“ฉนั เดินตามรอยเทา้ อนั รวดเรว็ ของพ่อโดยไมห่ ยดุ ผ่านเข้าไปในป่าใหญ่ น่ากลัว ทึบ แผ่ไปโดยไมม่ ีทส่ี น้ิ สุด มดื และกว้าง มีต้นไมใ้ หญเ่ หมือนหอคอยท่ีเข้มแข็ง พ่อจ๋า... ลูกหวิ จะตายและเหนอ่ื ยด้วย ดซู จิ ๊ะ... เลือดไหลออกมาจากเทา้ ท้งั สองท่บี าดเจ็บของลูก ลูกกลวั งู เสือ และหมาปา่ พอ่ จ๋า... เราจะถึงจดุ หมายปลายทางไหม..? ลูกเอย๋ ... ในโลกน้ีไมม่ ีทไ่ี หนดอกที่มีความรืน่ รมย์ และความสบายสำ�หรบั เจ้า ทางของเรามไิ ดป้ ดู ้วยดอกไมส้ วยๆ จงไปเถดิ แมม้ ันจะเปน็ สิง่ บบี ค้นั หวั ใจเจ้า พ่อเหน็ แลว้ ว่า หนามตำ�เน้อื อ่อนๆ ของเจ้า เลือดของเจา้ เปรยี บดงั่ ทับทมิ บนใบหญา้ ใกลน้ ำ้� น้�ำตาของเจา้ ทีไ่ หลตอ้ งพุ่มไมส้ ีเขยี ว เปรยี บดงั เพชรบนมรกตทแ่ี สดงความงดงามเตม็ ท่ี เพอื่ มนษุ ยชาติ จงอยา่ ละความกลา้ เมื่อเผชญิ กับความทกุ ข์ ใหอ้ ดทนและสุขุม และจงมคี วามสขุ ท่ีได้ยดึ อุดมการณท์ ี่มคี า่ ไปเถดิ ... ถา้ เจา้ ตอ้ งการ… เดินตามรอยเท้าพอ่ ” พระราชนพิ นธ์ “เดินตามรอยเทา้ พอ่ ” ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี
คํานาํ ทรงงานสานตอสรา งสขุ ปวงประชา ส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ (ส�านักงาน กปร.) ได้จัดท�าหนังสือชุด “เผยแพร่องค์ความรู้ตามแนวพระราชด�าริ” ในปี ๒๕๕๘ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยรวบรวมหนังสอื ทส่ี �านกั งาน กปร. จดั พมิ พแ์ ลว้ มาดา� เนินการปรบั ปรุงเพิ่มเตมิ สาระ ส�าคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิงตัวอย่างของความส�าเร็จท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนาตามแนวพระราชด�าริในพระบาท สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว และการทรงงานสานตอ่ พระราชดา� ริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราช กมุ ารี รวมถงึ เรอื่ งราวการสนองพระราชดา� รขิ องสา� นกั งาน กปร. ทก่ี อ่ เกดิ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดา� ริ มากมายกวา่ ๔,๐๐๐ โครงการทว่ั ประเทศ และการนอ้ มนา� ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปฏบิ ตั ใิ ชใ้ นรปู แบบ ต่าง ๆ พรอ้ มตัวอย่างการประยุกต์ใชท้ ี่ถกู ต้อง ตามคา� แนะน�าและขอ้ เสนอแนะของ ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ นายแพทยเ์ กษม วัฒนชยั องคมนตรี ซ่งึ ไดใ้ หข้ ้อคดิ ชีแ้ นะเนื้อหาทีม่ าจากพระราชดา� ริ เพือ่ ใหป้ ระชาชนทวั่ ไป ได้ใช้ในการศึกษาอย่างง่าย ๆ และสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างรวดเร็วจากผลส�าเร็จและตัวอย่างที่มี ให้เห็นเป็นรปู ธรรมในทกุ ๆ ด้านและทุกมิติ ดังนั้น ส�านักงาน กปร. จึงได้จัดท�าหนังสือชุด “เผยแพร่องค์ความรู้ตามแนวพระราชด�าริ” จา� นวน ๔ เลม่ ประกอบไปด้วย ๑) หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ๒) เศรษฐกิจพอเพียง ๓) ทรงงานสานตอ่ สร้างสขุ ปวงประชา ๔) ๓ ทศวรรษ กปร.
สา� หรับหนงั สือชุด เผยแพรอ่ งคค์ วามรูต้ ามแนวพระราชดา� ริ เล่มที่ ๓ “ทรงงานสานต่อสร้างสขุ ปวงประชา” นี้ ไดร้ วบรวมพระราชดา� รแิ ละการทรงงานในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทท่ี รงงานสานตอ่ พระราชปณธิ านในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ อันเป็นงานที่เก่ียวข้องกับงานพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน ได้แก่ ด้านโภชนาการ และสขุ ภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านการพัฒนาอาชีพ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และด้านการอนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นการด�าเนินรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ดังพระราชด�ารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทพี่ ระราชทานแกส่ า� นกั งานเลขานกุ าร กปร. (สา� นกั งาน กปร.ขณะนน้ั ) เมอื่ เดอื นธนั วาคม ๒๕๒๘ ความตอนหน่งึ วา่ “...เพราะตง้ั แตเ่ กิดมาจ�าความได้ ก็เห็นทง้ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน ี ทรงคดิ หาวธิ ตี า่ ง ๆ ทจ่ี ะยกฐานะความเปน อยขู่ องคนไทยใหด้ ขี น้ึ ...เมอ่ื โตขนึ้ มา พอมแี รงทา� อะไรไดก้ ท็ า� ไปอยา่ งอตั โนมตั ิ โดยทา� ตามพระราชกระแส หรือท�าตามแนวพระราชด�าริ การช่วยเหลือประชาชนเปนหน้าท่ีของสถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องท�า เปน ประจา� อยแู่ ล้ว...” สํานักงาน กปร. เมษายน ๒๕๕๙
สารบญั พระราชประวตั ิการทรงงานพัฒนา ๖ ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงงานสานตอ่ สร้างสขุ ปวงประชา ๑๓ ๑. ดา้ นโภชนาการและสุขภาพอนามัย ๓๐ ๒. ด้านการศกึ ษา ๔๒ ๓. ด้านการพฒั นาอาชีพ ๕๒ ๔. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ๖๐ ๕. ด้านอนรุ ักษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมไทย ๗๒ บทสรุป : ปวงประชาเป�นสุขศานต์ ๘๑
พระราชประวัตกิ ารทรงงานพฒั นา ในสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี 6z
๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ - พระราชสมภพณพระทนี่ งั่ อมั พรสถานพระราชวงั ดสุ ติ มพี ระนามเดมิ วา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ นิ ธรเทพรัตนสุดา กิติวฒั นาดลุ โสภาคย์ และมพี ระนามท่บี รรดาข้าราชบริพาร เรียกกนั ทัว่ ไปว่า “ทลู กระหมอ่ มน้อย” พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๑๐ - พระชนมายุได้ ๓ พรรษา ทรงเริ่มการศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนจิตรลดา ในบริเวณ พระตำ� หนักจิตรลดารโหฐาน - ทรงสำ� เรจ็ ประถมศกึ ษาตอนปลาย โดยทรงสอบในสนามสอบรวมของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ร่วมกับนักเรียนทั่วประเทศ ทรงสอบได้ท่ี ๑ ของชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๗ ทรงได้รับ พระราชทานรางวัลเรียนดีจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั พ.ศ. ๒๕๑๕ - ขณะทรงศึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ทรงสอบไลไ่ ดเ้ ปน็ ท่ี ๑ ของประเทศ ในแผนกศิลป์ ดว้ ยคะแนน ๘๙.๓๐% พ.ศ. ๒๕๑๖ - ทรงสอบเขา้ ศึกษาต่อในระดับอุดมศกึ ษา คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย z7
พ.ศ. ๒๕๒๐ - ทรงเข้ารับพระราชทานปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหน่ึง สาขาวิชา ประวัติศาสตร์ ทรงได้รับพระราชทานรางวัลเหรียญทอง ในฐานะที่ทรงได้ที่ ๑ ตลอดท้ัง ๔ ปี นบั เปน็ “เจา้ ฟา้ ” พระองคแ์ รกของประเทศไทยทท่ี รงสำ� เรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาบณั ฑติ จากมหาวิทยาลยั ในประเทศ พ.ศ. ๒๕๒๐ - ในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๒๐ ทรงไดร้ บั พระอสิ รยิ ศกั ดข์ิ นึ้ เปน็ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยะชาติ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชด�ำรัสถึงพระปณิธาน ความตอนหน่ึงว่า “...ข้าพเจ้า ขอตั้งความปรารถนาต่อท่ีประชุมน้ี ที่จะปฏิบัติหน้าท่ีให้สมกับต�ำแหน่งและฐานะ โดยเต็มก�ำลัง สติปัญญา และความสามารถ เพื่อให้ส�ำเร็จประโยชน์สุขอันไพบูลย ์ และความเจริญวฒั นาแก่ประเทศชาติ และประชาราษฎร์ทัง้ มวล...” พ.ศ. ๒๕๒๑ - ทรงศึกษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญามหาบณั ฑติ ทีค่ ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย และคณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร พร้อมกันทั้ง ๒ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๒๓ - ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ โครงการเกษตรเพอื่ อาหารกลางวนั แกน่ กั เรยี นในชนบท ห่างไกลและในโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน - มโี ครงการตามพระราชดำ� รฯิ เกิดขนึ้ มากมาย เช่น ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน โครงการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ ต้น พ.ศ. ๒๕๒๙ - ทรงส�ำเร็จการศึกษาและรับพระราชทานปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พัฒนศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ พ.ศ. ๒๕๓๑ - เร่ิมด�ำเนินการโครงการนักเรียนในพระราชานุเคราะห์ฯ ส่งเสริมให้นักเรียนท่ีศึกษา ภาคบังคับแตข่ าดโอกาสในการศกึ ษาตอ่ ควบคู่กับโครงการฝึกอาชพี โดยเน้นทเ่ี หมาะสม กับทอ้ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๓๓ - โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาการขาดสารไอโอดีน ให้กบั นกั เรียนและชุมชนในถิ่นทุรกนั ดาร ซึ่งขณะนั้นเกดิ การระบาดมากกว่า ๕๐ จงั หวดั ท่วั ประเทศ 8z
z9
พ.ศ. ๒๕๓๔ - ทรงเจริญพระชนมายุ ๓ รอบ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดต้ังกองทุนพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทรุ กนั ดาร พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๖ - ทรงจัดต้ังโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้ทรงสร้างธนาคารพืชพรรณข้ึนส�ำหรับ การเก็บรักษาพันธุกรรมพืชท่ีเป็นเมล็ดและเป็นเน้ือเยื่อและสนับสนุนงบประมาณ ด�ำเนนิ งานในทุกกิจกรรมของโครงการฯ พ.ศ. ๒๕๓๗ - เริ่มโครงการปลูกฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชายเลน โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงปลูก ปา่ ชายเลนครั้งแรก ณ พระราชนิเวศนม์ ฤคทายวัน (ค่ายพระรามหก) จังหวดั เพชรบรุ ี พ.ศ. ๒๕๔๒ - ทรงจดั ตง้ั ศนู ยภ์ ฟู า้ พฒั นา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางพฒั นาประชาชนบนพน้ื ทส่ี งู แบบครบวงจร ในพืน้ ท่ีอำ� เภอบ่อเกลอื และอำ� เภอเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวัดนา่ น พ.ศ. ๒๕๔๕ - ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับนักเรียนจากถิ่นทุรกันดารที่อยู่ในพื้นท่ีโครงการ ตามพระราชด�ำริ ๕๗ จังหวัด จากโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ เพือ่ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงขึน้ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ปจั จบุ นั - ทรงเจริญพระชนมายุ ๕ รอบ ทรงงานพัฒนาท้ังโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ทที่ รงงานสานตอ่ งานพฒั นาในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ รวมถึงโครงการตามพระราชดำ� รขิ องพระองคเ์ อง เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนคนไทยใหด้ ขี น้ึ ในทกุ ๆ ดา้ น เชน่ การอนุรักษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การศกึ ษา การสาธารณสุข การพฒั นาอาชีพ โดยทรงศึกษาวิชาการสาขาใหม่ ๆ และนำ� เทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมสมยั ใหมม่ าใชใ้ นการดำ� เนนิ โครงการฯ เพราะงานพฒั นาเปน็ ภารกจิ ทไี่ มห่ ยดุ นง่ิ เนอื่ งจากสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ทำ� ใหน้ กั พฒั นาจะตอ้ งรจู้ กั คน้ ควา้ หาความรู้ อยู่เสมอ เพ่อื หาแนวทางเทคนคิ วธิ ีใหม่ ๆ ที่จะนำ� มาใช้ปรบั ปรงุ วธิ กี าร ด�ำเนินงานพัฒนาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ 10 z
z 11
12 z
ทรงงานสานตอ สรางสขุ ปวงประชา ทรงงานสานต่อ สร้างสุขปวงประชา พระปรชี าและพระจรยิ วัตรอนั งดงาม ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ ท่ีประจกั ษช์ ดั แก่ประชาชน ชาวไทยมาช้านาน ทรงเปน็ แบบอย่างดเี ย่ยี มในทุกด้าน ท้ังความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน คุณธรรม จริยธรรม พระวิริยอุตสาหะในการทรงงาน ตลอดจนพระปณิธานแน่วแน่ในการช่วยแบ่งเบาพระราชภารกิจอัน หนักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ สมกบั ท่ที รงไดร้ บั การยกย่องเป็น “เจา้ ฟ้าหญิง แหง่ ปวงชนชาวไทย” ผู้เปน็ ที่รกั ยง่ิ ของคนไทยท้งั ประเทศ ความเป็น “เจา้ ฟา้ นกั พัฒนา” ไดร้ บั การปลูกฝังจากการ ทรงดา� เนนิ ตามรอยเบอื้ งพระยคุ ลบาทพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถและสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรา บรมราชชนนี ในการช่วยเหลือพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎร ท่วั ทกุ ภูมภิ าคของประเทศ โดยทรงถือเปน็ หน้าท่ีส�าคัญของ สถาบันพระมหากษัตริย์ ท่ีจะต้องบ�าบัดทุกข์บ�ารุงสุข เพื่อพฒั นาความเปน็ อยู่ของประชาชนให้ดขี ้ึน z 13
ชดุ เผยแพรองคความรู ตามแนวพระราชดําริ ในการทรงงานเพ่ือพัฒนาประเทศ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จะทรงยดึ แนวทางการทรงงานในพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เปน็ หลกั คอื เนน้ ความเรยี บงา่ ย และสอดคลอ้ งกบั สภาพภูมิสังคม จากการท่ีได้ติดตามเสด็จไปทรงเย่ียมราษฎร และ ทรงงานในท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ ท�าให้ทรงรับทราบถึงสภาพ ปญั หาอย่างแทจ้ ริง และได้พระราชทานพระราชด�ารใิ นการแก้ไขปญั หา ต่างๆ ซ่ึงหากเร่ืองใดท่ีพระองค์ไม่ทรงทราบ ก็จะทรงสอบถามกับผู้ ท่ีอยู่ในพ้ืนที่จริง หรือกับนักวิชาการท่ีมีความช�านาญในเร่ืองนั้นๆ รวมถึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท�าการทดลองในโครงการ สว่ นพระองคเ์ พอื่ หาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและชว่ ยเหลอื ใหร้ าษฎร มีความเป็นอยู่ดีข้ึนเฉกเช่นเดียวกับแนวทางการทรงงานพัฒนา ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว จากพระราชนิพนธ์เร่ือง “เรียนรู้การทรงงานสู่การพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ” ในสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความตอนหนึ่งว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยทุกข์สุขของราษฎรทั่วประเทศ โดยเฉพาะในพ้ืนที่ชนบทห่างไกลและทุรกันดาร จึงเสด็จ พระราชด�าเนินไปในท้องถิ่นต่างๆ เพ่ือพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญ เทา่ ท่ีจะท�าได้ 14 z
z 15
ชดุ เผยแพรอ งคความรู ตามแนวพระราชดําริ ...ข้อส�าคัญ คอื เมือ่ เวลาเสด็จออกไปทรงงานพฒั นา พระองคจ์ ะตอ้ งไปทอดพระเนตรให้เหน็ พืน้ ท่ี จริงๆ จะต้องทรงรู้เสียก่อนว่า พื้นท่ีนั้นในด้านภูมิศาสตร์และภูมิสังคมเปนอย่างไร โดยตรัสว่า การเสด็จฯ ดว้ ยพระองคเ์ องนนั้ เปน สง่ิ ทส่ี า� คญั มาก จะไดม้ คี วามรสู้ กึ ตอ่ พนื้ ทนี่ น้ั และพระราชทานความชว่ ยเหลือได้ตรงกับความ ต้องการของประชาชน รวมท้ังช่วยให้พระองค์ทรงทราบ สภาพพ้ืนที่ของประเทศไทยเปนอย่างด…ี ...นอกจากน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงสอนผตู้ ามเสดจ็ ใหร้ จู้ กั ดแู ผนท่ี และสงั เกตภมู ปิ ระเทศ ดูภเู ขา ทางน�้า ต้นไม้ ซกั ถามผู้ทอี่ ยู่ในพ้ืนทีใ่ หท้ ราบข้อมลู มากทส่ี ดุ การพฒั นานน้ั ไมใ่ ชว่ า่ พระองคจ์ ะเขา้ ไปในหมบู่ า้ น แล้วโปรดเกล้าฯ ว่าควรท�าอะไร ซ่ึงสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ก็ทรงงานในลักษณะเดียวกัน คือ จะซักถามข้อมูลจากประชาชนในพื้นที่ โดยจะเน้นในการ พฒั นาตวั บคุ คล อาทิ การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั และการ ส่งเสริมอาชพี ช่างฝม อื … ...งานหลกั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั คอื พฒั นาปจั จยั ในการผลติ เพอื่ การกนิ อยขู่ องคนใน ท้องถ่ิน ปัจจัยท่ีส�าคัญที่สุด คือการหา “น้�า” ให้เพียงพอแก่การเพาะปลูก โดยทรงเล็งเห็นว่า น�้าเปนส่วน สา� คญั ทส่ี ดุ ของชวี ติ และเปน ปจั จยั ในการผลติ พชื ผลตา่ งๆ รวมทงั้ ทรงทา� พรอ้ มกนั ในทกุ ดา้ น เพอื่ ใหป้ ระชาชน สามารถยนื อยู่ได้ด้วยตนเอง โดยพง่ึ พาปจั จัยภายนอกให้น้อยทสี่ ุด 16 z
...พระองค์มีพระราชด�ารัสอยู่เสมอว่า ทรงงานสานตอ จะตอ้ งใหป้ ระชาชนมสี ขุ ภาพอนามยั ดี จงึ ทรงชว่ ย รักษาพยาบาลอุปการะผู้เจ็บป่วย นอกจากน้ัน สรา งสขุ ปวงประชา ทรงเหน็ ความสา� คญั วา่ ตอ้ งชว่ ยใหป้ ระชาชนไดม้ ี โอกาสเขา้ รบั การศกึ ษา มคี วามรอู้ ยา่ งนอ้ ยใหอ้ า่ น z 17 ออกเขยี นได้ สามารถอา่ นเอกสารของทางราชการ และเพอ่ื ให้รับความรดู้ า้ นเทคโนโลยใี หมๆ่ .... ...ดังน้ัน ตั้งแต่เกิดมาจ�าความได้ จึงเห็นทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงคิดหาวิธี การต่างๆ ท่ีจะยกฐานะความเปนอยู่ของคนไทย ให้ดขี ้ึน... …และได้ตามเสด็จ เห็นความทุกข์ ยากล�าบากของพี่น้องเพื่อนร่วมชาติ ก็คิดว่า ช่วยอะไรได้ควรชว่ ย ไม่ควรนิ่งดดู าย เหน็ จะเปน เพราะความเคยชนิ เมอ่ื โตขนึ้ พอมแี รงทา� อะไรได้ ก็ท�าอย่างอัตโนมัติ และเปนเหตุที่ท�าให้ชอบการ พฒั นาชว่ ยเหลอื ประชาชน รวมทง้ั เปน หนา้ ทข่ี อง สถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องท�าประจ�าอยู่แล้ว และอกี ประการหนงึ่ รูส้ ึกเสมอวา่ การเปน เจ้าฟา้ น้ัน ได้เปรียบผู้อื่นหลายอย่าง จึงควรน�าข้อ ไดเ้ ปรียบนน้ั มาท�าประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน...”
18 z
ทรงงานสานตอ สรางสุขปวงประชา ครงั้ ทรงพระเยาว์ ทรงจา� ไดว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ จะทรงจัด “ทีมพฒั นา” ออกไปเย่ียมราษฎร มีหนว่ ยแพทยเ์ คลื่อนท่ี มกี ารไป สา� รวจความเปน็ อยขู่ องราษฎรโดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ จะทรงบนั ทกึ เรอ่ื งโนน้ เรอื่ งน้ี ทที่ รงนกึ ขนึ้ ไดว้ า่ ควรทา� ตามขอ้ สงั เกตในสถานทเ่ี สดจ็ พระราชดา� เนนิ ใน “สมุดทอดพระเนตร” แม้ภายหลังมีข้าราชบริพารรับผิดชอบ จดไปแต่ละแผนก พระองค์ก็ยังทรงจดของพระองค์เองอยู่ สุดท้าย ทรงให้บันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับพระราชภาระในการสาน ตอ่ งานพฒั นาจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนาเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ มาโดยตลอด ในการเสด็จฯ ไปยังพ้ืนที่ ต่าง ๆ ทรงมีความสนพระราชหฤทัยเรียนรู้ ทรงจดบันทึกมาอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ทรงจดจา� และสงั่ สมประสบการณ์ ทา� ใหท้ รงมคี ลงั ขอ้ มลู มากมาย ทรงน�าความร้ทู ไี่ ด้จากการเสดจ็ พระราชดา� เนนิ ไปในพืน้ ท่ีต่าง ๆ มา ใช้ในการสานต่องานพัฒนาที่เข้าถึงแก่นแท้ของความต้องการของ ประชาชน ทงั้ ดา้ นการศกึ ษา การพฒั นาอาชพี สง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม อนั นา� ไปสโู่ ครงการตามพระราชดา� รใิ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี กวา่ ๘๐๐ โครงการ ท่วั ประเทศ z 19
ชดุ เผยแพรองคความรู ๓. การพัฒนา แบบองค์รวมโดยผา่ น ตามแนวพระราชดําริ กระบวนการเรยี นรู้ ๒. การมสี ่วนรว่ ม นอกจากนย้ี งั พระราชทานพระราชด�าริไว้ว่า ๑. การพึง่ พาตนเอง “...ข้าพเจ้าได้ยึดหลักการด�าเนินงาน ซ่ึง ได้เรยี นรจู้ ากประสบการณต์ ามเสดจ็ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรม ราชินีนาถ” ดังนี้ ๑. การพ่ึงพาตนเอง โดยเน้นให้ทุกคนได้ ชว่ ยเหลอื ตนเองกอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก เชน่ การใหเ้ มลด็ พนั ธ์ุ พืชผัก พันธุ์สัตว์ เพื่อผลิตอาหารไว้บริโภคเอง แทนท่ี จะให้อาหารโดยตรง สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ต่อไป เป็นตน้ ๒. การมีส่วนร่วม เน้นให้ผู้ที่จะได้รับ ผลประโยชน์จากการท�าโครงการ ได้มีส่วนในการช่วย คิดช่วยท�า อาทิ การที่ผู้ปกครองและเด็กต้องร่วมกัน วางแผนและท�าการผลิตทางการเกษตร จัดเวรในการ ประกอบอาหารกลางวัน ซึ่งมีผลท�าให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้สึกเปน็ เจา้ ของ ได้เรยี นร้แู ละเข้าใจในกิจกรรม ท่ีทา� ๓. การพัฒนาแบบองค์รวมโดยผ่าน กระบวนการเรยี นรู้ โดยเน้นการพัฒนาในทุกๆ ดา้ นไป พรอ้ มๆ กนั นอกจากนี้ กลมุ่ เปา้ หมายจะตอ้ งไดร้ บั ความรู้ จากกจิ กรรมทท่ี า� และสามารถนา� ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปประยกุ ต์ ใช้ในการด�ารงชีวิตต่อไป อาทิ โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน มีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ปัญหาการ 20 z
๖. การยึดหลักการ ทรงงานสานตอ อนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มและ สอดคล้องกับวฒั นธรรม สรางสุขปวงประชา ประเพณที อ้ งถิ่น ขาดแคลนอาหาร มีการด�าเนินกิจกรรมให้ความรู้ด้าน ๕. การพฒั นา เกษตรกรรมและกลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติจริง ท้ังการ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านใหม้ ีความร้แู ละ ปลกู และประกอบอาหาร ประสทิ ธภิ าพ ในการปฏิบัติงาน ๔. การพัฒนาระบบประสานงานความ ร่วมมือจากทุกส่วน ในการช่วยเหลือจากภาครัฐบาล ๔. การพฒั นาระบบ และภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ มีการจัดท�า ประสานงาน แผนงานหลักของโครงการทุกๆ ระยะ ๖ ปี เพื่อให้ ความร่วมมือ ทุกส่วนท่ีเก่ียวข้องได้ใช้เป็นแนวทางท�าให้งานต่างๆ จากทกุ ส่วน มคี วามก้าวหน้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๕. การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยมีการอบรม การประชุมสัมมนา การศึกษาดูงาน เพื่อให้ความรู้ แ ล ะ เ ป ็ น ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ร ะ ห ว ่ า ง ผปู้ ฏบิ ตั งิ านโครงการเปน็ ประจา� รวมทงั้ มกี ารประเมนิ และ รายงานผลการด�าเนินงานเป็นระยะ เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงาน ทราบถึงความก้าวหน้าของโครงการ และสามารถน�า ไปปรับปรงุ การดา� เนินงานได้ ๖. การยึดหลักการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น กจิ กรรมการพฒั นาตา่ งๆ จะตอ้ งคา� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม และน�าภูมิปญั ญา และวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยกุ ต์ใช้ z 21
ชุดเผยแพรองคความรู ตามแนวพระราชดาํ ริ 22 z
ทรงงานสานตอ สรา งสขุ ปวงประชา ...ปญหาการขาดแคลนอาหารของนักเรียนในชนบทหา่ งไกล ซงึ่ ต้องแกไ้ ขด้วยโครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันส�หรับเดก็ ยากจน ในโรงเรยี นในทอ้ งถ่ินทรุ กันดาร เพ่ือช่วยเหลือนกั เรียนเหล่านัน้ ใหส้ ามารถชว่ ยตัวเองให้มีอาหารบริโภคอยา่ งเพียงพอ... ...การท่ีนกั เรียนปฏิบัติตามโครงการเกษตร เพอื่ อาหารกลางวนั ...เปน็ การฝก ฝนใหเ้ ดก็ นักเรยี นได้ปฏิบัติ และเรยี นร้วู ชิ าการตา่ งๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งดา้ นการเกษตร การชลประทาน และโภชนาการ รวมทงั้ ให้รูจ้ ักพ่งึ ตนเอง รจู้ กั ท�งาน รว่ มกันเป็นหมู่คณะ ซ่ึงจะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งใหญย่ ง่ิ ในภายภาคหน้า... ผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากโครงการนั้นจะมีขอบเขตตอ่ เน่อื งกว้างไกลเพยี งใด จักได้สามารถวางแผนใหส้ อดคลอ้ งต้องกนั ทกุ ส่วนทุกข้นั ตอน เพือ่ ใหเ้ กิดผลเปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาติ และประชาชนส่วนรวมใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ ... พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั ในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เม่ือวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๗ z 23
ชุดเผยแพรอ งคความรู ตามแนวพระราชดําริ จากพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพ่ือแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหารของ นกั เรยี นในชนบทดว้ ยโครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันและฝึกฝนให้นกั เรียนได้ปฏิบตั ิและเรยี นรูว้ ิชาการตา่ ง ๆ ทั้งการเกษตร การชลประทาน และโภชนาการ ให้รู้จกั พ่งึ ตนเอง รู้จักท�างานเป็นหม่คู ณะ ดังจะเห็นไดจ้ ากโครงการ ตามพระราชด�าริที่ทรงปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่องเกือบ ๔๐ ปี ส่งผลให้ นักเรียนที่อยู่ห่างไกลได้มีโอกาสได้รับการศึกษา และมีอาหารครบ ๕ หมู่บริโภค มีคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยดีข้ึน ดังท่ีโรงเรียนต�ารวจ ตระเวนชายแดนทวั่ ประเทศท่มี ีมากกว่า ๘๐๐ แหง่ ท่ัวประเทศ ซ่งึ ท�าให้ เด็กและเยาวชนเหล่านั้นมีภาวะโภชนาการท่ีดี มีความรู้ความสามารถ ท่ีจะศึกษาเล่าเรียนต่อไปในข้ันที่สูงข้ึน ขณะเดียวกันจะมีความรู้ในการ ประกอบอาชพี สามารถนา� ความรใู้ นการทา� การเกษตรไปสนบั สนนุ ใหก้ บั ครอบครัว อันเปน็ การเพ่มิ คุณภาพชีวติ ของราษฎรเพ่ิมขึ้นดว้ ย 24 z
ทรงงานสานตอ สรางสุขสูป วงประชา นอกจากนั้น ยังทรงให้ความส�าคัญต่อการศึกษาท้ังภาค วชิ าการและภาคปฏบิ ตั ิ ไดพ้ ระราชทานพระราชดา� รใิ หก้ รมชลประทาน จดั ทา� หลกั สตู รแบบงา่ ย ๆ ใหก้ บั เยาวชนไดเ้ รยี นรวู้ ธิ กี ารและขนั้ ตอนใน การบรหิ ารจดั การนา�้ การสรา้ งเขอ่ื น อา่ งเกบ็ นา�้ สระนา้� ทมี่ กี ระบวนการ และขน้ั ตอนตา่ ง ๆ มากมาย ทงั้ หลกั วชิ าการและการบรหิ ารจดั การทดี่ นิ และประชาชน เพอื่ ใหโ้ ครงการดา� เนนิ การได้ และประสบผลสา� เรจ็ สรา้ ง ประโยชน์ให้กับประชาชน ให้เยาวชนได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอย่าง ลึกซงึ้ เพอื่ ประโยชนต์ ่อการศึกษาต่อไปในอนาคตอีกด้วย z 25
ชดุ เผยแพรอ งคความรู ตามแนวพระราชดาํ ริ จากการที่เสด็จพระราชด�าเนินไปยังพ้ืนที่ต่างๆ ท่ัวประเทศ ท�าให้ทรงได้เรียนรู้ กระบวนการพัฒนาท่ีน�าไปสู่ความก้าวหน้าหรือความเปลี่ยนแปลงให้ดีข้ึนและน�ามาซึ่งข้อคิด บางประการคือ การพัฒนาท่ีไม่สมดุลและไม่ย่ังยืน อาจจะก่อปัญหามากกว่าการแก้ปัญหา เช่น การเพาะปลูกใช้ปุยและยาฆ่าแมลงท่ีเป็นพิษ จ�านวนมากเกินพอดี เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ของท้ังคนและสัตว์ในพื้นท่ีบริเวณนั้น อาจจะ ท�าให้ดินเสียเพาะปลูกไม่ได้มากเท่าเดิม การ พัฒนาจึงต้องรักษาสมดุลกับการอนุรักษ์ เช่น ในการสร้างเขื่อนกักเก็บน้�าต้องดูว่าจะเสีย ทรัพยากรอ่ืนๆ ทีค่ วรรกั ษาไว้หรือไม่ อย่างไร เปน็ ตน้ จุดเร่ิมต้น “โครงการตามพระ ราชด�าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี” มาจากการท่ีได้ทอด พระเนตรสภาพชีวติ ความเป็นอยขู่ องราษฎร ในโอกาสทโ่ี ดยเสด็จ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว และ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไปทรงเยยี่ มราษฎรในทกุ ภาคของประเทศไทย สง่ิ ทที่ รงสงั เกต เหน็ กค็ อื ความยากจน เดก็ ๆ เจบ็ ป่วย ขาดอาหาร ไมม่ ีโอกาสได้เรยี นหนังสือ ดังน้ันจึงพระราชทานแนวพระราชด�าริให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องรับไปด�าเนินงาน โดยการ ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชนทมี่ คี วามรคู้ วามชา� นาญ จดั ทา� เปน็ โครงการ ต่าง ๆ ท่นี า� แนวพระราชดา� รไิ ปสูก่ ารปฏิบตั ิจรงิ ซ่งึ มีหลกั การส�าคญั ในสองแนวทาง คอื แนวทางการ ชว่ ยเหลอื แกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นทกุ ขย์ ากเฉพาะหนา้ ทร่ี าษฎรกา� ลงั ประสบอยู่ และแนวทางการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชาชน ทม่ี งุ่ เสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถใหเ้ กดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาจนสามารถ พ่ึงตนเองได้ 26 z
z 27
ชดุ เผยแพรอ งคค วามรู ตามแนวพระราชดาํ ริ การทรงงานพฒั นาในสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงปฏิบัติตามแนวทางและสานต่องานพัฒนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จนกอ่ เกดิ โครงการพฒั นาดา้ นตา่ งๆ มากกวา่ ๘๐๐ โครงการ ทกี่ ระจายอยทู่ ว่ั ประเทศ ตามแนวยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ๕ ดา้ น ประกอบด้วย ๒. ดา้ นการศกึ ษา ๑. ดา้ นโภชนาการ ๓. ดา้ นการพัฒนาอาชีพ และสขุ ภาพอนามยั ๕. ด้านอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมไทย ๔. ด้านสงิ่ แวดล้อม 28 z
ทรงงานสานตอ สรางสุขปวงประชา z 29
๑. ดา้ นโภชนาการ และสุขภาพอนามยั 30 z
ทรงงานสานตอ สรางสุขปวงประชา ... ในบรรดาคนยากจนท้งั หลาย ขา้ พเจา้ มีความรสู้ กึ ว่า ผู้ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบมากทสี่ ดุ เห็นจะเปน็ เดก็ ๆ พวกเดก็ นกั เรียน ทซี่ ูบผอม อาหารการกนิ ไมส่ มบูรณ์เชน่ นีจ้ ะเอาเรีย่ วแรง และสมองท่ีไหนมาเล่าเรียน โตขน้ึ อาจไม่มเี รยี่ วแรงท�งาน ท�มาหากนิ กต็ อ้ งทกุ ขย์ ากยงิ่ ข้ึน ... ข้าพเจา้ เร่ิมวางแผนงานโภชนาการส�หรบั เด็กนักเรียน ในโรงเรยี น โดยคิดว่าเราควรสอนวิชาการเกษตร และให้น�ผลติ ผลทางการเกษตรมาปรงุ อาหาร พรอ้ มทงั้ สอนความร้เู บื้องต้นด้านโภชนาการดว้ ย ... พระราชดาํ รัส สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี, ๒๕๕๐ z 31
ชดุ เผยแพรอ งคความรู ตามแนวพระราชดาํ ริ ...เด็กมีความส�คญั ในฐานะเปน็ อนาคต เปน็ ความหวังของชาติ แต่ในปจ จบุ ัน ยงั มเี ด็กไทยอีก เป็นจ�นวนมากที่ขาดความสมบูรณท์ ั้งทางร่างกายและ สมอง เพราะไมไ่ ดร้ ับประทานอาหารท่ีถูกสขุ ลักษณะ และถกู ส่วน อันเนือ่ งมาจากฐานะทางครอบครัว หรอื ขาดความรู้เร่ืองโภชนาการ ยง่ิ ยามประเทศชาติ อยใู่ นภาวะวกิ ฤตเศรษฐกิจเช่นนี้ ยงิ่ น่าเปน็ ห่วงว่าจ�นวน เดก็ เหลา่ น้ีจะเพิม่ มากขึ้น ในการพัฒนาเด็ก ถา้ ไมส่ ามารถ พัฒนาปจ จัยพนื้ ฐานในดา้ นสขุ ภาพและอนามยั กอ่ น เดก็ กจ็ ะไม่มีความพร้อมส�หรบั การพัฒนาดา้ นอนื่ ๆ ไมอ่ าจนบั วา่ เป็นอนาคตของชาตไิ ด้ การทจ่ี ะชว่ ยให้ เดก็ เหล่านม้ี โี อกาสในเร่ืองการกินดีขึ้นนน้ั ตอ้ งอาศัย ความรว่ มมืออยา่ งจริงจังทุกฝา่ ย… พระราชดํารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการประชมุ สมั มนา “รวมใจ…ปกปองเดก็ ไทยยามวกิ ฤต” กรุงเทพมหานคร เมื่อวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๔๒ 32 z
z 33
ชุดเผยแพรองคค วามรู ทรงเริ่มต้นจากเด็กนักเรียนในพ้ืนที่ทุรกันดารที่มี ปัญหาขาดสารอาหาร ทรงมองเห็นสาเหตุส�าคัญของปัญหา ตามแนวพระราชดาํ ริ คือ การขาดแคลนอาหาร เพราะครอบครัวไม่สามารถผลิต อาหารไดเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการ และไมส่ ามารถเขา้ ถงึ อาหาร 34 z แหล่งอื่นได้ ในปี ๒๕๒๓ จึงได้พระราชทานพระราชด�าริใน การแก้ปัญหาการขาดอาหารในเด็กวัยเรียน โดยให้ทดลองท�า “โครงการอาหารกลางวันผกั สวนครัว” ใหค้ รูและนักเรียนใน โรงเรยี นตา� รวจตระเวนชายแดนรว่ มกนั ทา� การเกษตร เพอื่ ผลติ อาหารส�าหรับน�าไปบริโภค ในระยะแรกโรงเรียนสามารถน�า ผลผลิตทางการเกษตรมาประกอบเป็นอาหารกลางวันได้ ๑ มอื้ ตอ่ สปั ดาห์ ตอ่ มาเพม่ิ เปน็ ๒ มอื้ ตอ่ สปั ดาห์ จนในทส่ี ดุ สามารถนา� ผลผลติ ทางการเกษตรมาประกอบอาหารกลางวนั ไดท้ กุ วนั เรยี น แนวทางการแกป้ ญั หาดงั กลา่ ว ผลประโยชนใ์ นระยะ แรก คอื การมีวตั ถุดบิ เชน่ ผกั เนอื้ สตั ว์ ไข่ ผลไมส้ า� หรับน�าไป ประกอบอาหารกลางวัน แก้ปัญหาการขาดสารอาหารได้ทันที ผลประโยชนใ์ นระยะยาว คอื เดก็ จะไดร้ บั การพฒั นาพฤตกิ รรม การกินและภาวะสุขภาพที่เหมาะสม และยังมีความรู้ทางการ เกษตรที่สามารถน�าไปขยายผลต่อท่ีบ้านของตนเอง หรือน�า ไปประกอบอาชีพการเกษตรส�าหรับด�ารงชีวิตต่อไป ส่งผลให้ เกิดความมั่นคงทางอาหารในพ้ืนที่น้ัน ๆ จะเห็นได้ว่าทรงหา แนวทางและวธิ กี ารในการพฒั นาทง้ั ทเ่ี ปน็ ระยะสน้ั และระยะยาว ตามสภาพปัญหาที่แท้จริงได้อย่างตรงตามความต้องการ ของราษฎร
ทรงงานสานตอ สรา งสขุ ปวงประชา ...ในระยะแรก เริม่ ขึน้ ดว้ ยความสนใจท่จี ะศึกษาในเร่ืองวธิ ีการ ทจ่ี ะพฒั นาบคุ คลท่ีอยู่ในทอ้ งถน่ิ ทุรกันดาร เมื่อแรกเรม่ิ คือประมาณ พฤษภาคม ๒๕๒๒ ถึง ๒๕๒๓ ประมาณนั้น ได้มีความสนใจในเรือ่ งน้ี แต่ว่ายงั ไม่ได้มีความรใู้ นหลกั การและวิธกี ารทจ่ี ะปฏิบตั ิมากนกั จึงหาโอกาสทจี่ ะศึกษา โดยการขออาศัยโรงเรยี นในสงั กดั ต�รวจตระเวนชายแดนเป็นแหลง่ ทศ่ี ึกษา เพราะว่าเห็นว่าโรงเรียน ในสงั กดั ต�รวจตระเวนชายแดนนน้ั เปน็ โรงเรียนในเขตท้องถน่ิ ท่ีหา่ งไกล การคมนาคม และมภี าวะที่ยากล�บากตา่ งๆ ในตอนเรม่ิ ตน้ ก็มุง่ ไป ในแง่ท่ีวา่ ท�อยา่ งไรเยาวชนท่ีอยูใ่ นวัยศึกษาเล่าเรียนอยา่ งนั้น จะมสี ขุ ภาพพลานามัยแข็งแรงสมบรู ณ์ พรอ้ มท่จี ะสรา้ งเสริมสติปญญา เพอ่ื การศึกษาและพัฒนาตนเอง ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ภมู ิล�เนาและสังคม สบื ตอ่ ไป ในการจดั การก็ไดท้ ดลองเริ่มดว้ ยการให้การศกึ ษา และช่วยเหลือในทางด้านการเกษตร... พระราชดํารสั สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เม่อื วันท่ี ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๑ z 35
36 z ภายหลงั จากทไ่ี ดท้ ดลองโครงการอาหารกลางวนั ผกั สวนครวั โรงเรยี น ต�ำรวจตระเวนชายแดน ๓ โรง ที่ทรงท�ำโครงการทดลอง คือ โรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดนบา้ นหนองแจง ตำ� บลศรมี งคล อำ� เภอไทรโยค จงั หวดั กาญจนบรุ ี โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านทุ่งศาลา ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผ้ึง จังหวัดราชบุรี และโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านคอกอ้ายเผือก ต�ำบล ไชยราช อำ� เภอบางสะพานนอ้ ย จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ เปน็ เวลา ๑ ปี ซึ่งได้ ผลดจี งึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ขยายไปสโู่ รงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน
ทั่วประเทศในปี ๒๕๒๔ เนื่องจากมีการเลี้ยงสัตว์และปลูกผักสวนครัว การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ประชาชนให้ดขี ึน้ ด้วย จึงเรียกช่ือใหม่ว่า “โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน” โดยมี มีโครงการต่าง ๆ มากมาย อาทิ กจิ กรรมทีส่ า� คญั คือ การปรับปรงุ ภาวะโภชนาการ และสุขภาพเดก็ ๑. พฒั นาแหล่งน้�าเพอ่ื การเกษตร การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ๒. ผลติ อาหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการในโรงเรยี น ทงั้ เนอ้ื สตั ว์ ปลา ถว่ั เมลด็ แหง้ พชื ผกั และผลไมท้ ห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ทอ้ งถน่ิ โดย การส่งเสริมโภชนาการ เฉพาะกล้วยและมะละกอ โดยใช้รูปแบบการเกษตรแบบผสมผสานและ และสขุ ภาพอนามยั แม่และเดก็ ชวี วธิ ี ใหม้ ผี ลผลติ ทห่ี ลากหลายหมนุ เวยี นกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสอดคลอ้ ง การควบคมุ โรคขาดสารไอโอดนี กบั แผนการประกอบอาหารของโรงเรียน ๓. ส่งเสริมการถนอมอาหารที่มีเหลือใช้ เพื่อเก็บไว้ใช้ในฤดู การควบคมุ โรคหนอนพยาธิ ขาดแคลน ๔. ประกอบอาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ ทม่ี คี ณุ คา่ และถกู การควบคมุ โรคมาลาเรีย สุขลกั ษณะ การพฒั นาระบบสขุ าภิบาล ๕. เฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ รวมท้ังการตรวจ ในโรงเรียนและชมุ ชน เปน็ ตน้ สุขภาพและปรับปรงุ ภาวะโภชนาการของนักเรยี นและของชุมชน การพัฒนาสุขภาพอนามยั ๖. จัดการเรียนการสอนเรื่องการเกษตรและโภชนาการใน โรงเรยี นให้สอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมของโครงการ ลดการขาดสารอาหาร หลงั จากนนั้ ไดท้ รงขยายงานพฒั นาในดา้ นอน่ื ๆ อกี เพอื่ พฒั นา คุณภาพชีวิตประชาชนให้ดีขน้ึ จนเกดิ เปน็ โครงการต่าง ๆ มากมาย อาทิ การปรับปรุงภาวะโภชนาการและสุขภาพเด็ก การเกษตรเพ่ืออาหาร กลางวนั การสง่ เสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยแมแ่ ละเดก็ การควบคมุ โรคขาดสารไอโอดนี การควบคมุ โรคหนอนพยาธิ การควบคมุ โรคมาลาเรยี การพัฒนาระบบสขุ าภิบาลในโรงเรยี นและชมุ ชน เปน็ ต้น
ชุดเผยแพรอ งคค วามรู ตามแนวพระราชดาํ ริ ...เราต้องการช่วยให้นักเรียนในโรงเรียนมสี ขุ ภาพอนามยั บริบูรณ์ แขง็ แรง รบั ประทานอาหารทีถ่ ูกสุขลักษณะและถกู ตาม สว่ นประกอบที่จะบ�รงุ ร่างกาย...อยากให้เปน็ พืชผัก หรืออปุ กรณ์ แลว้ ให้นักเรียนมาท�การเกษตร ซึง่ เป็นวิธี ที่อ้อมและยากข้นึ มาอีกทางหน่งึ อาหารที่จะให้รบั ประทานนัน้ เปน็ อาหารทไี่ ดม้ าจากผลติ ผลของนกั เรียนผู้รบั ประทานเอง ซ่ึงอาจจะได้ผลช้า แต่กเ็ ปน็ วธิ ีหนงึ่ ซงึ่ จะได้รบั อาหาร และคดิ วา่ จะไดร้ บั ประโยชน์เป็นผลพลอยได้ท่สี �คญั คอื ความรู้ทางดา้ นการเกษตรและด้านโภชนาการ ซ่ึงจะเป็น วชิ าตดิ ตัวไปจนนกั เรยี นเหลา่ นั้นเติบโตข้นึ เปน็ ผใู้ หญ่ และไดป้ ระกอบอาชพี ทางด้านการเกษตรกรรม วิชาการใหมๆ่ เหล่านนั้ อาจจะน�มาช่วยในการครองชพี ไดม้ ากทีเดยี ว... จากหนังสอื พระราชนิพนธ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เก่ยี วกบั โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน 38 z
น อ ก จ า ก น้ี ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังได้ พระราชทานความช่วยเหลือให้แก่เด็กและ เยาวชนโรงเรียนวัฒนธรรมชนเผ่าเด็กก�าพร้า หลัก ๖๗ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว (สปป.ลาว) โดยมีพระราชด�าริที่จะ ช่วยเหลือนักเรียนให้มีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น ใน รูปแบบของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ตามแนวทางในการด�าเนินการของประเทศไทย มาประยกุ ตใ์ ช้ และสนบั สนนุ การประกอบอาชพี เสริม อาทิ อบรมการท�าขนม อบรมช่างไฟฟ้า ช่างไม้ เป็นตน้ มีคณะทา� งานซึ่งส�านักงาน กปร. ได้ท�าหน้าท่ีในการสนองพระราชด�าริร่วมกับ หนว่ ยราชการตา่ งๆ รวมถึงได้มีการติดตามและ ปรับปรุงภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัย ให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งได้จัดให้มี การฝึกอบรมด้านการเกษตร ด้านการฝึกอาชีพ ตลอดจนได้ก่อสร้างและปรับปรุงอาคารเรียน และอาคารเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะและ เหมาะสมกบั สภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องนกั เรยี น โดยมกี จิ กรรมทีส่ �าคญั ดงั น้ี z 39
ชดุ เผยแพรอ งคค วามรู ตามแนวพระราชดาํ ริ ๑. การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานใหจ้ ดั ทา� ระบบสาธารณปู โภค ดา้ นน�า้ อุปโภคบรโิ ภคและก่อสร้างอาคารเรือนนอนสิรินธร ๑ - ๓ และ อาคารเรยี นสริ นิ ธร ปรบั ปรงุ สโมสรโรงครวั และอาคารเรยี นใหเ้ หมาะสม ๒. โภชนาการและสขุ อนามยั มกี ารเฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการ ของนักเรียน และสง่ เสริมเพ่ิมความรู้ใหเ้ ข้ามาอบรมในประเทศไทย ๓. แผนงานดา้ นฝกึ อาชพี ฝา่ ยไทยไดฝ้ กึ อบรมการเยบ็ ผา้ การ ถนอมอาหาร งานประดษิ ฐ์ ฝกึ อบรมชา่ งไม้ ชา่ งทา� เฟอรน์ เิ จอร์ ชา่ งเชอื่ ม ชา่ งไฟฟา้ โดยส�านกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ๔. แผนงานดา้ นการเกษตรเพอ่ื อาหารกลางวนั สง่ เสริมให้มี การเลี้ยงปลาในหนองคู่ เล้ยี งปลาในบ่อดนิ การเลยี้ งสกุ ร รวมถึงการจดั ท�าแปลงการเกษตรและส่งเสรมิ การปลกู ผักอินทรยี ์ ๕. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานอุปกรณ์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม แก่โรงเรียนเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ในด้านการจัดการ เทคโนโลยีและวฒั นธรรมใหม่ของการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม 40 z
๖. กองทุนหมุนเวียน โรงเรียนได้จัดตั้งสหกรณ์โรงเรียน (ร้านกินดื่มของโรงเรียน) เพื่อจ�าหน่ายสินค้า อุปโภค-บริโภค ของใช้ประจ�าวัน ให้แก่บุคลากรในโรงเรียนโดยใช้เงินทุนจากการจ�าหน่ายสินค้าในงานเลี้ยงน้�าชา ณ สถานเอกอคั รราชทูต ปัจจุบันมีนักเรียนทง้ั หมด ๗๕๐ คน เป็นหญงิ ๒๕๓ คน ชาย ๔๙๗ คน มีครูและพนักงาน ๑๑๐ คน นกั เรียน จะได้รับเงินช่วยเหลอื จากรัฐบาล สปป.ลาว จา� นวน ๑๒๐,๐๐๐ กีบตอ่ คนตอ่ เดอื น ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๑ มนี ักเรียนจบ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จา� นวน ๑๗๙ คน เปน็ หญงิ ๕๓ คน ชาย ๑๒๖ คน รอ้ ยละ ๑๐๐ เขา้ รบั การศกึ ษาตอ่ ทม่ี หาวทิ ยาลยั แห่งชาติ โรงเรียนต�ารวจและโรงเรยี นการอาชีพใน สปป.ลาว ทั้งส้นิ นับเป็นโรงเรียนท่ีมีช่ือเสียงแห่งหน่ึงใน สปป.ลาว และมีเยาวชนต้องการเข้ารับการศึกษากับโรงเรียน วัฒนธรรมชนเผ่าเด็กก�าพร้า (หลัก ๖๗) เป็นจ�านวนมาก ซึ่งแสดงถึงผลส�าเร็จแห่งการพัฒนาตามแนวพระราชด�าริ ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อยา่ งแท้จริง z 41
ชดุ เผยแพรองคความรู ตามแนวพระราชดําริ ๒. ดา้ นการศกึ ษา 42 z
ทรงงานสานตอ สรา งสขุ ปวงประชา ...การศกึ ษาเป็นปจจยั หลักในการสรา้ งและพัฒนาความรู้ ความคดิ ตลอดจนความประพฤติและคุณงามความดี ของบคุ คล ใหบ้ คุ คลด�รงตนอยใู่ นสังคม และในโลกไดอ้ ย่างม่นั คงและมคี วามสงบร่มเย็นได้ แม้วา่ โลกจะเปลย่ี นแปลงไปรวดเร็วเพียงใดกต็ าม... พระราชดาํ รัส สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดา้ นการศกึ ษาทรงมคี วามหว่ งใยในความดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาของ ราษฎรทุกหม่เู หลา่ ทงั้ ชนกลมุ่ นอ้ ย และประชาคมเมอื ง ทกุ คนควรมีโอกาสได้รบั การศึกษา ไดร้ ับบริการจากภาครฐั โดยเท่าเทยี มกนั ซงึ่ เปน็ สิทธขิ ้ันพน้ื ฐานในการ ดา� รงชีวติ ของประชาชน z 43
ชดุ เผยแพรอ งคค วามรู ตามแนวพระราชดาํ ริ 44 z
ทรงงานสานตอ สรา งสขุ ปวงประชา ...โดยที่ถอื วา่ โรงเรียนนีเ้ ป็นศูนย์กลางของชมุ ชนแหง่ หน่งึ ถ้าเราสามารถท�ให้คนรุน่ ใหม่ในสงั คม คือ นกั เรยี นทอี่ ย่ใู นโรงเรยี น และพวกผู้ปกครองท่ีจะมาดู มาช่วย มาเหน็ มีความรทู้ างด้านเทคนิค ทางการเกษตรอยา่ งใหม่ทที่ างราชการต้งั ใจจะส่งเสริม แต่กส็ ง่ เสรมิ ตั้งแต่ในวัยเด็กนกั เรียน เมอ่ื เขาเติบโตเป็นผใู้ หญ่ เขาจะ ได้รับการฝกหัดใหท้ �ตามแบบแผนอยา่ งใหม่ ซง่ึ จะมีประสทิ ธิภาพ มากกวา่ ทเี่ คยท�มา หรือวา่ จะไดม้ คี วามค้นุ เคยในการติดตอ่ กับทางราชการ เม่อื มขี อ้ ขดั ขอ้ งอะไร จะได้ปรึกษาหารอื กนั ได้ อยา่ งงา่ ยข้นึ และผปู้ กครองคนในหมบู่ า้ นเอง เมื่อมปี ญ หา ข้อขัดข้องอะไร กจ็ ะได้รไู้ ด้แนว่ า่ จะมที ่ที จี่ ะมาหาได้ ได้แก่ ทโี่ รงเรียน ซ่ึงครูจะไดเ้ ป็นส่วนท่ีจะช่วยเหลือได้มาก... พระราชดาํ รสั เม่อื วันเสารท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๖ จากหนงั สือ ประมวลพระราชดํารัส สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ดา นการพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดาร พุทธศกั ราช ๒๕๒๔ - ๒๕๕๓ z 45
พระราชด�ำรัสข้างต้นสะท้อนให้ เห็นแนวทางในการทรงงานว่าเร่ิมต้นจาก เด็ก เพราะเด็กเป็นทรัพยากรท่ีส�ำคัญยิ่งของ ประเทศในอนาคต ทรงใหค้ วามสำ� คญั กบั การ พัฒนาศักยภาพของเด็กให้มีโภชนาการและ สขุ ภาพดี มคี วามรู้ การงานอาชีพ และความ ซ่ือสัตย์ สุจริต รักษาดูแลทรัพยากรของ สว่ นรวม เด็กจงึ เปน็ ศนู ยก์ ลางของการพัฒนา ทรงใช้โรงเรียนเป็นศูนย์รวม โดยมีครูเป็น ก�ำลังส�ำคัญในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ เยาวชนและเปน็ ทรี่ วมการพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ น เริ่มต้นจะทรงทดลองท�ำงานเลก็ ๆ เมอื่ ส�ำเรจ็ จึงค่อยขยายผลส�ำเร็จ ในปัจจุบันดังตาราง แสดงการพัฒนาดา้ นการศึกษาดงั นี้ ปัจจุบันการด�ำเนินงานโครงการ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รใิ นสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ด้านการ ศกึ ษา มดี ังนี้ 46 z
๑. โรงเรียนต�ารวจตระเวนชายแดน ในสังกัด กองบัญชาการต�ารวจตระเวนชายแดน จ�านวน ๑๙๖ แหง่ ๒. โรงเรียนและห้องเรียนสาขา ในสังกัดส�านักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จา� นวน ๒๐๑ แหง่ ๓. ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” และศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยมอแกน อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ ในสังกัดส�านักงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั จา� นวน ๒๗๙ แหง่ 48 z
ทรงงานสานตอ สรา งสขุ ปวงประชา ๔. โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สถาบันปอเนาะ และโรงเรียนการกุศลของวัดใน พระพุทธศาสนา ในสังกัดส�านักงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน จ�านวน ๑๖ แหง่ z 49
Search