Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยพระราชดำริสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตามรอยพระราชดำริสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-05-01 01:16:59

Description: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ตามรอยพระราชดำริ สู่ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ” มูลนธิ สิ ถาบันวจิ ยั และพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ มนี าคม ๒๕๕๕

ตามรอยพระราชดำรสิ ู่ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำโดย มูลนธิ ิสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๙๖๒ ถนนกรงุ เกษม เขตปอ้ มปราบฯ กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐ โทร.๐-๒๖๒๘-๒๘๔๒ พิมพ์คร้งั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๕ จำนวน ๒,๐๐๐ เลม่ ข้อมลู ทางบรรณานกุ รม มลู นิธสิ ถาบันวจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง. ตามรอยพระราชดำรสิ ู่ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กรงุ เทพฯ : ศูนย์การพิมพเ์ พชรรงุ่ , ๒๕๕๕.

คำนำ เน่ืองในวโรกาสปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และครบรอบ ๑๒ ปีท่ีสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รับ พระบรมราชานญุ าต เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ให้สำนักงานฯ นำพระบรมราโชวาทที่ประมวลนำข้ึนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายและ ทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขเผยแพร่เป็นแนวปฏิบัติของปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งแกป่ ระชาชนไทยโดยทว่ั กนั สำนกั งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และมูลนิธิสถาบันวิจัย และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มพพ.) สำนกึ ใน พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทที่ รงมพี ระบรมราชานญุ าตใหเ้ ผยแพรแ่ นวปฏบิ ตั ิ จงึ ไดร้ วบรวมแนวพระราชดำรแิ ละขอ้ มลู ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วกบั องคค์ วามรขู้ อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและจัดทำเป็นหนังสือในลักษณะท่ี สามารถนำไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมในเชิงวิชาการได้มากยิ่งขึ้น หนังสือ ตามรอยพระราชดำริ สู่ “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” ฉบบั น้ี มงุ่ ใหเ้ ปน็ สอ่ื การเรยี นรสู้ ำหรบั ประชาชนทวั่ ไปทสี่ นใจ ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเชิงวิชาการอย่างเข้าใจง่ายๆ ในลักษณะของการเรียบเรียงข้อมูลที่มีการจัดลำดับเนื้อหาสาระของ พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสให้สอดคล้องต่อเนื่องเช่ือมโยงกัน และใชข้ อ้ มลู จากหนงั สอื เอกสาร บทความ บทบรรยายตา่ งๆ ทไ่ี ดศ้ กึ ษาไว้

มาประกอบเป็นคำอธิบายขยายความของพระบรมราโชวาทและ พระราชดำรสั องคน์ นั้ ๆ รวมทงั้ จดั ทำคำอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ตามความเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงโครงสรา้ ง และการใช้คำทเี่ ข้าใจง่าย เหมาะสมกบั การใช้ ในชีวิตประจำวัน และสะดวกในการนำไปถ่ายทอด ขยายผลให้แก่ ประชาชนทั่วไป สาระของหนังสือจะแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริท่ีสะท้อนถึงเป้าหมายของประเทศชาติ ตลอดจนหลกั การพนื้ ฐานของความพอเพยี งและหลกั การทรงงาน และ ส่วนที่ ๒ เป็นการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในแง่ของคำนิยาม ความหมาย องค์ประกอบ และแนวทาง การนำไปประยกุ ต์ใช้ มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มพพ.) รว่ มกบั สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ ตามรอย พระราชดำริ สู่ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จะเป็นประโยชน์ สามารถสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจแกผ่ ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การขบั เคลอ่ื นปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทงั้ ผสู้ นใจทวั่ ไป เพอ่ื สามารถนำไปประยกุ ต์ ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและส่วนรวม ต่อไป มลู นธิ ิสถาบนั วจิ ยั และพัฒนาประเทศ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มพพ.) สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) มีนาคม ๒๕๕๕

สารบญั หน้า คำนำ สว่ นท่ี ๑ แนวพระราชดำริ ๑ บทท ่ี ๑ สขุ ของคนไทย คอื เปา้ หมายการพฒั นา ๓ บทท่ี ๒ การปฏิบัตติ นและปฏบิ ัตงิ าน ๑๕ สคู่ วามพอเพยี ง (ชว่ งเวลากอ่ นปี ๒๕๔๒) บทท่ี ๓ พฒั นาความเขา้ ใจในหลักการ ๕๕ เศรษฐกิจพอเพียง (ช่วงเวลาหลงั ปี ๒๕๔๒) บทที่ ๔ หลักการทรงงาน ๖๗ ส ่วนท ่ี ๒ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๗๗ บทที่ ๕ จุดเริ่มต้นและคำนยิ ามหลักปรชั ญา ๘๑ ของเศรษฐกิจพอเพียง บทท่ี ๖ สวู่ ถิ ชี วี ิตพอเพียง ๙๗ เอกสารอ้างองิ ๑๐๙ บรรณานกุ รม ๑๑๐

พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าทอ่ี ันย่งิ ใหญ่ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ไดพ้ ระราชทานพระปฐมบรมราชโองการวา่ “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพื่อประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชนชาวสยาม”





ส่วนที่ ๑ แนวพระราชดำริ

นับต้งั แต่มีพระปฐมบรมราชโองการเมอ่ื พทุ ธศักราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ได้สะทอ้ นพระปณิธานทแ่ี น่วแน่ ในการมุ่งม่ันใหป้ ระชาชนคนไทยมคี วามสุขโดยทว่ั ถงึ กัน โดยเสด็จพระราชดำเนินไปยงั ทุกสภาพภูมปิ ระเทศ เพ่อื ศึกษาและรบั รู้ปัญหาอยา่ งแทจ้ ริงของราษฎร นำไปสู่แนวทางแกไ้ ขท่เี หมาะสม

บทท่ี ๑ สขุ ของคนไทย คือ เปา้ หมายการพัฒนา “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม ” พระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 3 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ณ พระที่นั่ง ตามรอยพระราชดำ ิร ไพศาลทกั ษณิ เมอ่ื วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ และพระบรมราโชวาท ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” และพระราชดำรัสที่ได้พระราชทานไว้ในวโรกาสต่างๆ ต่อเน่ือง มาตลอดรชั สมยั ทที่ รงครองราชยก์ วา่ ๖๐ ปี (พ.ศ. ๒๔๙๓ - ปจั จบุ นั ) สะท้อนพระปณิธานที่แน่วแน่ในการมุ่งม่ันให้ประชาชนคนไทย มีความสขุ โดยท่ัวถึงกนั ประเทศไทยมคี วามมนั่ คงและมีความเจรญิ ก้าวหน้า เน่ืองจากประชาชนท่ีมีความสุขและอยู่ร่วมกันด้วย ความสามัคคีปรองดองจะมีผลเชื่อมโยงสู่การพัฒนาชุมชนและ ประเทศชาตใิ ห้เจรญิ ม่ันคงและก้าวหน้าต่อๆ ไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงช้ีให้ทุกคนตระหนักถึง ความสำคญั ของการทำให้ประชาชนพงึ่ ตวั เองได้ ประชาชนตอ้ งการ มีความกา้ วหนา้ ในอาชพี การงาน สามารถทำงานพฒั นาตัวเอง โดย ภาคราชการมีหน้าท่ีที่จะต้องสนับสนุนทางวิชาการ ส่งเสริมให้ ประชาชนมีความรู้ มีความสามารถ มีทุนเพ่ือสร้างความก้าวหน้า

ตามรอยพระราชดำ ิร ในอาชีพการงาน ประชาชนจึงจะมีความสุขประเทศจะก้าวหน้า ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” และมัน่ คง “... จะทำงานในสาขาใดก็ตามต้องมาดูว่า ทำงานนน้ั กเ็ พอ่ื ใหป้ ระเทศชาตอิ ยยู่ งมคี วามมน่ั คง และความก้าวหน้า และประเทศนนั้ กป็ ระกอบดว้ ย ประชาชน ซง่ึ ประชาชนแตล่ ะคนๆ กม็ คี วามปรารถนา ทจ่ี ะมคี วามก้าวหน้า ความกา้ วหนา้ น้นั จะมาได้ก็ โดยท่ีแตล่ ะคนไดท้ ำงานเตม็ ที่ และประชาชนทอ่ี ยู่ ในเมอื งไทยน้ี บางทกี ข็ าดความรู้ ขาดความสามารถ ขาดกำลังทั้งทางวิชา ท้ังทางเงินที่จะสร้างตัวเอง จึงต้องให้เขาอาศัยทางราชการท่ีจะมาอุ้มชูให้ กา้ วหนา้ ได้ ฉะนน้ั ทางราชการมหี นา้ ทอี่ นั หนกั ทจ่ี ะ จดั ใหบ้ า้ นเมอื งกา้ วหนา้ ถา้ ประชาชนไมม่ คี วามสขุ 4 ไม่มีความก้าวหน้า ประเทศกจ็ ะอยไู่ มไ่ ด.้ ..” (พระราชดำรัสกับคณะนักศึกษาวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร เม่ือวนั ท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๑๖) การชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ประชาชนใหส้ ามารถทำงานประกอบ อาชพี ไดน้ นั้ อกี นยั หนงึ่ คอื การพฒั นาประเทศเพอื่ สรา้ งความมน่ั คง ทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระราชทานคำแนะนำว่า ต้องให้ประชาชน “มีความพอกิน พอใช้ ก่อนอ่ืนเป็นพื้นฐาน” โดยทรงแนะนำให้ดำเนินการอย่างค่อยเป็น ค่อยไปตามลำดับ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และประหยัด

เพ่ือป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว เม่ือประชาชนมีความเป็นอยู่ 5 อย่างพอกิน พอใช้ มีอาชีพสามารถพ่ึงตนเองได้ และย่อมสามารถ ตามรอยพระราชดำ ิร สรา้ งตนเองใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ตอ่ ไปได้ กจ็ ะมคี วามสขุ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เมื่อประชาชนมีพื้นฐานม่ันคง พัฒนาฐานะทางเศรษฐกิจสูงขึ้นได้ ประเทศก็จะสงบและมีความเจรญิ กา้ วหนา้ ดงั น้ี “...การชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ประชาชนในการ ประกอบอาชพี และตงั้ ตวั ใหม้ คี วามพอกนิ พอใช้ กอ่ นอน่ื เปน็ พนื้ ฐานนนั้ เปน็ สงิ่ สำคญั อยา่ งยงิ่ ยวด เพราะผทู้ มี่ อี าชพี และฐานะเพยี งพอทจ่ี ะพง่ึ ตนเอง ยอ่ มสามารถสรา้ งความเจรญิ กา้ วหนา้ ระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ต่อไปไดโ้ ดยแน่นอน ส่วนการถือหลักทจ่ี ะส่งเสริม ความเจริญให้ค่อยเป็นไปตามลำดับ ด้วยความ รอบคอบ ระมดั ระวงั และประหยดั นนั้ กเ็ พอื่ ปอ้ งกนั ความผิดพลาดล้มเหลว และเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ ได้แน่นอนบริบูรณ์ เพราะหากไม่กระทำด้วยความ ระมัดระวัง ย่อมจะหวังผลเต็มเม็ดเต็มหน่วยได้ โดยยาก...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑติ ของ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เม่ือวนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗) ตอ่ จากนน้ั ในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาฯ วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗ ทรงมีพระราชดำรัสรับส่ังเพิ่มเติมถึงทิศทางของประเทศในภาพรวม อยา่ งชดั เจนวา่ คนอืน่ จะอย่างไรกช็ ่าง ขอเพยี งใหป้ ระชาชนคนไทย

ตามรอยพระราชดำ ิร ตงั้ ปณธิ านในทศิ ทางให้ “คนไทยทกุ คนพออยู่ พอกนิ มคี วามสงบ” ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เพราะถา้ ประชาชนมีพออยู่ พอกนิ สามารถพึ่งตนเองได้ ประชาชน จะมคี วามสุข รักษาความสงบภายในประเทศไว้ ประเทศกจ็ ะเจริญ ก้าวหน้า “...ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้ เมอื งไทย พออยพู่ อกิน มคี วามสงบ และทำงาน ตง้ั จติ อธษิ ฐานตงั้ ปณธิ าน ในทางนที้ จ่ี ะใหเ้ มอื งไทย อยู่แบบพออยู่ พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แตว่ า่ มคี วามพออยพู่ อกนิ มคี วามสงบ เปรยี บเทยี บ กบั ประเทศอน่ื ๆ ถา้ เรารกั ษาความพออยู่ พอกนิ นไี้ ด้ เรากจ็ ะยอดย่ิงยวดได้...” (พระราชดำรสั วนั เฉลิมพระชนมพรรษา ฯ เม่ือวันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗) 6 เมื่อประเทศไทยเป็นประเทศที่ “พออยู่ พอกิน” และ เมื่อประชาชนได้พัฒนาตนเองให้เจริญก้าวหน้าในระดับที่สูงข้ึนแล้ว จะเปน็ การสง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศ “มคี วามอยดู่ ี กนิ ด”ี ซงึ่ มพี ระราชดำรสั ในปี ๒๕๒๗ ทรงขยายความวา่ การพฒั นาประเทศใหม้ คี วามอยดู่ กี นิ ดี หมายถึง ประชาชนต้องได้อย่ดู กี ินดี รว่ มกัน และความอย่ดู ี กินดนี ้ี เกยี่ วขอ้ งกับความม่ันคงและปลอดภยั ของประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงชี้ให้เห็นว่า การกินดีอยู่ดีร่วมกันของประชาชน เป็นองค์ประกอบหน่ึงในการสร้างความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ดงั นี้

“...การพัฒนาประเทศในด้านทจี่ ะส่งเสรมิ ให้ ประเทศชาตมิ คี วามอยดู่ กี นิ ดี หมายถงึ วา่ ประชาชน ได้อยู่ดีกินดีร่วมกัน ความอยู่ดีกินดีน้ีเกี่ยวพันกับ ความปลอดภยั เพราะวา่ ถา้ ประเทศชาตมิ ปี ระชากร ทอ่ี ยดู่ กี นิ ดี กย็ อ่ มทำใหป้ ระชาชนมกี ำลงั จติ ใจกำลงั กาย สำหรบั ป้องกนั ประเทศและหวงแหนประเทศ ...” (พระราชดำรัส เมอ่ื วนั ที่ ๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๗) 7 ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”

พุทธศกั ราช ๒๕๐๘ เสดจ็ ฯไปทอดพระเนตรกจิ การของฟาร์มสว่ นพระองค์หาดทรายใหญ่ ตำบลเขาเตา่ อำเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ โดยทดลองเพาะปลูก และเล้ียงสัตว์ชนิดต่างๆที่เหมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ เพ่อื เป็นแบบอย่างของการพัฒนาพื้นทที่ ี่แห้งแลง้

ตอ่ มาในปี ๒๕๓๙ ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชวาทแกบ่ ณั ฑติ 9 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ตามรอยพระราชดำ ิร ทรงยำ้ อยา่ งชดั เจนวา่ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนคอื รากฐานสำคญั ของ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ความสงบมน่ั คงของประเทศ หรอื กลา่ วอกี นยั หนง่ึ วา่ ความอยดู่ กี นิ ดี ของประชาชนคือความมั่นคงของประเทศ ดังนั้น การพัฒนาความ เป็นอยขู่ องประชาชนให้อยูด่ กี ินดี จึงเปน็ สง่ิ สำคัญที่ทำให้เปา้ หมาย ของประเทศบรรลผุ ลสำเรจ็ คอื ประเทศมีความสงบและความเจริญ ดังน้ี “...ประโยชนอ์ นั พงึ ประสงคข์ องการพฒั นานน้ั กค็ อื ความผาสกุ สงบ ความเจรญิ มน่ั คงของประเทศชาติ และประชาชน. แต่การที่จะพัฒนาให้เป็นบรรลุผล เป็นประโยชน์ดังกล่าวได้ จำเป็นที่จะต้องพัฒนา ฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนให้อยู่ดีกินดี เป็นเบื้องต้นก่อน เพราะฐานะความเป็นอยู่ของ ประชาชนนั้น คือรากฐานอย่างสำคัญของ ความสงบและความเจริญมั่นคง. ถ้าประชาชน ทุกคนมีฐานะความเป็นอยู่ท่ีดีแล้ว ความสงบและ ความเจริญย่อมจะเป็นผลก่อเกิดต่อตามมาอย่าง แน่นอน. จึงอาจพูดได้ว่าการพัฒนาก็คือการ ทำสงครามกับความยากจน เพื่อความอยู่ดีกินดี ของประชาชนโดยตรง เมื่อใดก็ตาม ที่ประชาชน มีความอยู่ดีกินดีและประเทศชาติมีความสงบ

ตามรอยพระราชดำ ิร มคี วามเจรญิ เมอ่ื นน้ั การพฒั นาจงึ จะถอื ไดว้ า่ ประสบ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ความสำเร็จ..” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เม่อื วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙) จากพระราชดำรสั ทท่ี รงแนะนำใหส้ รา้ ง “ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน” จนถึงพัฒนายกระดับให้ประชาชน “อยู่ดี กินดี” และใหป้ ระเทศไทยรกั ษา “ความพออยู่ พอกนิ ” ไวใ้ หไ้ ดน้ น้ั ในโอกาส วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๐ ทรงมพี ระราชดำรสั ใหป้ ระเทศไทยมี “เศรษฐกจิ แบบพอมี พอกนิ ” ซ่งึ หมายความว่า ประชาชนพง่ึ ตนเองได้ ดงั น้ี “...การจะเปน็ เสอื นน้ั ไมส่ ำคญั . สำคญั อยทู่ ี่ เรามเี ศรษฐกจิ แบบพอมี พอกนิ แบบพอมพี อกนิ นน้ั 10 หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ให้มีพอเพียงกับ ตนเอง...” (พระราชดำรสั วนั เฉลิมพระชนมพรรษา เมอื่ วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐) และตอ่ มาทรงมพี ระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ปี ๒๕๔๑ ทรงขยายความเกยี่ วกบั ความหมายของคำวา่ “เศรษฐกจิ แบบพอมพี อกนิ ” โดยรบั สงั่ เรยี กเปน็ ครง้ั แรกวา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ดังนี้

“..คำว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหน่ึง มคี วามหมายกวา้ งออกไปอกี . ไมไ่ ดห้ มายถงึ การมพี อ สำหรบั ใชเ้ องเทา่ นน้ั แตม่ คี วามหมายวา่ พอมพี อกนิ . พอมพี อกนิ นี้ ถา้ ใครไดม้ าอยู่ทีน่ ี่ ในศาลานี.้ เมอื่ ปี ๒๕๑๗ ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ น้ี ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหม. วันนั้นได้พูดว่า เราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน. พอมีพอกนิ น้ี กแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียงนนั่ เอง. ถา้ แต่ละคนพอมี พอกนิ กใ็ ช้ได้. ยิง่ ถ้าทงั้ ประเทศ พอมพี อกินก็ยิ่งด.ี .” (พระราชดำรสั วนั เฉลิมพระชนมพรรษา เมอ่ื วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑) ดังน้ัน เศรษฐกิจของประเทศไทยแบบพอมี พอกิน หรือ 11 “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื ทท่ี ำใหป้ ระชาชนพงึ่ ตนเองได้ ตามรอยพระราชดำ ิร มคี วามสขุ ประกอบอาชพี กา้ วหนา้ มฐี านะทางเศรษฐกจิ มนั่ คง ประเทศ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” จะมคี วามสงบ และมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ซง่ึ เปน็ เปา้ หมายของประเทศ นอกจากนี้ ยังมีพระราชดำรัสพระราชทานในโอกาสปีเด็กสากล เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๒๒ วา่ เปน็ หนา้ ทขี่ องทกุ คนทจ่ี ะตอ้ งรว่ มมอื กนั ถา่ ยทอดความรู้ ความดี และประสบการณ์ให้เด็กรนุ่ ตอ่ ๆ ไป ให้ได้ เขา้ ใจ ใหร้ จู้ กั คดิ ด้วยเหตุผลทถ่ี ูกต้อง ดงั นี้ “...เด็กเป็นผู้ที่จะได้รับช่วงทุกส่ิงทุกอย่าง ตอ่ จากผใู้ หญ่ รวมทง้ั ภาระรบั ผดิ ชอบในการธำรง รักษาอิสรภาพและความสงบสุขของบ้านเมือง.

ดงั นนั้ เดก็ ทกุ คนจงึ สมควรและจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ บั การอบรมเล้ียงดอู ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ให้มคี วาม สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์ต่างๆ พร้อมทั้ง การฝกึ หัดขัดเกลาความคิดจิตใจใหป้ ระณตี ให้มี ศรัทธาม่ันคงในคุณความดี มีความประพฤติ เรยี บรอ้ ยสจุ รติ และมปี ญั ญาฉลาดแจม่ ใสในเหตุ ในผล หน้าทีน่ เ้ี ป็นของทกุ คน ที่จะตอ้ งรว่ มมือกัน กระทำโดยพร้อมเพรียงสม่ำเสมอ ผู้ที่เกิดก่อน ผา่ นชวี ติ มากอ่ น จะตอ้ งสงเคราะห์ อนเุ คราะหผ์ เู้ กดิ ตามมาภายหลัง ด้วยการถ่ายทอดความรู้ ความดี และประสบการณอ์ นั มคี า่ ทง้ั ปวงใหด้ ว้ ยความเมตตา เอ็นดูและด้วยความบริสุทธิ์ใจ ให้เด็กได้ทราบ ได้เข้าใจ และสำคัญท่ีสุด ให้รู้จักคิดด้วยเหตุผล ที่ถูกต้องจนสามารถเห็นจริงด้วยตนเองได้ใน 12 ความเจรญิ และความเสอ่ื มทง้ั ปวง.ความรู้ ความดี ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ความเจริญงอกงามท้ังมวลจึงจะแผ่ไพศาลไปได้ ไมม่ ปี ระมาณ เปน็ พน้ื ฐานของความพฒั นาผาสุก อันยัง่ ยืนสบื ไป...” (พระราชดำรสั ในโอกาสปีเดก็ สากล เม่อื วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๒๒)

พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ 13 พระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ประจักษ์ชัดแก่ประชาชนไทยโดยทั่วกันว่า ตามรอยพระราชดำ ิร เปา้ หมายการพฒั นาของประเทศ คอื ใหป้ ระเทศไทยมคี วามมน่ั คง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” และมคี วามเจริญกา้ วหนา้ โดยมีองค์ประกอบสำคญั คอื ประชาชน ต้องมีความสขุ พ่ึงตนเองได้ ประกอบอาชพี กา้ วหน้า มคี วามมน่ั คง ทางเศรษฐกิจ ทรงแนะนำวา่ พน้ื ฐานสำคญั ประการแรกท่จี ะพัฒนา ประเทศใหป้ ระชาชนมคี วามสขุ คอื การสรา้ ง “ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชน” ตลอดจนพฒั นายกระดบั ใหป้ ระชาชน “อยดู่ ี กนิ ด”ี มฐี านะทางเศรษฐกจิ มนั่ คง และทรงมพี ระราชประสงคจ์ ะใหป้ ระเทศไทย เป็นประเทศ “พออยู่ พอกิน” หรือ อีกนัยหน่ึง ให้ประเทศไทยมี “เศรษฐกจิ แบบพอมี พอกนิ ” ซง่ึ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รบั สง่ั เรยี กคำวา่ “เศรษฐกจิ แบบพอมี พอกนิ ” วา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” และทรงแนะนำว่า ควรเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ซงึ่ จะทำให้ ประชาชนพงึ่ ตนเองได้ ประชาชนมฐี านะทางเศรษฐกจิ มนั่ คง ประชาชน มีความสุข ประเทศไทยจะมีความมั่นคงและมีความเจริญก้าวหน้า และทรงชี้ให้เห็นว่า เป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของคนไทยทุกคน ทต่ี อ้ งถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณ์ ให้แกเ่ ดก็ สืบตอ่ ไป เพือ่ รักษา ความมั่นคง และ ความเจริญก้าวหนา้ ของประเทศไวไ้ ด้

พุทธศักราช ๒๕๐๔ : จดั ต้ังโครงการส่วนพระองค์ข้ึนในสวนจติ รลดา ทรงจัดตงั้ โครงการสว่ นพระองคข์ ึ้นในสวนจิตรลดา เพ่อื ทจ่ี ะ ได้ทรงศกึ ษาหาข้อมูลตา่ งๆ กอ่ นพระราชทานพระราชดำริ เพือ่ ชว่ ยเหลือเกษตรกร โดยเมื่อวนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้ทรงหวา่ นข้าวใน “แปลงนาสาธติ ” เพือ่ เก็บเมล็ดพนั ธ์ุไปใช้ ในพระราชพธิ ีพชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

บทที่ ๒ การปฏิบตั ิตนและปฏบิ ัติงานสูค่ วามพอเพียง สรา้ งความพออยู่ พอกนิ 15 ตามรอยพระราชดำ ิร ตามท่ีได้กล่าวถึงในบทท่ี ๑ ในช่วงก่อนปี ๒๕๔๒ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” (พศ.๒๕๑๖-๒๕๔๒) พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เก่ียวกับการช่วยเหลือประชาชนให้ มฐี านะความเปน็ อยดู่ ขี น้ึ นน้ั ทรงใชค้ ำวา่ “ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชน” หรอื “ความมกี นิ มใี ช”้ หรอื “ความพอกนิ พอใช”้ หรอื “ความพออยู่ พอกนิ ” ซง่ึ ลว้ นมคี วามหมายในลกั ษณะเดยี วกนั คอื ใหป้ ระชาชนพอมี พอกนิ สามารถพ่ึงตนเองได้ และในปี ๒๕๔๐ ทรงมพี ระราชดำรัสให้ประเทศไทยมี “เศรษฐกจิ แบบพอมี พอกิน” ในปถี ัดมา (ปี๒๕๔๑) รบั สงั่ เรียก “เศรษฐกิจแบบพอมี พอกิน” ว่า “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทรงอธบิ ายหลกั การ/หลกั ปฏบิ ตั เิ พม่ิ เตมิ อยา่ ง สม่ำเสมอในหลายโอกาสหลายวาระ มีสาระเนื้อความสอดคล้อง สมั พนั ธซ์ งึ่ กนั และกนั ตลอดเวลา จากการศกึ ษาพระบรมราโชวาทและ พระราชดำรัสในช่วงเวลาข้างต้น สามารถประมวลแนวพระราชดำริ ออกได้เป็น ๖ กลุ่ม ซ่ึงเป็นหลักการพื้นฐานของหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในระยะตอ่ มา ดงั นคี้ อื ๑) การกระทำตามหลกั เหตผุ ล ๒) การประหยดั ๓) ความรอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ๔) ความพอดี ความพอเหมาะ ๕) ความสมดลุ ๖) ความรปู้ ระกอบกบั ความมศี ลี ธรรม

ตามรอยพระราชดำ ิร ๑. การกระทำตามหลกั เหตุผล ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการกระทำงานใดๆ ให้ประสบผล สำเรจ็ นอกจากมวี ธี กี ารทำงานทเ่ี หมาะสมแลว้ ยงั ทรงเตอื นใหค้ ำนงึ ถงึ หลักของเหตุและผล ความต้ังใจ และให้คำนึงถึงผลสำเร็จของงาน ที่กระทำอยเู่ สมอ “…ข้าพเจ้าอยากให้ทุกคนคำนึงถึง กฎแห่ง เหตุผล ว่าผลที่เกิดข้ึนเพราะเหตุ คือ การกระทำ และผลนนั้ จะเปน็ ผลดหี รอื ผลเสยี กเ็ พราะกระทำใหด้ ี หรือให้เสีย ดังน้ัน การท่ีจะทำงานใดให้บรรลุผล ทพ่ี งึ ประสงค์ จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ วธิ กี ารทเี่ หมาะสม กอ่ นเปน็ เบอื้ งตน้ แลว้ ลงมอื กระทำตามหลกั เหตผุ ล ดว้ ยความตง้ั ใจจรงิ และดว้ ยความสจุ รติ งานของ แต่ละคนจึงจะเป็นผลดีและเช่ือได้ว่า ผลงานของ 16 แต่ละคนจะประมวลกันเป็นความเจริญม่ันคงของ บา้ นเมอื งได้ ดงั ปรารถนา…” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เม่ือวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๓) และทรงอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ในชว่ งปี ๒๕๑๔ วา่ การทำงานใหญใ่ หส้ ำเรจ็ นอกจากการใช้เหตุผลเป็นพ้ืนฐานการทำงานด้วยความละเอียด รอบคอบ และเอาจรงิ เอาจงั แลว้ ตอ้ งมงุ่ ทผี่ ลสำเรจ็ ของงานมากกวา่ การยึดตดิ ยดึ ม่นั ว่าเป็นงานของใคร

“…การวางโครงการใดๆ ทจ่ี ะใหไ้ ดผ้ ลสมบรู ณ์ 17 จะต้องอาศัยเหตุผลท่ีหนักแน่นเป็นพ้ืนฐาน ต้อง ตามรอยพระราชดำ ิร จัดวางรูปขึ้นด้วยความละเอียดรอบคอบ แล้วต้อง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ดำเนินการอย่างจริงจังโดยขะมักเขม้น ข้อสำคัญ ท่ีควรคำนึงถึงอย่างยิ่งน้ัน ได้แก่ความจริงที่ว่า การทำงานใหญๆ่ ทกุ อยา่ งตอ้ งการเวลามาก กวา่ จะ ทำสำเร็จ ผู้ที่ริเร่ิมโครงการอาจไม่ทันทำให้สำเร็จ โดยตลอดด้วยตนเองก็ได้ ต้องมีผู้อื่นรับทำต่อไป ดังนั้นไม่ควรยกเอาเร่ืองใครเป็นผู้เริ่มงาน ใครเป็น ผรู้ บั ชว่ งงานขนึ้ เปน็ ขอ้ สำคญั นกั จะตอ้ งถอื ผลสำเรจ็ ที่จะเกดิ จากงานเปน็ ใหญย่ ่งิ กว่าส่ิงอน่ื …” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร เม่ือวันท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๔) และพระบรมราโชวาทพระราชทานในชว่ งปี ๒๕๑๘ ยงั ทรงเนน้ เรื่อง การพจิ ารณาและวินจิ ฉยั เร่อื งตา่ งๆ ด้วยความรอบคอบ ระมดั ระวัง ดว้ ยความกระจา่ งชดั เจนทกุ ดา้ น และดำเนนิ การใหต้ รงจดุ ถกู ขนั้ ตอน และมเี หตผุ ล “...แตค่ นทม่ี กี ารศกึ ษา ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ ผมู้ ปี ญั ญา ควรจะสามารถวินิจฉัยได้ว่าแก้ไขอะไรอย่างไร ข้อสำคัญควรจะต้องรอบคอบและระมัดระวัง ท่ีจะ พิจารณาเรื่องต่างๆ ให้กระจ่างแจ้งทุกแง่ทุกมุม แล้วจัดการให้ถูกจุด ถูกข้ันตอน ถูกเหตุผล ข้อท่ี พงึ ระมดั ระวังคือ การแกป้ ัญหาโดยรีบเรง่ ด่วน...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ เม่ือวันท่ี ๒๘ สิงหาคม ๒๕๑๘)

ตามรอยพระราชดำ ิร และพระบรมราโชวาทพระราชทานเม่ือปี ๒๕๑๙ ทรงช้ีถึง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ความสำคัญของการหลักเหตุผลกำกับการกระทำเพ่ือเป็นพื้นฐาน ทจี่ ะส่งผลดตี อ่ ไปในอนาคต “... พูดกันว่าให้พิจารณาเหตุผลให้ดีน้ัน กล่าวอีกนัยหน่ึง ก็คือให้พิจารณาการกระทำ หรือ กรรมของตนให้ดีน่ันเอง คนเราโดยมาก มักนึกว่า อนาคตจะเป็นอย่างไร เราทราบไม่ได้ แต่ที่จริง เราย่อมจะทราบได้บ้างเหมือนกัน เพราะอนาคต กค็ อื ผลของการกระทำในปจั จบุ นั ถา้ ปจั จบุ นั ทำดี อนาคตกไ็ มค่ วรจะตกต่ำ...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั เม่อื วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๑๙) 18 รวมทั้งพระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัย ขอนแก่น เมื่อ ๒๕๓๖ ได้ทรงแนะนำให้บัณฑิตท่ีจบการศึกษาและ ออกไปทำงานจะมีประสบการณ์และความรู้เพ่ิมข้ึนจากที่มีในตำรา ซึง่ ถ้านำไปใช้อยา่ งมีเหตุผลและรอบคอบจะเป็นประโยชนอ์ ย่างมาก “...การศึกษาในมหาวิทยาลัย ท่ีมุ่งเน้น ให้บุคคลมีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ เปน็ พน้ื ฐานสำหรบั การประกอบการงานในชวี ติ นนั้ ถือว่าเป็นการศึกษาในระบบ. ผู้ศึกษาจะได้รับ ความรถู้ า่ ยทอดจากครบู าอาจารย์ และจากการศกึ ษา ค้นคว้าทางตำรับตำราเป็นหลัก. ต่อเม่ือได้ออกไป

ทำการงาน ได้ประสบเหตุการณ์และปัญหาต่างๆ ใหต้ อ้ งขบคดิ มากมายแลว้ จงึ เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ทถี่ อ่ งแทใ้ นสงิ่ ทง้ั ปวง ทเี่ รยี กวา่ ประสบการณใ์ นชวี ติ เพิ่มขึ้น. ประสบการณ์ในชีวิตน้ีเป็นบ่อเกิดแห่ง ความรอบรแู้ ละความฉลาดจดั เจนทมี่ คี า่ ซง่ึ ถา้ ได้ รู้จักนำมาใช้ด้วยความรู้เท่าถึงเหตุผล และด้วย ความรอบคอบระมัดระวังแล้ว จะยังประโยชน์ ใหแ้ กต่ นเองและสังคมอย่างวิเศษสุด...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑิตของ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เมอ่ื วันท่ี ๖ ธนั วาคม ๒๕๓๖) ๒. การประหยัด 19 ตามรอยพระราชดำ ิร แนวพระราชดำริในส่วนท่ีเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติตน ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ในภาวะท่ีประเทศชาติบ้านเมืองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลา ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งนนั้ ทรงแนะนำใหใ้ ชช้ วี ติ ความเป็นอยอู่ ยา่ งประหยัด และใช้เหตใุ ช้ผลในการพิจารณาใช้ชวี ิต อย่างประหยัด เพอื่ ประคับประคองใหอ้ ยู่รอดและกา้ วหน้าตอ่ ไป “...วิถีทางดำเนินของบ้านเมืองและของ ประชาชนโดยท่ัวไปมีความเปล่ียนแปลงมาตลอด เนอ่ื งมาจากความวปิ รติ ผนั แปรของวถิ แี หง่ เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และอื่นๆ ของโลก ยากยิ่งทเี่ ราจะ หลกี เลยี่ งใหพ้ น้ ไดจ้ งึ ตอ้ งระมดั ระวงั ประคบั ประคอง ตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการเป็นอยู่โดย

ตามรอยพระราชดำ ิร ประหยัด เพ่ือที่จะอยู่ให้รอดและก้าวหน้าต่อไปได้ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” โดยสวัสดี…” (พระราชดำรัสเนอื่ งในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๒๑) และพระบรมราโชวาทพระราชทานเมื่อเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ทรงแนะนำบัณฑิตของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าในโอกาส การรบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร ความวา่ เทคโนโลยเี ปน็ ปจั จยั สำคญํ ในการสร้างความเจริญก้าวหน้าแต่การใช้ประโยชน์ต้องคำนึงถึง ความประหยัดด้วย การใช้ความระมัดระวัง ด้วยวิธีและข้ันตอน ที่ถูกต้อง ทำให้ไม่สิ้นเปลืองและได้ผลประโยชน์เพิ่มสูงขึ้น ก็นับว่า เป็นการประหยดั อีกทางหน่งึ “...การสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทกุ ดา้ น 20 ทุกระดับต้องใช้เทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำคัญ เพื่อ ความรวดเรว็ และถกู ตอ้ งมนั่ คง บณั ฑติ ทเ่ี รยี นสำเรจ็ ออกไป จงึ นบั วา่ จะไดเ้ ปน็ กำลงั และเปน็ หลกั ในงาน พัฒนาประเทศและชุมชนในทุกๆ วงการ การใช้ เทคโนโลยีน้ันย่อมกระทำได้หลายแง่หลายมุม แง่หนึ่งท่ีควรเพ่งเล็งเป็นพิเศษ ก็คือใช้ให้เกิด ประโยชน์ ในด้านประหยัด เพราะการประหยัด เปน็ สง่ิ ทพ่ี งึ ประสงคอ์ ยา่ งยงิ่ ในทท่ี กุ แหง่ และในกาล ทกุ เมอ่ื เทา่ ทป่ี รากฏแลว้ เทคโนโลยชี ว่ ยใหป้ ระหยดั ได้อย่างดีเลิศ ในการสร้างเครื่องมืออิเล็กโตรนิกส์

แต่ก่อนเคร่ืองมืออิเล็กโตรนิกส์ทำได้ยากยิ่งและ 21 มรี าคาสูงมาก คนสว่ นนอ้ ยเทา่ นน้ั ทีไ่ ด้รบั ประโยชน์ ตามรอยพระราชดำ ิร จากเครอื่ งมอื ดงั กลา่ ว แตป่ จั จบุ นั เทคโนโลยชี ว่ ยให้ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” สร้างและผลิตได้โดยง่ายและสะดวกด้วยราคาต่ำ อย่างเคร่ืองรับวิทยุทรานซิสเตอร์ เวลานี้ใช้กันได้ อย่างแพร่หลาย ทำให้คนทั่วไปได้รับประโยชน์ ในดา้ นขา่ วสารและการบนั เทงิ โดยทวั่ ถงึ ในดา้ นอนื่ ๆ เช่น เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม แมจ้ ะเป็นเพยี งงาน ระดับชาวบ้าน เทคโนโลยีก็อาจช่วยได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่าง เช่น การทำยางพารา ถ้าทำตามแบบ พน้ื บา้ น ซงึ่ ทำกนั ตามมตี ามเกดิ ขาดความระมดั ระวงั ในความสะอาดเรียบร้อยก็มักได้ยางแผ่นที่มี คุณภาพต่ำ ทำให้ขายไม่ได้เต็มราคา แต่ถ้านำ เทคโนโลยีอย่างง่ายๆ มาใช้ ให้มีการใช้กรรมวิธีท่ี ถูกต้องและแน่นอนสม่ำเสมอ ก็จะได้ยางแผ่นที่มี คณุ ภาพไดม้ าตรฐาน ขายได้เตม็ ราคา การใช้ความ ระมัดระวัง และกรรมวิธีที่ละเอียดแน่นอนเพียง เล็กน้อย โดยมิทำให้ต้องส้ินเปลืองเกินกว่าปรกติ แล้วได้ผลประโยชน์เพ่ิมสูงข้ึนเช่นน้ี นับว่าเป็น การประหยัดด้วยอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ ชาวสวนยางมาก ในการที่ท่านทั้งหลายจะออกไป ทำหนา้ ทตี่ า่ งๆ ทางดา้ นเทคนคิ ตอ่ ไป ขอใหค้ ำนงึ ถงึ ผลได้ทเี่ กิดขนึ้ จาก การประหยดั น้ีให้มาก...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเมือ่ วนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๒๑)

พุทธศักราช ๒๕๐๓ เสดจ็ ฯไปทรงประกอบพธิ ีเปดิ อาคารสถาบันราชประชาสมาสยั ในบริเวณสถานพยาบาลอำเภอพระประแดง เมือ่ วนั ที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓

และพระราชดำรัส ในการเสด็จออกมหาสมาคมในงานพระราชพิธี 23 เฉลิมพระชนมพรรษาเม่ือปี ๒๕๒๙ ว่าการนำทรัพยากรมาใช้ ตามรอยพระราชดำ ิร ในการพฒั นา ตอ้ งไมใ่ ชใ้ หส้ น้ิ เปลอื งไดป้ ระโยชนไ์ มค่ มุ้ คา่ แตต่ อ้ งใช้ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” อยา่ งประหยัด ระมัดระวงั “...ทกุ วนั นป้ี ระเทศไทยยงั มที รพั ยากรพรอ้ มมลู ท้ังทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล ซ่ึงเรา สามารถนำมาใช้เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์และ เสถียรภาพอันถาวรของบ้านเมืองได้เป็นอย่างดี. ขอ้ สำคญั เราจะตอ้ งรจู้ กั ใชท้ รพั ยากรนนั้ อยา่ งฉลาด คอื ไมน่ ำมาทมุ่ เทใชใ้ หส้ น้ิ เปลอื งไปโดยไรป้ ระโยชน์ หรือได้ประโยชน์ไม่คุ้มค่า หากแต่ระมัดระวัง ใช้ด้วยความประหยัดรอบคอบ ประกอบด้วย ความคิดพิจารณาตามหลักวิชา เหตุผล และ ความถกู ตอ้ งเหมาะสม โดยมงุ่ ถงึ ประโยชนแ์ ทจ้ รงิ ท่ีจะเกิดแก่ประเทศชาติ ทั้งในปจั จบุ ันและอนาคต อันยืนยาว...” (พระราชดำรสั เนือ่ งในโอกาสงานพระราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษา เมอ่ื วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๒๙) ๓. ความรอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั แนวพระราชดำรเิ กยี่ วกบั การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ใหท้ กุ คน มคี วามพรอ้ มในการประกอบอาชพี และประสบความสำเรจ็ ในชวี ติ นน้ั ทรงแนะนำให้มี ความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ทรงแนะนำให้

รอบรู้ในหลักวิชาต่างๆ และพิจารณาหลักวิชาท่ีเก่ียวกับการกระทำ เรอ่ื งนน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ และนำไปใชอ้ ยา่ งมคี วามระมดั ระวงั คำนงึ ถงึ ความถูกต้อง จะทำให้เกิดการประหยดั “...อยา่ ทะนงตวั วา่ วเิ ศษกวา่ ผอู้ นื่ อยา่ อวดเกง่ เกนิ ไป จะทำการสง่ิ ใดจงไตร่ตรองใหร้ อบคอบ...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑติ ของ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมือ่ วนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๐๕) ขณะเดียวกันยังมีแนวพระราชดำริว่านอกจากการใช้หลักวิชาใน การพฒั นาประเทศแล้ว การพัฒนาตอ้ งทำไปพร้อมๆ กนั ในทกุ ดา้ น “...การพฒั นาประเทศ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเจรญิ มน่ั คง แก่คนส่วนรวมท้ังชาติได้แท้จริงน้ัน จะต้อง อาศัยหลักวิชาอันถูกต้องและต้องกระทำพร้อมกัน 24 ไปทุกๆ ด้าน ด้วย เพราะความเป็นไปทุกอย่างใน ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” บา้ นเมอื ง มีความสัมพนั ธเ์ กยี่ วโยงถึงกันหมด...” (แนวพระราชดำริ เม่อื วนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๕) และพระบรมราโชวาททพี่ ระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ดา้ นการศกึ ษายงั ทรง แนะนำเพิ่มเติมว่า การให้การศึกษานอกจากจะต้องใช้ความรอบรู้ รอบคอบแล้ว ยังจะต้องมีความอดทน เสียสละ และมีความเพียร อย่างมาก

“...การให้การศึกษาที่สมบูรณ์มิใช่ของง่าย เพราะเปน็ งานทลี่ ะเอยี ดซบั ซอ้ นและกวา้ งขวางมาก จะต้องใช้ความรอบรู้ ความสังเกตจดจำ และ ความฉลาดรอบคอบอย่างมาก ท้ังต้องมีความ เสยี สละ อดทน มคี วามเพยี รอยา่ งแรงกลา้ ดว้ ย จงึ จะ กระทำใหส้ ำเร็จได.้ ..” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของวทิ ยาลัย วิชาการศึกษา เม่ือวนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๕) เช่นเดียวกันกับพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของ 25 จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เมือ่ ปี ๒๕๑๖ ทรงเตอื นในเรื่องความมีสติ ตามรอยพระราชดำ ิร ความรู้ตัวควบคู่กบั การใช้เหตุผล และความรอบคอบ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” “...ทกุ คนจำเปน็ ตอ้ งหมน่ั ใชป้ ญั ญาพจิ ารณา การกระทำของตนใหร้ อบคอบอยเู่ สมอ ระมดั ระวงั ทำการทุกอยา่ งดว้ ยเหตุผล ด้วยความมีสติ และ ดว้ ยความรตู้ วั เพอ่ื เอาชนะความชวั่ รา้ ยทงั้ มวลใหไ้ ด้ โดยตลอด และสามารถก้าวไปถึงความสำเร็จท่ี แท้จรงิ ทงั้ ในการงานและการครองชวี ิต...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑติ ของจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย เม่ือวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๖) ขณะที่พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัย สงขลานครนิ ทร์ เมอ่ื ปี ๒๕๑๘ ทรงเพม่ิ เตมิ ในเรอ่ื งการจดั การใหถ้ กู จดุ ถูกข้ันตอน ถูกเหตุผล และที่สำคัญคือ การแก้ปัญหาโดยด่วน ให้ทนั การณ์

ตามรอยพระราชดำ ิร “...แตค่ นทมี่ กี ารศกึ ษา ทเี่ รยี กวา่ เปน็ ผมู้ ปี ญั ญา ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ควรจะสามารถวินิจฉัยได้ว่าแก้ไขอะไรอย่างไร ขอ้ สำคญั ควรจะตอ้ งรอบคอบและระมดั ระวงั ทจ่ี ะ พจิ ารณาเรอ่ื งตา่ งๆ ใหก้ ระจา่ งแจง้ ทกุ แงท่ กุ มมุ แลว้ จัดการให้ถูกจุด ถูกข้ันตอน ถูกเหตุผล ข้อท่ี พงึ ระมัดระวังคอื การแกป้ ัญหาโดยรีบเร่งด่วน...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เม่ือวนั ที่ ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๑๘) นอกจากนน้ั พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เม่ือปี ๒๕๒๐ทรงเตือนเรื่องการใช้เหตุผลว่า ตอ้ งเป็นเหตุผลทีเ่ ปน็ จรงิ ปราศจากความลำเอยี ง “...ความเคร่งครัดหมายถึงความระมัดระวัง 26 ม่ันคง ที่จะปฏิบัติการให้เท่ียงตรงครบถ้วนตาม แบบแผนและหลักเกณฑ์ที่ได้วางไว้ แบบแผนและ หลกั เกณฑ์นน้ั ยอ่ มตอ้ งมเี หตุผลเป็นพ้ืนฐาน และ เหตุผลท่ีจะทำให้พ้ืนฐานม่ันคงไม่ส่ันสะเทือนได้ กต็ อ้ งเปน็ เหตผุ ลความจรงิ แท้ ทไ่ี ดพ้ สิ จู นเ์ หน็ จรงิ แลว้ ดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ ปราศจากความลำเอยี ง และความหลงผิดตามอารมณ์...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อวนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๒๐)

และพระราชดำรสั เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ปี ๒๕๔๐ 27 ซง่ึ เปน็ ปที ปี่ ระเทศไทยประสบวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ทรงเตอื นวา่ การทำงาน ตามรอยพระราชดำ ิร ให้มีประสทิ ธิภาพและราบรน่ื ต้องทำดว้ ยความรอบคอบ ระมัดระวงั ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ไมโ่ ลภ และต้องไมบ่ ิดเบือนข้อมูล ขอ้ เทจ็ จรงิ “...การจะทำงานให้มีประสิทธิผลและให้ ดำเนินไปได้โดยราบร่นื จำเป็นอย่างยิง่ ทจ่ี ะตอ้ งทำ ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบอยา่ งสงู ไมบ่ ดิ เบอื นขอ้ เทจ็ จรงิ ไมบ่ ดิ เบอื นจดุ ประสงคท์ แ่ี ทจ้ รงิ ของงาน สำคญั ทสี่ ดุ ต้องเข้าใจความหมายของคำว่า ความรับผิดชอบ ให้ถูกต้อง…ท่ีเกิดมีวิกฤตการณ์ข้ึนมา ก็เพราะว่า ขยายการผลิตมากเกินไป และไม่มีใครซื้อ เพราะไม่มีใครมีเงินพอท่ีจะซ้ือ...ต้องถอยหลัง เข้าคลอง จะต้องอยู่อย่างระมัดระวัง และต้อง กลับไปทำกิจการที่อาจจะไม่ค่อยซับซ้อนนัก คือใชเ้ ครอ่ื งมอื อะไร ทไ่ี ม่หรหู รา แตก่ อ็ ยา่ งไรกต็ าม มคี วามจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งถอยหลงั เพอื่ ทจ่ี ะกา้ วหนา้ ตอ่ ไป ถ้าไม่ทำอย่างท่ีว่านี้ ก็จะแก้ไขวิกฤตการณ์นี้ยาก ...ฉะน้ันการที่จะทำโครงการอะไร จะต้องทำด้วย ความรอบคอบ และอย่าตาโตเกินไป คือบางคน เห็นว่ามีโอกาสท่ีจะทำโครงการ อย่างโน้นอย่างนี้ และไม่ไดน้ กึ ถงึ ว่าปจั จัยตา่ งๆ ไม่ครบ ...” (พระราชดำรัสเนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เม่อื วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐)

ตามรอยพระราชดำ ิร ๔. ความพอดี ความพอเหมาะ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เป็นแนวพระราชดำริเก่ียวกับการประพฤติปฏิบัติตนและ ปฏิบัติงานอีกข้อหนึ่ง เพื่อให้ทุกคนรู้จักพิจารณาตามอัตภาพ รู้จัก สมรรถนะและศกั ยภาพของตนเอง ตอ้ งฝกึ ตนใหร้ จู้ กั พอดี พอเหมาะ ไมใ่ หเ้ กดิ ความฟงุ้ เฟอ้ เพราะถา้ มคี วามฟงุ้ เฟอ้ มเี ทา่ ไรกห็ มด หาเทา่ ไร ก็ไม่พอ “...คนเราทีฟ่ ุ้งเฟอ้ ไม่มีทางที่จะหาทรพั ยม์ า ปอ้ นความฟงุ้ เฟอ้ ได้ ความฟงุ้ เฟอ้ นเ้ี ปน็ ปากหรอื เปน็ สัตว์ที่หิวไม่หยุด ความฟุ้งเฟ้อน้ีอ้าปากตลอดเวลา จะปอ้ นไปเทา่ ไร ๆ กไ็ มพ่ อ เมอื่ ปอ้ นเทา่ ไร ๆ ไมพ่ อแลว้ กห็ าเทา่ ไร ๆ กไ็ มพ่ อ ความไมพ่ อน้ี ไมส่ ามารถทจ่ี ะ หาอะไรมาปอ้ นความฟงุ้ เฟอ้ นไ้ี ด้ ฉะนนั้ ถา้ จะตอ่ ตา้ น ความเดือดร้อน ไม่ใช่ว่าจะต้องประหยัดมัธยัสถ์ 28 จะต้องป้องกันความฟุ้งเฟ้อ และป้องกันวิธีการ ที่มักจะใช้เพ่ือที่จะมาป้อนความฟุ้งเฟ้อนี้ คือ ความทุจริต ฉะน้ัน การที่จะณรงค์ท่ีจะต่อสู้ เพื่อให้คนมัธยัสถ์และประหยัดนั้นก็อยู่ที่ตัวเอง ไม่ใช่อยู่ท่ีคนอ่ืน เม่ืออยู่ที่ตนเอง ไม่อยู่ท่ีคนอื่น การณรงคโ์ ดยมากมกั ออกไปขา้ งนอก จะไปชกั ชวน คนโนน้ ชกั ชวนคนนใ้ี หท้ ำโนน่ ทำนี่ ทจี่ รงิ ตวั เองตอ้ ง ทำเอง ถ้าจะใช้คำว่าณรงค์ก็ต้องณรงค์กับตัวเอง ต้องฝึกตนให้รู้จักพอดี พอเหมาะ ถ้าไม่พอดี ไม่พอเหมาะ มนั จะเกดิ ทจุ รติ ในใจได้...”* (พระราชดำรสั พระราชทานแก่คณะลูกเสอื ชาวบ้าน เมือ่ วันท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๒๗)

พระราชดำรสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เมื่อปี ๒๕๔๐ 29 ไดท้ รงขยายความหมายของ “ความพอดี ความพอเหมาะกบั อตั ภาพ” ว่าครอบคลุมถึงความพอดี ความพอเหมาะของโครงการกับ สภาพแวดล้อมดว้ ย อยา่ ทำเกนิ ตวั อยา่ โลภเพราะถ้าล้มเลกิ ไปจะมี ความเสยี หายมาก “...ทำโครงการอะไร ก็จะต้องนึกถึงขนาด ที่เหมาะสมกับท่ีเรียกว่า อัตภาพ หรือกับ สง่ิ แวดลอ้ ม ฉะนนั้ การทจี่ ะทำโครงการอะไร จะตอ้ ง ทำด้วยความรอบคอบ และอย่าตาโตเกินไป แตข่ อ้ สำคญั ทอ่ี ยากจะพดู ถงึ คอื ถา้ เราทำโครงการ ท่ีเหมาะสม ขนาดท่ีเหมาะสม อาจจะไม่ดูหรูหรา แต่จะไม่ล้มหรอื ถ้ามีอนั เป็นไปก็ไม่เสยี มาก...” (พระราชดำรสั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมอื่ วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐) รวมทั้งพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัย ตามรอยพระราชดำ ิร ขอนแก่น เม่ือปี ๒๕๔๐ ทรงเตือนเรื่องการทำงานสร้างฐานะว่าให้ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ยดึ หลกั คอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป รอบคอบ ระมดั ระวงั มคี วามพอเหมาะพอดี ไมท่ ำเกนิ ฐานะและกำลงั หรอื ด้วยความเรง่ รบี … “…คนเราเมอื่ มคี วามสามารถทดี่ เี ปน็ ทนุ รอนอยู่ ก็จะไม่มีวันอับจน ย่อมหาทางสร้างตัวสร้างฐานะ ใหก้ า้ วหนา้ ไดเ้ สมอ ขอ้ สำคญั ในการสรา้ งตวั ฐานะ นั้น จะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไปด้วยความ

ตามรอยพระราชดำ ิร รอบคอบ ระมัดระวัง และความพอเหมาะพอดี ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ไมท่ ำเกินฐานะและกำลงั หรอื ทำดว้ ยความเรง่ รบี …” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เมื่อวันท่ี ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๐) และพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั เมอื่ ปี ๒๕๔๑ ทรงชใี้ หเ้ หน็ วา่ ความพอดี ความพอเหมาะ เกดิ จากการรจู้ กั ประมาณตน การรจู้ กั ประมาณสถานการณ์ ทำใหร้ วู้ า่ ตนเองมีความสามารถแคไ่ หน อย่างไร ตอ้ งศึกษาเพม่ิ เตมิ อะไรบา้ ง สถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ มสี าเหตเุ ปน็ มาอยา่ งไร สภาพอยา่ งไรและคาดไดว้ า่ อนาคตนา่ จะเปน็ อยา่ งไร การรจู้ กั ประมาณตน ประมาณสถานการณ์ จะช่วยใหก้ ารดำเนนิ ชีวิตและการงานราบรน่ื และก้าวหน้า “...การรจู้ กั ประมาณตน ไดแ้ ก่ การรจู้ กั และ 30 ยอมรับว่าตนเองมีภูมิปัญญาและความสามารถ ในดา้ นไหน เพยี งใด และควรจะทำงานดา้ นไหน อย่างไร. การรู้จักประมาณตนน้ี จะทำให้คนเรา รู้จักใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็ม ตามประสิทธิภาพ ทั้งยังทำให้รู้จักขวนขวายศึกษา หาความรู้ และเพิ่มพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพ่ือ ปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพทมี่ อี ยใู่ นตนเองใหย้ งิ่ สงู ขนึ้ . ส่วนการรู้จักประมาณ สถานการณ์น้ัน ได้แก่ การรู้จักพิจารณาสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นให้

ทราบชัด ถึงความเป็นมา และที่เป็นอยู่ รวมท้ัง ที่คาดว่าจะเป็นไปในอนาคต. การรู้จักประมาณ สถานการณไ์ ดน้ ี้ จะทำใหส้ ามารถวางแผนงานและ ปฏบิ ัตกิ ารไดถ้ ูกตรง กบั ปัญหา ทันแก่สถานการณ์ และความจำเปน็ อันจะทำให้งานทีท่ ำไดป้ ระโยชน์ ท่ีสมบูรณ์คุ้มค่า. การรู้จักประมาณตนและรู้จัก ประมาณสถานการณ์ จงึ เปน็ อปุ การะอยา่ งสำคญั ท่ีจะเก้ือกูลให้บุคคลดำเนินชีวิตและกิจการงาน ไปได้อย่างราบร่ืนและกา้ วหน้า...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เม่ือวนั ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๑) ๕. ความสมดลุ 31 ตามรอยพระราชดำ ิร เป็นแนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยทรง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” อธิบายว่า ภาคส่วนต่างๆ ท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคมหลายส่วน ล้วนแล้วแต่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เช่น ภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ระบบการศึกษา สังคมความเป็นอยู่ของประชาชน ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เป็นต้น ดังนั้นการพัฒนาประเทศ จึงต้องคำนึงถึง การสร้าง “ความสมดุล” จึงจะทำให้การพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศประสบผลสำเร็จ และบรรลุเป้าหมาย คือ ประเทศมคี วามเจริญก้าวหน้าและความมัน่ คง

พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๒ วันท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๒๒ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทอดพระเนตร พ้นื ทพ่ี รุกาบแดง ทรงแนะแนวทางการแกไ้ ขปญั หาดินพรุ ดนิ เปรี้ยว

“...หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดย ไมใ่ หแ้ ผนปฏบิ ัตกิ ารสมั พันธ์กับสภาวะของประเทศ และของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิด ความไม่สมดุลในเร่ืองต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลาย เป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่ อารยประเทศหลายประเทศ กำลังประสบปัญหา ทางเศรษฐกจิ อย่างรนุ แรงอยใู่ นเวลาน้.ี ..” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑิตของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอ่ื วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) และพระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของสถาบนั เทคโนโลยี 33 พระจอมเกลา้ ได้ทรงยำ้ ในเรอ่ื งการพฒั นาประเทศให้สมดลุ ทกุ ดา้ น ตามรอยพระราชดำ ิร เพื่อใหผ้ ลประโยชนเ์ กิดขึ้น พรอ้ มทกุ ดา้ นโดยสมบรู ณ์ และจะทำให้ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” บ้านเมอื งเจรญิ ก้าวหน้ารวดเร็วและม่ันคง “...ในการท่ีทุกคนจะออกปฏิบัติงานให้ได้ ผลสมบูรณ์ และให้เป็นประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง โดยส่วนรวมนั้น มีส่ิงสำคัญท่ีควรจะต้องศึกษา ให้ทราบแจ้งชัดต้ังแต่ต้นว่า บ้านเมืองของเรา มโี ครงสรา้ งอนั กอ่ ตงั้ ขน้ึ ดว้ ยสว่ นประกอบทส่ี ำคญั มากมายหลายส่วน เป็นต้น เช่น อุตสาหกรรม เกษตรกรรม วนกรรม ชลประทาน รวมตลอดถึง เศรษฐกจิ การศึกษา และสงั คมด้วย ดังน้นั การใช้

เทคโนโลยสี รา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ตา่ ง ๆ ในบา้ นเมอื ง จึงจำเป็นจะต้องใช้ให้พอดี และสอดคล้องกับ โครงสรา้ งของประเทศทุก ๆ ด้าน เพื่อให้ผลหรือ ประโยชนอ์ นั จะเกดิ ขน้ึ นน้ั บงั เกดิ ขนึ้ พรอ้ มทกุ ดา้ น โดยสมบรู ณ์ และไดส้ มดลุ ทว่ั ถงึ กนั อนั จะเปน็ เหตุ สำคัญที่สุด ซึ่งจะบันดาลให้บ้านเมืองของเรา เจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งรวดเร็วและมน่ั คง...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า เมือ่ วันท่ี ๒๔ มนี าคม ๒๕๒๐) ๖. ความรปู้ ระกอบกับความมีคุณธรรม แนวพระราชดำริเก่ียวกับหลักการความประพฤติและ การปฏิบัติตนน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแสดงไว้ใน พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสที่เกี่ยวข้องแทบทั้งหมดว่า 34 การดำเนนิ ชวี ติ ของแตล่ ะบคุ คลใหป้ ระสบความสำเรจ็ และมคี วามสขุ ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ต้องใช้หลักวิชาการความรู้ควบคู่กับการเป็นคนที่มีคุณธรรมเสมอ กลา่ วคอื ใหพ้ ฒั นาทางวตั ถซุ งึ่ เปน็ ดา้ นภายนอก และการพฒั นาจติ ใจ ที่เป็นเรื่องภายในควบคู่ไปด้วยกันเสมอ ท้ังนี้ความรู้และศีลธรรม/ คุณธรรม หมายถึงความรู้และศีลธรรม/คุณธรรมของสาขาวิชา ทเี่ กย่ี วขอ้ งและมคี วามเหมาะสมกบั เรอ่ื งนนั้ ๆ คณุ ธรรมจงึ มหี ลายชดุ ไว้เลือกใช้ เช่น ความซ่ือสัตย์ ความเพียร ความอดทน เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญมากกับการรู้จัก ใชค้ วามรู้ทางวชิ าการประกอบกบั ความรทู้ างศลี ธรรมคุณธรรม

“...การดำเนนิ ชวี ติ โดยใชว้ ชิ าการอยา่ งเดยี ว ยังไม่เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัวและ หลักศีลธรรมประกอบด้วย ผู้ท่ีมีความรู้ดีแต่ขาด ความย้ังคิด นำความรู้ไปใช้ในทางมิชอบ ก็เท่ากับ เปน็ บุคคลท่เี ปน็ ภยั แก่สังคมมนษุ ย…์ ” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๐๔) พระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแก่คณะบุคคลของสถาบันและ 35 องค์การท่ีเก่ียวกับศาสนา เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เม่ือปี ตามรอยพระราชดำ ิร ๒๕๑๑ ทรงขยายความถงึ กลมุ่ เดก็ และเยาวชนวา่ ตอ้ งใหค้ วามรทู้ ง้ั ท่ี ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เปน็ วทิ ยาการทางโลกควบคกู่ บั ความรทู้ างจติ ใจ ใหร้ จู้ กั ควบคมุ จติ ใจ ควบคุมสติ เพ่ือสามารถทำมาหากิน ดำรงชีวิตและทำประโยชน์ ในสังคมตอ่ ไป “...การทจี่ ะหาความสขุ หรอื หาความเรยี บรอ้ ย ประจำวนั นส้ี ำคญั อยหู่ ลายทาง และกม็ อี ยหู่ ลายอยา่ ง เชน่ เรอื่ งการศกึ ษาของเยาวชน เรอื่ งการศกึ ษาวทิ ยาการ ทางโลก เพ่ือให้มีความรู้ความสามารถ มีความ ก้าวหน้าและสามารถที่จะมีชีวิตอยู่ ความรู้นี้ หมายถึงทางวัตถุ เพราะว่าคนเราก็ต้องการท่ีจะมี วิชาความรู้เพ่ือที่จะทำมาหากินเล้ียงชีพตัวเอง เปน็ สำคญั ในเวลาเดยี วกนั ความรทู้ างวตั ถนุ นั้ กจ็ ะ ต้องประสานด้วยความรู้ทางจิตใจ หมายถึงวิธี

ตามรอยพระราชดำ ิร ที่จะคุ้มกันป้องกันร่างกายของตัวคือวัตถุ ต่อส่ิง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ทไี่ มเ่ ปน็ วตั ถุ ตอ่ นามธรรมทเี่ ปน็ จติ ใจ คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความกระหายอำนาจกเ็ ปน็ ส่ิงที่ยากท่ีจะควบคุม เราจะต้องสอนท้ังสองอย่าง สอนวทิ ยาการเพอ่ื ใหท้ ำมาหาเลยี้ งชพี นหี่ มายความวา่ มอี าชพี มคี วามรทู้ างวตั ถุ และตอ้ งรจู้ กั ควบคมุ จติ ใจ ควบคุมสติของตัวให้สามารถใช้ความรู้ทางวัตถุน้ี เพื่อประโยชน์ของตัวเอง ประโยชน์ของตัวเองนี้ ก็อยู่ท่ีประโยชน์ของสังคมด้วย เพราะเราอยู่ ในสังคม ถ้าไม่รู้จักควบคุมความรู้ท่ีมีในทางวัตถุ ก็อาจเกิดความเดือดร้อนต่อผู้อื่น ในที่สุดก็เป็น ความเดือดร้อนตอ่ ตนเอง...” (พระบรมราโชวาทวันเฉลิมพระชนมพรรษา 36 เม่อื วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๑) และพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั เมื่อปี ๒๕๑๘ ทรงขยายความวา่ ความสขุ ความเจรญิ แท้จริงต้องเกิดจากเจตนาและการกระทำท่ีเป็นธรรม มีลักษณะ สร้างสรรค์ ก่อประโยชนต์ ่อผูอ้ ่นื และส่วนรวม “...ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสขุ ความเจริญท่บี คุ คลแสวงหามา ไดด้ ว้ ยความเปน็ ธรรม ทงั้ ในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่ง

เบียดบังมาจากผู้อ่ืน ความเจริญที่แท้น้ีมีลักษณะ เป็นการสร้างสรรค์ เพราะอำนวยประโยชน์ถึงผูอ้ ่ืน และสว่ นรวมด้วย...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เม่ือวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๑๘) ขณะท่ีพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัย 37 ศรีนครินทรวิโรฒ ในอีกสองปีต่อมา (ปี๒๕๒๐) ก็ทรงเตือนว่า ตามรอยพระราชดำ ิร แม้จะเป็นนักวิชาการก็จะต้องมีคุณธรรมควบคู่กับมีความรู้วิชาการ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ตอ้ งรู้จกั ผดิ ชอบ ชั่วดี ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ทัง้ ความคดิ และการกระทำ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่มักง่าย หยาบคาย และท่ีสำคัญความขยัน หม่ันเพียร ตั้งใจ ซ่งึ นอกจากตอ้ งปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองแลว้ ตอ้ งปลูกฝัง ให้เดก็ นกั เรยี นด้วย “…ในทน่ี ี้ ขา้ พเจา้ มคี วามประสงคจ์ ะชใี้ หเ้ หน็ ว่า คนเราจะแสวงหาแต่วิชาการฝ่ายเดียวไม่ได้ ผู้มีวิชาการจำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติในตัวเอง นอกจากวิชาความรดู้ ้วย จึงจะนำตนนำชาตใิ หร้ อด และเจริญได้ คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับทุกคนน้ัน ทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ ความรจู้ กั ผดิ ชอบชวั่ ดี ความละอายชวั่ กลวั บาป ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ทงั้ ในความคดิ และ การกระทำ ความไมเ่ หน็ แกต่ วั ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บ ผอู้ น่ื ความไมม่ กั งา่ ย หยาบคาย กบั อกี อยา่ งหนง่ึ ท่ีสำคัญเป็นพิเศษ คือความขยันหมั่นเพียร

พุทธศักราช ๒๔๙๙ : ทรงพระผนวช วันที่ ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เสด็จออกทรงพระผนวช สมเด็จพระสังฆราชถวายพระสมณฉายาวา่ “ภูมิพโลภิกข”ุ ประทบั ณ พระตำหนกั ป้ันหยา่ วดั บวรนเิ วศวิหาร

พยายามฝกึ หดั ประกอบการงานทกุ อยา่ งดว้ ยตนเอง ด้วยความตั้งใจ ไม่ละเลย ไม่ทอดท้ิง คุณสมบัติ เหลา่ นเ้ี ปน็ องคป์ ระกอบทส่ี ำคญั ทจ่ี ะทำใหก้ ารศกึ ษา สมบรู ณเ์ ปน็ ประโยชนจ์ รงิ เปน็ สง่ิ ซง่ึ ครจู ะตอ้ งปลกู ฝงั ให้เจริญขึ้นในตัวนักเรียนให้ครบถ้วน เพื่อให้เด็ก เติบโตขึ้นเป็นคนเต็มคน เป็นคนท่ีสามารถสร้าง ประโยชน์ให้แก่ตนเองและประเทศชาติได.้ ..” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ เม่อื วันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๒๐) และในปีเดียวกันพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแก่บัณฑิตของ 39 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เมอื่ ปี ๒๕๒๐ ทรงยำ้ วา่ ความเจรญิ ทางวตั ถกุ บั ตามรอยพระราชดำ ิร ความเจริญทางจิตใจ คือความเจริญทางด้านความรู้ วิทยาศาสตร์ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” กับความเจริญทางด้านศิลปะ ศีลธรรม จริยธรรมจะต้องเกิดควบคู่ กนั ไป จึงจะทำใหเ้ กิดความสขุ ของทุกคน “...ความเจริญนั้นมักจำแนกกันเป็น สองอย่าง คือ ความเจริญทางวัตถุอย่างหน่ึง และความเจริญทางจิตใจอีกอย่างหนึ่ง ยิ่งกว่านั้น ยังเห็นว่า ความเจริญอย่างแรกอาศัยวิชาการ ทางด้านวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสร้างสรรค์ ส่วน ความเจริญอย่างหลังอาศัยศิลปะศีลธรรมจรรยา เป็นปัจจัย แท้จริงแล้ว ความเจริญทางวัตถุกับ ความเจริญทางจิตใจก็ดี หรือความรู้ทางด้าน วทิ ยาศาสตรก์ บั ทางดา้ นศลิ ปะ ศลี ธรรม จรรยากด็ ี

มิใช่สิ่งท่ีจะแยกออกจากกันให้เด็ดขาดได้ ทั้งน้ี เพราะสิ่งที่เราพยายามจะแยกออกจากกันน้ัน มมี ลู ฐานทเี่ กดิ อนั เดยี วกนั คอื “ความจรงิ แท”้ ซง่ึ เปน็ วิทยาศาสตร์ ถึงจะพยายามแยกจากกันอย่างไรๆ ที่สดุ ก็จะรวมลงสกู่ ำเนิดเดยี วกนั แม้แตจ่ ุดประสงค์ ก็จะลงสู่จุดเดียวกัน คือความสุข ความพอใจ ของทกุ คน...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑิตของ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร เม่อื วนั ที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๐) และพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา ซึ่งเป็นบัณฑติ ครู เมื่อปี ๒๕๒๑ ทรงพระราชทานแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีท้ัง ความรทู้ างวชิ าการและมคี ณุ ธรรมทางจติ ใจ และความประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ 40 ใหร้ เู้ หตรุ ผู้ ล ความผดิ ชอบชวั่ ดี พรอ้ มทง้ั รา่ งกายและจติ ใจทสี่ มบรู ณ์ ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” แข็งแรง “...หน้าที่ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าวอย่างสั้นท่ีสุด ก็คือการ “ให้คนได้เรียนดี” เพ่ือท่ีจะสามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัว ให้เป็นหลักเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้. การให้ เรยี นดีนั้นจะทำอยา่ งไร. ขอ้ แรกจะต้องสอน ใหม้ ี วชิ าการทดี่ ี ทถ่ี กู ตอ้ งแนน่ แฟน้ ใหม้ คี วามสามารถ และมีหลักการในการปฏบิ ัติ. ข้อสอง ต้องฝกึ หดั อบรมในจติ ใจและความประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ใหร้ เู้ หตุ

รผู้ ล และความผดิ ชอบชว่ั ดี เพอ่ื มใิ หน้ ำความรไู้ ปใช้ 41 ในทางเบยี ดเบยี นกนั และกนั . ข้อที่สาม ต้องให้มี ตามรอยพระราชดำ ิร กำลังและสุขภาพสมบูรณ์ท้ังทางกายทางใจ. ผู้ท่ี ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ได้รับการศึกษาครบถ้วนเหมาะส่วนกันทุกด้านดังนี้ เชอื่ ไดว้ า่ จะเปน็ ผเู้ ขม้ แขง็ สามารถ เตม็ ทใ่ี นการปฏบิ ตั ิ ทงั้ ทางกายและทางความคดิ จติ ใจ. จะกระทำหนา้ ท่ี การงานใด ก็จะมุ่งหวังผลหวังประโยชน์ที่แท้จริง ของหน้าท่ีการงานนั้นเป็นใหญ่ ไม่หลงทาง ท้ังจะ สามารถปฏบิ ตั บิ รหิ ารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใหบ้ รรลุ ผลอนั สมบูรณ์ไดด้ ว้ ย...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ วทิ ยาเขตสงขลา เมือ่ วนั ท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๒๑) พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั รามคำแหง เมื่อปี ๒๕๒๒ และปี ๒๕๒๔ ก็ทรงย้ำเรอื่ งความจำเปน็ ในการสร้าง เสริมคุณธรรม ใหเ้ ป็นรากฐานทางจติ ใจ เพอ่ื รองรบั การงานท่มี ่นั คง สจุ รติ และเจญิ ก้าวหนา้ “...คณุ ธรรมทงั้ หา้ ประการน้ี พจิ ารณาใหด้ แี ลว้ จะเหน็ วา่ ตา่ งกเ็ ปน็ เหตเุ ปน็ ผลตอ่ เนอ่ื งอาศยั กนั และ เกอื้ กลู สง่ เสรมิ ซง่ึ กนั และกนั อยทู่ ง้ั หมด เชน่ ศรทั ธา ความเช่ือถือซ่ึงเป็นต้นเหตุให้เกิดความพากเพียร ขวนขวายนนั้ จะตอ้ งอาศัยความย้งั คดิ และปญั ญา เป็นเคร่ืองพิจารณาวินิจฉัย ปัญญา ความรู้ชัดจะ

เกิดมีได้ก็ต้องอาศัยความต้ังใจเพ่งพินิจ ดังน้ัน จึงจำเป็นท่ีจะต้องสร้างเสริมคุณธรรมทุกๆ ข้อ ให้ครบ ให้เป็น ฐานอันแผ่กว้าง สำหรับรองรับ การงานไดท้ ว่ั ถงึ มน่ั คง จงึ จะสามารถทำงานสำเรจ็ ผลเลิศได้โดยสมบูรณ์ บริบูรณ์และเป็นประโยชน์ ช่วยตวั ช่วยผูอ้ นื่ และส่วนรวมได้ดว้ ย…” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง เม่อื วันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๒๒) และ “...รากฐานทนี่ บั วา่ สำคญั คอื รากฐานทางจติ ใจ อันได้แก่ความหนักแน่น ม่ันคงในสุจริตธรรม อย่างหน่ึง ในความมุ่งมั่นที่จะประกอบกิจการงาน ให้ดี จนสำเร็จอีกอย่างหน่ึง เหตุใดจึงต้องมีความ สุจริตและความมุ่งมัน่ กเ็ พราะ ความสุจริตน้ันย่อม 42 กีดกั้นบุคคลออกจากความชั่วและความเสื่อมเสีย ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ท้ังหมดได้ จึงช่วยให้บุคคลมีโอกาสใช้ความรู้ ความสามารถแต่ในทางที่ถูกที่เจริญ แต่เพียง ทางเดยี ว...” (พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง เมื่อวันท่ี ๑๑ มีนาคม ๒๕๒๔) และพระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะกรรมการของสมาคมดนตรี แห่งประเทศไทยฯ เมื่อปี ๒๕๒๔ ก็ทรงแนะนำให้สอดแทรก หลกั ศลี ธรรม ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ไวใ้ นกจิ กรรมดนตรดี ว้ ยกจ็ ะเปน็