gothic Lettering) มาตรฐานของตวั อกั ษรไดพ้ ฒั นาดดั แปลงรูปแบบของชุดตวั พิมพต์ วั อกั ษรแบบโกติก คาวา่ ชุดตวั พิมพ์ (front) หมายถึง การจาแนกหรือการจดั เป็ นชุดเดียวกนั ในขนาดและรูปแบบของตวั อกั ษรและคาวา่ ซิงเกิลสโตรก (Single-stroke)มาจากหลกั ความจริงวา่ แต่ละตวั อกั ษรเขียนข้ึนดว้ ยเส้นตรงเด่ียวหรือเส้นโคง้ พ้ืนฐาน ซ่ึงทาให้ง่ายตอ่ การเขียนและสะดวกต่อการอ่าน เหตุผลที่งานอุตสาหกรรมยอมรับการเขียนตวั อกั ษรรูปแบบน้ีก็เพราะวา่ ตวั อกั ษรชนิดเขียนไดเ้ ร็วมาก ตวั อกั ษรโกติกแบ่งออกเป็น ตวั อกั ษรพิมพใ์ หญ่ และตวั อกั ษรพมิ พเ์ ล็ก(ตรงและเอียง)ดงั รูป 4.1

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 10/15การเขยี นตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ ภาพท่ี 4.7 การเขยี นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ตรงและตวั พิมพ์เลก็ ตรง

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 11/15ภาพท่ี 2.8 การเขยี นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เอียงและตวั พิมพ์เลก็ เอียง

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 12/15การเขยี นตวั อกั ษรและตวั เลขไทย ภาพท่ี 2.9 การเขยี นตัวอักษรภาษาไทยและตัวเลข

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 13/15รูปแบบในการเขียนตัวอกั ษรภาษาองั กฤษตัวใหญ่ รูปแบบของการเขียนตวั อกั ษรตวั ใหญ่น้นั บางกลุ่มมีอตั ราส่วนระหวา่ งความกวา้ งต่อความสูงเท่ากนัแต่ส่วนใหญ่แลว้ จะมีอตั ราส่วนระหวา่ งความกวา้ งต่อความสูง คือ 5/6 แต่มีอยู่ 1 ตวั ที่มีความกวา้ งมากกว่าความสูง นนั่ กค็ ือ ตวั “W” ดงั แสดงในภาพที่ 2.10 และภาพท่ี 2.11 ภาพที่ 2.10 แสดงอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูงของตวั อักษรตัวตรง ภาพท่ี 2.11 แสดงอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูงของตวั อักษรตัวเอียง

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 14/15ตวั อกั ษรพมิ พ์ตวั เลก็ ตวั อกั ษรพิมพเ์ ล็กน้นั ประกอบดว้ ย 3 ส่วน คือ ส่วนหลกั ซ่ึงอยูต่ รงกลาง ส่วนบน และส่วนล่างโดยส่วนหลกั จะมีความสูงเป็ น 2/3 ของความสูงของตวั อกั ษรนา ถ้าส่วนหลกั เป็ น 2/3 ของตวั อกั ษรนาส่วนบนและส่วนล่างกจ็ ะเป็น 1/6 ของอกั ษรนา ดงั แสดงในภาพท่ี 2.12 และ 2.13 ภาพท่ี 2.12 แสดงโครงสร้างของอักษรตวั พิมพ์เลก็ ภาพที่ 2.13 แสดงขนั้ ตอนการเขยี นตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เลก็

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนที่ 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 15/155. มาตราส่วน มาตราส่วน (scale) โดยทว่ั ๆ ไปจะอยใู่ ตภ้ าพของชิ้นงานหรืออยภู่ ายในบลอ็ คของกระดาษเขียนแบบเป็ นการยากท่ีจะเขียนแบบขนาดเต็มเท่ากับชิ้นงานจริง เช่น เครื่องบิน อาคารสิ่งก่อสร้าง เป็ นต้น จึงจาเป็ นตอ้ งมีการลดขนาดโดยใช้มาตราส่วนยอ่ ในทางตรงกนั ขา้ มกนั ชิ้นส่วนเล็ก ๆ เช่น เฟื องนาฬิกา ก็ตอ้ งขยายภาพเพ่ือใหไ้ ดร้ ายละเอียดท่ีชดั เจน จึงตอ้ งมีการใชม้ าตราส่วนขยาย มาตราส่วนที่นิยมใชใ้ นงานเขียนแบบเคร่ืองกล คือ 1. มาตรฐานส่วนเต็ม เช่น มาตราส่วน 1:1 ภาพท่ี 2.14 มาตราส่วนเตม็ 1 :1 2. มาตราส่วนย่อ เช่น มาตราส่วน 1:2 1:5 1:10 หรือ 1:1000 เป็นตน้

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 16/15 ภาพท่ี 2.15 มาตราส่วน 1 :2 3. มาตราส่วนขยาย เช่น มาตราส่วน 2:1 5:1 10:1 เป็นตน้ ภาพท่ี 2.16 มาตราส่วนขยาย 2:1ตัวอย่างมาตราส่วนเต็ม มาตราส่วนขยาย และมาตราส่วนย่อ1. มาตราส่วนเตม็ คือ 1:12. มาตราส่วนขยาย คือ 2:13. มาตราส่วนยอ่ คือ 1:2

วชิ า : เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น หน่วยการเรียนท่ี 2 : มาตรฐานในการเขยี นแบบ ใบเนื้อหา 17/15 ตารางแสดงการเปรียบเทยี บมาตราส่วน มาตราส่ วน ขนาดทเี่ ขียนลงในแบบงานขนาดงานจริง 1 :1 2 :1 5 :1 10 :1 1 :2 1 :5 1 :10 10 20 50 100 5 2 1 10 20 40 100 200 10 4 2 20 30 60 150 300 15 6 3 30สัญลกั ษณ์ของหน่วยในระบบเมตริก การแปลงหน่วยระบบเมตริกเป็ นระบบนิว้มิลลิเมตร = มม. 1 มิลลิเมตร = 0.03937 นิ้วเซนติเมตร = ซม. 1 เซนติเมตร = 0.3937 นิ้วเดซิเมตร = ดม. 1 เมตร = 39.37 นิ้วเมตร = ม. 1 กิโลเมตร = 0.6214 ไมล์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook